The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

e-book รุจจินันท์ คำวาง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-12-13 06:48:07

e-book รุจจินันท์ คำวาง

e-book รุจจินันท์ คำวาง

ถดั ไป

สารบญั หน้า 1

1.ปัญหาหรอื ความตอ้ งการภายในชมุ ชน สไลด์ 2 1 1 ปัญหาหรือความต้องการภายในชุมชนหรือท้องถ่นิ
1.1การสารวจชุมชนหรือทอ้ งถิ่น
1.1การสารวจชุมชนหรือทอ้ งถิ่น สไลด์ 2 1-2
การสารวจชุมชนหรือทอ้ งถิ่น หมายถึง การสารวจศึกษาขอ้
1.2วธิ ีการสารวจปัญหาในชุมชนหรือทอ้ งถิ่น 3-5 เทจ็ จริงเกี่ยวกบั ลกั ษณะและสภาพของสังคม เศรษฐกิจ
สไลด์ 3 วฒั นธรรม ความตอ้ งการ และปัญหาในชุมชนหรือทอ้ งถิ่น
เพอ่ื ใหท้ ราบลกั ษณะและขอบเขตของปัญหาต่างๆท่ีมีอยใู่ น
1.3 ประเภทของปัญหาในชุมชนหรือทอ้ งถ่ิน 6-17 ชุมชนหรือทอ้ งถ่ินและปัญหาพ้นื ฐานในการศกึ ษาหาสาเหตุของ
สไลด์ 5 แต่ละปัญหา และแนวทางในการปรับปรุง แกไ้ ขดว้ ยความรู้ทาง
ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ยา่ งมีระบบ
2.การใชเ้ ทคโนโลยใี นการแกป้ ัญหาสไลด์ 10 17
ถดั ไป
2.1ระดบั ของเทคโนโลยที ี่ใชใ้ นการแกป้ ัญหา 18-22
สไลด์ 11

2.2 ปัจจยั ท่ีใชใ้ นการตดั สินใจเลือกเทคโนโลยี 22-29
สไลด์ 13

ถดั ไป

นอกจากน้ี การสารวจชุมชนหรือทอ้ งถิ่นยงั ช่วยใหท้ ราบ 2 1.2วธิ ีการสารวจปัญหาในชุมชนหรือทอ้ งถ่ิน 3
แหล่งการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นท่ีมีอยใู่ นพ้ืนท่ี
ปราชญช์ าวบา้ นที่มีประสบการณ์ บุคคลที่ประสบความสาเร็จ การสารวจชุมชนหรือทอ้ งถ่ินน้นั ตอ้ งศึกษาใหร้ อบดา้ น
ในงานต่างๆ หน่วยงานหรือสถาบนั ต่างๆ ท่ีมีอยใู่ นชุมชน
หรือทอ้ งถิ่น เช่น วดั องคก์ ร สมาคม รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติ เพือ่ นาขอ้ มูลที่ศึกษามาประกอบตดั สินใจในการแกป้ ัญหา
เพ่อื นามาปรับปรุงและพฒั นาอาชีพของชุมชนหรือทอ้ งถ่ิน
ใหด้ ีข้ึน ซ่ึงวธิ ีการสารวจชุมชนหรือทอ้ งถิ่น มีดงั น้ี
1.สารวจจากเอกสาร ตารา และฐานข้อมูล เป็นการศึกษา
ถดั ไป จากขอ้ มูลหรือเอกสารที่มีอยแู่ ลว้ ไดแ้ ก่ เอกสารทางวชิ าการ

วารสาร บทความ วจิ ยั ฐานขอ้ มูลท่ีถูกจดั เกบ็ ในระบบดิจิทลั
ซ่ึงเผยแพร่บนเวบ็ ไซต์ ซ่ึงวธิ ีน้ีประหยดั ค่าใชจ้ ่ายและเวลา
ไดร้ ับความนิยมสูง โดยสิ่งท่ีตอ้ งระวงั คือ ความถูกตอ้ งของ
ขอ้ มูลที่ไดร้ ับ ดงั น้นั ตอ้ งดูวา่ เป็นเอกสารที่มีแหล่งอา้ งอิงที่
น่าเชื่อถือ

