กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ชุดฝึกทกั ษะการเรียนรู้การอา่ นวเิ คราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรม
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖
การศึกษาวรรณคดีพ้ืนฐาน
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน
กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร
โรงเรยี นเฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ พระศรีนครนิ ทร์ ภเู กต็สำนกั งำนเขตพน้ื ท่กี ำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำพงั งำ ภเู กต็ ระนอง
เลม่ ที่ ๑ ในพระราชูปถัมภ์สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
นายสุรเชษฐ์ อาจหม่นั
ตาแหนง่ ครู
ก
คำนำ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง การอ่านวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม จัดทาขึ้นเพ่ือใช้เป็นสื่อ
ประกอบการเรียนการสอน วิชาภาษาไทย (ท๓๓๑๐๑) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้
นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับแนวทางการวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมไทย อัน
เป็นความรพู้ ้นื ฐานในการวิเคราะหค์ ณุ ค่าวรรณคดแี ละวรรณกรรมได้อย่างถูกต้อง และนามาประยุกต์ใช้
ในชวี ิตจรงิ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ ๑ การศึกษาวรรณคดีพื้นฐาน เล่มน้ีจัดทาข้ึนเพื่อเป็นส่ือในการจัดการ
เรยี นการสอนตามกระบวนการเรียนร้แู บบ (QSCCS) และสร้างข้ึนเพื่อให้นักเรียนศึกษาด้วยตนเอง ดังนั้น
จึงจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีเอกสารประกอบการรวบรวมเนื้อหา ซึ่งชุดกิจกรรมชุดน้ีประกอบด้วย
คาชี้แจง บทบาทครู บทบาทนักเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน บัตรเน้ือหา บัตรกิจกรรม บัตรแบบฝึกหัด
แบบทดสอบหลังเรียน บัตรเฉลยกิจกรรม บัตรเฉลยแบบฝึกหัด บัตรเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลัง
เรยี น
การสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดนี้ ผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้ารูปแบบการจัดทาจากตาราเอกสาร
ทางวชิ าการต่างๆ ตลอดจนคาแนะนาจากผู้เช่ียวชาญ ภายในชุดกิจกรรมจัดเรียงลาดับเน้ือหาจากง่าย
ไปหายาก ใชภ้ าษาชดั เจนเขา้ ใจงา่ ย กิจกรรมหลากหลาย และส่งเสริมการคดิ วิเคราะห์แก่ผ้เู รียน
ผู้จัดทาขอขอบคุณผู้ให้คาปรึกษาแนะนาทุกท่าน ท่ีได้กรุณาตรวจสอบความถูกต้องและให้
คาแนะนาในการจัดทา ผูจ้ ดทาขอขอบพระคุณในความกรุณาเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสน้ี และหวังเป็น
อย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน และนักเรียนที่จะนาไปใช้ในการ
เรียนการสอน เพื่อได้บรรลุเป้าหมายของหลกั สตู ร ตลอดจนมีเจตคตทิ ่ดี ีต่อการเรยี นรูว้ ชิ าภาษาไทย
สรุ เชษฐ์ อำจหมั่น
สำรบญั ข
เร่ือง หนำ้
คำนำ ก
สำรบัญ ข
คำแนะนำกำรใช้ชุดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ ๑
บทบำทครู ๒
บทบำทนักเรยี น ๓
แผนผังข้ันตอนกำรเรียนรโู้ ดยใช้ชดุ กิจกรรมกำรกำรเรยี นรู้ ๔
มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ / ตัวชว้ี ัด ๕
จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ๖
แบบทดสอบก่อนเรียน ๘
บัตรเนือ้ หาที่ ๑.๑ เรื่อง การศกึ ษาวรรณคดเี บอ้ื งตน้ ๑๑
๑๖
กจิ กรรมที่ ๑.๑ ศกึ ษาวรรณคดี รู้ดีเรอ่ื งคาสัมผัส ๑๗
กิจกรรมที่ ๑.๒ สัมผัสสระ น้ีแท้ รู้แน่ ใจความมา ๑๘
