The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จิตอาสาวัยใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kru_ratree see-ngam, 2022-05-28 05:44:40

โครงการจิตอาสาวัยใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ

จิตอาสาวัยใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ

Keywords: จิตอาสา

โครงการ

จิตอาสาวัยใส

ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ



โรงเรียนไพรธรรมคุณวิทยา อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ

สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ

คณะผู้จัดทำ ที่ปรึกษา
นายปรพล ชาภูวงษ์ นายณัชพงศ์ ผิวอ่อน นางสาวประสานศรี ดวงแก้ว
นายอนันต์ชัย ศรีสุข นางสาวโชติกา พัฒธานี
นางสาวญาดาวดี ดวงแก้ว นางสาวน้ำทิพย์ ประจญมอญ นางสาวสุพิชญา สิงห์คำ
นางสาวราตรี สีงาม



ชอ่ื เรื่อง : จติ อาสาวยั ใส ใส่ใจสุขภาพผ้สู งู อายุ นายอนนั ตช์ ัย ศรีสขุ
ชือ่ ผจู้ ัดทำ : นายปรพล ชาภูวงษ์ นางสาวญาดาวดี ดวงแกว้
: นายณชั พงศ์ ผิวออ่ น นางสาวน้ำทพิ ย์ ประจญมอญ
ครทู ี่ปรึกษา : นางสาวโชติกา พัฒธานี นางสาวสพุ ชิ ญา สิงหค์ ำ
: นางสาวประสานศรี ดวงแกว้
ปกี ารศกึ ษา
สถานศึกษา นางสาวราตรี สีงาม
: 2563
: โรงเรียนไพรธรรมคุณวทิ ยา

บทคดั ยอ่

การจัดทำโครงการจิตอาสาวยั ใส ใสใ่ จสขุ ภาพผ้สู งู อายุ มีวตั ถปุ ระสงค์ (1)เพื่อสำรวจขอ้ มูลและ
ความตอ้ งการของผสู้ ูงอายทุ ่มี ีภาวะพง่ึ พิงในเขตตำบลไพร (2)เพ่ือประชาสัมพนั ธเ์ ชิญชวน ผูบ้ รหิ าร คณะครู
นักเรียนและบุคคลท่ัวไปร่วมบริจาค (3)เพื่อศึกษาเรียนรวู้ ธิ ีการดแู ลผ้สู งู อายทุ ี่มีภาวะพึ่งพงิ (4)เพื่อประเมนิ
ความพึงพอใจของผูร้ บั บริการ และ (5)เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพอนามยั ของคนในโรงเรียน
และชมุ ชน กลุ่มเปา้ หมายคือผ้สู ูงอายทุ ่ีมภี าวะพง่ึ พิงในเขตตำบลไพร อำเภอขนุ หาญ จงั หวดั ศรีสะเกษ
จำนวน 7 คน แบง่ เป็นผ้สู งู อายุที่มภี าวะพ่ึงพงิ 2 กลุ่ม กลา่ วคือ กล่มุ ที่ 1 มีลกั ษณะช่วยเหลอื ตัวเองได้ และ
กลุม่ ที่ 4 ไมส่ ามารถชว่ ยเหลือตวั เองได้ เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการศกึ ษา ไดแ้ ก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์
แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะหข์ ้อมลู โดยใชค้ ่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการพรรณนาโวหาร

ผลการศกึ ษาพบวา่
1. การสำรวจข้อมูลและความต้องการของผู้สูงอายุท่ีมภี าวะพ่งึ พงิ ในเขตตำบลไพร มจี ำนวน

ทง้ั ส้นิ 113 คน ผู้ศึกษาไดศ้ ึกษาผู้สงู อายุ จำนวน 7 คน เพื่อสำรวจความตอ้ งการ พบวา่ จากการสอบถาม
ผู้สูงอายทุ ม่ี ภี าวะพึ่งพงิ ทัง้ 7 คน พบว่า ผู้ป่วยมคี วามต้องการจะไดร้ บั การดูแลช่วย ได้แก่ สิง่ ของเคร่ืองใช้
ที่จำเป็นในการดำรงชีวิต เช่น กระดาษชำระ ผา้ อ้อมสำเร็จสำหรบั ผ้สู ูงอายุ สำลี และนมบำรุงสุขภาพ

2. การประชาสมั พันธ์เชิญชวน ผบู้ ริหาร คณะครู นักเรยี นและบุคคลท่ัวไป ร่วมบริจาคเงนิ และ
ส่ิงของ เพื่อจัดหาส่ิงจำเป็นท่ีผู้สูงอายุและผู้ดูแลต้องการ ผลจากการประชาสัมพันธ์ดังกล่าว พบว่า ได้รับ
เงินบริจาค จากผู้บรหิ าร คณะครู นกั เรียน และบคุ คลทว่ั ไป จำนวนผูบ้ รจิ าค 250 คน เปน็ เงนิ ทั้งสน้ิ 7,980
บาท (เจด็ พนั เก้ารอ้ ยแปดสิบบาทถว้ น) ได้นำไปซือ้ สิ่งของเคร่ืองใช้ทจี่ ำเป็นตามความต้องการของผู้สูงอายุที่
มีภาวะพ่ึงพิง เป็นเงิน จำนวน 2,954 บาท (สองพันเก้าร้อยห้าสิบส่ีบาทถ้วน) คงเหลือเงินจำนวน 5,026
บาท (หา้ พันย่สี บิ หกบาทถ้วน) ถอื ว่าไดร้ ับความร่วมมือในการดำเนนิ โครงการในคร้ังนีเ้ ปน็ อย่างดยี ง่ิ



3. การศึกษาเรียนรู้วิธีการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้ศึกษาได้รับความอนุเคราะห์จาก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกราม สอนวิธีการดูแล ผู้สูงอายุและผู้ป่วยท่ีมีภาวะพ่ึงพิงเบื้องต้น เช่น
การตรวจวัดความดันโลหิต การตรวจวัดค่าน้ำตาลในเลือด การทำกายภาพบำบัด การนวดผ่อนคลาย การ
ประคบ เปน็ ตน้

จากนั้นผู้ศึกษาได้ลงพ้ืนที่เพื่อปฏิบัติการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีภาวะพ่ึงพิงทั้ง 7 คน โดย
ทดลองตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจวดั ค่าน้ำตาลในเลือด ทำกายภาพบำบดั การนวดผอ่ นคลาย ประคบ
ท้ังน้ี โดยมีนางสุรีย์ ใจคง ตำแหน่ง ผู้ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิง (CG) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลกราม ท่มี หี น้าที่โดยตรงในการดแู ลผู้ปว่ ย ให้คำแนะนำในการดแู ลผู้ปว่ ยอย่างใกล้ชดิ และถูกวิธี

4. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความพึงพอใจต่อโครงการจิตอาสาวัยใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ
ได้ประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ ผู้ตอบแบบประเมิน จำนวน 21 คน แบ่งเป็น ผู้สูงอายุ 7 คน
คิดเป็นร้อยละ 33.33 ผู้ดูแล 14 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 แยกเป็นเพศชาย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.76
และเพศหญิง 20 คน คดิ เป็นร้อยละ 95.24 โดยภาพรวมอย่ใู นระดบั มากทกุ ดา้ น ( x =4.43, S.D.=0.45)
รายการท่ีมีระดับความพึงพอใจมากท่ีสดุ ไดแ้ ก่ โครงการนี้มีประโยชน์ต่อผู้สูงอายุและควรดำเนินการต่อไป
( x =5, S.D.=0) ผู้สูงอายุรสู้ ึกผ่อนคลายและมีกำลงั ใจมากข้ึน ผู้ดูแลผู้สูงอายุรู้สกึ ผ่อนคลายและมกี ำลังใจ
มากข้นึ ( x =4.90, S.D.=0.30) สงิ่ ของบรจิ าคมคี วามจำเป็นตอ่ ความตอ้ งการ ( x =4.86, S.D.=0.360)

5. สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพอนามัยของคนในโรงเรียนและชุมชนผู้ศึกษาได้
ประชาสัมพนั ธ์เกี่ยวการดูแลสขุ ภาพของตัวเองและบคุ คลในครอบครวั บรเิ วณหน้าเสาธงในกจิ กรรมหน้าเสา
ธง เช่น การดำเนินชีวติ ควรใช้ความระมัดระวังและอย่าประมาท ควรเลือกรบั ประทานอาหารที่มีประโยชน์
ถูกต้องตามหลักอนามัย ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และเสริมสร้างจิตใจให้มีความสุข เพื่อป้องกัน
การเกิดโรคความดนั โลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดในสมองตบี โรคกระดูกทับเส้น ซึ่งจะนำไปสู่การ
เกิดภาวะพ่ึงพิงเม่ือมีอายุมากข้ึน ฉะน้ัน เมื่อมีความรู้และข้อมูลดังกล่าวแล้ว จึงควรป้องกันดูแลรักษา
สุขภาพของตนเอง คนในครอบครวั ไม่ใหเ้ กดิ โรคดังกลา่ ว

กติ ตกิ รรมประกาศ

คณะผู้จัดทำโครงการจิตอาสาพัฒนาชุมชน เรื่อง จิตอาสาวัยใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ สำเร็จลุล่วง
ได้ดว้ ยดี ได้รบั ความอนุเคราะห์ข้อมูล ความรู้ จากหลายฝ่ายท่เี ก่ียวขอ้ ง

ขอบพระคุณ ว่าท่ีร.ต.ชัยภัทร ศรีสุภาพ หัวหน้าสำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลไพร
นางมะลิวรรณ บุตรอุดม ผู้จัดการระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข CM โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลกราม และนางสุรีย์ ใจคง ผู้ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง CG ตลอดจนผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยทุก
ทา่ นทไี่ ด้ให้ขอ้ มลู ในการศกึ ษาคร้ังนี้

ขอบพระคุณ คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมทุกท่าน ที่ได้ให้
คำแนะนำและตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมูลในการจดั ทำโครงการให้ถกู ต้องสมบรู ณ์

ขอบพระคุณ นายเฉลิมชัย พิศพงษ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนไพรธรรมวิทยา และครูโรงเรียน
ไพรธรรมคณุ วทิ ยา ทใ่ี หก้ ารสนับสนนุ ใหค้ ำชีแ้ นะเพ่ิมเติมที่เป็นประโยชน์ในการจดั ทำโครงการ

ขอบพระคุณ ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคคลทั่วไปทุกท่าน ท่ีได้ให้ความร่วมมือในการ
บริจาคเงนิ หรอื สิง่ ของเคร่ืองใชใ้ นชวี ิตประจำวนั

ทา้ ยท่ีสุดขอขอบคณุ คณุ พ่อ คณุ แม่ ที่เปน็ กำลังใจ ให้โอกาสทางการศกึ ษาอนั มคี า่ ยงิ่

คณะผ้จู ดั ทำโครงการ

สารบญั

บทท่ี หนา้
บทคดั ยอ่ ............................................................................................................................. ก
กิตติกรรมประกาศ ............................................................................................................... ค
สารบญั ................................................................................................................................ ง
บทท่ี
1 บทนำ........................................................................................................................... 1

ความเปน็ มาและความสำคญั ของโครงการ................................................................... 1
วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ............................................................................................ 3
เป้าหมาย..................................................................................................................... 3
ระยะเวลาในการดำเนนิ งาน......................................................................................... 4
นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ ........................................................................................................ 4
2 เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง ....................................................................................................... 6
จติ อาสา....................................................................................................................... 6
ผสู้ งู อายุ....................................................................................................................... 7
ผู้ป่วยติดเตยี ง.............................................................................................................. 8
องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลไพร...................................................................................... 9
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลกราม ....................................................................... 10
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมบู่ า้ น ......................................................................... 11
ผูจ้ ดั การระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข ........................................................ 12
ผชู้ ว่ ยเหลือผสู้ ูงอายุทม่ี ภี าวะพง่ึ พิง............................................................................... 13
กรอบแนวคดิ ในการจัดทำโครงการจติ อาสาวัยใส ใสใ่ จสขุ ภาพผู้สงู อายุ ...................... 15

สารบัญ (ต่อ)

บทท่ี หน้า
3 วิธดี ำเนนิ งาน .............................................................................................................. 18
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง.......................................................................................... 18
เครือ่ งมือที่ใช้ในการวิจัย .............................................................................................. 18
ขน้ั ตอนดำเนนิ การวจิ ัย ................................................................................................ 19
สถติ ิทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล .................................................................................... 20
4 ผลการดำเนินงาน........................................................................................................ 21
ผลการดำเนินงาน........................................................................................................ 21
ตอนที่ 1 การสำรวจข้อมูลและความต้องการของผู้สงู อายุทีม่ ีภาวะพึ่งพิงในเขตตำบลไพร... 21
ตอนท่ี 2 การประชาสมั พนั ธ์เชญิ ชวน ผูบ้ ริหาร คณะครู นักเรียนและบคุ คลทัว่ ไปรว่ มบรจิ าค 21
ตอนที่ 3 การศกึ ษาเรยี นรวู้ ธิ ีการดูแลผ้สู ูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง........................................... 23
ตอนท่ี 4 การศึกษาความพึงพอใจของผ้รู ับบริการ......................................................... 23
ตอนที่ 5 การสร้างความตระหนักในการดแู ลสุขภาพอนามัยของคนในโรงเรียนและชมุ ชน 27

5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ................................................................................. 28
สรุปผลการศกึ ษา......................................................................................................... 28
อภิปรายผล............................................................................................................... .... 30
ขอ้ เสนอแนะ................................................................................................................ 32

บรรณานุกรม....................................................................................................................... 33
ภาคผนวก............................................................................................................................ 35

ก แบบสอบถามผสู้ งู อายุท่ีมีภาวะพง่ึ พิง................................................................................ 35
ข แบบสัมภาษณ์ .................................................................................................................. 37
ค แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ............................................................................................... 39
ง แบบเสนอโครงการ............................................................................................................ 42
จ ปฏิทนิ การปฏิบตั ิงาน ........................................................................................................ 48

สารบัญ (ต่อ)

บทที่ หนา้

ฉ บนั ทกึ ข้อความรับบริจาค.................................................................................................. 50
ช รายนามผบู้ รจิ าคเงิน......................................................................................................... 52
ซ สมุดเงนิ สด........................................................................................................................ 62
ฌ ภาพกจิ กรรมการดำเนนิ โครงการ ..................................................................................... 72

1

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของโครงการ

การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเป็นพลวัตสำคัญท่ีส่งผลกระทบในวงกว้าง ท้ังต่อสังคมโลกและประเทศ
ไทย โดยเฉพาะประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2548 ได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มข้ึน
อย่างรวดเร็วและต่อเน่ือง ส่งผลให้ปี 2562 ประชากรผู้สูงอายุมีมากกว่าประชากรวัยเด็ก สะท้อนได้จาก
ตัวเลขของกรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ข้อมูล ณ วันท่ี
31 ธ.ค. 2561 พบว่า ประเทศไทยมีประชากรทั้งหมด 66.4 ล้านคน เฉพาะผู้สูงอายุ 10,670,000 คน หรือ
ร้อยละ 16.06 แบ่งเป็นผู้สูงอายุชาย 4,720,000 คน และผู้สูงอายุหญิง 5,950,000 คน โดยจังหวัดท่ีมี
ประชากรผู้สูงอายุมากท่ีสุด คือ กรุงเทพฯ มากกว่า 1 ล้านคน (ร้อยละ 17.98) รองลงมา นครราชสีมา
เชียงใหม่ ขอนแก่น และอุบลราชธานี (กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2561)

ขณะท่ีสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติคาดการณ์ว่า ปี 2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคม
ผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ เป็นประเทศที่สองของอาเซียน รองจากสิงคโปร์ โดยประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
จะมีจำนวนไม่น้อยกว่า 13 ล้านคน หรือร้อยละ 20 ของประชากรท้ังหมด และอีก 20 ปีข้างหน้า ในปี
2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุจำนวน 20 ล้านคน หรือ 1 ใน 3 ของคนไทยจะเป็นผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุ
อายมุ ากกวา่ 80 ปขี ึ้นไป จะมีมากถงึ 3,500,000 คน (สภาพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ, 2564)

ดงั น้ัน การใช้จา่ ยงบประมาณในสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทยท่ีผ่านมา ไมว่ า่ จะเป็นด้านสขุ ภาพ
เบี้ยยังชพี พบวา่ มีแนวโนม้ เพม่ิ ขึน้ ทุกปี ขอ้ มูลของสถาบันวจิ ัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดอี าร์ไอ)
ภายใตก้ ารศึกษาเร่ืองการประมาณการณ์ค่าใช้จา่ ยสุขภาพ การดแู ล และเสรมิ สร้างสขุ ภาพ พบวา่ หาก
รฐั บาลยังไมอ่ อกมาตรการควบคุม รวมถงึ มาตรการใชช้ ีวิตของผูส้ งู อายุ คาดการณ์ ปี 2575 คา่ ใช้จา่ ยด้าน
สุขภาพของประเทศจะสูงถึง 2.2 ล้านล้านบาท และในด้านการจดั สรรเบ้ยี ยังชพี ผสู้ งู อายจุ ะมากยิ่งขึน้ โดย
ในปี 2561 ปรากฏตัวเลขใช้งบประมาณจดั สรรเบ้ยี ยงั ชพี ถึง 66,359 ลา้ นบาท (มูลนธิ ิสถาบนั วจิ ัยเพื่อการ
พฒั นาประเทศไทย, 2561)