ถดั ไป

2.สารวจจากการสังเกต เป็นการเขา้ ไปในชุมชนหรือ 4 4. สารวจจากแบบสอบถาม เป็นวธิ ีการที่นิยมใชม้ ากอีก 5
ทอ้ งถ่ินแลว้ ใชห้ ลกั การสงั เกตซ่ึงวธิ ีน้ีเป็นวธิ ีท่ีจะไดร้ ับ วธิ ีหน่ึง เพราะประหยดั เวลากวา่ การสารวจดว้ ยวธิ ีการอื่นแต่
ขอ้ มูลครบถว้ นและเช่ือถือได้ แต่อาจทาใหเ้ กบ็ ขอ้ มูล เป็นวธิ ีการที่เหมาะกบั คนในชุมชนหรือทอ้ งถิ่นท่ีสามารถ
ไดไ้ ม่ครบทุกแง่มุม อ่านออกเขียนได้ ซ่ึงการทาแบบสอบถามตอ้ งทาการศกึ ษา
3.สารวจจากการสัมภาษณ์ เป็นการสอบถามคนในชุมชน รายละเอียดของชุมชนหรือทอ้ งถิ่นมาก่อน เพื่อจะไดส้ ามารถ
หรือทอ้ งถ่ิน โดยอาจจะตอ้ งเลือกคนท่ีมีความรู้ ต้งั คาถามในประเดน็ ที่ตอ้ งการไดค้ รบถว้ น
และมีประสบการณ์เก่ียวกบั เร่ืองน้นั ๆ รวมถึงผนู้ าในชุมชน ในการสารวจปัญหาในชุมชนหรือทอ้ งถ่ิน ผสู้ ารวจสามารถ
โดยในการสัมภาษณ์ ผสู้ มั ภาษณ์ตอ้ งเตรียมคาถามไวล้ ่วง เลือกใชว้ ธิ ีการต่าง ๆ ร่วมกนั เพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ เทจ็ จริงของชุมชน
หนา้ ซ่ึงเป็นคาถามปลายเปิ ดเพ่ือใหผ้ ถู้ ูกสัมภาษณ์ได้ หรือทอ้ งถิ่นใหม้ ากท่ีสุด และใชเ้ ป็นแนวทางใน การวางแผน
แสดงความคิดเห็นไดเ้ ตม็ ท่ี วธิ ีน้ีจะทาใหไ้ ดข้ อ้ มูลที่เป็น การแกป้ ัญหาภายในชุมชนหรือทอ้ งถิ่นดว้ ยเทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ ง
ขอ้ เทจ็ จริงจากชุมชน หรือทอ้ งถ่ิน มีประสิทธิภาพ
แต่เป็นวธิ ีที่ตอ้ งใหเ้ วลาและเสียค่าใชจ้ ่ายมาก
ถดั ไป
ถดั ไป

1.3 ประเภทของปัญหาในชุมชนหรือทอ้ งถ่ิน 6 7
2)การถือครองที่ดิน เกษตรกรส่วนใหญ่มีท่ีดินทากินเป็น
ในแต่ละชุมชนหรือทอ้ งถ่ินจะมีปัญหาหรือความตอ้ งการ ของตนเอง บางรายประสบปัญหาขาดทุน ต่อเน่ืองทุกปี จน
ตอ้ งขายท่ีดินทากินไปบางส่วน
ภายในชุมชนหรือทอ้ งถิ่นที่แตกต่างกนั โดยสามารถแบ่งเป็น 3) ภยั ธรรมชาติ ในช่วงภยั แลง้ เกษตรกรไม่สามารถทาการ
ผลิตได้ เนื่องจากระบบชลประทานไม่เพยี งพอต่อการทา
ประเภทต่าง ๆ ได้ ดงั น้ี การเกษตร
1. ปัญหาด้านเศรษฐกจิ คือ ปัญหาที่เกี่ยวขอ้ งกบั การ
ประกอบอาชีพ เช่น การผลิต การจาหน่ายการบริโภค ถดั ไป

การบริการต่าง ๆ เก่ียวกบั การท่องเที่ยวในชุมชน

ซ่ึงมีประเดน็ สาคญั ดงั น้ี
1) การขาดแคลนปัจจยั การผลิตและปัจจยั ท่ีจาเป็น
ซ่ึงเป็นส่วนสาคญั ในการผลิต ไดแ้ ก่ ที่ดิน เงินทุน แรงงาน