บัตรเนอื้ หาท่ี ๑.๒ เร่ือง การวจิ ักษ์วรรณคดี ๒๓
กจิ กรรมที่ ๑.๓ ไวพจน์ นาทาง วเิ คราะห์วรรณคดี ๒๕
บัตรเนือ้ หาท่ี ๑.๓ เรอื่ ง การพิจารณาคุณคา่ ดา้ นเนอ้ื หา ๒๘
กจิ กรรมที่ ๑.๔ พิเคราะห์ พจิ ารณาคณุ คา่ เนอื้ หา ๒๙
บัตรเนื้อหาท่ี ๑.๔ เรือ่ ง การพิจารณาคุณคา่ ด้านสงั คม ๓๐
กิจกรรมที่ ๑.๕ สงั คมพิเคราะห์ ประยกุ ต์ชัวร์ ๓๑
แบบทดสอบหลังเรียน ๓๔
ภำคผนวก ๔๕
บรรณำนกุ รม
๑
คำแนะนำกำรใชช้ ุดกิจกรรมกำรเรยี นรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การอ่านวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม รายวิชา
ภาษาไทย (ท๓๓๑๐๑) ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ี ๑ การศึกษาวรรณคดี
พนื้ ฐาน ซึ่งมขี ้ันตอนดงั นี้
๑. ครูควรศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกส่วนอย่างละเอียดเพ่ือเตรียมการจัดการ
เรียนรู้ ตามขั้นตอนท่ีกาหนดไว้
๒. ก่อนจัดการเรยี นรู้ ครคู วรตรวจสอบชดุ กิจกรรมการเรียนรู้อีกครั้ง ว่าอยู่ในสภาพดี
เรียบร้อย
๓. ครใู ห้นกั เรยี นศกึ ษามาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ เกณฑ์การ
ให้คะแนน และทาแบบทดสอบก่อนเรียน ซ่ึงเป็นข้อสอบแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ ๔
ตวั เลอื ก จานวน ๑๐ ขอ้ ๑๐ คะแนน ภายในเวลา ๑๕ นาที
๔. เม่ือนักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนเรียบร้อยแล้ว ครูดาเนินการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้แบบ ๕ ขน้ั ตอน (QSCCS) คือ
ขนั้ ท่ี ๑ การตง้ั คาถาม/สมมตฐิ าน
ขั้นท่ี ๒ การสบื ค้นความรู้และสารสนเทศ
ข้ันที่ ๓ การสรา้ งองคค์ วามรู้
ขน้ั ที่ ๔ การส่อื สารและนาเสนออย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ขน้ั ท่ี ๕ การบริการสังคมและจิตสาธารณะ
๕. ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ชดุ นใ้ี ชส้ าหรับจดั กจิ กรรมใหน้ ักเรียน จานวน ๒ ชัว่ โมง
๖. เมื่อปฏิบัติชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนทากิจกรรมทบทวน
ความรู้ และทาแบบทดสอบหลังเรียน
๗. การวัดประเมินผล
๗.๑ สังเกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม
๗.๒ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของใบกิจกรรมการเรียนรู้
๗.๓ เปรยี บเทียบคะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น
๗.๔ สรุปผลการทาใบกจิ กรรมการเรยี นรู้ และผลการทดสอบกอ่ นเรียน
และหลงั เรียน
๒
บทบำทของครู
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การอ่านวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม รายวิชาภาษาไทย
(ท๓๓๑๐๑) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ี ๑ การศึกษาวรรณคดีพื้นฐาน เพ่ือการ
เรียนรู้ที่ดีมีประสิทธิภาพสูงสุด ครูผู้สอนควรทาความเข้าใจรายละเอียดของชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ใหช้ ัดเจนและปฏบิ ัติตามขั้นตอน ดงั นี้
๑. ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยมุ่งพัฒนาความรู้ ความสามารถของผู้เรียน เน้นผู้เรียน
เป็นสาคญั ตามหลักการ Active Learning
๒. ครผู ู้สอนสร้างบรรยากาศในการเรยี นการสอน กระตุ้น เสริมแรง เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
และพัฒนาตนเองทกุ ๆ ดา้ น ตามขีดความสามารถของแต่ละบคุ คล
๓. ครผู ู้สอนให้นักเรยี นศึกษามาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัด จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๔. ครูผู้สอนทดสอบนักเรียนก่อนเรียน โดยใช้ข้อสอบแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ ๔ ตัวเลือก