ในพื้นที่เขตตำบลไพร มีผู้สูงอายุท่ีอย่ใู นภาวะพงึ่ พิง จำนวน 113 ราย แบง่ เป็น 4 กลุม่ แม้จะได้รับ
ความช่วยเหลือในเบ้ืองต้นจากหน่วยงานของรัฐในด้านต่าง ๆ เช่น ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้าน
สาธารณสุข ผชู้ ่วยเหลือผู้สูงอายทุ ่ีมีภาวะพึ่งพิง แต่อาจไม่ทั่วถึง และยังตอ้ งการสง่ิ ของที่จำเปน็ ในการดำรง
ชพี ต้องการการดูแลเอาใจใส่ ตลอดจนต้องการกำลงั ใจจากลูกหลาน เพ่ือให้มีพลังใจในการตอ่ สู้กับโรคร้าย
ท่ีรุมเร้า ซึ่งผู้จัดทำโครงการเองเป็นนักเรียนท่ีอาศัยอยู่ในชุมชน ไดเ้ ห็นสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุ

2

ท่ีมีภาวะพึ่งพิง หรือแม้แตค่ นในครอบครัวของผู้จัดทำโครงการเอง ซ่ึงมองวา่ หากมีความรู้เก่ียวกับการดูแล
ผูส้ ูงอายุในเบ้ืองต้น ก็จะสามารถช่วยแบ่งเบาภาระของผู้ปกครองได้บ้าง ดังน้ัน จงึ ได้ชักชวนเพ่ือนๆ จดั ทำ
โครงการจิตอาสาวัยใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุขึ้น กอรปกับโรงเรียนมีมีนโยบายให้นักเรียนทุกระดับช้ันทำ
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ทุกภาคเรียน เพ่ือสร้างความตระหนักและเผยแพร่ความรู้ในการ
ดูแลสุขภาพอนามัยคนในชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการได้ช่วยเหลือสังคมและเป็นส่ือกลางในการระดมทุนเพ่ือ
จัดหาสง่ิ ของเครือ่ งใช้ท่ีจำเปน็ นำไปมอบใหผ้ สู้ ูงอายุตอ่ ไป

ปญั หาผูส้ งู อายมุ ีจำนวนมากข้ึนทกุ ปี ปญั หาด้านสุขภาพ การดแู ลรกั ษาพยาบาลเพิ่มมากขึ้นเชน่ กัน
จากปัญหาดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยและสังคมโลก ทำให้นักเรียนจิตอาสา มีความตระหนักท่ี
จะช่วยเหลอื ศึกษาเรยี นรู้วิธีการดูแลสุขภาพผู้สูงอายใุ นชุมชน เพ่ือแบง่ เบาภาระครอบครัวของผูส้ ูงอายุ อีก
ท้ังโรงเรียนไพรธรรมคณุ วทิ ยา จงึ ได้จัดทำโครงการจติ อาสาวยั ใสใส่ใจสขุ ภาพผู้สงู อายุนข้ี นึ้

1) สภาพที่พึงประสงค์ มุ่งหวังให้เกิด เป็นการอธิบายความสำคัญคุณลักษณะของส่ิงต้องการให้
เกดิ ข้นึ การดำเนินโครงการได้นอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเป็นพื้นฐานของดำเนินโครงการ
คอื ปฏบิ ตั ิทง้ั กาย วาจา ใจ อย่างพอเพียง ดังนี้

ความพอประมาณ คือ ความพอดีท่ีไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียน
ตนเองและผอู ืน่ เชน พอประมาณในการรับบริจาคส่งิ ของ

ความมีเหตุผล คือ การตัดสนิ ใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนนั้ จะตองเปนไปอยางมี
เหตุผลในการดูแลชว่ ยเหลือผสู้ ูงอายุ โดยพิจารณาจากเหตุปจจยั ท่เี กย่ี วของ ตลอดจนคาํ นงึ ถึงผลทค่ี าด
วาจะเกิดข้ึนจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ รู้จักทำบัญชีรายรับ รายจ่าย สมุดเงินสด นำเงินที่ได้รับ
บริจาคมาจัดสรรได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

มีภูมิคุ้มกันที่ดี คือ มีการวางแผนการทำงาน การรับบริจาค การนำสิ่งของที่ได้รบั บริจาค
ไปมอบ การเตรียมตัวผู้สูงอายุใหพรอมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดานตาง ๆ ที่จะเกิดข้ึน โดย
คาํ นงึ ถงึ ความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขน้ึ ในอนาคตท้งั ใกลและไกล
โดยดำเนินโครงการอย่บู นเงอื่ นไข

ความรู้ คือ ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการด้านการดูแลสุขภาพอนามัย การดูแลผู้สูงอายุท่ีมี
ภาวะพ่ึงพิง นําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผน และความระมัดระวัง
ในขัน้ ปฏิบัติ

คุณธรรม คือ มีความตระหนักในคุณธรรม มีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตยสุจริตและมี
ความอดทน มีความเพียร ใชสตปิ ญญาในการดําเนินโครงการ
นำไปสู่ 4 มติ ิ

มิติท่ี 1 สังคม คือ ทุกคนในทีมและชุมชนช่วยเหลือกัน แบ่งปันท้ังกำลังทรัพย์ กำลังกาย
กำลงั ใจ และกำลงั ความรู้ มกี ารแบ่งปนั กัน ช่วยเหลือกันเวลาตกทกุ ขไ์ ด้ยาก

3

มติ ิที่ 2 เศรษฐกิจ คือ นำเงินที่ได้จากการรับบริจาคมาจัดการให้ตรงตามวัตถุประสงค์เกิด
ความคมุ้ คา่ และประโยชนส์ งู สุด

มิติท่ี 3 ส่ิงแวดล้อม คือ การอยู่ร่วมกับระบบนิเวศน์วิทยาอย่างสมดุล ไม่ทำร้าย ไม่ทำ
ลาย ไม่เบียดเบียน ปรบั ส่งิ แวดล้อมทีเ่ อ้ืออำนวยต่อการใช้ชวี ติ ประจำวันของผูส้ ูงอายุ

มิตทิ ี่ 4 วัฒนธรรม คอื การเสริมสรา้ งความพอเพยี งทางวัฒนธรรม จะเปน็ เสมอื น
ภูมคิ ้มุ กันทางวัฒนธรรม มจี ติ อาสา ช่วยเหลอื เกื้อกลู ซ่ึงกนั และกนั

2) สภาพท่ีเปน็ อยูใ่ นปัจจบุ ัน มผี ้สู ูงอายจุ ำนวนมากทต่ี ้องการผูแ้ ลด้านสุขภาพอนามัยและสง่ิ ของ
เครื่องใช้ในการดำรงชวี ติ

3) ปัญหาท่ีเกิดข้ึน ผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากข้ึนทุกปี ผลกระทบท่ีตามมาคือปัญหาด้านสุขภาพ
อนามัยของผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ความต้องการส่ิงของท่ีจำเป็นในการดูแลสุขภาพอนามัยเพ่ิมมากขึ้น
ตามมาดว้ ย

4) นวัตกรรมหรือวิธีการท่ีจะแก้ไขปัญหา ให้กำลังใจ ให้ความช่วยเหลือ ดูแล มอบส่ิงของที่ได้รับ
บริจาค และประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรภายในโรงเรียนได้ร่วมบริจาคเงินและส่ิงของ เพื่อมอบให้ผู้สูงอายุท่ี
ต้องการต่อไป

5) การตัดสินใจทำโครงการ เป็นจิตอาสาพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เพ่ือออกเย่ียมให้กำลังใจ
ผู้สูงอายุ มอบสิ่งของช่วยเหลือ จัดสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกและเรียนรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ จึง
ทำใหเ้ กดิ โครงการนข้ี น้ึ

1.2 วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่อื สำรวจขอ้ มูลและความต้องการของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพงิ ในเขตตำบลไพร
2. เพือ่ ประชาสัมพนั ธ์เชญิ ชวน ผู้บรหิ าร คณะครู นักเรียนและบุคคลทัว่ ไปรว่ มบรจิ าค
3. เพือ่ ศึกษาเรียนร้วู ิธกี ารดแู ลผู้สงู อายุทีม่ ีภาวะพึ่งพงิ
4. เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ าร
5. เพ่อื สรา้ งความตระหนกั ในการดูแลสุขภาพอนามยั ของคนในโรงเรียนและชมุ ชน

1.3 เป้าหมาย

1.3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ

1. ผู้สูงอายุท่มี ีภาวะพ่ึงพิงในเขตตำบลไพรได้รบั การดแู ลดา้ นสุขภาพ จำนวน 7 คน
2. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ผูม้ ีสว่ นเกีย่ วข้องไดอ้ อกเย่ียมผสู้ งู อายทุ ม่ี ีภาวะพึ่งพงิ จำนวน 7 คน
3. ผู้สงู อายุที่มภี าวะพง่ึ พงิ ได้รับสิง่ ของทจี่ ำเป็น จำนวน 7 คน

4

1.3.2 เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ
1. ผสู้ ูงอายุที่มีภาวะพึง่ พิงในเขตตำบลไพรทีร่ ว่ มโครงการ ไดร้ บั การดแู ล
2. ผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้มีส่วนเก่ียวข้องได้ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ให้มีคุณภาพชีวิต

ท่ดี ขี นึ้
3. ผู้สงู อายทุ ีม่ ีภาวะพ่ึงพงิ ท่เี ข้าร่วมโครงการได้รับสิ่งของทจ่ี ำเป็น

1.4 สถานท่ดี ำเนนิ การ

1. บา้ นไพร หมทู่ ี่ 1 ตำบลไพร อำเภอขนุ หาญ จงั หวัดศรีสะเกษ
2. บา้ นกราม หมู่ 2 ตำบลไพร อำเภอขุนหาญ จงั หวดั ศรีสะเกษ
3. บา้ นสนามแจง้ หมู่ 8 ตำบลไพร อำเภอขนุ หาญ จังหวัดศรสี ะเกษ
4. บา้ นกราม หมู่ 9 ตำบลไพร อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
5. บ้านโนนสะอาด หมู่ 10 ตำบลไพร อำเภอขุนหาญ จังหวดั ศรีสะเกษ

1.5. ระยะเวลาในการดำเนินงาน

วนั ท่ี 17 กรกฎาคม 2563 – วนั ท่ี 27 สงิ หาคม 2563

1.6 นยิ ามคำศพั ทเ์ ฉพาะ

1.6.1 จติ อาสา คือ ผู้ที่มจี ิตใจทเ่ี ป็นผู้ให้ เช่น ให้ความชว่ ยเหลือดว้ ยกำลังแรงกาย แรงสมอง ซ่ึงเป็น
การเสยี สละ สง่ิ ที่ตนเองมี เป็นจติ ที่ไม่นงิ่ ดดู ายต่อสังคม หรือความทุกขย์ ากของผู้คน และปรารถนาเขา้ ไป
ช่วย ดว้ ยการสละเวลา ลงแรงเขา้ ไปชว่ ยด้วยจิตท่เี ป็นสุขท่ีไดช้ ่วยผู้อื่น ไมใ่ ชแ่ ค่ทำประโยชน์เพ่ือผ้อู ืน่ อย่าง
เดียวแตเ่ ปน็ การพัฒนา "จิตวญิ ญาณ" ของตัวเองด้วย

1.6.2 ผู้สูงอายุ คือ ผู้ท่ีมีอายุต้ังแต่ 60 ปีข้ึนไป ท่ีอาจจะเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิงแบ่งออกเป็น 4
กลุ่มตามความต้องการการบริการด้านสาธารณสขุ ทสี่ งู ข้ึนตามลำดบั

1.6.3 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หมายถึง หน่วยงานรับผิดชอบ งานบริการด้านสาธารณสุข
ต่าง ๆ เช่น ตรวจรักษาพยาบาลข้ันต้น การฝากครรภ์ การให้บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ฉีดวัคซีนเด็ก
การดูแลโภชนาการเด็ก งานอนามัยโรงเรียน ตรวจสุขภาพเบ้ืองต้นสำหรับนักเรียน คัดกรองภาวะผิดปกติ
ตา่ ง ๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิต คัดกรองมะเร็งปากมดลูก สำหรับหญิงวัยเจริญพันธ์ุ การดูแลผู้พิการ
การดูแลวยั ทำงาน การดแู ลผู้สูงอายุ ตรวจสขุ ภาพเบ้อื งต้น งานฟ้ืนฟสู มรรถภาพ

1.6.4 ผชู้ ่วยเหลือผู้สงู อายุทีม่ ีภาวะพึ่งพิง (Care Giver CG) หมายถึง เปน็ ผู้มีบทบาทใกล้ชิดผูส้ ูงอายุ
และญาติมากที่สุด โดยเฉพาะดูแลกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ สังเกตพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงต่างๆ

5

ของผู้สูงอายุ รวมทั้งเร่ืองสุขภาพของผู้สูงอายุ และต้องรายงานให้ญาติของผู้สูงอายุทราบ ส่งเสริมสุขภาพ
ของผู้สูงอายุทุกด้านตลอดจนดูแลสภาพแวดล้อม เขียนรายงานการปฏิบัติงานเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด
จัดการส่ิงปฏิกูลและมูลฝอย ท่ีเกิดจากการดูแลผู้สูงอายุอย่างถูกต้อง ส่งต่อผู้สูงอายุกรณีที่พบว่ามีเหตุ
ฉุกเฉิน หรือการเจ็บป่วย หรือบาดเจ็บเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุตามระบบการส่งต่อ และวิธีการอย่างถูกต้อง
จดั ทำรายงานผลการดแู ลผูส้ งู อายรุ ายเดอื น เพ่ือรายงานต่อผูจ้ ัดการระบบฯ

1.6.5 ผรู้ ับบรกิ าร หมายถึง ผูส้ ูงอายุท่มี ีภาวะพงึ่ พิง และญาตขิ องผ้สู ูงอายุทเ่ี ข้าร่วมโครงการ

1.7 ประโยชนท์ ่ไี ด้รับ

1. ทราบข้อมูลและความต้องการของผู้สูงอายุทมี่ ภี าวะพึ่งพิงในเขตตำบลไพร
2. ผู้บริหาร คณะครู นักเรียนและบุคคลทั่วไปร่วมบริจาคเงินและสิ่งของหลังจากมีการ
ประชาสัมพนั ธ์ และมีการบรจิ าคอยา่ งตอ่ เนื่อง
3. มีความรู้ความเข้าใจวิธีการดแู ลผู้สูงอายุและสามารถปฏิบัติการดูแลชว่ ยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะ
พึง่ พงิ ได้
4. ผู้จัดทำโครงการ ผู้ร่วมโครงการ มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองมากขึ้น
เมื่อไดท้ ราบสาเหตุของอาการป่วยของผู้สงู อายุท่ีมีภาวะพ่ึงพงิ จากการลงพ้นื ท่ี

6

บทที่ 2

เอกสารท่ีเกีย่ วข้อง

ในการศึกษาโครงการเรื่อง จติ อาสาวัยใส ใสใ่ จสุขภาพผู้สงู อายุ ผู้จดั ทำไดร้ วบรวมแนวคิดและ
เอกสารท่เี กี่ยวข้อง ดังนี้

1. จิตอาสา
2. ผสู้ งู อายุ
3. ผ้ปู ว่ ยติดเตยี ง
4. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบล
5. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบล
6. อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำหมู่บา้ น
7. ผู้จดั การระบบการดูแลระยะยาวดา้ นสาธารณสุข ( Care Manager CM)
8. ผู้ชว่ ยเหลือผสู้ ูงอายุท่มี ภี าวะพง่ึ พิง (Care Giver CG)
9. กรอบแนวคิดในการจดั ทำโครงการจิตอาสาวัยใส ใส่ใจสุขภาพผ้สู งู อายุ

1. จติ อาสา

การร่วมมือกันรณรงค์ส่งเสริม “จิตอาสา” ให้เกิดขึ้นในประเทศไทย เป็นการเรียก "น้ำใจงาม"
ของคนไทย ให้กลับมาอีกคร้ังหน่ึง และควรจะต้องดีข้ึนกว่าเดิม เพราะ จะไม่จำกัดอยู่เฉพาะญาติมิตร
เพ่อื น หรือคนรู้จกั เท่านั้น แต่ควรต้องเผ่ือแผ่ ดูแลสังคมไทย ดแู ลสิ่งแวดล้อม ชมุ ชน ตลอดจนปัญหาต่าง ๆ
รอบ ๆ ตัวร่วมกัน ร่วมกันสร้างสรรค์ส่ิงดี ๆ ทำดีให้เป็นรูปธรรมกันมากขึ้นใน ไม่เพียงแต่ รอดูว่า ใครจะ
รับผิดชอบเรือ่ งอะไร แต่ควรต้องออกมา มสี ่วนรว่ มรับผดิ ชอบด้วยกัน

ในยโุ รป หรืออเมริกา ค่านิยมในการเปน็ อาสาสมัครมีมานานแล้ว อันเน่อื งมาจากแรงผลักดันของ
ศาสนาคริสต์ และความคิดเรื่องประชาสังคมในสังคมตะวันตกที่มีส่วนผลักดันให้เกิดอาสาสมัครอย่าง
ต่อเนื่อง ยุคแรกของจิตอาสาในไทยมาจากการรวมตัวช่วยเหลือกันในหมู่ชาวจีนโพ้นทะเล ต่อมาเกิด
กิจกรรมค่ายอาสาพัฒนาตามสถาบันการศึกษา และโดยเฉพาะการเกิดข้ึนของเอ็นจีโอ ทำให้ความคิดเรือ่ ง
การทำงานอาสาสมัครช่วยเหลือสังคมแพรห่ ลาย