วตั ถุดิบ และเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ

ถดั ไป

ตัวอย่าง เทคโนโลยที ชี่ ่วยในการแก้ปัญหาด้านเศรษฐกจิ 8 2. ปัญหาด้านสังคม คือ ภาวะใด ๆ ในสงั คมที่คน 9
ภายในชุมชนหรือท้องถน่ิ จานวนมากถือวา่ เป็นสิ่งผดิ ปกติ ไม่พงึ ปรารถนา รู้สึก
ㆍการใชเ้ ทคโนโลยดี า้ นการออกแบบเคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ใน ไม่สบายใจ และตอ้ งการใหม้ ีการแกไ้ ขใหก้ ลบั คืนสู่สภาวะ
การพฒั นาภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินเพือ่ สร้างเป็นเครื่องมือที่ทนั สมยั ปกติ ซ่ึงประเดน็ ปัญหาดา้ นสังคม มีดงั น้ี
สามารถผลิตข้ึนงานหรือเพ่ิมอตั ราการผลิตไดม้ ากยงิ่ ข้ึน 1) ดา้ นคุณภาพของคน เช่น ปัญหาหน้ีสินในครัวเรือน
ㆍ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการแกป้ ัญหาท่ีดินทากินของเกษตรกร
ใหม้ ีประสิทธิภาพมากกวา่ เดิม เช่น การปลูกพืชในแนวต้งั ปัญหาทางการศกึ ษา
การปลูกพืชแบบไร้ดิน
2) ดา้ นความเป็นอยู่ เช่น ปัญหาการบริโภคเครื่องด่ืม
ㆍการใชเ้ ทคโนโลยใี นการแกป้ ัญหาภยั ธรรมชาติ เพือ่ ให้
เกษตรกรสามารถทาการเพาะปลูกได้ เช่น การแกป้ ัญหาเก่ียวกบั แอลกอฮอลแ์ ละบุหรี่เพิม่ ข้ึน ปัญหามลพษิ จาก แหล่งน้าในชุมชน
ดินโดยการปรับสภาพดินก่อนทาการเพาะปลูก การออกแบบ
ฝายชะลอน้าเพอ่ื ป้องกนั น้าท่วมและมีน้าสารองไวใ้ ชใ้ นฤดูแลง้ หรือทอ้ งถ่ิน ปัญหาเส้นทางการคมนาคมในพ้นื ที่ห่างไกล ปัญหา

ถดั ไป โร่คระบาดในคนและสตั ว์

3) ดา้ นความมนั่ ดง เช่น ปัญหาการก่อคดีอาญาเพ่มิ ข้ึนโดย

เฉพาะคดียาเสพติด ปัญหาการก่อการร้าย ปัญหาการลกั ลอบคา้

ส่ิงผดิ กฎหมายของผมู้ ีอิทธิพล ถดั ไป

ตวั อย่าง เทคโนโลยที ชี่ ่วยในการแก้ปัญหาด้านสังคมภาย 10 3. ปัญหาด้านวฒั นธรรม วฒั นธรรม คือ วถิ ีชีวติ ซ่ึงมี 11
ในชุมชนหรือท้องถน่ิ ท้งั ท่ีเป็นนามธรรมและรูปธรรม โดยวฒั นธรรมท่ีเป็นรูปธรรม
จะปรากฏในรูปของวตั ถุ ส่วนวฒั นธรรมที่เป็นนามธรรม คือ
ㆍการเผยแพร่ความรู้ช่องทางการขายของออนไลนเ์ พอื่ เพม่ิ ช่อง พฤติกรรมที่จบั ตอ้ งไม่ไดห้ รือยากท่ีจะมองเห็นได้ ในทนั ที
ทางการประชาสมั พนั ธก์ ารบริการของชุมชน หรือทอ้ งถิ่น เช่น ความรู้สึก คุณค่า ปรัชญา ความเช่ือ ส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิ ซ่ึงท้งั
ใหค้ นในชุมชนหรือทอ้ งถิ่นสร้างรายไดเ้ พม่ิ มากข้ึน 2 ส่วน จะประกอบอยใู่ นวถิ ีชีวติ ของคนในสงั คม
ㆍศนู ยป์ รึกษาปัญหาสุรา 1413 เป็นศูนยป์ รึกษาปัญหาสุรา
โดยใชเ้ ทคโนโลยโี ทรศพั ท์ ปัญหาดา้ นวฒั นธรรมท่ีเกิดข้ึนในชุมชนหรือทอ้ งถิ่น
(Alcohol Helpline Center)
ในการใหค้ าปรึกษากบั ผทู้ ี่ตอ้ งการเลิกด่ืมสุรา จาแนกออกเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี
ㆍ การใชแ้ อปพลิเคชนั การส่ือสาร เช่น ไลนก์ ลุ่มสาหรับแจง้
เบาะแสการใชย้ าเสพติดในชุมชนหรือทอ้ งถิ่น เพ่อื ใหเ้ ฝ้าระวงั 1) ปัญหาดา้ นวฒั นธรรมทางวตั ถุ เช่น การเส่ือมสภาพของ
และแกป้ ัญหายาเสพติดในชุมชนหรือทอ้ งถิ่น
ㆍการเปิ ดศนู ยป์ ฏิบตั ิการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค โบราณสถาน โบราณวตั ถุ