จานวน ๑๐ ขอ้ ๑๐ คะแนน ภายในเวลา ๑๕ นาที
๕. ครูผู้สอนดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ๕ ขั้นตอน (QSCCS) โดยให้นักเรียนปฏิบัติชุด
กิจกรรมการเรียนรู้ตามลาดับ และครูควบคุมเวลาให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมไปตามขั้นตอน โดยให้
ครูผูส้ อนคอยให้คาปรกึ ษา คาแนะนา และช่วยเหลือในแต่ละข้ันตอนของกิจกรรม รวมถึงครูผู้สอนสรุป
องคค์ วามรู้ที่ถูกตอ้ งเพมิ่ เตมิ ให้แก่นกั เรียน
๖. ครูผ้สู อนให้นักเรียนลงมือทาใบกจิ กรรมจากชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อทบทวนความรู้ และ
ทดสอบหลังเรียน
๗. ครูผู้สอนวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ ๑
เรื่อง การศึกษาวรรณคดีขนั้ พื้นฐาน
๓
บทบำทของนกั เรยี น
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง การอ่านวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม รายวิชาภาษาไทย (ท๓๓๑๐๑)
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ ๑ การศึกษาวรรณคดีพื้นฐาน เพื่อการเรียนรู้ท่ีดีมีประสิทธิภาพ
สงู สดุ นกั เรยี นควรทาความเขา้ ใจรายละเอยี ดของชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ใหช้ ดั เจนและปฏิบัตติ ามข้ันตอน ดังนี้
๑. นักเรยี นต้องศึกษามาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๒. นักเรียนอ่านคาส่ังก่อนปฏิบัติตามชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกครั้ง หากมีข้อสงสัยให้สอบถามครูผู้สอน
ก่อนลงมือปฏบิ ัตกิ ิจกรรม
๓. นกั เรยี นต้องตั้งใจปฏิบัตกิ ิจกรรมตามเวลาท่ีกาหนดอยา่ งเคร่งครดั โดยมคี รูเป็นผคู้ วบคุม
๔. ระหวา่ งปฏบิ ัติกจิ กรรม หากนักเรยี นมีข้อสงสัยสามารถปรกึ ษาหรอื ขอคาแนะนาเพ่ิมเตมิ จากครูได้
๕. เม่ือนักเรียนปฏิบัติชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรียบร้อยแล้วต้องทาใบกิจกรรมทบทวนความรู้และ
แบบทดสอบหลังเรียน เพ่ือครูผู้สอนจะได้ใช้วัดและประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการ
เรียนรู้ชุดท่ี ๑ เรือ่ ง การศึกษาวรรณคดีพน้ื ฐาน
แผนผงั ข้นั ตอนกำรเรียนรู้ ๔
ศกึ ษำคำแนะนำกำรใช้ชดุ กจิ กรรมด้วยตนเอง ไมผ่ ำ่ นเกณฑ์
ทดสอบกอ่ นเรยี น ประเมนิ ผล
ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตำมขนั้ ตอน (QSCCS) ได้แก่ ผำ่ นเกณฑ์
ขน้ั ที่ ๑ การตง้ั คาถาม/สมมตฐิ าน
ข้ันท่ี ๒ การสืบคน้ ความรแู้ ละสารสนเทศ
ขน้ั ท่ี ๓ การสรา้ งองค์ความรู้
ขั้นที่ ๔ การสอ่ื สารและนาเสนออยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ
ขัน้ ที่ ๕ การบรกิ ารสงั คมและจติ สาธารณะ
ทดสอบหลังเรยี น
ศกึ ษำชดุ กิจกรรมกำรเรยี นรูช้ ดุ ต่อไป
๕
มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ / ตวั ชีว้ ัด
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
มำตรฐำน ท ๑.๑ ใช้กระบวนกำรอ่ำนสรำ้ งควำมรู้และควำมคิดเพือ่ นำไปใชต้ ัดสนิ ใจ
แก้ปญั หำในกำรดำเนนิ ชวี ิต และมีนิสัยรักกำรอ่ำน
มำตรฐำน ท ๕.๑ เข้ำใจและแสดงควำมคดิ เหน็ วิจำรณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อยำ่ งเห็นคณุ ค่ำ และนำมำประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จริง
ตัวชว้ี ดั
ท๑.๑ ม.๖/๒ ตีควำม แปลควำม และบรรยำยควำม เร่ืองทอ่ี ่ำนได้
ท๑.๑ ม.๖/๓ วิเครำะห์ และวจิ ำรณเ์ ร่อื งท่ีอ่ำนในทุกๆ ด้ำน อยำ่ งมีเหตุผล
ท๕.๑ ม.๖/๑ วิเครำะห์และวิจำรณ์วรรณคดีและวรรณกรรมตำมหลักกำรวิจำรณ์