เมื่อกล่าวถึง "จิตอาสา" อาจจะเป็นคำใหม่ที่เร่ิมเป็นท่ีรู้จักกันในวงกว้างไม่ถึง 10 ปี ผู้นำคำน้ีมา
ใช้ครั้งแรกในน่าจะเป็นเครือข่ายพุทธิกา ในโครงการ "ฉลาดทำบุญด้วยจิตอาสา" ต่อมาคำน้ีได้ถูกนำไปใช้
อยา่ งแพรห่ ลาย

7

พระไพศาล วสิ าโล ได้ให้ความหมาย.. "จติ อาสา" ว่า คือจิตท่ีไม่นิง่ ดดู ายต่อสังคม หรือความทุกข์
ยากของผู้คน และปรารถนาเข้าไปช่วย ไม่ใช่ด้วยการใหท้ าน ให้เงิน แต่ดว้ ยการสละเวลา ลงแรงเข้าไปช่วย
ด้วยจิตที่เป็นสุขท่ีได้ช่วยผู้อ่ืน จะเน้นว่า ไม่ใช่แค่ทำประโยชน์เพื่อผู้อ่ืนอย่างเดียว แต่เป็นการพัฒนา "จิต
วญิ ญาณ" ของเราดว้ ย

"จิตอาสา" คือ ผู้ท่ีมีจิตใจที่เป็นผู้ให้ เช่น ให้ส่ิงของ ให้เงิน ให้ความช่วยเหลือด้วยกำลังแรงกาย
แรงสมอง ซ่ึงเป็นการเสียสละ ส่ิงท่ีตนเองมี แม้กระทั่งเวลา เพ่ือเผื่อแผ่ ให้กับส่วนรวม...อีกท้ังยังช่วยลด
"อัตตา" หรือความเป็นตัว เป็นตนของตนเองลงได้บ้าง "อาสาสมัคร" เป็นงานที่เกิดจากผู้ท่ีมี จิตอาสา ซ่ึงมี
ความหมายอย่างมากกับสังคมส่วนรวม เป็นผู้ที่เอื้อเฟื้อ เสียสละ เวลา แรงกาย แรงใจ เพ่ือช่วยเหลือผู้อื่น
หรือ สงั คมให้เกดิ ประโยชน์และความสุขมากขน้ึ

การเป็น "อาสาสมัคร" ไม่ว่าจะเป็นงานใด ๆ ก็แล้วแต่ท่ีทำให้เกิดประโยชน์ในทางบวก ล้วนแต่
เป็นส่ิงที่เราควรทำทั้งสิ้น คนที่จะเป็นอาสาสมัครได้นั้น ไม่ได้จำกัดที่ วัย การศึกษา เพศ อาชีพ ฐานะ หรือ
ข้อจำกดั ใด ๆ ทงั้ สิ้น หากแต่ตอ้ งมีจิตใจเปน็ "จิตอาสา" ทอ่ี ยากจะชว่ ยเหลอื ผูอ้ ืน่ หรอื สงั คมเทา่ นัน้
กจิ กรรมอาสาสมัคร เปน็ กระบวนการของการฝึก "การให"้ ท่ีดีเพื่อขัดเกลา ละวางตวั ตน และบม่ เพาะความ
รัก ความเมตตาผู้อื่น โดยไม่มเี งอ่ื นไข ทั้งน้ี กระบวนการของกิจกรรม ซึง่ เปน็ การยอมสละตน เพื่อรับใช้และ
ช่วยเหลือแก้ไขวิกฤติปัญหาของสังคม อาสาสมัครจะได้เรียนรู้ละเอียดอ่อนต่อส่ิงที่เกิดข้ึนรอบตัวมากข้ึน
สัมผัสความจริง เช่ือมโยงเหตุและปัจจัยความสุขและความทุกข์ เจริญสติในการปฏิบัติงาน ท่ีศาสนาพุทธ
เรียกว่า พรหมวิหาร 4 คือ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา เพ่ือให้เกิด "การให้" ท่ีดี กิจกรรมอาสาสมัคร
จึงเปน็ กระบวนการท่ชี ่วยใหบ้ ุคคลได้ขัดเกลาตนเอง เรยี นรภู้ ายใน และเกิดปัญญาได้

สรุปความหมายของจิตอาสา หมายถึง ผู้ท่ีมีจิตใจท่ีเป็นผู้ให้ เช่น ให้สิ่งของ ให้เงิน ให้ความ
ช่วยเหลือด้วยกำลังแรงกาย แรงสมอง ซ่ึงเป็นการเสียสละ ส่ิงที่ตนเองมี แม้กระท่ังเวลา เพื่อเผื่อแผ่ ให้กับ
ส่วนรวม เป็นจิตท่ีไม่น่ิงดูดายต่อสังคม หรือความทุกข์ยากของผู้คน และปรารถนาเข้าไปช่วย แต่ด้วยการ
สละเวลา ลงแรงเข้าไปช่วยด้วยจิตท่ีเป็นสุขที่ได้ช่วยผู้อ่ืน ไม่ใช่แค่ทำประโยชน์เพ่ือผู้อื่นอย่างเดียว แต่เป็น
การพัฒนา "จิตวิญญาณ" ของเราดว้ ย

2. ผูส้ ูงอายุ

วัยสูงอายุ หรือ วัยชรา หมายถึง มนุษย์ที่มีอายุอยู่ในช่วงปลายของชีวิต นิยามของผู้สูงอายุ
แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับว่ามองผ่านความรู้สาขาใด เช่น ทางชีววิทยา ประชากรศาสตร์ การจ้างงาน
และทางสังคมวิทยา เป็นต้น สำหรับประเทศไทย ตามกฎหมายกำหนดไว้ว่าผู้สูงอายุคือบุคคลที่มอี ายุตั้งแต่
60 ปีขึ้นไป ในขณะท่ีประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่จะมีสัดส่วนผู้สูงอายุต่อประชากรท้ังประเทศสูงกว่า
ประเทศกำลงั พฒั นา

8

ผู้สูงอายุท่มี ีภาวะพ่งึ พงิ แบง่ ออกเปน็ 4 กลุ่มตามความต้องการการบริการดา้ นสาธารณสุข
กลุ่มท่ี 1 เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขบั ถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสนทาง

สมอง
กลุ่มท่ี 2 เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย แต่มีภาวะสับสนทาง

สมอง
กลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมีอาการเจ็บป่วย

รนุ แรง
กลุ่มท่ี 4 เคล่ือนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมีอาการเจ็บป่วย

รุนแรงและมีอาการเจ็บปว่ ยรนุ แรง หรืออยใู่ นระยะท้าย ของชวี ิต
สรปุ ความหมายของผูส้ งู อายุ คือ ผูท้ ี่มอี ายุต้ังแต่ 60 ปขี ึ้นไป ที่อาจจะเป็นผสู้ ูงอายทุ ่มี ภี าวะพง่ึ พิง

แบง่ ออกเป็น 4 กลุ่ม ตามความตอ้ งการการบรกิ ารดา้ นสาธารณสุขทีส่ งู ขน้ึ ตามลำดบั

3. ผปู้ ว่ ยติดเตียง

"ผู้ป่วยติดเตียง" คือ ผู้ป่วยที่มีความเจ็บป่วยเร้ือรังจนเกิดสภาวะร่างกายเสื่อมโทรมทำให้ไม่
สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้เหมือนคนปกติ กล่าวคือผู้ป่วยจะช่วยเหลือตนเองได้น้อยหรืออาจไม่สามารถ
ชว่ ยเหลือตนเองไดเ้ ลยแมแ้ ตน่ ้อย ผ้ปู ่วยจึงไมอ่ าจเลีย่ งทจ่ี ะตอ้ งนอนอย่บู นเตียงเปน็ เวลานาน ๆ ได้
สาเหตทุ ่ที ำให้ผู้ป่วยติดเตยี ง

สาเหตุท่ีทำให้ผู้ป่วยติดเตียงน้ันมีหลายสาเหตุด้วยกัน ท้ังจากการป่วยเป็นโรคร้าย อุบัติเหตุจาก
การรกั ษา เช่น การผ่าตัดใหญ่ ความผดิ ปกติของระบบประสาท ฯลฯ แต่ท้ังนี้ท้ังนั้นดว้ ยสาเหตุดังกล่าวหรือ
นอกเหนือจากท่ีกลา่ วมากด็ จี ะทำใหใ้ หร้ า่ งกายของผู้ปว่ ยอ่อนแอและไมส่ ามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได้
ผู้ป่วยติดเตยี งมีโอกาสเกดิ อาการแทรกซอ้ นใดบา้ ง

เน่ืองจากผู้ป่วยต้องนอนนิ่งเป็นเวลานาน ๆ หรอื อาจจะตลอดท้ังวัน ทำให้มีโอกาสเกิดโรคแทรก
ซอ้ นตามมามากมาย เชน่ แผลกดทับ แผลกดทับเป็นอาการที่สืบเน่ืองมาจากการอยู่น่ิงไม่เคลื่อนไหว ทำให้
เกิดการทิ้งน้ำหนักลงท่ีจุด ๆ เดียวเป็นเวลานาน ๆ แรกเร่มิ กล้ามเนื้อบริเวณท่ีถูกกดทับจะปรากฏเป็นรอย
แดง ซ่ึงหากปล่อยทิ้งเอาไว้ ในท้ายท่ีสุดแล้วกล้ามเน้ือบริเวณน้ันก็จะตายไป ซ่ึงในอนาคตอาจนำมาสู่โรค
แทรกซ้อนอื่น ๆ ได้ ทั้งการติดเชื้อในระบบต่าง ๆ การติดเช้ืออาจเกิดข้ึนได้จากการใช้อุปกรณ์การแพทย์
เป็นเวลานาน ๆ เช่น การใส่ท่อสวนทางเดินปัสสาวะเป็นเวลานาน ก็อาจทำให้เกิดการติดเชื้อของทางเดิน
ปัสสาวะได้ เปน็ ต้น

9

เราจะสามารถดแู ลผู้ป่วยติดเตยี งไดอ้ ยา่ งไร
เพื่อป้องกันการเกิดอาการแทรกซ้อนดงั ที่กล่าวมาข้างตน้ นน้ั ผ้ดู ูแลจำเปน็ จะตอ้ งดูแลผู้ป่วยอย่าง

ถกู วิธแี ละมคี วามพิถีพิถันเป็นอยา่ งมาก ตั้งแตก่ ารกิน การทำความสะอาดร่างกาย หรือแมก้ ระท่ังการนอนก็
ยังมีผลต่อการเกิดแผลกดทับได้ ความสะอาดของอุปกรณ์ถือเป็นอีกหน่ึงเร่ืองสำคัญในการดูแลผู้ป่วย
อุปกรณ์หรือส่ิงของท้ังหลายท่ีใช้กับผู้ป่วยไม่ว่าจะเป็นผ้าปูเตียง ปลอกหมอน ผ้าห่ม เข็มฉีดยา ฯลฯ ล้วน
ต้องสะอาดทั้งส้ิน เพราะหากของท่ีนำมาใช้ไม่สะอาดเพียงพอก็อาจก่อให้เกิดการติดเชื้อได้ รวมไปถึง
การหม่ันดูแลความสะอาดของผปู้ ว่ ยอยู่ตลอด การทำความสะอาดรา่ งกายของผู้ดแู ลเองกเ็ ชน่ กนั

การจัดท่านอนก็มีส่วนสำคัญ เพ่ือป้องกันการเกิดแผลกดทับ ผู้ดูแลต้องหม่ันเปลี่ยนท่านอนและ
จับผู้ป่วยพลิกตัวอยู่เสมอ ๆ รวมไปถึงขยับร่างกายผู้ป่วยบ้าง อาทิ ขยับขาหรือแขน เพื่อไม่ให้กล้ามเน้ือฝ่อ
และลดโอกาสท่ีจะเกิดการบวม เนอื่ งจากการอยนู่ ิ่งเปน็ เวลานานได้

อาหารผ้ปู ว่ ยจะต้องมีสารอาหารและกากใยครบถว้ น เพ่ือปอ้ งกันไม้ให้ผูป้ ่วยภาวะขาดสารอาหาร
และป้องกันการเกิดอาการท้องผูก ในผู้ป่วยท่ีต้องให้อาหารทางสายยาง ผู้ดูแลต้องหมั่นตรวจเช็คและ
ติดตามผลการตรวจจากแพทย์ว่าผู้ป่วยได้รับสารอาหารมากพอหรือไม่ ถ้ายังไม่มากพอควรปรึกษาแพทย์
เพ่ือหาอาหารเสรมิ หรอื หาหนทางแก้ไขต่อไป

แต่อย่างไรก็ตามนอกจากการดูแลผู้ป่วยแล้ว ผู้ดูแลก็ควรดูแลตนเองด้วยเช่นกัน เน่ืองจากการ
ดูแลผปู้ ่วยตดิ เตยี งต้องใช้พลังกาย พลังใจและความรู้เปน็ อยา่ งมาก

ผู้ป่วยติดเตียง คือ ผู้ป่วยที่มีความเจ็บป่วยเรื้อรังจนเกิดสภาวะร่างกายเส่ือมโทรมทำให้ไม่
สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้เหมือนคนปกติ กล่าวคือผู้ป่วยจะช่วยเหลือตนเองได้น้อยหรืออาจไม่สามารถ
ช่วยเหลือตนเองได้เลยแม้แต่น้อย ผู้ป่วยจึงต้องนอนอยู่บนเตียงเป็นเวลานาน สาเหตุอาจเกิดจากการป่วย
เป็นโรคร้าย อุบัติเหตุจากการรกั ษา ผู้ป่วยติดเตียงมีโอกาสเกิดอาการแทรกซ้อน เกดิ แผลกดทับ การติดเช้ือ
ในระบบต่าง ๆ ผู้ดูแลต้องดูแลการกินต้องมีสารอาหารและกากใยครบถ้วน การทำความสะอาดร่างกาย
การจัดท่านอนก็ยังมีผลต่อการเกิดแผลกดทับได้ ความสะอาดของอุปกรณ์ และท่ีสำคัญนอกจากการดูแล
ผู้ป่วยแล้ว ผู้ดูแลก็ควรดูแลตนเองด้วยเช่นกัน เน่ืองจากการดูแลผู้ป่วยติดเตียงต้องใช้พลังกาย พลังใจและ
ความรเู้ ปน็ อยา่ งมาก

4. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบล

องค์การบริหารส่วนตำบล ( อบต.) คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับตำบลที่อยู่ใกล้ชิดกับ
ประชาชนมากท่ีสุด มีพื้นท่ีเท่ากับตำบลแต่ละตำบล จัดต้ังมาจากสภาตำบลท่ีมีรายได้ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด
และมีจำนวนราษฎรไม่น้อยกว่า 2,000 คน โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญ เพื่อดูแลทุกข์สุขและให้บริการ

10

ประชาชนในหมู่บ้าน ตำบล เขตอบต. แทนรัฐบาลกลาง มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นราชการท้องถิ่น
มอี ำนาจหนา้ ทีใ่ นการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกจิ สังคมและวัฒนธรรม และหน้าทอี่ ื่นๆ ตามที่กฎหมาย
กำหนด รวมทงั้ มงี บประมาณ และพนกั งานเจา้ หน้าท่ีของ อบต.

ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เร่ือง การกำหนดหลักเกณฑ์เพ่ือสนับสนุน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ดำเนินงานและบริหาร จัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น
หรือพื้นที่ พ.ศ. 2557 ลงนามโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ ข้อ 4 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน
หลักประกันสุขภาพภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการกองทุน ท้ังน้ีตามหลักเกณฑ์ใน ประกาศน้ีและ
มตคิ ณะกรรมการหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ โดยกองทนุ หลักประกนั สขุ ภาพมี วตั ถปุ ระสงค์เพือ่ สนบั สนุน
และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข หรือ
หน่วยงานอื่น หรือสนับสนุนและส่งเสริมให้กลุ่มหรือ องค์กรประชาชนดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขใน
พื้นท่ี เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพท่ีมีความเส่ียง และกลุ่ม
ผปู้ ว่ ยโรคเรื้อรังท่ีอยูใ่ นพนื้ ท่ี สามารถเขา้ ถึงบรกิ ารสาธารณสุขได้อย่างท่วั ถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดย
ส่งเสริมกระบวนการมสี ่วนร่วมตามความพรอ้ ม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในพน้ื ที่

สรุปบทบาทหน้าท่ีขององค์การบริหารส่วนตำบล ( อบต.) ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนหลักประกัน
สขุ ภาพในระดับท้องถิ่น คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น
หรือพน้ื ท่ี พ.ศ. 2557 ลงนามโดยรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุข ให้องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เปน็ ผู้
ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน หลักประกันสุขภาพ เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคน
พิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเส่ียง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังท่ีอยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการ
สาธารณสขุ ได้อย่างท่วั ถึงและมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้นึ

5. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หรือเดิมเรียก สถานีอนามัย เป็นสถานพยาบาลประจำตำบล
สังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีขีดความสามารถระดับปฐมภูมิ (Primary
Care) ได้รับการยกฐานะจากสถานีอนามัย หรือศูนย์สุขภาพชุมชน ตามนโยบาลของรัฐบาลของ
นายกรัฐมนตรีอภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ เมื่อปี พ.ศ. 2552 ซ่ึงได้จัดสรรงบประมาณภายใต้ แผนปฏิบัติการไทย
เข้มแขง็ 2555 เพอ่ื ยกระดบั สถานอี นามัย หรือศนู ย์สุขภาพชุมชนใหเ้ ป็นโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล

11

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นสถานบริการทางสาธารณสุขเป็นหน่วยงานท่ีอยู่ภายใต้กระทรวง
สาธารณสุข สังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ซึ่งให้บริการด้านการ
รักษาพยาบาล งานควบคุมป้องกันโรค งานส่งเสริมสุขภาพ ที่เกี่ยวข้องกับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
ตั้งแต่เกิดจนตาย เดิมเรียกว่า สุขศาลา มาเปล่ียนเป็น สถานีอนามัย และปัจจุบัน เปล่ียนเป็น ศูนย์สุขภาพ
ชุมชน ตำบล ๆ หน่งึ จะมจี ำนวนสถานีอนามัยประมาณ 1-2 แหง่

สถานอี นามัยรบั ผดิ ชอบ งานบริการดา้ นสาธารณสขุ ต่าง ๆ เช่น ตรวจรกั ษาพยาบาลข้นั ต้น การ
ฝากครรภ์ การใหบ้ ริการสร้างเสรมิ ภูมิคุ้มกันโรค ฉีดวัคซีนเด็ก การดแู ลโภชนาการเด็ก งานอนามัยโรงเรยี น
ตรวจสุขภาพเบือ้ งต้นสำหรับนกั เรยี น คดั กรองภาวะผดิ ปกติตา่ ง ๆ เชน่ เบาหวาน ความดันโลหติ คดั กรอง
มะเร็งปากมดลูก สำหรับหญิงวยั เจรญิ พันธ์ุ การดแู ลผพู้ ิการ การดูแลวัยทำงาน การดูแลผ้สู งู อายุ ตรวจ
สุขภาพเบื้องต้น งานฟนื้ ฟูสมรรถภาพ และเปน็ สถานทดี่ แู ลประชาชนดา้ นสุขภาพทดี่ ูแลประชาชนต้งั แตอ่ ยู่
ในครรภ์ เกดิ จนตาย

สรุปบทบาทหน้าท่ีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล รับผิดชอบ งานบริการด้านสาธารณสุข
ต่าง ๆ เช่น ตรวจรักษาพยาบาลขั้นต้น การฝากครรภ์ การให้บริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ฉีดวัคซีนเด็ก
การดูแลโภชนาการเด็ก งานอนามัยโรงเรียน ตรวจสุขภาพเบ้ืองต้นสำหรับนักเรียน คัดกรองภาวะผิดปกติ
ต่าง ๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิต คัดกรองมะเร็งปากมดลูก สำหรับหญิงวัยเจริญพันธุ์ การดูแลผู้พิการ
การดแู ลวยั ทำงาน การดูแลผู้สูงอายุ ตรวจสุขภาพเบื้องตน้ งานฟนื้ ฟสู มรรถภาพ

6. อาสาสมคั รสาธารณสุขประจำหมบู่ า้ น
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หรือท่ีเราเรียกย่อ ๆ ว่า อสม. น้ัน เป็นรูปแบบหนึ่งของ

การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการดูแลสขุ ภาพของตนเองครอบครัวและชุมชนโดยผ่านกระบวนการอบรม
ให้ความรู้จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และการปฏิบัติงานด้วยความเสียสละต่อประชาชนในหมบู่ ้านกระทรวง
สาธารณสุขได้เริ่มดำเนินงานมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 เป็นต้นมา อสม. จึงเพ่ิมจำนวนมากขึ้นตามลำดับจน
ครอบคลุมหมู่บ้านในชนบทและชุมชนเมืองกว่า 1 ล้านคน แม้ว่าพลังของ อสม. อาจจะดูเล็กน้อยด่ังเม็ด
กรวดเม็ดทรายเมื่อยามกระจายอยู่ตามหมู่บ้านและชุมชนต่าง ๆ แต่เมื่อมีการรวมตัวเป็นกลุ่มก้อนเป็น
ชมรมฯ พลังเหล่านี้ก็มีความม่ันคงดั่งภูผา พร้อมท่ีจะต่อสู้และก้าวนำไปสู่การพัฒนาด้านสุขภาพและ
คณุ ภาพชวี ติ ของภาคประชาชน

กระทรวงสาธารณ สุขได้กำห น ดให้ มีอาส าสมัครส าธ ารณ สุขใน งาน สาธารณ สุ ขมูล ฐาน เพี ย ง
ประเภทเดียว คือ อาสาสมคั รสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ซ่ึงหมายถึง บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกจาก
ชาวบ้านในแต่ละกลุ่มบ้านและได้รับการอบรมตามหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด โดยมีบทบาท
หน้าท่สี ำคัญในฐานะผนู้ ำการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสขุ ภาพอนามัย (Change agents)การส่ือข่าวสาร

12

สาธารณสุขการแนะนำเผยแพร่ความรู้การวางแผนและประสานกิจกรรมพัฒนาสาธารณสุข ตลอดจน
ให้บริการสาธารณสุขด้านต่าง ๆ เช่น การส่งเสริมสุขภาพการเฝ้าระวังและป้องกันโรค การช่วยเหลือและ
รักษาพยาบาลขั้นตน้ โดยใช้ยาและเวชภัณฑ์ตามขอบเขตท่ีกระทรวงสาธารณสุขกำหนด การส่งต่อผปู้ ่วยไป
รับบริการ การฟ้ืนฟสู ภาพ และจัดกจิ กรรมพัฒนาสุขภาพภาคประชาชนในหม่บู า้ น/ชุมชน

สรุปบทบาทหน้าท่ีของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นรูปแบบหน่ึงของการมี
ส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเองครอบครัวและชุมชนโดยผ่านกระบวนการอบรมให้
ความรู้จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และการปฏิบัติงานด้วยความเสียสละต่อประชาชนในหมู่บ้าน ให้บริการ
สาธารณสุขด้านต่าง ๆ เช่น การส่งเสริมสุขภาพการเฝ้าระวังและป้องกันโรค การช่วยเหลือและ
รกั ษาพยาบาลข้ันต้น การส่งตอ่ ผู้ป่วยไปรับบรกิ าร การฟนื้ ฟสู ภาพ และจดั กจิ กรรมพฒั นาสขุ ภาพภาค
ประชาชนในหมบู่ า้ น/ชุมชน

7. ผู้จดั การระบบการดแู ลระยะยาวด้านสาธารณสุข (Care Manager CM)

เป็นผทู้ ่ีมหี น้าที่หลกั ในการบรหิ ารจดั การ และประสานให้ผสู้ ูงอายุท่มี ภี าวะพ่งึ พิงไดร้ ับบริการด้าน
สาธารณสุข ตามชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้ประกาศกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถ่ินหรือพ้ืนท่ี
ฉบับท่ี 2 พ.ศ.2559 โดยการจัดทำ care plan ประกอบการพิจารณาของคณะอนุกรรมการ LTC ในการ
สนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถ่ินหรือพ้ืนท่ี และจัดให้มี CG รวมทั้ง
เชื่อมประสานกับทีมสหวิชาชีพ อปท.และภาคีที่ เก่ียวข้อง เพื่อให้เกิดการจัดบริการตาม care plan โดย
CM 1 คน ดูแล CG 5-10 คน และดูแลผูส้ งู อายุประมาณ 35-40 คน

1.1 บทบาทหน้าที่ของ CM
1. ประเมินคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล และ

ประเมินคดั กรอง ด้านอน่ื ๆท่เี กี่ยวขอ้ ง
2. จดั ทำขอ้ มูลผสู้ งู อายทุ ี่ต้องการดแู ลช่วยเหลือทั้งเชิงรบั และเชิงรุก
3. จัดทำแผนการดูแลรายบุคคล care plan, weekly plan
4. จดั ประชุมกลมุ่ เพอ่ื ปรึกษาปญั หารายกรณี ( care conference)
5. เชอ่ื มประสานกบั ทมี สหวชิ าชพี ของหน่วยบริการฯ อปท.และเครือขา่ ยทเ่ี ก่ยี วข้อง ตาม

care plan
6. พฒั นาศกั ยภาพการทำงานเปน็ ทมี
7. บริหารจดั การ และกำกับติดตามการดำเนินงานของ CG ใหเ้ ป็นไปตาม care plan

13

8. การประเมนิ และทบทวน care plan ให้สอดคลอ้ งกบั บริบทของผสู้ ูงอายุแต่ละราย
ประเมนิ แผนงานและ ผลการปฏบิ ตั งิ านเชงิ ระบบเพอ่ื ปรบั ปรงุ พัฒนา

1.2 คณุ สมบตั ขิ องผูเ้ ข้ารบั การอบรมเปน็ CM
1. มอี ายไุ ม่ต่ำกว่า 25 ปบี รบิ รู ณ์
2. จบการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีด้านการแพทย์ หรือ การพยาบาล หรือ การพยาบาล

และการผดุงครรภ์ หรือ การสาธารณสุข หรือ ประกาศนียบัตรการพยาบาลและผดุงครรภ์ และต้องมี
ประสบการณ์การปฏบิ ตั งิ าน ไมน่ อ้ ยกว่า 3 ปี หรอื

3. จบปริญญาตรีด้านอื่น หรือจบหลักสูตรผู้ช่วยพยาบาล หรือพยาบาลเทคนิค และต้องมี
ประสบการณป์ ฏบิ ัตงิ านดา้ นผู้สงู อายุ ไม่น้อยกว่า 3 ปี

4. ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเส่ือมเสียหรือบกพร่องในศีลธรรมอันดี และไม่มปี ระวัตกิ ารกระทำ
ผิดตอ่ ผสู้ งู อายุ หรือผปู้ ว่ ย

5. มีใบรับรองแพทย์ระบุว่ามีสุขภาพแข็งแรง ไม่เป็นผู้วิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือน ไม่
สมประกอบและไมเ่ ป็น ผู้ตดิ สารเสพตดิ

1.3 การฝกึ อบรม
1. อย่างนอ้ ย 70 ช่ัวโมง
2. อบรมโดยหน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้อง เช่น กรมอนามัย วิทยาลัย มหาวิทยาลัย สำนักงาน

สาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาล หรือหน่วยงานอื่นๆที่เก่ียวข้อง โดยใช้หลักสูตรของกรมอนามัย กระทรวง
สาธารณสุข หรอื เทียบเท่า

ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข (CM) มีหน้าท่ีหลักในการบริหารจัดการ และ
ประสานให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับบริการด้านสาธารณสุข โดยการจัดทำ care plan ประกอบการ
พิจารณาของคณะอนุกรรมการ LTC ในการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับ
ท้องถิ่นหรือพื้นท่ี และจัดให้มี care giver CG ประสานกับทีมสหวชิ าชีพ อปท.และภาคีท่ี เก่ียวขอ้ ง เพื่อให้
เกดิ การจดั บริการตาม care plan โดย CM 1 คน ดแู ล CG 5-10 คน และดแู ลผูส้ ูงอายปุ ระมาณ 35-40คน

8. ผชู้ ว่ ยเหลือผสู้ ูงอายุทม่ี ีภาวะพ่ึงพิง (Care Giver CG)

ผู้ช่วยเหลือผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิง (care giver) หมายถึง บุคคลท่ีผ่านการอบรมตามหลักสูตรท่ี
คณะอนุกรรมการ LTC หรือคณะอนุกรรมการอ่ืนภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือ
สปสช. เหน็ ชอบ

บทบาทหน้าที่ของ CG ดแู ลผ้สู งู อายุตามแผนการดูแลท่ีได้รบั มอบหมาย ได้แก่

14

1. ดูแลกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ เช่น การรับประทานอาหาร การนอนหลับพักผ่อน
การเคล่ือนยา้ ย การขบั ถ่ายใหถ้ กู สขุ ลักษณะปลอดภัยเหมาะสมกับวัยของผู้สูงอายุ

2. สงั เกตพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงตา่ งๆ ของผสู้ งู อายุ รวมทัง้ เรือ่ งสขุ ภาพของผู้สูงอายุ และ
ต้องรายงานให้ญาติของผสู้ ูงอายุทราบ

3. ส่งเสริมสขุ ภาพของผู้สูงอายุทุกดา้ นตลอดจนดูแลสภาพแวดลอ้ มให้ปลอดภยั ถกู สุขลักษณะ
เอ้ือตอ่ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพของผสู้ งู อายุ

4. เขยี นรายงานการปฏบิ ัตงิ านเสนอตอ่ หน่วยงานตน้ สงั กัด
5. กรณีที่มีการประกอบอาหารให้ผู้สงู อายุต้องดำเนินการเตรียม ปรุง ประกอบอาหาร พร้อม
ท้ังดูแลเครื่องมือ เคร่ืองใช้ในการปรุง ประกอบอาหารให้สะอาด และถูกสุขลักษณะในทุกข้ันตอนและล้าง
มอื ให้สะอาดอยเู่ สมอ
6. จัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย ท่ีเกิดจากการดูแลผู้สูงอายุอย่างถูกต้อง โดยทิ้งลงในภาชนะ
รองรับที่ถูกหลัก สุขาภิบาล และระวังป้องกันไม่ให้เกิดการปนเป้ือนกับอาหารและเกิดการแพร่กระจายของ
เชื้อโรค หรือกอ่ ให้เกดิ เหตรุ ำคาญตอ่ บ้านเรือนใกลเ้ คียง
7. ส่งต่อผู้สูงอายุกรณีที่พบว่ามีเหตุฉุกเฉิน หรือการเจ็บป่วย หรือบาดเจ็บเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ
ตามระบบการสง่ ต่อ และวธิ กี ารอย่างถกู ต้อง
8. จัดทำรายงานผลการดูแลผ้สู งู อายรุ ายเดอื น เพ่ือรายงานตอ่ ผู้จดั การระบบฯ
คุณสมบัติของผู้เข้ารับการอบรมเป็น CG เป็นไปตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติกำหนด
การฝกึ อบรม
1. อยา่ งน้อย 70 ชว่ั โมง
2. อบรมโดยหน่วยงานตา่ งๆ ท่เี ก่ียวข้อง เชน่ กรมอนามัย วิทยาลัย มหาวิทยาลัย สำนกั งาน
สาธารณสขุ จงั หวดั โรงพยาบาล หรือหนว่ ยงานอืน่ ๆท่เี กี่ยวขอ้ งโดยใชห้ ลกั สตู รของกรมอนามยั กระทรวง
สาธารณสขุ หรือเทยี บเท่า
บทบาทของผชู้ ่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุ และวธิ ีการทำงาน
บทบาทของผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุในชุมชนนั้น เร่ิมตั้งแต่การสำรวจผู้สูงอายุในชุมชนเพ่ือ
จัดทำเป็นฐานข้อมูล ของแต่ละพ้ืนท่ี แล้วจำแนกผู้สูงอายุตามความสามารถ ในการประกอบกิจวัตร
ประจำวัน (ซึง่ ประยุกต์โดยกรมอนามัย) จำแนกไดเ้ ปน็ 3 กลุ่ม คือ ผสู้ ูงอายุทช่ี ่วยเหลือตัวเองได้แต่ต้องการ
สังคม (ติดสังคม) ผู้สูงอายุทช่ี ่วยเหลือตัวเองได้ปานกลาง (ติดบ้าน) และผู้สูงอายุท่ีช่วยเหลือตัวเองไม่ได้(ติด
เตียง) จากนั้นจึงจัดทำแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคลที่เหมาะสมกับแต่ละราย มีการทำงานร่วมกันกับ
ทีมสหวิชาชีพ กำหนดผู้ช่วยเหลือฯให้การดูแลผู้สูงอายุแต่ละราย มีกำหนดการออกติดตามเย่ียมบ้าน

15

ผสู้ ูงอายุอย่างนอ้ ย 1ครง้ั /คน/2สัปดาห์(2ครง้ั /เดอื น) พร้อมทั้งบันทึกข้อมูล การเยย่ี มบ้านตามแบบฟอร์มท่ี
กำหนดให้ทงั้ นี้ผลจากการเย่ยี มบ้านทำให้สามารถจำแนกผู้สงู อายุตามการดูแลได้เปน็ 4 กลุ่ม ไดแ้ ก่กล่มุ ที่ 1
เคลื่อนไหวได้บ้างและอาจมีปัญหา การกินหรือการขับถ่ายแต่ไม่มีภาวะสับสนทางสมอง กลุ่มที่ 2 เหมือน
กลุ่มที่ 1 แต่มีภาวะสับสนทางสมอง กลุ่มท่ี 3 เคล่ือนไหวเองไม่ได้และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่าย
แต่ยังไม่มีอาการเจ็บป่วยรุนแรง กลุ่มท่ี4เหมือนกับกลุ่มท่ี 3 และมีอาการเจ็บป่วยรุนแรงหรืออยู่ในระยะ
ทา้ ยของชีวิต

ผู้ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิง เป็นผู้มีบทบาทใกล้ชิดผู้สูงอายุและญาติมากที่สุด
โดยเฉพาะ ดูแลกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ สังเกตพฤติกรรมการเปล่ียนแปลงต่างๆ ของผู้สูงอายุ
รวมท้ังเร่อื งสุขภาพของผู้สงู อายุ และต้องรายงานใหญ้ าติของผู้สูงอายุทราบ ส่งเสริมสุขภาพของผู้สงู อายุทุก
ดา้ นตลอดจนดแู ลสภาพแวดล้อม เขียนรายงานการปฏบิ ัตงิ านเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สังกดั จัดการส่งิ ปฏิกูล
และมูลฝอย ท่ีเกิดจากการดูแลผู้สูงอายุอย่างถูกต้อง ส่งต่อผู้สูงอายุกรณีที่พบว่ามีเหตุฉุกเฉิน หรือการ
เจ็บปว่ ย หรือบาดเจ็บเกดิ ข้ึนกับผู้สูงอายุตามระบบการส่งต่อ และวธิ ีการอย่างถูกต้อง จัดทำรายงานผลการ
ดแู ลผสู้ งู อายรุ ายเดือน เพอ่ื รายงานตอ่ ผู้จดั การระบบฯ