กระทรวงสาธารณสุข กรณีการระบาดของ โรคไขเ้ ลือดออก 2) ปัญหาดา้ นวฒั นธรรมทางภูมิปัญญา เช่น การปกป้อง

เพอื่ เตรียมพร้อมรับมือในช่วงท่ีกาลงั เขา้ สู่ฤดูระบาด ภูมิปัญญาดา้ นสมุนไพร การแพทยแ์ ผนไทย

ถดั ไป การนวดแผนโบราณ

ถดั ไป

ตวั อย่าง เทคโนโลยที ช่ี ่วยในการแก้ปัญหาด้าน 12 4. ปัญหาด้านส่ิงแวดล้อม คือ ปัญหาท่ีเกิดจากการใช้ 13
ทรัพยากรอยา่ งฟ่ ุมเฟื อย และขาดความรอบตอบ จนส่งผล
วฒั นธรรมภายในชุมชนหรือท้องถ่นิ กระทบต่อคุณภาพชีวติ ธรรมชาติ ดิน น้า อากาศ ระบบนิเวศ
ㆍ การใชก้ ระบวนการทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยใี น โดยทุกปัญหาที่เกิดข้ึนมีความเก่ียวพนั กนั อยา่ งเป็นระบบ
การพฒั นางานหตั ถกรรม หรือใชก้ ระบวนการทางวศิ วกรรม และส่งผลกระทบกนั เป็นลูกโซ่ เช่น การใชอ้ วนหรือแหท่ีมี
ตาถี่จบั สัตวน์ ้าที่ยงั ไม่โตเตม็ วยั ทาให้ สัตวน์ ้าชนิดดงั กล่าวมี
เทคโนโลยวี สั ดุเพ่ือใหส้ ามารถเกบ็ รักษางานศิลปะ หรือ จานวนลดลง เนื่องจากไม่สามารถอยรู่ อดไดถ้ ึงวยั เจริญพนั ธุ์
และสัตวอ์ ื่นท่ีกินสตั วน์ ้าชนิดน้ีเป็น อาหารหลกั กจ็ ะประสบ
งานหตั ถกรรมไดย้ าวนานมากยง่ิ ข้ึน ปัญหาขาดแคลนอาหาร จึงส่งผลใหจ้ านวนสตั วช์ นิดอื่น ๆ
ท่ีอยใู่ นห่วงโซ่อาหารเดียวกนั ไดร้ ับ ผลกระทบไปดว้ ย
ㆍการพฒั นาวธิ ีการรักษาโรคดว้ ยการแพทยแ์ ผนไทยใหถ้ ูก
คุม้ ครองดว้ ยกระบวนการทางทรัพยส์ ินทางปัญญา ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมทเ่ี กดิ ขนึ้ ในชุมชนหรือท้องถน่ิ จาแนก
ออกเป็ น 3 ประเภท ดงั นี้
ㆍฐานขอ้ มูลสมุนไพรที่รวบรวมขอ้ มูลสมุนไพร สรรพคุณ และ
รายละเอียดในการใช้ เป็นส่วนประกอบของ ตารับยาไทย
ซ่ึงอนุรักษแ์ ละเผยแพร่ภูมิปัญญาไทย รวมถึงการใชป้ ระโยชน์
อยา่ งยงั่ ยนื

ถดั ไป ถดั ไป

1ปัญหาภยั ธรรมชาติ เช่น วาตภยั อุทกภยั 14 3ปัญหามลพิษส่ิงแวดลอ้ ม เกิดจากการท่ีมนุษย์ 15

ความแหง้ แลง้ แผน่ ดินไหว ทาใหเ้ กิดความเสียหาย บริโภคทรัพยากรธรรมชาติในปริมาณท่ีสูงข้ึนทุกขณะ โดยผา่ น

ในทางเศรษฐกิจ และทาใหส้ ังคมเกิดภาวะขาดแคลน อาหาร กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม อยา่ งเป็นระบบ