เบ้อื งต้น
ท๕.๑ ม.๖/๒ วิเครำะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับกำรเรียนรู้ทำง
ประวตั ิศำสตร์และวิถชี วี ติ ของสังคมในอดีต
ท๕.๑ ม.๖/๔ สังเครำะห์และประเมินคุณค่ำของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐำนะที่
เปน็ มรดกทำงวัฒนธรรมของชำติ
๖
จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้
ด้ำนควำมรู้
๑. อธบิ ำยขนั้ ตอนกำรวิจกั ษ์วรรณคดไี ด้
๒. อธบิ ำยรูปแบบของกำรวิเครำะห์วรรณคดไี ด้
ดำ้ นทกั ษะ/กระบวนกำร
๑. อธิบำย/แสดงควำมคิดเหน็ ถงึ หลักกำรวิเครำะห์วรรณคดีและวรรณกรรมได้
๒. แยกประเภทของวรรณคดไี ด้
ดำ้ นเจตคติ
๑. เห็นคุณค่ำของวรรณคดแี ละวรรณกรรม
๒. ตระหนักเหน็ กำรใชภ้ ำษำในบทประพนั ธว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม
๗
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
๑. ควำมสำมำรถในกำรสอื่ สำร
- สำมำรถนำควำมรู้ของหลักกำรพิจำรณำวรรณคดีขั้นพื้นฐำน ไปถ่ำยทอด
ตำมควำมคดิ และควำมเข้ำใจของตนเอง โดยใช้ภำษำอย่ำงเหมำะสม ถกู ต้อง
- สำมำรถหำวิธีกำรนำควำมรทู้ ีต่ นมไี ปส่ือสำรไดเ้ หมำะสม และมีประสทิ ธภิ ำพ
๒. ควำมสำมำรถในกำรคดิ
- สำมำรถคิดวิเครำะห์กำรพจิ ำรณำวรรณคดีขัน้ พืน้ ฐำนได้
- มีทกั ษะกำรคิดนอกกรอบอย่ำงสร้ำงสรรค์
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
๑. ใฝ่เรียนรู้
- หมน่ั ศกึ ษำหำควำมรู้ดว้ ยตนเอง
- หมั่นตอบคำถำมในชนั้ เรยี น
๒. มุ่งม่นั ในกำรทำงำน
- ตั้งใจทำใบกจิ กรรมอยำ่ งเตม็ ควำมสำมำรถ
- มุง่ มน่ั ทำใบกจิ กรรมและช้นิ งำน เสรจ็ ตำมเวลำท่กี ำหนด
๓. รักควำมเป็นไทย
- ใช้ภำษำไทยได้ถูกตอ้ ง และเหมำะสม ตลอดจนเหน็ ควำมสำคัญของกำรใชภ้ ำษำ
๘
แบบทดสอบก่อนเรยี น
แบบฝกึ ทักษะกำรอ่ำนวเิ ครำะหว์ รรณคดีและวรรณกรรม
วชิ ำภำษำไทย ๕ สำหรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษำปีท่ี ๖
ชุดท่ี ๑ เรือ่ งกำรศึกษำวรรณคดพี ื้นฐำน
คำชแี้ จง : ให้นกั เรียนเลอื กคำตอบท่ีถูกต้องที่สดุ เพียงคำตอบเดียว และทำเครื่องหมำย ลงใน
กระดำษคำตอบ
๑. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องที่สุดเกีย่ วกับการอา่ นวรรณคดี
ก. การอา่ นวรรณคดคี อื การอา่ นเพ่ือให้เห็นคุณค่าของวรรณคดี
ข. การอา่ นวรรณคดคี อื การอ่านเพอ่ื ให้เกดิ ความซาบซง้ึ
ค. การอา่ นวรรณคดคี ือการอา่ นทต่ี ้องใช้กระบวนการคิดวเิ คราะหอ์ ย่างมเี หตุผล
ง. การอ่านวรรณคดคี ือการอ่านที่ต้องใช้สตปิ ัญญา กลน่ั กรองคณุ ค่าทางอารมณ์
และคุณคา่ ทางความคดิ
๒. วันนี้เพ่ือนเรา เพอ่ื นเก่าเพอื่ นใหม่
ท่ีหา่ งกันไกล มาพรอ้ มหนา้ กนั
บทประพนั ธ์ขา้ งต้นมลี กั ษณะคาประพนั ธ์ประเภทใด
ก. กลอนสี่สภุ าพ
ข. มาณวกฉนั ท์ ๘
ค. วิชชุมมาลาฉันท์ ๘
ง. กาพยส์ ุรางคนางค์ ๒๘
๙
๓. ขอ้ ใดใชล้ กั ษณะคาประพนั ธแ์ ตกตา่ งจากข้ออ่ืน
ก. ขาวสุดพดุ จีบจีน เจ้ามสี ินพม่ี ีศักด์ิ
ข. นวลจนั ทรเ์ ป็นนวลจรงิ เจ้างามพริง้ ย่งิ นวลปลา
ค. ชะโดดกุ กระดโี่ ดด สลาดโลดยะหยอยหยอย
ง. สุวรรณหงส์ทรงพหู่ ้อย งามชดช้อยลอยหลังสนิ ธ์ุ
๔. บทประพันธ์ในขอ้ ใดไมม่ ีคาทก่ี ่อให้เกิดจนิ ตภาพทางการเคลื่อนไหว
ก. มีหมที ด่ี าขลับ ขน้ึ ไมผ้ บั ฉับไวถงึ
ข. กระจงกระจิดเต้ีย ว่งิ เรยี่ เร่ยี น่าเอด็ ดู
ค. กระจอกหางพัวพู่ โพรงไม้อยคู่ ู่ไล่ตาม
ง. เลยี งผาอยภู่ ูเขา หนวดพรายเพราเขาแปลป้ ลาย
๕. คาศพั ทใ์ นข้อใดมีความหมายแตกตา่ งจากขอ้ อ่นื
ก. โพยม นภา
ข. พสุธา ธาตรี
ค. คัดนานต์ อมั พร
ง. ทฆิ ัมพร นภาพร