9. กรอบแนวคิดในการจัดทำโครงการจิตอาสาวยั ใส ใสใ่ จสขุ ภาพผู้สงู อายุ

หน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้องกบั การดูแลสุขภาพอนามัยของผสู้ ูงอายุในเขตตำบลไพร ประกอบด้วย
1. องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลไพร
2. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลกราม
2.1 ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข (Care Manager CM) มีหน้าท่ีวาง

แผนการดูแลผู้สูงอายุ จัดทำ care plan จัดให้มี care giver CG ประสานงานกับทีมสหวิชาชีพที่เก่ียวข้อง
เพอื่ ให้เกิดการจดั การตาม care plan

2.2 ผู้ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (care giver CG) มีหน้าที่สำรวจผู้สูงอายุในชุมชนเพ่ือ
จัดทำเป็นฐานข้อมูล แล้วจำแนกผู้สูงอายุตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันตามประกาศ
คณะกรรมการหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ผสู้ ูงอายทุ ่ีมีภาวะพ่ึงพิงแบง่ ออกเป็น 4 กลุ่ม ตามความต้องการ
การบรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ

กลุ่มที่ 1 เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสน
ทางสมอง

กล่มุ ท่ี 2 เคล่ือนไหวไดบ้ ้าง และอาจมีปญั หาการกนิ หรือการขบั ถ่าย แต่มีภาวะสบั สนทาง
สมอง

16

กลุ่มท่ี 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมีอาการ
เจ็บป่วย รุนแรง

กลุ่มที่ 4 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมีอาการ
เจบ็ ปว่ ย รุนแรงและมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง หรอื อยใู่ นระยะทา้ ยของชวี ิต

การดำเนนิ การตามโครงการจิตอาสาวยั ใส ใส่ใจผูส้ งู อายุ
ศกึ ษาผสู้ งู อายุท่ีมภี าวะพึ่งพงิ ในเขตตำบลไพร จำนวน 7 ราย
จัดอยู่ในกลุ่มที่ 1 เคล่ือนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย แต่ไม่มี

ภาวะสับสนทางสมอง จำนวน 4 ราย
จัดอยู่ในกลุ่มท่ี 4 เคล่ือนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมี

อาการเจ็บปว่ ย รนุ แรงและมีอาการเจบ็ ป่วยรุนแรง หรืออยใู่ นระยะทา้ ยของชวี ิต จำนวน 3 ราย
โดยติดตามการทำงานของผู้ช่วยเหลือผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิง (care giver CG) CG

นางสุรีย์ ใจคง
กจิ กรรมที่จิตอาสาดำเนนิ การร่วมกบั CG ดังน้ี
1. สำรวจความต้องการ สิง่ ของทจี่ ำเป็นในการดำรงชวี ิตของผ้สู งู อายุ
2. ออกเย่ยี มบา้ นให้กำลงั ใจ
3. วดั ความดนั โลหิต ตรวจคา่ นำ้ ตาล กายภาพบำบดั
4. ดูแลปรับสภาพแวดลอ้ ม
5. มอบสิ่งของท่จี ำเปน็
กจิ กรรมที่ดำเนินงานตามโครงการจิตอาสาวยั ใส ใสใ่ จผู้สูงอายุ ดังน้ี
กิจกรรมท่ี 1 กิจกรรมรับบริจาคเงินและส่ิงของ ประชาสัมพันธ์โครงการ รับบริจาคเงิน

และส่ิงของจากคณะครูและนักเรียนโรงเรียนไพรธรรมคุณวิทยา จัดทำบัญชีรายรับ รายจ่าย และสมุดเงิน
สดคงเหลอื

กิจกรรมท่ี 2 กิจกรรมจดั ซื้อวสั ดุ สำรวจความต้องการของผ้สู งู อายุทม่ี ภี าวะพงึ่ พงิ
กิจกรรมท่ี 3 กิจกรรมออกเย่ียมบ้านและดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง นำ
ข้อมูลผู้สูงอายุที่เป็นผู้ปว่ ยติดเตยี งในเขตตำบลไพร บ้านไพร บ้านกราม 2 บา้ นสนามแจ้ง บา้ นกราม 9 บ้าน
โนนสะอาด จากโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลกราม

ออกเย่ียมบ้านผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิง ครั้งท่ี 1 เพ่ือมอบกระดาษชำระ
ผ้าอ้อมสำเร็จรูปและนมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแล สัมภาษณ์ ลงลายมือชื่อรับส่ิงของ สอบถามสิ่งของจำเป็นที่
ผูส้ ูงอายุและผู้ดแู ลตอ้ งการ จดบันทกึ รายการสง่ิ ของที่ต้องการเพื่อจัดหา

17

ออกเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิง คร้ังที่ 2 เพ่ือให้กำลังใจ จัดการ
สภาพแวดลอ้ มใหด้ ีขึ้น มอบส่ิงของจำเป็นทีผ่ ู้สงู อายแุ ละผูด้ แู ลต้องการ ลงลายมือชอ่ื รบั สงิ่ ของ

กิจกรรมท่ี 4 กิจกรรมมอบสิ่งของ ดำเนินงานร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลไพร
ผู้จัดการระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกราม และผู้ช่วยเหลือ
ผสู้ งู อายทุ ี่มีภาวะพง่ึ พงิ

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมสะท้อนคดิ และเผยแพร่ผลงาน กจิ กรรมหนา้ เสาธงและ
เสียงตามสาย

18

บทที่ 3
วธิ ดี ำเนินงาน

ในการจัดทำโครงการจติ อาสาวัยใส ใส่ใจสขุ ภาพผสู้ งู วยั มีวิธกี ารดำเนนิ งานศึกษา ดงั น้ี
1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
2. เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการศึกษา
3. ขั้นตอนการดำเนนิ งาน
4. วธิ ีการดำเนินงาน
5. สถิติท่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล

1. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง

1. ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาครั้งน้ี คือ ผสู้ งู อายุทมี่ ีภาวะพึ่งพิงในเขตตำบลไพร อำเภอขนุ หาญ
จงั หวดั ศรีสะเกษ จำนวน 113 คน

2. กลมุ่ ตวั อยา่ งทใ่ี ชใ้ นการศึกษาครั้งนี้ คือ ผูส้ ูงอายุทีม่ ีภาวะพ่ึงพิงในเขตตำบลไพร อำเภอ
ขนุ หาญ จงั หวัดศรีสะเกษ จำนวน 7 คน ทไ่ี ด้มาโดยการเจาะจง กลมุ่ ผสู้ ูงอายุทีม่ ีความต้องการบริการทาง
สาธารณสุขที่อยู่ในกลุม่ ที่ 1 และกลุ่มที่ 4

2. เคร่อื งมือที่ใช้ในการศึกษา

การศกึ ษาคร้ังนีผ้ ู้ศกึ ษาได้กำหนดเครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการศกึ ษา จำนวน 3 ชนดิ ได้แก่
1. แบบสอบถาม

ผู้ศกึ ษาได้สอบถามข้อมูลพ้ืนฐานของผสู้ ูงอายทุ ี่มภี าวะพึ่งพงึ จากหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง
ประกอบด้วย องค์การบริหารสว่ นตำบลไพร โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลกราม

2. แบบสมั ภาษณ์
ผู้ศกึ ษาได้ลงพ้นื ที่ไปสัมภาษณเ์ ปน็ การเจาะลึกประเด็นต่าง ๆ ด้วยการสนทนา

3. แบบสอบถามความพึงพอใจ
การวเิ คราะห์ข้อมูลแบบสอบถามความคิดเหน็ ในด้านความพงึ พอใจในการจดั กิจกรรมจติ

อาสาวัยใส ใสใ่ จสุขภาพผูส้ งู อายุ และประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากการจัดกจิ กรรม เปน็ มาตราสว่ นแบบประมาณค่า

19

(Rating Scale) สอบถามความคิดเหน็ 5 ระดบั วิเคราะหโ์ ดยใช้ค่าเฉลย่ี ( x ) และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

(S.D.) จำนวน 1 ฉบับ รวม 10 ขอ้

เกณฑ์การแปลความหมาย เพ่ือจดั ระดบั คะแนนเฉลีย่ ค่าความพงึ พอใจกำหนดในชว่ งคะแนน

ดงั ต่อไปนี้

ค่าเฉลย่ี 4.50 – 5.00 กำหนดให้อยใู่ นเกณฑ์ มากท่ีสุด
ค่าเฉลย่ี 3.50 – 4.49 กำหนดให้อย่ใู นเกณฑ์ มาก
ค่าเฉล่ีย 2.50 – 3.49 กำหนดใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 1.50 – 2.49 กำหนดใหอ้ ยู่ในเกณฑ์ น้อย
คา่ เฉลย่ี 1.00 – 1.49 กำหนดใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์ นอ้ ยท่สี ุด

3. ขั้นตอนการดำเนินงาน

1. ประชุมวางแผน ศึกษาข้อมูล ปรึกษาหารือกรอบแนวคิดในการจัดทำ โครงการ
จากองค์การบริหารสว่ นตำบลไพร และโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลกราม

2. เขยี นโครงการ กำหนดกจิ กรรม กำหนดปฏิทนิ การปฏิบตั ิงาน
3. ประชาสมั พนั ธ์โครงการ ที่หน้าเสาธงและเสยี งตามสาย
4. ดำเนินกจิ กรรมตามโครงการ
5. สรปุ และรายงานผล

4. วิธีการดำเนินงาน

1. ประชาสมั พนั ธ์โครงการ รับบริจาคเงนิ และสิ่งของจากคณะครูและนักเรยี นโรงเรยี น
ไพรธรรมคุณวทิ ยา จดั ทำบญั ชรี ายรับ รายจ่าย และสมุดเงินสด

2. นำข้อมูลผู้สูงอายุที่เป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิงเขตตำบลไพร บ้านไพร หมู่ท่ี 1 บ้านกราม
หมู่ท่ี 2 บ้านสนามแจ้ง หมู่ที่ 8 บ้านกราม หมู่ท่ี 9 บ้านโนนสะอาดหมู่ท่ี 10 จากโรงพยาบาลส่งเสริม
สขุ ภาพตำบลกราม มาศึกษาประวัติ

3. นำเงนิ ทไี่ ด้รบั บริจาค ไปจัดซ้ือวสั ดสุ ิง่ ของทีจ่ ำเป็นเพมิ่ เติมจากที่มผี มู้ ีจิตศรัทธามอบสง่ิ ของให้
4. ดำเนินงานร่วมองค์การบริหารส่วนตำบลไพร ผู้จัดการระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
(CM) จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกราม และผู้ดแู ลผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพงิ (CG) ออกเย่ียมบ้าน
ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ครั้งที่ 1 เพื่อวัดความดันโลหิต วัดค่าน้ำตาล กายภาพบำบัด ยืดเหยียดร่างกาย
มอบกระดาษชำระ ผ้าอ้อมสำเร็จรูปและนมให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแล และสัมภาษณ์ ลงลายมือชื่อรับส่ิงของ
สอบถามสงิ่ ของจำเป็นท่ีผูส้ งู อายแุ ละผู้ดแู ลตอ้ งการ จดบันทึกรายการส่งิ ของท่ตี ้องการเพือ่ จัดหา

20

5. ออกเย่ียมบ้านครั้งที่ 2 เพ่ือให้ขวัญกำลังใจ วัดความดันโลหิต วัดค่าน้ำตาล กายภาพบำบัด
จดั การสภาพแวดล้อมให้ดขี น้ึ มอบส่ิงของจำเปน็ ทีผ่ สู้ งู อายุและผู้ดูแลตอ้ งการ ลงลายมอื ช่ือรบั สง่ิ ของ

6. นำข้อมูลที่ได้จากการเย่ียมบ้านครั้งท่ี 1 และ ครั้งท่ี 2 ไปบันทึก สะท้อนคิดและเผยแพร่
ผลงาน

5. สถิติทใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู

สถิติทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
1. คา่ ร้อยละ (Percentage) ใชว้ เิ คราะห์สถานภาพของผู้ตอบแบบประเมินใช้สตู รดงั น้ี

(สมบัติ ท้ายเรือคำ, 2553 : 123)

P = x 100
เมอ่ื p แทน ค่ารอ้ ยละ

f แทน จำนวนของสิ่งทต่ี ้องการเปรยี บเทยี บ
n แทน จำนวนเต็มของสิ่งท่ตี ้องการเปรียบเทียบ
2. ค่าเฉลี่ย (Mean) โดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สำเร็จรปู

x = X
n

เมอื่ x แทน คา่ เฉล่ยี ของกลุ่มตัวอย่าง

X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
n แทน จำนวนกลุม่ ตัวอย่าง
3. ส่วนเบยี่ งแบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป

S.D. = n x2 − ( x)2

n(n −1)

เมื่อ S.D. แทน สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

X2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตวั ยกกำลังสอง

(X)2 แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดยกกำลงั สอง

n แทน จำนวนกลมุ่ ตัวอยา่ ง

21

บทท่ี 4

ผลการดำเนินงาน

การจัดทำโครงการจิตอาสาวัยใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้ศึกษาขอเสนอผลการดำเนินงานโดย
แบ่งเปน็ 4 ตอนดังน้ี

ตอนที่ 1 สำรวจข้อมลู และความตอ้ งการของผ้สู งู อายุทม่ี ีภาวะพงึ่ พิงในเขตตำบลไพร
ตอนที่ 2 ประชาสมั พนั ธเ์ ชญิ ชวน ผบู้ รหิ าร คณะครู นักเรยี นและบุคคลท่วั ไปรว่ มบรจิ าค
ตอนที่ 3 ศึกษาเรียนรู้วธิ ีการดแู ลผูส้ ูงอายุทม่ี ีภาวะพ่งึ พิง
ตอนที่ 4 ศกึ ษาความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ าร
ตอนที่ 5 สร้างความตระหนักในการดแู ลสขุ ภาพอนามัยของคนในโรงเรียนและชมุ ชน

ผลการดำเนนิ งาน ดังน้ี

ตอนท่ี 1 สำรวจขอ้ มลู และความตอ้ งการของผสู้ ูงอายทุ ี่มภี าวะพึ่งพิงในเขตตำบลไพร
จากการสำรวจข้อมูลพบว่าผูส้ ูงอายุที่เปน็ ผูป้ ่วยติดเตยี งหรอื ผู้ป่วยที่มีภาวะพง่ึ พิงในเขตตำบล
ไพรนนั้ มผี ู้ป่วยจำนวน 113 คน ซึ่งเกดิ มาจากการรับประทานอาหารรสจัด รสเคม็ รสหวาน อาหารที่ไม่มี
ประโยชน์ต่อรา่ งกาย และในการสำรวจความต้องการของผู้สงู อายุน้ันพบว่า ผู้ป่วยมีความต้องการในการ
ชว่ ยทำกายภาพบำบัดและสิง่ ของอาทิเชน่ นม ผ้าออ้ มสำเร็จรปู กระดาษชำระ สำลี และข้าวของเคร่ืองใช้
ในการดำเนินชวี ิตประจำวนั เป็นต้น
ตอนท่ี 2 การประชาสัมพันธ์เชิญชวน ผู้บริหาร คณะครู นักเรียนและบุคคลทั่วไปร่วม
บริจาค
พบว่าในการประชาสัมพันธ์ครั้งนี้ผู้บริหารคณะครูนักเรียนและบุคคลทั่วไปให้ความร่วมมือใน
การบริจาคเงินและส่ิงของ เป็นจำนวนเงินท้ังสิ้น 7,980 บาท (เจ็ดพันเก้าร้อยแปดสิบบาทถ้วน) และ
บริจาคสง่ิ ของเปน็ กระดาษชำระจำนวน 7 แพค็ และสำลจี ำนวน 1 หอ่
สครปิ ประชาสัมพนั ธข์ องโครงการจิตอาสาวัยใส ใส่ใจสขุ ภาพผู้สงู อายุ
เรียนท่านผู้อำนวยการ ท่านรองผู้อำนวยการ (ถ้ามาสังเกตอีกที) คณะคุณครูทุกท่าน และสวัสดี
น้องๆ ชาวฟ้าชมพูทุกคน พวกเราเป็นตัวแทนของโรงเรียนไพรธรรมคุณวิทยา ที่จะเข้าร่วมแข่งขัน
โครงการจติ อาสาพัฒนาชมุ ชน วันนี้พวกเราจะมาประชาสัมพันธเ์ ก่ยี วกับรายละเอียดโครงการ ดงั น้ี
ด้วยกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ได้สมัครเข้าร่วมประกวดแข่งขันใน
งาน วันมนุษศาสตร์และสังคมศึกษา สืบสานวันมรดกไทย ครั้งท่ี 7 ประจำปี 2563 ร่วมกับคณะ
มนุษย์ศาสตร์และสังคมศึกษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏศรสี ะเกษ กำหนดจัดขึน้ ระหว่างวันที่ 27-28 สิงหาคม
นี้