และทรัพยากรธรรมชาติในการดารงชีวติ กระทบ ต่อ ขณะเดียวกนั ท้งั มนุษยแ์ ละโรงงานอุตสาหกรรมต่างมีของ

การท่องเที่ยว การเดินทาง และการขนส่ง ยงิ่ เกิด ติดต่อกนั เสียขบั ถ่ายออกสู่ส่ิงแวดลอ้ มในรูปของสารพษิ หรือ
เป็นเวลานานกจ็ ะยง่ิ ส่งผลดา้ นลบต่อเศรษฐกิจ เพม่ิ มากข้ึน
อีกท้งั ภยั ธรรมชาติบางประเภทอาจเกิดข้ึน ในช่วงระยะเวลา พลงั งานในปริมาณท่ีก่อใหเ้ กิด ปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม โดย
ปริมาณของสารพิษจะเพ่ิมข้ึนตามจานวนประชากรที่เพ่ิม
ที่ส้นั แต่ส่งผลกระทบเป็นระยะเวลา ที่ยาวนานเป็น 10 ปี ข้ึน ทาใหเ้ กิดปัญหาน้าเสีย การเผาถ่านหินทาใหอ้ ากาศเป็นพิษ

2ปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ เกิดจากความไม่ ดินเสีย

สมดุลของจานวนประชากร การรบกวน ธรรมชาติและส่ิง
แวดลอ้ มจนเกินความพอดี การบุกรุก พ้ืนที่ป่ าไม้ ทาลาย

แหล่งน้าตามธรรมชาติ ทาใหแ้ หล่ง อาหารและวตั ถุดิบท่ีจาเป็น
ในการดารงชีวติ ของมนุษย์ และสตั วใ์ นธรรมชาติลดจานวนลง

สวนทางกบั จานวน ประชากรท่ีเพ่ิมข้ึน

ถดั ไป ถดั ไป

ตัวอย่าง เทคโนโลยที ช่ี ่วยในการแก้ปัญหาด้านส่ิง 16 ㆍ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการแกป้ ัญหามลพษิ ส่ิง 17
แวดล้อมภายในชุมชนหรือท้องถน่ิ
ㆍการใชเ้ ทคโนโลยใี นการแกป้ ัญหาจากภยั ธรรมชาติ เช่น แวดลอ้ มเช่น การใชก้ ระบวนการรีไซเคิลขยะ การคิดตน้ วสั ดุ
การติดต้งั ระบบเตือนภยั สึนามิใหก้ บั ชุมชนหรือทอ้ งถิ่นที่อยใู่ กลั
ชายฝั่งทะเลที่มีความเส่ียงในการเกิดคล่ืนสึนามิ การวางแผนการ ทางธรรมชาติมาทาภาชนะที่สามารถยอ่ ยสลายไดเ้ พือ่ ทดแทน
ปลูกพืชโดยใชข้ อ้ มูลทางนิยมวทิ ยาและสถิติจากการพยากรณ์
อากาศเพือ่ ป้องกนั ภยั จากความแหง้ แลง้ ภยั พบิ ตั ิธรรับการ การใชพ้ ลาสติก
พยากรณ์จากเคร่ืองมือและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์รวมถึงไดร้ ับ
การเฝ้าระวงั อยา่ งต่อเน่ือง จะช่วยลดความเสียหายท่ีเกิดข้ึนไดจ้ าก 2 การใช้เทคโนโลยใี นการแก้ปัญหา
การเตรียมพร้อมต่อสถานการณ์ฉุกเฉินดงั กล่าว
ㆍการใชเ้ ทคโนโลยใี นการแกป้ ัญหาการขาดแคลนทรัพยากร เทคโนโลยี เป็นสิ่งท่ีมนุษยส์ ร้างสรรคข์ ้ึนมาใชเ้ พอ่ื การแกป้ ัญหา
ธรรมชาติ เช่น การเพาะพนั ธุพ์ ชื ดว้ ยวธิ ีการทางชีววทิ ยา การป้อง พ้นื ฐานท่ีเกิดข้ึนในการดารงชีวติ ต้งั แต่สมยั โบราณ เช่น การเพาะ
กนั น้าเสียโดยใชร้ ะบบบาบดั น้าเสีย การใชเ้ ครื่องกลเดิมอากาศ ปลูก การเล้ียงสัตว์ การสร้างท่ีอยอู่ าศยั เส้ือผา้ เคร่ืองนุ่งห่ม
เพื่อเพม่ิ คุณภาพน้าการสร้างเขื่อนเพ่อื กกั เกบ็ น้า
ยารักษาโรค การคมนาคมขนส่ง การคา้ ขาย โดยเทคโนโลยใี น
ถดั ไป
ปัจจุบนั ไดถ้ ูกพฒั นาใหม้ ีประสิทธิภาพมากข้ึนจากหลายสาเหตุ