๖. การอา่ นบทละครพดู เรือ่ งเหน็ แก่ลูก ควรใชห้ ลักการวจิ กั ษว์ รรณคดีตามขอ้ ใด
ก. อา่ นอยา่ งพินจิ พิจารณา
ข. รบั รอู้ ารมณข์ องบทประพนั ธ์
ค. พจิ ารณากลวิธใี นการแตง่ คาประพันธ์
ง. ค้นหาความหมายพ้ืนฐานของบทประพันธ์
๗. องค์ประกอบใดถอื เป็นธรรมเนียมในการแต่งคาประพันธ์
ก. บทสดุดี
ข. บทไหวค้ รู
ค. บทชมโฉม
ง. บทครา่ ครวญ
๑๐
๘. ข้อใดกลา่ วไมถ่ กู ต้อง
ก. วรรณคดีเกิดจากจนิ ตนาการของกวเี พยี งประการเดียว
ข. คติธรรมทก่ี วีถา่ ยทอดไว้ในวรรณคดคี อื มมุ มองท่ีกวปี ระสบพบเหน็
ค. พฤติกรรมทต่ี วั ละครในวรรณคดีแสดงออก มพี ฤติกรรมเหมือนมนุษย์ทั่วไป
ง. การอา่ นวรรณคดีโดยวเิ คราะหเ์ น้อื หาและพจิ ารณาคุณคา่ ด้านวรรณศลิ ปท์ าให้
ผอู้ ่านเข้าใจวรรณคดีมากขึ้น
๙. ขาวสดุ พดุ จีบจนี เจ้ามีสินพ่ีมศี กั ดิ์
ทงั้ วงั เขาชงั นกั แต่พ่ีรักเจ้าคนเดยี ว
จากบทประพันธ์ข้างตน้ ไมไ่ ด้กลา่ วถงึ เรอ่ื งใด
ก. คา่ นิยมในสังคม
ข. ความรกั ทยี่ งิ่ ใหญ่
ค. สถานภาพของสตรี
ง. ศกั ดศ์ิ รีและชาติตระกลู
๑๐. เออน่เี นื้อเคราะห์กรรมมานาผดิ น่าอายมิตรหมองใจไม่หายหมาง
ฝา่ ยพ่อมบี ญุ เปน็ ขนุ นาง แต่แม่ไปแนบขา้ งคนจัญไร
บทประพันธ์ขา้ งต้นเป็นคาพดู ของใคร และคาทขี่ ดี เสน้ ใตห้ มายถงึ ใคร
ก. ขุนแผน ขนุ ช้าง
ข. พลายงาม ขุนช้าง
ค. นางวันทอง ขุนชา้ ง
ง. ขุนชา้ ง ขนุ แผน
๑๑
บตั รเนือ้ หำที่ ๑.๑
กำรศกึ ษำวรรณคดี
วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรืองานเขียนท่ยี กยอ่ งกนั ว่าดี มีสาระ และ
มีคุณค่าทางวรรณศิลป์ การใช้คาว่าวรรณคดีเพื่อประเมินค่าของวรรณกรรม
เกิดข้ึนในพ ระราชกฤษฎีกา ต้ังวร รณ คดี สโ มสรในสมัยรัชกาลท่ี ๖
(พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว)
ควำมสำคัญของวรรณคดี
วรรณคดีเป็นมรดกท่ีตกทอดมาจากบรรพบุรุษ สามารถสะท้อนภาพชีวิต
ความเป็นอยู่ของคนสมัยนั้นๆ ในเน้ือเรื่องกวีมักสอดแทรกแนวคิด คติสอนใจ
และปรัชญาชีวิตไว้ ทาให้ผู้อ่านเกิดความรู้ ความประทับใจมีความรู้สึกร่วมไปกับ
กวี ดังนั้นวรรณคดีจึงมีคุณค่าท้ังในด้านประวัติศาสตร์ สังคม อารมณ์และคติ
สอนใจ รวมทง้ั มีคุณคา่ ในด้านวรรณศิลป์ด้วย
นอกจากวรรณคดจี ะเปน็ มรดกทางภูมิปัญญาของคนในชาติแล้ว วรรณคดี
ยังเป็นเคร่ืองเชิดชูอารยธรรมของชาติและยังมีคุณค่าเป็นหลักฐานทางโบราณคดี
ได้อีกด้วย ทาให้คนในชาติสามารถรับรู้เรื่องราวในอดีต การอ่านวรรณคดีจึงเป็น
การสง่ เสริมให้ผอู้ า่ นมีอารมณ์สนุ ทรยี แ์ ละเขา้ ใจความจรงิ ของโลกมากยิ่งข้ึน
วรรณคดเี ป็นดงั กระจกเงาสะท้อนภาพสังคมและวัฒนธรรม ผู้อ่านจึงควร
อ่านวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาเรียนรู้เร่ืองราว ความเป็นมา ความคิด
และคา่ นยิ มของสงั คมแตล่ ะสมยั
การวิจักษ์และวิจารณ์วรรณคดีทาให้นักเรียนได้ฝึกคิดวิเคราะห์ รู้จัก
สังเกต ได้ความรู้และประสบการณ์จากวรรณคดี วรรณคดีจึงมีความสาคัญท้ังใน
ด้ า น เ นื้ อ ห า ท่ี ใ ห้ ข้ อ คิ ด ค ติ เ ตื อ น ใ จ แ ล ะ ด้ า น สั ง ค ม ที่ ใ ห้ ค ว า ม รู้ เ ก่ี ย ว กั บ
ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม รวมทั้งเป็นบันทึกทางประวัติศาสตร์ท่ี
สาคัญอีกประการหน่ึงดว้ ย
๑๒
ประเภทของวรรณคดี
วรรณคดีแบ่งออกเป็นหลายประเภท ตามพระราชกฤษฏีกาจัดต้ัง
วรรณคดีสโมสรในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการ
กาหนดประเภทของวรรณคดีไว้ ดงั นี้
๑. กวนี พิ นธ์ คือ
โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน
๒. ละครไทย คือ
เรอื่ งทีแ่ ต่งเป็นกลอนแปด มกี าหนดหน้าพาทย์
๓. นิทาน คอื