22

ซ่ึงได้สมัครเข้าร่วมกิจกรรมของสาขาวิชาพัฒนาชุมชน กลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน ภายใต้ชื่อ
โครงการ จิตอาสาวัยใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ โดยมีตัวแทนนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
จำนวน 6 คน ได้แก่ นายปรพล ชาภูวงษ์ นายณัชพงศ์ ผิวอ่อน นายอนันต์ชัย ศรีสุข นางสาวโชติกา
พัฒน์ธานี นางสาวญาดาวดี ดวงแก้ว และนางสาวน้ำทิพย์ ประจญมอญ มีนางสาวประสานศรี ดวงแก้ว
และนางสาวสพุ ิชญา สงิ คค์ ำ เป็นครูทปี่ รกึ ษา

กลุ่มเป้าหมายในการศึกษา คือ ผู้สูงอายุในเขตตำบลไพร ที่เป็นผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง ท่ีต้อง
ดูแลจำนวน 7 คน ลักษณะอาการเจ็บป่วยเร้ือรัง กิจกรรมที่ดำเนินการประกอบด้วย การสำรวจและ
ศกึ ษาข้อมูลผู้สูงอายุท่ีมีอาการป่วยติดเตียงหรอื อยู่ในภาวะพ่ึงพิง จากหน่วยงานองค์กรท่ีเก่ยี วข้อง ได้แก่
อบต.ไพร และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกราม เราพบว่าในเขตตำบลไพรมีผู้ป่วยดังกล่าวถึง 113
คน พวกเราได้สอบถามอาการป่วย สอบถามความต้องการในการรับการช่วยเหลือ จากน้ันก็มา
ประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และชุมชน ร่วมบริจาคเงินและส่ิงของ เม่ือได้รับเงิน
บริจาคได้นำไปจัดซ้ือวัสดุส่ิงของตามความต้องการของผู้ป่วยจากข้อมูลการสอบถามและสัมภาษณ์
ดำเนินกิจกรรมออกเย่ียมบ้านและดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียงเบื้องต้น ท้ังน้ีได้เรียนรู้วิธีการดูแล
ช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียงเบ้ืองต้น เช่น วัดความดัน ตรวจเลือดหาค่าน้ำตาล ทำกายภาพบำบัด สอบถาม
อาการป่วย สังเกตอาการ และปรับภูมิทัศน์ภายในบริเวณบ้านให้สะอาดมากข้ึน และส่งมอบส่ิงของเป็น
กำลังใจแกผ่ ู้ป่วย

พวกเราเชื่อว่ายังมีอีกหลายครอบครัวที่มีผู้ป่วยลักษณะดังกล่าว และต้องการการดูแลช่วยเหลือ
และข้อมูลจากการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้สูงอายุ ที่ต้องการกำลังใจ ต้องการการดูแลเอา
ใจใส่จากบุตรหลาน เราในฐานะตัวแทนผู้ดำเนินโครงการจึงขอเชิญชวนท่านผู้บริหาร คณะครูทุกท่าน
และนักเรยี นโรงเรียนไพรธรรมคุณวทิ ยาทุกคน ร่วมบริจาคเงินและส่ิงของตามกำลังศรัทธา ทา่ นทีบ่ รจิ าค
สามารถตรวจสอบรายชื่อได้ท่ีเพจเฟสบุ๊กขององค์การบริหารส่วนตำบลไพร และอยากจะเชิญชวนน้องๆ
ทุกคน สมคั รเปน็ สมาชิกกลุ่มจิตอาสา โดยเฉพาะครอบครัวของนักเรียนท่มี ีผู้สงู อายทุ ่ีตอ้ งดูแล เพือ่ ศกึ ษา
เรียนรู้วิธีการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น และจะได้นำความรทู้ ี่ได้ไปดูแลท่านเพ่ือเป็นการตอบแทนบุญคุณที่ท่าน
ดแู ลเลีย้ งดเู รามา

สำหรับวันนี้ พวกเราขอประชาสัมพันธ์โครงการไว้เพียงเท่านี้ และขอขอบพระคุณท่านผู้บริหาร
คณะครูทุกท่าน และขอบใจน้องๆ ทุกคนท่ีร่วมบริจาคทำบุญเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตต่อลมหายใจของ
เพื่อนมนษุ ยด์ ้วยกัน ขอบคุณครบั /ค่ะ

23

สรุปบญั ชีรายรับรายจา่ ยเงินรับบริจาคตามโครงการจิตอาสาวัยใส ใส่ใจสุขภาพผ้สู งู อายุ

วัน/เดอื น/ปี รายการ จำนวนเงนิ คงเหลอื
รายรบั รายจ่าย

20 ก.ค.2563 รบั เงินบริจาคจากคณะครู 5,340 - 5,340

23 ก.ค.2563 จ่ายซ้อื สง่ิ ของเพ่ือมอบผู้สงู อายุ - 2,654 2,686

3 ส.ค.2563 มอบเงนิ ใหน้ างอ่มุ ศลิ ศร - 100 2,586

19 ส.ค.2563 มอบเงินใหน้ างอุม่ ศิลศร - 200 2,386

รบั เงนิ บริจาคจากนักเรยี น 837 - 3,223

20 ส.ค.2563 รบั เงนิ บรจิ าคจากนักเรียน 1,803 - 5,026

รวม 7,980 2,954 -

ตอนท่ี 3 การศกึ ษาเรียนรู้วิธกี ารดแู ลผู้สงู อายุทมี่ ภี าวะพง่ึ พิง
จากการศึกษาเรียนรู้วิธีการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิงพบว่าการดูแลผู้ป่วยน้ันมีความ
แตกตา่ งกนั ออกไปตามลักษณะอาการ โดยผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิงแบ่งออกเป็น 4 กล่มุ ตามความต้องการ
การบริการด้านสาธารณะสุข
กล่มุ ที่ 1 เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกนิ หรือการขบั ถ่าย แตไ่ ม่มภี าวะสับสนทางสมอง
กลุม่ ท่ี 2 เคลื่อนไหวได้บา้ ง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย แต่มีภาวะสบั สนทางสมอง
กลมุ่ ที่ 3 เคลอื่ นไหวเองไมไ่ ด้ และอาจมปี ัญหาการกิน หรือการขับถา่ ย หรือมีอาการเจ็บป่วย รนุ แรง
กลุ่มที่ 4 เคลอ่ื นไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมีอาการเจ็บป่วย รนุ แรง
และมีอาการเจบ็ ปว่ ยรนุ แรง หรอื อยูใ่ นระยะท้ายของชีวติ
ซ่ึงผู้ป่วยที่ดูแลมีท้ังหมด 7 ราย แบ่งเป็น กลมุ่ ท่ี 1 จำนวน 4 ราย กล่มุ ที่ 4 จำนวน 3 ราย มีรายละเอียด
การดูแลดงั น้ี กลุ่มที่ 1 การดแู ลคือวัดความดันโลหิต เจาะเลือดตรวจหาคา่ นำ้ ตาล และทำกายภาพบำบัด
จัดสภาพแวดล้อมบริเวณบา้ นของผปู้ ว่ ย
กลุ่มท่ี 4 การดูแลคือวัดความดันโลหิต เจาะเลือดตรวจหาค่าน้ำตาล ทำกายภาพบำบัด
ประคบตามจุดต่างๆ ของร่างกาย นวดผ่อนคลาย และจัดสภาพแวดล้อมบริเวณบา้ น
ตอนที่ 4 ศกึ ษาความพึงพอใจของผ้รู บั บริการ
ในการศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการพบว่าในการศึกษาคร้ังน้ี ผู้ตอบแบบประเมินส่วน
ใหญ่ มคี วามวา่ โครงการนี้มปี ระโยชน์ต่อผสู้ ูงอายุและควรดำเนนิ การต่อไป ค่าเฉลย่ี 5 ผู้สงู อายุรู้สกึ ผอ่ น
คลายและมีกำลังใจมากขึ้น และ ผู้ดูแลผู้สงู อายุรสู้ ึกผอ่ นคลายและมีกำลังใจมากข้ึน ค่าเฉลี่ย 4.90 อยู่ใน
ระดับ มากที่สุด ตามลำดับ ผลการจัดกิจกรรมตามโครงการจิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุ มีค่าเฉล่ียรวม
4.43 อยู่ในระดับ มาก

24

สญั ลกั ษณท์ ีใ่ ช้ในการนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
x̄ แทน ค่าเฉลี่ย
S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ขนั้ ตอนการนำเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู
ผลการสำรวจแบ่งออกเปน็ 3 ตอน คอื

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลสว่ นตัวของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 ความคิดเหน็ เก่ียวกบั กจิ กรรม
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ
เกณฑ์การแปลความหมาย เพ่ือจัดระดับคะแนนเฉล่ียค่าความพึงพอใจกำหนดในช่วงคะแนน
ดังต่อไปน้ี
ค่าเฉลี่ย 4.50 – 5.00 กำหนดใหอ้ ยู่ในเกณฑ์ มากทสี่ ุด
ค่าเฉล่ีย 3.50 – 4.49 กำหนดให้อยใู่ นเกณฑ์ มาก
คา่ เฉล่ยี 2.50 – 3.49 กำหนดใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์ ปานกลาง
ค่าเฉลย่ี 1.50 – 2.49 กำหนดให้อย่ใู นเกณฑ์ พอใช้
ค่าเฉลย่ี 1.00 – 1.49 กำหนดให้อยใู่ นเกณฑ์ ปรับปรุง

ผลการวเิ คราะห์
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมนิ
ตารางที่ 1 จำนวนรอ้ ยละของผูใ้ หข้ อ้ มูล จำแนกตามเพศ

เพศ จำนวน รอ้ ยละ
ชาย 3 14.29
หญงิ 18 85.71

รวม 21 100

จากตารางที่ 1 ข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบแบบประเมินจำแนกตามเพศ พบว่า ผู้ตอบแบบ
ประเมนิ ส่วนใหญเ่ ป็นเพศหญงิ คิดเป็นร้อยละ 85.71 รองลงมาคอื เพศชาย คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.29

25

แผนภูมิท่ี 1 จำนวนร้อยละของผใู้ หข้ อ้ มูล จำแนกตามเพศ

ตารางท่ี 2 จำนวนร้อยละของผู้ให้ขอ้ มลู จำแนกตามสถานภาพ

สถานภาพ จำนวน ร้อยละ
ผ้ดู ูแล 12 57.14
ผู้สูงอายุ 9 42.86
21 100
รวม

จากตารางที่ 2 ข้อมูลทั่วไปผู้ตอบแบบประเมินจำแนกตามสถานภาพ พบว่า ผู้ตอบแบบ
ประเมินส่วนใหญ่เปน็ ผดู้ ูแล คดิ เป็นรอ้ ยละ 57.14 รองลงมาคือผสู้ งู อายุ คิดเป็นรอ้ ยละ 42.86

แผนภูมิที่ 2 จำนวนรอ้ ยละของผู้ให้ขอ้ มลู จำแนกตามเพศ

26

ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นเกยี่ วกบั กิจกรรม
ตารางที่ 3 ตารางแสดงความพึงพอใจต่อกจิ กรรม

รายการ x̄ S.D. ระดับความ
คดิ เห็น
1. จำนวนครั้งที่ออกเยีย่ มบ้านมีความเหมาะสม 4.29
2. ระยะเวลาในการดำเนินงานมีความเหมาะสม 4.19 0.56 มาก
3. ส่ิงของบริจาคมคี วามจำเป็นต่อความตอ้ งการ 4.86 0.60 มาก
4. สิง่ ของบริจาคมีความพอเพยี งต่อความตอ้ งการ 4.81 0.36 มากท่ีสุด
5. การดแู ลการวดั ความดันโลหิตมคี วามเหมาะสม 3.76 0.40 มากท่สี ดุ
6. การเจาะเลือดเพ่ือวดั ค่าน้ำตาลมีความเหมาะสม 3.52 0.70 มาก
7. การดแู ลดา้ นส่ิงแวดลอ้ มมสี ะอาดเรียบรอ้ ย 4.05 0.68 มาก
8. ผู้สูงอายรุ ูส้ ึกผ่อนคลายและมกี ำลงั ใจมากขึน้ 4.90 0.59 มาก
9. ผูด้ ูแลผสู้ งู อายุรู้สึกผ่อนคลายและมกี ำลังใจมากขน้ึ 4.90 0.30 มากท่ีสดุ
10. โครงการนีม้ ีประโยชนต์ อ่ ผสู้ งู อายุและควรดำเนินการต่อไป 5.00 0.30 มากทีส่ ดุ
4.43 0 มากท่สี ุด
รวม 0.45 มาก

จากตารางท่ี 3 ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบประเมิน พบว่า ผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่
มีความเห็นว่า โครงการน้ีมีประโยชน์ต่อผู้สูงอายุและควรดำเนินการต่อไป ( x =5, S.D.=0) อยู่ในระดับ
มากท่ีสุด ผู้สูงอายุรู้สึกผ่อนคลายและมีกำลังใจมากขึ้น และ ผู้ดูแลผู้สูงอายุรู้สึกผ่อนคลายและมีกำลังใจ
มากข้ึน ผู้ดูแลผู้สูงอายุรู้สึกผ่อนคลายและมีกำลังใจมากขึ้น ( x =4.90, S.D.=0.30) อยู่ในระดับ มากท่ีสุด
สง่ิ ของบริจาคมคี วามจำเป็นตอ่ ความต้องการ ( x =4.86, S.D.=0.36) อยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด สิ่งของบริจาคมี
ความพอเพียงต่อความต้องการ ( x =4.81, S.D.=0.40) อยู่ในระดับ มากท่ีสุด จำนวนครง้ั ที่ออกเย่ียมบ้าน
มีความเหมาะสม ( x =4.29, S.D.=0.56) อยู่ในระดับ มาก ระยะเวลาในการดำเนินงานมีความเหมาะสม
( x =4.19, S.D.=0.60) อยู่ในระดับ มาก การดูแลด้านส่ิงแวดล้อมมีสะอาดเรียบร้อย ( x =4.05, S.D.=0.59)
อยู่ในระดับ มาก การดูแลการวัดความดันโลหิตมีความเหมาะสม ( x =3.76, S.D.=0.70) อยู่ในระดับ มาก
คา่ เฉล่ียรวมความพึงพอใจต่อกจิ กรรม ( x =4.43, S.D.=0.45) อยใู่ นระดบั มาก

ตอนที่ 5 สรา้ งความตระหนักในการดแู ลสุขภาพอนามยั ของคนในโรงเรียนและชุมชน
ในการสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพอนามัยของคนในโรงเรียนและชุมช นนั้นพบว่า
ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน และบุคคลทั่วไปน้ันมีความตระหนักที่จะออกกำลังกายและใส่ใจสุขภาพ
ตนเองมากข้ึน ท้งั การลดการรับประทานอาหารรสหวาน มัน เค็ม และตระหนกั ท่จี ะใช้ชีวิตอย่างมีสติและ
พอเพยี ง

28

บทท่ี 5
สรปุ อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

การจัดทำโครงการจิตอาสาวัยใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจข้อมูลและความ
ต้องการของผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิงในเขตตำบลไพร เพ่ือประชาสัมพันธ์เชิญชวน ผู้บริหาร คณะครู
นกั เรียนและบุคคลท่วั ไปร่วมบริจาค เพ่ือศึกษาเรียนรูว้ ิธีการดูแลผู้สงู อายุทม่ี ีภาวะพึง่ พิง เพื่อประเมินความ
พึงพอใจของผู้รับบริการ และเพ่ือสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพอนามัยของคนในโรงเรียนและ
ชุมชน กลุ่มเป้าหมายคือผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตตำบลไพร อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวน
7 คน มีภาวะพ่ึงพิง 2 กลุ่ม กล่าวคือ กลุ่มที่ 1 มีลักษณะช่วยเหลือตัวเองได้ และกลุ่มที่ 4 ไม่สามารถ
ช่วยเหลือตัวเองได้ เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินความพึง
พอใจ วิเคราะหข์ ้อมูลโดยใชค้ า่ สถิตริ ้อยละ คา่ เฉลี่ย และการพรรณนาโวหาร

สรุปผลการศึกษา

การจัดทำโครงการจติ อาสาวยั ใส ใสใ่ จสุขภาพผูส้ งู อายุ สรุปผลการศกึ ษาได้ ดังนี้
1. ผลการสำรวจขอ้ มลู และความต้องการของผสู้ งู อายุทม่ี ีภาวะพึ่งพิงในเขตตำบลไพร

จากการสอบถามว่าที่ร้อยตรีชัยภัทร ศรีสุภาพ ตำแหน่ง หัวหน้าสำนักงานปลัดองค์การ
บริหารส่วนตำบลไพร พบว่า มีผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิงในเขตตำบลไพร ทั้งสิ้น จำนวน 113 คน โดยแบ่ง
ออกเป็น 4 กลุ่ม ตามความตอ้ งการในการรบั บริการดา้ นสาธารณสขุ คอื

กลุ่มที่ 1 คือ เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกนิ หรือการขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสน
ทางสมอง

กลุ่มท่ี 2 คือ เคล่ือนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย แต่มีภาวะสับสน
ทางสมอง

กลุ่มที่ 3 คือ เคล่ือนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมีอาการ
เจบ็ ปว่ ย รนุ แรง

กลุ่มที่ 4 คือ เคล่ือนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมีอาการ
เจ็บป่วย รนุ แรงและมอี าการเจ็บป่วยรุนแรง หรอื อย่ใู นระยะสดุ ทา้ ยของชวี ิต