เช่น วทิ ยาการและองคค์ วามรู้ต่างๆในปัจจุบนั มีความกา้ วหนา้

ทนั สมยั มากข้ึน อตั ราการเพมิ่ ข้ึนของประชากร ปริมาณของ
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีจานวนลดลงเทคโนโลยที ี่มีอยใู่ นปัจจุบนั

จึงถูกคิดคนั ข้ึนมาโดยเนน้ ใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยเฉพาะ

เร่ืองการใชพ้ ลงั งาน การกาจดั ขยะ การรักษาโรค

และการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม ถดั ไป

2.1 ระดบั ของเทคโนโลยที ่ีใชใ้ นการแกป้ ัญหา 18 แหล่งการเรียนรู้ 19
ระดบั ของเทคโนโลยที ่ีใชใ้ นการแกป้ ัญหา แบ่งออกเป็น
3ระดบั ดงั น้ี ㆍภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน
1.เทคโนโลยรี ะดับพนื้ บา้ นหรอื พนื้ ฐาน
เป็นเทคโนโลยีท่ีใชใ้ นการดารงชีพอาศยั ทรพั ยากรท่ีมีอยใู่ น ㆍปราชญช์ าวบา้ น

ทอ้ งถ่ินพฒั นาเป็นเทคโนโลยีโดยเทคโนโลยีระดบั พืน้ บา้ นเกิด ㆍส่ือดิจิทลั ในเวบ็ ไซตต์ ่างๆ ท้งั จากในและต่างประเทศ
2.เทคโนโลยรี ะดับกลาง

จากการสงั เกต จดจา และฝึกหดั จนเกิดประสบการณต์ รง เป็นเทคโนโลยที ่ีตอ้ งการความรู้และประสบการณ์เพิ่มมากข้ึน

ㆍ ตวั อยา่ งเทคโนโลยี เช่น การทามีด มีการใชก้ ลไกท่ีซบั ซอ้ นมากข้ึน ผปู้ ฏิบตั ิงานจึงตอ้ งมีความรู้และ
เทคโนโลยใี นการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
มีทกั ษะ รวมท้งั มีประสบการณ์มากข้ึน
พร้า จอบ เสียม คราด ตัวอย่างเทคโนโลยี
ㆍเทคโนโลยใี นการแปรรูปผลผลิต การถนอมอาหาร
เพือ่ ยดื อายุ
เทคโนโลยที ี่ใชเ้ ป็นเครื่องมือทุ่นแรง หรือเครื่องมือท่ีเกษตรกรใช้
การเกบ็ รักษาและชะลอการเน่าเสียของอาหาร โดยที่ยงั รักษา

คุณค่าทางโภชนาการไว้ เช่น การตากแหง้ การแช่แขง็ ในการทางานเกษตรเพือ่ ช่วยลดความยากลาบากในการทางาน
ㆍ การคิดคน้ ตารับยาสมุนไพร เช่น ยาแกไ้ ข้ ยาขบั ลม
ยาบารุงโลหิต เช่น รถไถนา รถดานา รถเกี่ยวนวดขา้ ว เคร่ืองอดั ฟาง เครื่อง

ถดั ไป หวา่ นป๋ ุยเครื่องฝังป๋ ุย เคร่ืองพน่ อเนกประสงค์ ถดั ไป

แหล่งการเรียนรู้ 20 21
ㆍ เทคโนโลยที ี่ใชท้ างการเกษตร เช่น การตดั แต่ง
ㆍสถาบนั องคก์ ร หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง พนั ธุกรรมพชื การประยกุ ตใ์ ช้
Internet of Things (IoT) ในการทา
ㆍสถานประกอบการ สถานประกอบวชิ าชีพอิสระ Smart Farm โดยใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์
อิเลก็ ทรอนิกส์ต่าง ๆ ท่ีสามารถเช่ือมโยงหรือส่งขอ้ มูลกนั
โรงงานอุตสาหกรรมหน่วยวจิ ยั ในทอ้ งถ่ิน ไดแ้ ละสามารถควบคุมการทางานของอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์
ต่าง ๆ ผา่ นทางเครือข่ายอินเทอร์เนต็ ได้
ㆍสื่อดิจิทลั ในเวบ็ ไซตต์ ่าง ๆ ท้งั จากในและต่างประเทศ
3.เทคโนโลยรี ะดบั สูง ถดั ไป