เร่ืองราวอนั ผกู ข้นึ และแต่งเป็นร้อยแก้ว
๔. ละครพูด คือ
เรื่องราวท่ีเขยี นขึ้นสาหรบั ใชแ้ สดงบนเวที
๕. อธิบาย คือ
การแสดงด้วยศิลปวทิ ยาหรอื กจิ การอย่างใดอยา่ งหนงึ่
๑๓
ลกั ษณะของวรรณคดี
ลักษณะร่วมที่วรรณคดีมีเช่นเดียวกับศิลปกรรมแขนงอ่ืนก็คือมีลักษณะ ๒
อย่างในขณะเดียวกันนั่นคือ มีลักษณะควำมเป็นสำกลและลักษณะเฉพำะตัว ท้ังนี้
หมายความว่าวรรณคดีได้สะท้อนประสบการณ์ชีวิตมนุษย์ ท่ีมีท้ังความงามและ
สัจธรรมซง่ึ เปน็ ลกั ษณะที่คนท่ัวไปสามารถเข้าใจไดอ้ ย่างลึกซึง้ โดยท่ีความแตกต่างใน
เรื่องเชอื้ ชาติ ภาษาขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนความแตกต่างในเรื่องเวลามิได้
เปน็ อปุ สรรคแตอ่ ยา่ งใด อาจกล่าวได้ว่าวรรณคดีครอบคลุมงานท่ีมีลักษณะการเขียน
เป็น ๒ แบบ ดว้ ยกันคือ
๑. เป็นงานสร้างสรรค์ท่ีผู้เขียนใช้จินตนาการ และมีลักษณะวรรณศิลป์
คือ มีความงามทั้งในด้านภาษาและรูปแบบ ตลอดจนความคิดท่ีนาเสนอ ให้
ทัง้ ความรู้ ความงาม และความบันเทิง
๒. เป็นงานท่ีแสดงความคิดและสติปัญญาอันเฉลียวฉลาดของผู้แต่ง
ดังนั้นวรรณคดีจึงรวมงานเขียนแขนงอ่ืนๆ ที่เด่นในแง่ความคิด และมีลักษณะ
วรรณศิลป์อย่างสมบูรณ์ อย่างเช่น งานเขียนทางด้านปรัชญา ศาสนา
ชีวประวัติ หรืออัตชีวประวัติ หรืองานด้านประวัติศาสตร์บางชิ้น ทั้งน้ีเพราะ
วรรณคดีเป็นศิลปะที่ใช้ภาษาเป็นสื่อ ดังนั้นขอบข่ายของวรรณคดีจึง
กวา้ งขวาง
นอกจากน้ีวรรณคดยี ังมี
ลกั ษณะเฉพาะ นักเรียนตดิ ตาม
ตอ่ ได้เลยจรา้
๑๔
ลกั ษณะเฉพำะของวรรณคดไี ทย
๑. ๒.
มลี กั ษณะเปน็ ไป มรี าชสานกั
ตามนิสัยรักอสิ ระ เปน็ ศนู ยก์ ลาง
และชอบดัดแปลง ของวรรณคดี
ของคนไทย
๓. ๔.
มีประเพณี เน้นศิลปะการเรียบ
เลยี นแบบ
เรยี งถ้อยคา
มากกวา่ ความคดิ
๑๕
จุดประสงคใ์ นกำรอ่ำนวรรณคดี
การอ่านวรรณคดีน้ันมีจุดประสงค์เพื่อความรู้และความบันเทิง โดยการอ่าน
เพ่ือให้ได้ซาบซ้ึงถึงความไพเราะของภาษาหรือทราบแนวคิดของกวี การอ่าน
วรรณคดเี พอ่ื ให้ไดร้ ับประโยชน์สงู สุดมีแนวในการอา่ นดงั นี้
๑. ไม่อ่านวรรณคดีเพ่ือความเพลิดเพลินเพียงอย่าง
เดียว ผู้อ่านจะต้องอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์เพ่ือให้
ทราบแนวคิดของผูแ้ ตง่ และเหตกุ ารณต์ า่ งๆ ในเรื่องได้
๒. ควรวิจักษเ์ ร่อื งท่ีอา่ นด้วย เมือ่ อ่านวรรณคดจี บ
ผู้อ่านจะต้องสามารถแสดงความคิดเห็น วิจารณ์หรือ
ประเมนิ ค่าวรรณคดีเร่อื งนน้ั ได้
๓. เลือกอา่ นวรรณคดีที่มีคุณค่า เพราะเน้ือเรื่องมีข้อคิดท่ี
สามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้และมีความไพเราะ
งดงามทางภาษา ถงึ แมจ้ ะผ่านกาลเวลามานานแล้วกต็ าม
๑๖
กิจกรรมท่ี ๑.๑
คำชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนเติมคำที่มีเสียงสมั ผัสสระ ๒ คำตอ่ จำกคำที่กำหนดให้
ตวั อย่าง เก็บหอม รอมริม
๑. ข้าวแดง ..........................ร้อน
๒. ลาบาก ..........................จน
๓. ย้มิ แย้ม ..........................ใส
๔. สุกเอา ..........................กนิ
๕. ยินยอม ..........................ใจ
๖. ดีดสี ..........................เป่า
๗. ข้าวยาก ..........................แพง
๘. ขน้ แค้น ..........................เข็ญ
๙. ใจไม้ ..........................ระกา
๑๐. เบีย้ บา้ ย ..........................ทาง
๑๗
กจิ กรรมที่ ๑.๒
คำชแี้ จง : ให้นกั เรียนบอกสัมผัสสระทปี่ รำกฏในคำประพันธ์ตอ่ ไปน้ีให้ถูกต้อง
๑. ศรรกั ปกั อกแม่ คอยดูแลสมัครมน่ั
สัมผสั สระ คือ ..................................................................