หลังจากได้ข้อมูลของผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง จากองค์การบริหารส่วนตำบลไพรแล้ว ผู้ศึกษา
ได้ออกสำรวจความต้องการของผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิงในพ้ืนที่บ้านไพร หมู่ที่ 1 บ้านกราม หมู่ท่ี 2 บ้าน
สนามแจ้ง หมู่ที่ 8 บ้านกราม หมู่ที่ 9 และบ้านโนนสะอาด หมู่ที่ 10 รวมจำนวน 7 คน ซ่ึงอยู่ในกลุ่มที่มี
ความต้องการในการรบั บริการดา้ นสาธารณสขุ อยูใ่ นกลุ่มท่ี 1 และ กลุ่มที่ 4

29

จากการสอบถามผู้ป่วยมีภาวะพึ่งพิง ทั้ง 7 คน พบว่า ผู้ป่วยมีความต้องการจะได้รับการดูแล
ช่วย ได้แก่ สิง่ ของเครื่องใชท้ ่ีจำเป็นในการดำรงชีวติ เช่น กระดาษชำระ ผ้าอ้อมสำเร็จสำหรับผู้สูงอายุ สำลี
และนมบำรงุ สขุ ภาพ

2. การประชาสัมพนั ธเ์ ชญิ ชวน ผบู้ ริหาร คณะครู นกั เรียนและบุคคลทวั่ ไปรว่ มบรจิ าค
หลังจากได้ข้อมูลความต้องการดูแลช่วยเหลือจากผู้ป่วยท่ีมีภาวะพึ่งพิง ทั้ง 7 คน แล้ว กลุ่ม

จิตอาสา ได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์เชิญชวน ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน ท่ีบริเวณหน้าเสาธงหลังทำ
กจิ กรรมเคารพธงชาติ ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายชว่ งพักกลางวัน และประชาสัมพันธไ์ ปยงั ผู้ปกครองของ
นกั เรยี นทม่ี คี วามประสงค์จะรว่ มทำบุญชว่ ยเหลอื ผ้ปู ่วยทม่ี ีภาวะพึ่งพิงดงั กลา่ วผา่ นนกั เรยี น

ผลจากการประชาสัมพันธ์ดังกล่าว พบว่า ได้รับเงินบริจาค จากผู้บริหาร คณะครู นักเรียน
และบคุ คลทว่ั ไป จำนวน 250 คน เป็นเงินทั้งสิ้น 7,980 บาท (เจ็ดพันเก้าร้อยแปดสิบบาทถว้ น) ไดน้ ำไปซื้อ
ส่ิงของเคร่ืองใช้ที่จำเป็นตามความต้องการของผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง เป็นเงิน จำนวน 2,954 บาท (สอง
พันเก้าร้อยห้าสิบสี่บาทถ้วน) คงเหลือเงินจำนวน 5,026 บาท (ห้าพันย่ีสิบหกบาทถ้วน) ถือว่าได้รับความ
ร่วมมือในการดำเนินโครงการในคร้ังน้ีเปน็ อย่างดยี ิ่ง

3. การศกึ ษาเรยี นรวู้ ิธกี ารดแู ลผูส้ งู อายุทม่ี ีภาวะพึ่งพิง
ผู้ศึกษาได้รับความอนุเคราะห์จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกราม สอนวิธีการดูแล

ผู้สูงอายุและผปู้ ่วยที่มภี าวะพึ่งพิงเบื้องตน้ เชน่ การตรวจวัดความดันโลหิต การตรวจวัดค่าน้ำตาลในเลอื ด
การทำกายภาพบำบดั การนวดผ่อนคลาย การประคบ เป็นตน้

จากนั้นผู้ศึกษาได้ลงพ้ืนท่ีเพื่อปฏิบัติการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีภาวะพ่ึงพิงทั้ง 7 คน โดย
ทดลองตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจวดั ค่านำ้ ตาลในเลือด ทำกายภาพบำบดั การนวดผ่อนคลาย ประคบ
ท้ังนี้ โดยมีนางสุรีย์ ใจคง ตำแหน่ง ผู้ช่วยเหลือผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง (CG) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบลกราม ทีม่ หี นา้ ที่โดยตรงในการดูแลผปู้ ่วย ใหค้ ำแนะนำในการดแู ลผปู้ ว่ ยอย่างใกลช้ ดิ และถกู วธิ ี

4. ความพึงพอใจของผ้รู ับบรกิ าร
จากหลังได้ดำเนินโครงการจิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุ ได้ประเมินความพึงพอใจของ

ผรู้ ับบริการ จำนวน 21 คน แบ่งเป็น ผู้สูงอายุ 7 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 ผู้ดูแล 14 คน คิดเป็นร้อยละ
66.67 แยกเป็นเพศชาย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 4.76 และเพศหญิง 20 คน คิดเป็นร้อยละ 95.24 โดย
ภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน ( x =4.43, S.D.=0.45) รายการท่ีมีระดับความพึงพอใจมากที่สุด ได้แก่
โครงการน้ีมีประโยชน์ต่อผู้สูงอายุและควรดำเนินการต่อไป ( x =5, S.D.=0) ผู้สูงอายุรู้สึกผ่อนคลายและมี

30

กำลังใจมากขึ้น และผู้ดูแลผู้สูงอายุรู้สึกผ่อนคลายและมีกำลังใจมากขึ้น ( x =4.90, S.D.=0.30) ส่ิงของ
บริจาคมีความจำเปน็ ตอ่ ความต้องการ ( x =4.86, S.D.=0.360)

5. การสรา้ งความตระหนักในการดแู ลสุขภาพอนามยั ของคนในโรงเรียนและชมุ ชน
ผู้ศึกษาได้ประชาสัมพันธ์เกี่ยวการดูแลสุขภาพของตัวเองและบุคคลในครอบครัวบริเวณหน้า

เสาธงหลงั ทำกจิ กรรมเคารพธงชาติ เช่น การดำเนินชีวิตควรใช้ความระมัดระวงั และอยา่ ประมาท ควรเลือก
รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ถูกต้องตามหลักอนามัย ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และเสริมสร้าง
จติ ใจให้มีความสุข เพื่อป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดในสมองตีบ โรค
กระดูกทับเส้น ซึ่งจะนำไปสู่การเกิดภาวะพึ่งพิงเม่ือมีอายุมากข้ึน ฉะนั้น เมื่อมีความรู้และข้อมูลดังกล่าว
แลว้ จงึ ควรปอ้ งกันดแู ลรักษาสุขภาพของตนเอง คนในครอบครัว ไม่ให้เกิดโรคดังกลา่ ว

อภปิ รายผลการศกึ ษา

จากผลการศึกษา สามารถอภิปรายผลโดยแบง่ เปน็ ตอน ตามลำดบั ดงั น้ี
ตอนที่ 1. อภิปรายผลเก่ียวกับการสำรวจข้อมูลและความต้องการของผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง
ในเขตตำบลไพร
ผลการศกึ ษาพบว่าผ้สู ูงอายุในเขตตำบลไพรนน้ั มีจำนวนมากถงึ 113 คน มีมากข้นึ ตามจำนวนของ
ผู้สูงอายุท่ีเพิ่มมากข้ึนทุกปี ผู้สูงอายุท่ีศึกษาทั้งหมด 7 ราย แบ่งเป็น กลุ่มที่ 1 จำนวน 4 ราย กลุ่มที่ 4
จำนวน 3 ราย ผู้สูงอายุมีความต้องการ กระดาษชำระ ผ้าอ้อมสำเร็จสำหรับผู้สูงอายุ สำลี และนมบำรุง
สุขภาพ สำหรับใช้ในการดูแลสุขภาพ เน่ืองจากส่ิงของดังกล่าวต้องใช้เป็นประจำ และมีราคาแพง จึงทำให้
ผ้สู งู อายุและผู้ดูแลไดร้ บั ผลกระทบด้านเศรษฐกจิ

ตอนท่ี 2. อภิปรายผลเกี่ยวกับการประชาสัมพันธเ์ ชญิ ชวน ผูบ้ รหิ าร คณะครู นักเรียนและ
บุคคลท่วั ไปร่วมบรจิ าค

ผลการศึกษา พบว่าในการประชาสัมพันธ์คร้ังน้ีผู้บริหารคณะครูนักเรียนและบุคคลทั่วไปให้
ความร่วมมือในการบริจาคเงินและสิ่งของ เป็นจำนวนเงินท้ังส้ิน 7,980 บาท (เจ็ดพันเก้าร้อยแปดสิบบาท
ถว้ น) และบริจาคสิ่งของเป็นกระดาษชำระ จำนวน 7 แพค็ และสำลี จำนวน 1 ห่อ ถอื ว่าได้รับความร่วมมือ
อย่างดียิ่ง เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ ทุกหน่วยงานทุกองค์กรมีการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ในดูแล
ช่วยเหลอื ผู้สูงอายทุ ี่มภี าวะพ่ึงพิง

31

ตอนท่ี 3. อภิปรายเก่ียวกับการศึกษาเรียนรวู้ ธิ ีการดแู ลผู้สงู อายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิง
ผลการศึกษาพบว่าจากการศึกษาเรียนรู้วิธกี ารดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิงพบว่าการดูแลผู้ป่วย
นั้นมีความแตกต่างกนั ออกไปตามลกั ษณะอาการ โดยผู้สงู อายุทม่ี ภี าวะพึ่งพงิ แบ่งออกเปน็ 4 กลมุ่ ตามความ
ตอ้ งการการบริการด้านสาธารณสุข ดงั นี้

กลุ่มท่ี 1 เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสน
ทางสมอง

กลุ่มท่ี 2 เคล่ือนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย แต่มีภาวะสับสน
ทางสมอง

กลุ่มท่ี 3 เคล่ือนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมีอาการ
เจ็บป่วยรนุ แรง

กลุ่มที่ 4 เคล่ือนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย หรือมีอาการ
เจ็บปว่ ยรนุ แรงและมีอาการเจ็บปว่ ยรนุ แรง หรืออยู่ในระยะทา้ ยของชวี ติ

ในการศึกษาครั้งน้ี มีผสู้ ูงอายุตามโครงการ จำนวน 7 คน แบ่งเป็น กลุ่มที่ 1 จำนวน 4
ราย กลุ่มท่ี 4 จำนวน 3 ราย การดูแลอาการของผู้สูงอายุทั้ง 2 กลุ่ม มกี ารดูแลท่ีเป็นพ้ืนฐานเหมือนกัน คือ
วัดความดันโลหิต เจาะเลือดตรวจหาค่าน้ำตาล และทำกายภาพบำบัด จัดสภาพแวดล้อมบริเวณบ้านของ
ผู้ป่วย ส่วนผู้ป่วยกลุ่มท่ี 4 จะมีความต้องการด้านสาธารณสุขมากกว่ากลุ่มที่ 1 คือ การทำกายภาพบำบัด
ประคบตามจุดต่าง ๆ ของร่างกาย นวดผ่อนคลาย รักษาแผลกดทับ เนื่องจากผู้สูงอายุอยู่น่ิงไม่ได้
เคลื่อนไหว ทำให้เกิดการทิ้งน้ำหนักลงที่จุด ๆ เดียวเป็นเวลานาน แรก ๆ จะมีรอยแดง ปล่อยไว้นาน
กลา้ มเน้ือบรเิ วณนน้ั จะตาย และจะทำใหเ้ กดิ โรคแทรกซอ้ นอ่นื ๆ ตามมา

ตอนที่ 4. อภปิ รายเกี่ยวกบั ความพึงพอใจของผ้รู ับบริการ
ผลการศึกษา พบว่าในการศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการพบว่าในการศึกษาคร้ังนี้

ผู้รบั บริการ มีความเหน็ วา่ โครงการนี้มปี ระโยชน์ต่อผู้สูงอายุและควรดำเนินการต่อไป ค่าเฉล่ีย 5 ผูส้ ูงอายุ
รูส้ กึ ผอ่ นคลายและมีกำลังใจมากขึ้น และ ผู้ดแู ลผู้สงู อายุรู้สกึ ผอ่ นคลายและมีกำลงั ใจมากข้นึ คา่ เฉล่ีย 4.90
อยู่ในระดับ มากที่สุด ตามลำดับ ผลการจัดกิจกรรมตามโครงการจิตอาสาวัยใส ใส่ใจผู้สูงอายุ มีค่าเฉล่ีย
รวม 4.43 อยใู่ นระดบั มาก

ตอนที่ 5. อภิปรายเกยี่ วกับการสร้างความตระหนักในการดูแลสขุ ภาพอนามยั ของคนในโรงเรียน
และชุมชน

ผลการศึกษา พบวา่ การสรา้ งความตระหนักในการดูแลสขุ ภาพอนามัยของคนในโรงเรยี นและ
ชมุ ชนนนั้ พบวา่ ผบู้ ริหาร คณะครู นกั เรยี น และบคุ คลทั่วไปน้ันมีความตระหนักทจี่ ะออกกำลังกายและใสใ่ จ
สขุ ภาพตนเองมากขน้ึ ท้งั การลดการรับประทานอาหารรสหวาน มัน เค็ม

32

ปญั หาและอุปสรรค

1. สภาพอากาศไม่อำนวย ฝนตกไม่สามารถออกเยีย่ มบ้านผู้สูงอายไุ ด้ตามกำหนดในปฏิทินงาน
2. ญาติผู้สูงอายุไม่สามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิงได้อย่างเต็มที่ เพราะสภาพเศรษฐกิจของ
ครอบครัว ที่อยอู่ าศยั ไมเ่ อือ้ ตอ่ การดูแลผสู้ ูงอายุ

ขอ้ เสนอแนะ

1. ควรมีโครงการจิตอาสาต่อไป เพราะผู้สูงอายุมีจำนวนเพ่ิมมากขึ้นและต้องการการดูแลรักษา ผู้ดูแล
ต้องการขวัญและกำลังใจ

2. ทุกคนควรดแู ลสขุ ภาพของตัวเองโดยการออกกำลังกาย รับประทานอาหารท่ีถูกหลกั อนามยั
ลดอาหารหวาน มนั เค็ม

33

บรรณานกุ รม

34

บรรณานกุ รม

กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย.์ (2561). สถานการณผ์ ู้สงู อายุประเทศไทย (ออนไลน์).
แหลง่ ที่มา : http://www.dop.go.th/th/know/side/1/2/261 20 กรกฎาคม 2563

ภาสกร สวนเรือง. (2561). การดูแลผสู้ งู อายทุ ีม่ ภี าวะพึง่ พงิ ของผชู้ ่วยเหลือในชุมชนภายใตน้ โยบาย
การพฒั นาระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรบั ผู้สงู อายทุ ่ีมีภาวะพึง่ พงิ (ออนไลน์).
แหล่งทมี่ า : http://203.157.71.139/group_sr/allfile/1578553494.pdf 20 กรกฎาคม 2563

มลู นิธสิ ถาบนั วจิ ัยเพอ่ื การพฒั นาประเทศไทย. (2561). รายงานสถานการณผ์ ู้สูงอายุไทย ปี 2561
(ออนไลน์). แหล่งทีม่ า : https://thaitgri.org/?p=38670 20 กรกฎาคม 2563

สภาพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ. (2564). แผนพฒั นาสขุ ภาพแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12
(พ.ศ. 2560-2564)

อญั ชิษฐฐา ศริ คิ ำเพง็ และภกั ดี โพธ์สิ งิ ห์. (2560). การดูแลผ้สู ูงอายรุ ะยะยาวทมี่ ภี าวะพึง่ พิงในยคุ ประเทศ
ไทย (ออนไลน์). แหลง่ ที่มา : file:///C:/Users/Advice%20kh/Downloads/85391-
Article%20Text-274694-2-10-20180206%20(2).pdf 20 กรกฎาคม 2563

Donnaya Suvetwethin. (2562). จิตอาสา ดูแลผปู้ ่วยระยะพึง่ พงิ ในชุมชน (ออนไลน์). แหลง่ ที่มา:
https://www.thaihealth.or.th/Content/47843 20 กรกฎาคม 2563

pawinee. (2560). การวจิ ัยเพอื่ พัฒนาระบบการดูแลระยะยาว (Long-term care) สำหรับผู้สูงอายทุ ี่มี
ภาวะพ่ึงพิงภายใตร้ ะบบหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ (ออนไลน์). แหล่งท่มี า:
https://www.hsri.or.th/researcher/research/new-release/detail/10138 20 กรกฎาคม
2563

Pimchanok. (2557). จติ อาสาวัยใสรวมใจ'สร้างสขุ 'ผูส้ ูงอายุ (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา:
https://www.thaihealth.or.th/Content/25591 20 กรกฎาคม 2563

35

ภาคผนวก ก
แบบสอบถามผ้สู ูงอายุทมี่ ภี าวะพึงพงิ

36

แบบสอบถามผู้สูงอายทุ ่ีมภี าวะพึ่งพิงในเขตตำบลไพร อำเภอขุนหาญ จังหวดั ศรสี ะกษ
ชอ่ื ผ้สู ูงอายุ........................................................................... วนั ท่ี............เดอื น........................พ.ศ

...............
1) มีสมาชกิ ในครอบครัวดูแลผู้ป่วยติดเตียงหรอื ไม่

ไมม่ ี เพราะ........................................................................
มี จำนวน............................... .คน
2) สภาพสง่ิ แวดล้อมในบา้ น
สะอาด สะอาดปานกลาง ไมส่ ะอาด อธบิ ายท่สี ังเกตได.้ ..........................
3) ความปลอดภัยของทอ่ี ยู่อาศัย
ปลอดภยั ไมป่ ลอดภัย อธบิ ายท่ีสังเกตได.้ .....................................
4) สุขอนามยั ส่วนตัวของผู้ปว่ ยติดเตียง
สะอาดถูกหลกั อนามยั พอใช้ได้ ไมส่ ะอาด มีกลน่ิ อธบิ ายทส่ี งั เกตได.้ ......................
5) การพดู คุย/สือ่ สาร
พดู คุยรเู้ ร่ือง พดู ล้ินแข็ง ใชท้ า่ ทางสือ่ สาร ไม่พดู /นิ่งเฉย
6) การรับประทานอาหาร
รบั ประทานอาหารได้เอง ให้ผอู้ ืน่ ช่วยปอ้ น ใสส่ ายยางให้อาหาร
7) การขับถ่าย
สามารถขับถ่ายอุจจาระ/ปัสสาวะไดเ้ อง สวนปัสสาวะบางครง้ั ใสส่ ายสวนปัสสาวะคาไว้
8) ผดู้ ูแลท่ีเป็นสมาชิกในครอบครัวตอ้ งการสนบั สนนุ อะไรบา้ ง
................................................................................................................................................. ........................
9) ผ้ดู แู ลรู้สกึ อย่างไรบา้ งต่ออาการของผู้ปว่ ย
.........................................................................................................................................................................
10) ผูด้ แู ลมีความคาดหวงั ต่ออาการของผ้ปู ว่ ยอยา่ งไรบ้าง
............................................................................................ .............................................................................