เป็นเทคโนโลยที ่ีตอ้ งอาศยั ประสบการณ์ข้นั สูง มีการใชร้ ะบบ

ฐานขอ้ มูลและการติดต่อสื่อสาร ตลอดจนมีการศกึ ษาและวจิ ยั

พฒั นามาอยา่ งต่อเน่ือง มีบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถ และ

มีการ ลงทุนสูงเพื่อใหไ้ ดผ้ ลงานเทคโนโลยเี หล่าน้นั

ตัวอย่างเทคโนโลยี
ㆍเทคโนโลยที ี่ใชใ้ นการผลิต เช่น หุ่นยนต์

ถดั ไป

แหล่งการเรียนรู้ 22 23
1. ทรัพยากรทางเทคโนโลยี ส่ิงท่ีตอ้ งคานึงถึงมี 7 ดา้ น ดงั น้ี
ㆍ สื่อส่ิงพมิ พต์ ่าง ๆ เช่น วารสาร หนงั สืออา้ งอิง 1) มีบุคลากรท่ีมีความรู้ ดวามสามารถในการพฒั นาหรือใช้
เทคโนโลยนี ้นั หรือสามารถพฒั นาบุคลากรท่ีมีอยใู่ หม้ ีความรู้ท่ี
ㆍ สถาบนั องคก์ ร หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง จะใชใ้ นการพฒั นาหรือใชเ้ ทคโนโลยนี ้นั ได้
2) มีขอ้ มูลและสารสนเทศในการพฒั นาเทคโนโลยี โดยมีขอ้ มูล
ㆍสถานประกอบการ สถานประกอบ วชิ าชีพอิสระโรงงาน จากความรู้หรืองานวจิ ยั ท่ีสามารถยนื ยนั การใชเ้ ทคโนโลยใี นการ
แกป้ ัญหาหรือสนองความตอ้ งการของชุมชน
อุตสาหกรรม หน่วยวจิ ยั ระดบั ชาติและนานาชาติ 3)มีวสั ดุที่ใชใ้ นการสร้างเทคโนโลยอี ยภู่ ายในชุมชนหรือ
จดั หามาไดไ้ ม่ยาก
ㆍ สื่อดิจิทลั ในเวบ็ ไซดต์ ่าง ๆ ท้งั จากในและต่างประเทศ
2.2 ปัจจยั ท่ีใชใ้ นการตดั สินใจเลือกเทคโนโลยี ถดั ไป

การใชเ้ ทคโนโลยใี นการพฒั นางานอาชีพจาเป็นตอ้ งพจิ ารณา

ขอ้ มูลทางเศรษฐศาสตร์เพือ่ วเิ คราะหค์ วามคุม้ ค่า ควบคู่กบั

ผลลพั ธจ์ ากการใชเ้ ทคโนโลยนี ้นั ดว้ ย ปัจจยั ท่ีจาเป็นในการ

ตดั สินใจ มีดงั น้ี

ถดั ไป

4)มีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ 24 25
ใหเ้ ป็นชิ้นงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 1) การประเมินผลกระทบต่อมนุษยแ์ ละสังคม เป็นการ
5) มีพลงั งานท่ีทาใหเ้ ทคโนโลยเี กิดการทางาน ประเมินผลกระทบท้งั ทางบวกและทางลบท่ีเกิดข้ึน ต่อชีวติ
6) มีงบประมาณ ทุน รวมถึงทรัพยส์ ินที่เป็นอาคาร สถานที่ ของมนุษย์ เช่น ความปลอดภยั ในการใชง้ าน การปรับเปล่ียน
หรือท่ีดินท่ีเหมาะสม การดารงชีวติ การปรับเปล่ียนแนวความคิด
7) มีเวลาในการสร้างเทคโนโลยี
2. ผลกระทบต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกจิ และส่ิงแวดล้อมใน 2) การประเมินผลกระทบต่อเศรษฐกิจ เป็นการประเมินผล
ชุมชนหรือท้องถิ่น กระทบท้งั ทางบวกและทางลบที่เกิดข้ึนต่อการผลิต
การสร้างสิ่งประดิษฐเ์ ทคโนโลยี หรือนวตั กรรม จะตอ้ งมีการ การจาหน่าย การบริโภค รวมถึงบริการต่าง ๆ ของชุมชนหรือ
ประเมินผลกระทบต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดลอ้ ม ทอ้ งถิ่น
ในชุมชนหรือทอ้ งถ่ิน ดงั น้ี 3) การประเมินผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม เป็นการประเมินผล
กระทบท้งั ทางบวกและทางลบท่ีเกิดข้ึนต่อความสมบูรณ์ของ
ถดั ไป สิ่งแวดลอ้ ม การเปลี่ยนแปลงท่ีจะเกิดข้ึนในธรรมชาติ จนอาจ
เกิดภยั พิบตั ิท่ีร้ายแรง