๒. สายใยแตใ่ นครรภ์ เอย่ รกั นน้ั พลนั ยนิ ดี
สมั ผัสสระ คือ ..................................................................
๓. อกอุ่นการณุ รัก เฝ้าฟูมฟกั ไมเ่ ลีย่ งหนี
สมั ผัสสระ คือ ..................................................................
๔. ถักทอต่อชวี ี เปน็ ม่ิงมัน่ นริ ันดร
สมั ผัสสระ คือ ..................................................................
๕. อุ่นมอื ส่อื สัมผสั ค่อยฝึกหดั เขยี นอกั ษร
สัมผสั สระ คอื ..................................................................
๖. ฝกึ ฝนไมแ่ งง่ อน อ้อนเอย่ รักประจกั ษ์คณุ
สัมผสั สระ คือ ..................................................................
๗. อุน่ เออื้ เม่ือฟา้ หม่น แมอ่ ดทนให้ตักหนนุ
สมั ผสั สระ คือ ..................................................................
๘. กอดใดใคร่ละมุน ค้นุ เคยรักถกั ต่อพลนั
สมั ผสั สระ คอื ..................................................................
๙. อุ่นแท้แมร่ กั ลกู คอยปลอบปลกู ทุกส่ิงสรรค์
สมั ผัสสระ คอื ..................................................................
๑๐. รกั แทแ้ ตใ่ นครรภ์ ปลกู ฝังคนจนดีงาม
สัมผัสสระ คอื ..................................................................
๑๘
บตั รเนือ้ หำท่ี ๑.๒
วิจักษว์ รรณคดี
วิจักษ์ หมายถึง ทรี่ แู้ จง้ ที่เห็นแจ้ง ฉลาด มสี ติปัญญา เชย่ี วชาญ
วิจักษ์วรรณคดี หมายถึง การพิจารณาว่าหนังสือน้ันๆ แต่งดีอย่างไร ใช้
ถ้อยคาไพเพราะลึกซ้ึงกินใจหรือมีความงามอย่างไร มีคุณค่า ให้ความรู้ ข้อคิด
คตสิ อนใจ หรือชีใ้ ห้เหน็ สภาพชวี ิตความคิด ความเช่อื ของคนในสังคมอยา่ งไร
หลกั กำรวิจักษว์ รรณคดี
๑. อ่ำนอยำ่ งพนิ ิจพจิ ำรณำ
คือ การอ่านโดยใช้การวิเคราะห์ต้ังแต่ช่ือเร่ือง ผู้แต่ง คานา
คานิยม สารบัญ ไปจนถึงเนื้อหาและบรรณานุกรม รวมถึงประวัติของ
ผูเ้ ขียนซง่ึ จะทาใหเ้ ขา้ ใจเน้ือหา มูลเหตขุ องการแตง่ แรงบันดาลในการ
แต่งและสง่ิ ทแ่ี ฝงเรน้ ภายในหนังสือ
๒. ค้นหำควำมหมำยพ้ืนฐำนของบทประพนั ธ์
ค้นหาความหมายพ้นฐานหรือความหมายตามตัวอักษร ผู้อ่าน
สามารถค้นหาได้จากข้อความท่ีกวีได้นาเสนอไว้ ว่าใคร ทาอะไร
ที่ไหน ผลเป็นอย่างไร โดยหลักการค้นหาความหมายของประพันธ์
ดงั นี้
๑๙
๒.๑ ค้นควำมหมำยตำมตัวหนังสือ คือ คาใดที่ไม่เข้าใจได้ทันที สามารถ
ค้นหาความหมายและคาอธบิ ายศัพทจ์ ากพจนานุกรมหรอื อภิธานศพั ท์ เชน่
สามยอดตลอดระยะระยบั วะวะวบั สลับพรรณ
ช่อฟ้าตระการกลจะหยัน จะเยาะย่ัวทฆิ มั พร
บราลพี ลิ าสศุภจรูญ นภศูลประภัสสร
หางหงสผ์ จงพจิ ติ รงอน ดุจกวกั นภาลยั
(สามัคคเี ภทคาฉันท์)
จากบทประพนั ธ์ศัพท์ทจ่ี ะตอ้ งคน้ หา ไดแ้ ก่