37

ภาคผนวก ข
แบบสมั ภาษณ์

38

แบบสัมภาษณ์
โครงงาน จติ อาสาวัยใส ใส่ใจสขุ ภาพผ้สู ูงอายุ

วนั ที่……...เดือน............................พ.ศ…………..

ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไป

1. ชื่อ………………………………………สกุล…………………………………………เพศ ชาย หญิง อายุ……..ปี
2. บ้านเลขท่ี…………หมทู่ ี่..........หมบู่ ้าน…….……………ตำบล………………อำเภอ…………………………………………

จงั หวดั ……………………………………………รหัสไปรษณ…์ ………………………เบอร์โทรศัพท์…………………………
3. อาชพี ………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ส่วนท่ี 2 ประวัติการการรักษา

1. ประวัตกิ ารมโี รคประจำตัวของผูส้ งู วยั หรืออาการของโรคท่เี กิดกับผู้สูงวยั
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. การดูแลรักษาอาการของผู้สงู วยั
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. สภาพแวดล้อมท่ีอยู่อาศัยของผ้สู ูงวยั
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ความต้องการของผดู้ ูแล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

39

ภาคผนวก ค
แบบประเมิน

40

แบบประเมนิ

การดำเนินโครงการจิตอาสาวยั ใส ใสใ่ จสุขภาพผ้สู งู อายุ

คำชแี้ จง แบบประเมนิ ฉบบั นเ้ี ป็นแบบประเมนิ ความคิดเหน็ และความพงึ พอใจตอ่ การดำเนินโครงการจิต

อาสาวัยใส ใสใ่ จสุขภาพผสู้ ูงอายุ ผู้ตอบแบบประเมนิ ทำเครื่องหมาย √ หรอื เติมข้อความลงในช่องว่างตรง

ตามความคิดเห็นของท่าน

ตอนที่ 1 ข้อมลู ส่วนตัวของผูต้ อบแบบสอบถาม

1. เพศ  ชาย  หญิง

2. สถานภาพ  ผดู้ ูแล  ผู้สูงอายุ

 อื่นๆ(ระบุ)………………………………………………………..

ตอนท่ี 2 ความคิดต่อการจัดทำโครงการในประเด็นต่างๆ ดังตอ่ ไปน้ี

ระดบั ความคดิ เห็น

ขอ้ ประเดน็ การประเมนิ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย

ที่ ทส่ี ุด กลาง ทีส่ ดุ

1 จำนวนครง้ั ทอี่ อกเยี่ยมบา้ นมีความเหมาะสม

2 ระยะเวลาในการดำเนินงานมีความเหมาะสม

3 ส่ิงของบริจาคมคี วามจำเปน็ ต่อความต้องการ

4 สิ่งของบรจิ าคมีความพอเพียงต่อความต้องการ

5 การดูแลการวดั ความดนั โลหิตมีความเหมาะสม

6 การเจาะเลือดเพื่อวดั ค่านำ้ ตาลมคี วามเหมาะสม

7 การดูแลด้านสิง่ แวดล้อมมสี ะอาดเรียบรอ้ ย

8 ผู้สูงอายรุ ้สู ึกผอ่ นคลายและมีกำลังใจมากขนึ้

9 ผ้ดู ูแลผ้สู ูงอายุรูส้ กึ ผ่อนคลายและมกี ำลงั ใจมากข้นึ

10 โครงการน้มี ปี ระโยชน์ตอ่ ผู้สูงอายแุ ละควรดำเนินการต่อไป

ข้อเสนอแนะ
............................................................................................................................. ............................................
....................................................................................... ..................................................................................
............................................................................................................................. ............................................

ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบประเมนิ

41

ภาคผนวก ง
แบบเสนอโครงการ

42

โครงการโรงเรียนไพรธรรมคุณวิทยา ปีงบประมาณ 2563
อำเภอขุนหาญ จงั หวัดศรสี ะเกษ

สงั กดั องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั ศรสี ะเกษ

1. โครงการ จิตอาสาวยั ใส ใสใ่ จสขุ ภาพผสู้ งู อายุ

2. หลกั การและเหตุผล

การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเป็นพลวัตสำคัญที่ส่งผลกระทบในวงกว้าง ทั้งต่อสังคมโลกและประเทศ
ไทย โดยเฉพาะประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2548 ได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มข้ึน
อย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ส่งผลให้ปี 2562 ประชากรผู้สูงอายุมีมากกว่าประชากรวัยเด็ก สะท้อนได้จาก
ตัวเลขของกรมกิจการผูส้ ูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ข้อมูล ณ วันท่ี
31 ธ.ค. 2561 พบว่า ประเทศไทยมีประชากรทั้งหมด 66.4 ล้านคน เฉพาะผู้สูงอายุ 10,670,000 คน หรือ
ร้อยละ 16.06 แบ่งเป็นผู้สูงอายุชาย 4,720,000 คน และผู้สูงอายุหญิง 5,950,000 คน โดยจังหวัดที่มี
ประชากรผู้สูงอายุมากที่สุด คือ กรุงเทพฯ มากกว่า 1 ล้านคน (ร้อยละ 17.98) รองลงมา นครราชสีมา
เชียงใหม่ ขอนแก่น และอุบลราชธานี (กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์, 2561)

ขณะที่สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติคาดการณ์ว่า ปี 2564 ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคม
ผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ เป็นประเทศที่สองของอาเซียน รองจากสิงคโปร์ โดยประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
จะมีจำนวนไม่น้อยกว่า 13 ล้านคน หรือร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด และอีก 20 ปีข้างหน้า ในปี
2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุจำนวน 20 ล้านคน หรือ 1 ใน 3 ของคนไทยจะเป็นผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุ
อายมุ ากกวา่ 80 ปีขนึ้ ไป จะมมี ากถึง 3,500,000 คน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2564)

ดังนัน้ การใช้จา่ ยงบประมาณในสังคมผสู้ งู อายุของประเทศไทยที่ผ่านมา ไม่วา่ จะเป็นด้านสขุ ภาพ
เบย้ี ยังชพี พบว่า มแี นวโน้มเพม่ิ ขน้ึ ทุกปี ขอ้ มลู ของสถาบนั วจิ ัยเพ่อื การพัฒนาประเทศไทย (ทีดอี าร์ไอ)
ภายใตก้ ารศึกษาเร่ืองการประมาณการณค์ ่าใช้จา่ ยสขุ ภาพ การดูแล และเสริมสร้างสขุ ภาพ พบว่าหาก
รฐั บาลยังไม่ออกมาตรการควบคมุ รวมถึงมาตรการใช้ชีวติ ของผสู้ ูงอายุ คาดการณ์ ปี 2575 คา่ ใช้จา่ ยด้าน
สุขภาพของประเทศจะสงู ถึง 2.2 ลา้ นลา้ นบาท และในด้านการจดั สรรเบี้ยยังชพี ผ้สู งู อายจุ ะมากยิ่งขนึ้ โดย
ในปี 2561 ปรากฏตัวเลขใชง้ บประมาณจัดสรรเบย้ี ยงั ชพี ถึง 66,359 ล้านบาท (สถาบันวจิ ัยเพ่ือการพัฒนา
ประเทศไทย, 2561)

ในพน้ื ท่เี ขตตำบลไพร มีผ้สู ูงอายุท่ีอยู่ในภาวะพึง่ พงิ จำนวน 113 ราย แบง่ เป็น 4 กลมุ่ แม้จะได้รับ
ความช่วยเหลือในเบื้องต้นจากหน่วยงานของรัฐในด้านต่าง ๆ เช่น ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาวด้าน
สาธารณสขุ ผชู้ ว่ ยเหลือผู้สูงอายทุ ี่มภี าวะพง่ึ พิง แตอ่ าจไม่ทั่วถงึ และยงั ต้องการส่ิงของท่ีจำเป็นในการดำรง
ชพี ต้องการการดแู ลเอาใจใส่ ตลอดจนตอ้ งการกำลังใจจากลูกหลาน เพื่อใหม้ พี ลังใจในการต่อสู้กับโรคร้าย
ท่ีรุมเร้า ซง่ึ ผ้จู ดั ทำโครงการเองเป็นนักเรียนที่อาศัยอยใู่ นชุมชน ได้เหน็ สภาพชีวิตความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุ
ที่มีภาวะพึ่งพิง หรือแม้แต่คนในครอบครัวของผู้จดั ทำโครงการเอง ซึ่งมองว่าหากมีความรู้เกี่ยวกับการดแู ล
ผู้สูงอายุในเบือ้ งตน้ ก็จะสามารถชว่ ยแบง่ เบาภาระของผูป้ กครองได้บ้าง ดังนั้น จึงได้ชักชวนเพื่อนๆ จัดทำ

43

โครงการจิตอาสาวัยใส ใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุขึ้น กอรปกับโรงเรียนมีมีนโยบายให้นักเรียนทุกระดับชั้นทำ
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ทุกภาคเรียน เพื่อสร้างความตระหนักและเผยแพร่ความรู้ในการ
ดูแลสุขภาพอนามัยคนในชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการได้ช่วยเหลือสังคมและเป็นสื่อกลางในการระดมทุนเพ่ือ
จัดหาสิง่ ของเครอื่ งใช้ทีจ่ ำเป็นนำไปมอบใหผ้ สู้ ูงอายุต่อไป

ปญั หาผ้สู ูงอายุมจี ำนวนมากข้นึ ทุกปี ปัญหาดา้ นสขุ ภาพ การดแู ลรกั ษาพยาบาลเพ่ิมมากขึ้นเช่นกัน
จากปัญหาดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยและสังคมโลก ทำให้นักเรียนจิตอาสา มีความตระหนักท่ี
จะช่วยเหลือ ศึกษาเรียนรูว้ ิธกี ารดูแลสุขภาพผูส้ ูงอายุในชุมชน เพื่อแบง่ เบาภาระครอบครัวของผสู้ งู อายุ อีก
ท้งั โรงเรียนไพรธรรมคณุ วิทยา จึงไดจ้ ัดทำโครงการจิตอาสาวยั ใสใส่ใจสขุ ภาพผู้สูงอายุน้ขี นึ้

1) สภาพที่พึงประสงค์ มุ่งหวังให้เกิด เป็นการอธิบายความสำคัญคุณลักษณะของสิ่งต้องการให้
เกิดข้นึ การดำเนินโครงการได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาเป็นพื้นฐานของดำเนินโครงการ
คอื ปฏบิ ตั ทิ ัง้ กาย วาจา ใจ อย่างพอเพยี ง ดังน้ี

ความพอประมาณ คือ ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียน
ตนเองและผอู ่ืน เชน พอประมาณในการรบั บรจิ าคส่งิ ของ

ความมเี หตผุ ล คอื การตดั สินใจเก่ยี วกับระดบั ของความพอเพียงนน้ั จะตองเปนไปอยางมี
เหตุผลในการดแู ลช่วยเหลอื ผ้สู ูงอายุ โดยพิจารณาจากเหตปุ จจยั ทเี่ ก่ยี วของ ตลอดจนคํานึงถึงผลท่ีคาด
วาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบ รู้จักทำบัญชีรายรับ รายจ่าย สมุดเงินสด นำเงินที่ได้รบั
บรจิ าคมาจดั สรรไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

มีภูมิคุ้มกันท่ีดี คือ มีการวางแผนการทำงาน การรับบรจิ าค การนำสิ่งของทีไ่ ด้รับบริจาค
ไปมอบ การเตรียมตัวผู้สูงอายุใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น โดย
คํานึงถงึ ความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ท่ีคาดวาจะเกิดขึน้ ในอนาคตท้ังใกลและไกล
โดยดำเนนิ โครงการอยบู่ นเงอ่ื นไข

ความรู้ คือ ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการด้านการดแู ลสุขภาพอนามยั การดูแลผู้สูงอายทุ ี่มี
ภาวะพึ่งพิง นําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวัง
ในขั้นปฏบิ ัติ

คุณธรรม คือ มีความตระหนักในคุณธรรม มีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตยสุจริตและมี
ความอดทน มคี วามเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินโครงการ
นำไปสู่ 4 มติ ิ

มิติที่ 1 สังคม คือ ทุกคนในทีมและชุมชนช่วยเหลือกัน แบ่งปันทั้งกำลังทรัพย์ กำลังกาย
กำลงั ใจ และกำลังความรู้ มีการแบง่ ปันกัน ชว่ ยเหลอื กนั เวลาตกทกุ ขไ์ ดย้ าก

มิติท่ี 2 เศรษฐกิจ คือ นำเงนิ ทีไ่ ด้จากการรบั บริจาคมาจัดการให้ตรงตามวัตถุประสงค์เกิด
ความคุม้ คา่ และประโยชนส์ ูงสดุ

มิติที่ 3 สิ่งแวดล้อม คือ การอยู่ร่วมกับระบบนิเวศน์วิทยาอย่างสมดุล ไม่ทำร้าย ไม่ทำ
ลาย ไม่เบียดเบียน ปรบั สงิ่ แวดล้อมท่ีเอ้อื อำนวยต่อการใชช้ ีวิตประจำวนั ของผ้สู ูงอายุ

44

มิตทิ ่ี 4 วฒั นธรรม คือ การเสรมิ สรา้ งความพอเพยี งทางวฒั นธรรม จะเปน็ เสมือน
ภูมิคุม้ กนั ทางวัฒนธรรม มีจติ อาสา ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกนั และกนั

2) สภาพท่ีเป็นอย่ใู นปัจจบุ ัน มผี ้สู ูงอายจุ ำนวนมากทต่ี ้องการผู้แลด้านสขุ ภาพอนามยั และสง่ิ ของ
เครอ่ื งใชใ้ นการดำรงชวี ิต

3) ปัญหาที่เกิดขึ้น ผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ผลกระทบที่ตามมาคือปัญหาด้านสุขภาพ
อนามัยของผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ความต้องการสิ่งของที่จำเป็นในการดูแลสุขภาพอนามัยเพิ่มมากขึ้น
ตามมาดว้ ย

4) นวัตกรรมหรือวิธีการที่จะแก้ไขปัญหา ให้กำลังใจ ให้ความช่วยเหลือ ดูแล มอบสิ่งของที่ได้รับ
บริจาค และประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรภายในโรงเรียนได้ร่วมบริจาคเงินและสิ่งของ เพื่อมอบให้ผู้สูงอายุท่ี
ต้องการต่อไป

5) การตัดสินใจทำโครงการ เป็นจิตอาสาพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เพื่อออกเยี่ยมให้กำลังใจ
ผู้สูงอายุ มอบสิ่งของช่วยเหลือ จัดสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกและเรียนรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ จึง
ทำใหเ้ กิดโครงการนี้ขึน้

3. วตั ถุประสงค์

1. เพื่อสำรวจขอ้ มูลและความต้องการของผสู้ ูงอายทุ ่ีมภี าวะพึง่ พงิ ในเขตตำบลไพร
2. เพ่ือประชาสัมพันธ์เชญิ ชวน ผบู้ ริหาร คณะครู นกั เรียนและบุคคลทัว่ ไปรว่ มบริจาค
3. เพอื่ ศกึ ษาเรยี นรวู้ ิธกี ารดูแลผูส้ งู อายุท่มี ีภาวะพง่ึ พิง
4. เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ าร
5. เพือ่ สร้างความตระหนักในการดแู ลสุขภาพอนามยั ของคนในโรงเรียนและชมุ ชน

4. เปา้ หมาย

4.1 เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ

1. ผู้สูงอายทุ ่ีมภี าวะพ่ึงพงิ ในเขตตำบลไพรได้รับการดูแลด้านสุขภาพ จำนวน 7 คน
2. ผ้เู ข้ารว่ มโครงการ ผมู้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งไดอ้ อกเยี่ยมผ้สู งู อายุท่มี ีภาวะพึง่ พิง จำนวน 7 คน
3. ผสู้ ูงอายุทีม่ ีภาวะพงึ่ พงิ ไดร้ ับสิ่งของที่จำเป็น จำนวน 7 คน

4.2 เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ

1. ผสู้ ูงอายุทม่ี ีภาวะพึ่งพิงในเขตตำบลไพรทีร่ ว่ มโครงการ ไดร้ บั การดูแล
2. ผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ให้มีคุณภาพชีวิต
ที่ดีขน้ึ
3. ผู้สูงอายทุ ีม่ ีภาวะพึ่งพงิ ทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการได้รบั สง่ิ ของทีจ่ ำเปน็


Click to View FlipBook Version