ถดั ไป

ในการประเมินผลกระทบจากเทคโนโลยที ่ีเลือกใช้ 26 ในการสร้างสรรคเ์ ทคโนโลยขี ้ึนมาแกป้ ัญหาน้นั ผู้ 27
จะตอ้ งประเมินทุกทางเลือกของการแกป้ ัญหาเพื่อเปรียบเทียบ
แลว้ เลือกทางเลือกที่มีผลกระทบนอ้ ยท่ีสุด สร้างสรรคค์ วรตรวจสอบวา่ มีเทคโนโลยที ี่มีลกั ษณะคลา้ ยกบั

3. ความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางปัญญา ของตนไดร้ ับการจดทะเบียนเป็นทรัพยส์ ินทางปัญญาแลว้ หรือ
การพฒั นาเทคโนโลยเี พือ่ ใชใ้ นการแกป้ ัญหาตอ้ งคานึงถึง
ทรัพยส์ ินทางปัญญา ซ่ึงเป็นผลงานอนั เกิดจากความคิดสร้าง ไม่ เพราะหากเทคโนโลยที ่ีสร้างสิ่งประดิษฐท์ ่ีมีลิขสิทธ์ิอยแู่ ลว้
สรรคข์ องมนุษย์ โดยทรัพยส์ ินทางปัญญาเป็นทรัพยอ์ ีกชนิด อาจจะทาใหผ้ สู้ ร้างสรรคถ์ ูกฟ้องร้อง เรื่อง ละเมิดลิขสิทธ์ิใน
หน่ึง นอกเหนือจากสังหาริมทรัพยแ์ ละอสงั หาริมทรัพย์ เน่ือง
จากสิ่งประดิษฐ์ เทคโนโลยี หรือนวตั กรรมจะถูกคุม้ ครองดว้ ย ภายหลงั ได้
สิทธิบตั รตามที่กฎหมายกาหนด หากมีการละเมิดกฎหมายจะมี
โทษจาคุก เสียค่าปรับ หรือท้งั จาท้งั ปรับ แหล่งขอ้ มลู ในการสืบคน้ เร่อื ง สทิ ธิบตั ร เชน่

ถดั ไป 1) การสืบคน้ สิทธิบตั รในระบบสืบคนั ขอ้ มูลสิทธิบตั รของ

กรมทรัพยส์ ินทางปัญญา เขา้ ถึงไดท้ ี่

http://patentsearch.ipthailand.go.th

ถดั ไป

28 29
2) คลงั ขอ้ มูลงานวจิ ยั ไทย โดยความร่วมมือของหน่วยงานวจิ ยั 3) ฐานขอ้ มูลงานวจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทยและ
ในประเทศไทย เช่น หน่วยงานวจิ ยั ในประเทศไทย เช่น คลงั ปัญญาจุฬา ฯ เพือ่
- สานกั งานการวจิ ยั แห่งชาติ (วช.) ประเทศไทย เขา้ ถึงไดท้ ่ี htp://cuirchula.ac.t/ และ
- สานกั งานคณะกรรมการส่งเสริมวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และ Thai Digital Collection (TDC) เขา้ ถึง ไดท้ ี่
- นวตั กรรม (สกสว.) http://tdc.thailis.or.th/tdc/index.php
- สานกั งานคณะกรรมการนโยบายวทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมแห่งชาติ (สวทน.) ถดั ไป
- สานกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ
(สวทช.)

ถดั ไป

จดั ทาโดย
ด.ญ.รุจจนิ นั ท์ คาวาง
ชน้ั ม.3/1 เลขท่ี 1

เสนอ
ครู วราภรณ์ เป็งสลี

ถดั ไป กลบั หนา้ ปก


Click to View FlipBook Version