ระยบั หมายถึง พราวแพรว วบั วาม (แสงหรอื รัศมี)
ช่อฟ้า หมายถึง ตัวไม้ที่ติดอยบู่ ริเวณหนา้ บัน
ตระการ หมายถงึ งาม
กล หมายถงึ เหมอื น
ทิฆัมพร หมายถงึ ทอ้ งฟา้
นภศูล หมายถึง ยอดปราสาทหรอื มณฑปหรือปรางคท์ ่ีแหลมตรงขน้ึ ไปในอากาศ
ประภสั สร หมายถงึ สเี ลือ่ มๆ พรายๆ แสงพราวๆ เหมือนแสงพระอาทิตยแ์ รกขึ้น
บราลี หมายถงึ เครือ่ งแต่งหลงั คาเป็นยอดเลก็ ๆ เรยี งรายตามอกไก่
พลิ าส หมายถงึ งามอยา่ งสดใส
ศุภ หมายถงึ ความงาม
จรูญ หมายถึง รุ่งเรอื ง
๒๐
๒.๒ คน้ ควำมหมำยแฝง คือ ความหมายท่ีต้องตีความ ซ่ึงผู้แต่งอาจใช้คาที่
เป็นสญั ลักษณ์ เพือ่ เสนอสารอนั เป็นความคิดหลกั ของผู้แตง่ เช่น
นาคีมพี ิษเพย้ี ง สุริโย
เล้ือยบ่ทาเดโช
พษิ น้อยหยิง่ โยโส เเช่มช้า
ชแู ตห่ างเองอา้
เเมลงปอ่ ง
อวดอ้างฤทธี
(โคลงโลกนิติ)
จากบทประพันธ์ข้างต้นกล่าวถึง งูมีพิษมากเทียบกับความร้อนของดวงอาทิตย์
แตท่ า่ ทางการเล้ือยกลบั เคลื่อนไปอย่างช้าๆ ไม่แสดงให้รู้ว่ามีพิษมาก ซ่ึงต่างจากแมลง
ป่องมพี ิษเพียงเล็กนอ้ ยอย่ทู ่หี าง กลับชูหางอวดพษิ อนั นอ้ ยนิด
ความหมายของโคลงบทนพ้ี จิ ารณาความหมายแฝงได้ว่า งู เป็นสัญลักษณ์ของผู้
ท่ีเปี่ยมไปด้วยอานาจแต่ไม่โอ้อวดหรือแสดงตน ในขณะท่ี แมลงป่อง เป็นสัญลักษณ์
แทนผ้ทู ่มี ีอานาจนอ้ ยแต่ชอบแสดงฤทธิเ์ ดชอวดอ้างอานาจอันน้อยนิดทตี่ นมี
๒.๓ ค้นหำข้อคิดอันเป็นประโยชน์ เป็นการค้นหาข้อคิดคติเตือนใจที่
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ กวีมักสอดแทรก
ทัศนะ ข้อคิด คติสอนใจ เร่ืองต่างๆ ไว้ในเน้ือเรื่องของวรรณคดี ผู้อ่านควรอ่าน
อยา่ งพจิ ารณาเพอื่ คน้ หาคุณคา่ จากวรรณคดเี รือ่ งทอ่ี ่าน เชน่ เรื่องนิราศภูเขาทอง
ตอนท่กี ลา่ วถึงองคเ์ จดีย์ทชี่ ารดุ ทรดุ โทรมมีรอยแตกรา้ ว ดังความว่า
ท้ังองคฐ์ านรานรา้ วถึงเกา้ แฉก เผยอแยกยอดทรดุ ก็หลุดหัก
โอ้เจดยี ท์ สี่ รา้ งยังร้างรัก เสยี ดายนกั นึกน่าน้าตากระเด็น
กระนี้หรอื ช่อื เสียงเกียรติยศ จะมิหมดล่วงหนา้ ทนั ตาเหน็
เปน็ ผดู้ ีมมี ากแล้วยากเยน็ คดิ กเ็ ปน็ อนิจจงั เสยี ท้ังนั้น
(นริ าศภูเขาทอง)
จากบทประพันธ์ข้างต้น กวีเปรียบรอยแตกร้าวของเจดีย์ว่าเหมือนเกียรติยศ
ชอื่ เสยี งเปน็ สงิ่ ทไี่ มจ่ ีรังยัง่ ยนื ขอ้ คดิ ทส่ี ื่อสารมายังผู้อ่าน คือ ชีวิตคนเราอาจประสบกับ
ความเปลีย่ นแปลง ซง่ึ เป็นสิ่งธรรมดาของโลก คนม่ังมีก็อาจเป็นคนจนได้ เมื่อสุขก็อาจ
ทุกขไ์ ด้ มียศกอ็ าจเสื่อมยศได้ ทุกสิ่งลว้ นเปน็ อนจิ จงั ไม่แนน่ อน
๒๑
๓. รับรู้อำรมณ์ของบทประพันธ์
คอื การพยายามรับรู้อารมณ์ความรู้สึกของผู้เขียนท่ีสอดแทรก
ลงไปในบทประพันธ์นั้น ถ้าผู้อ่านรับรู้อารมณ์ความรู้สึกตาม
เจตนาของผู้ส่งสาร เม่ืออ่านออกเสียงหรืออ่านทานองเสนาะจะทา
ใหบ้ ทประพนั ธ์น้นั มีความไพเราะมากข้นึ
ตัวอย่างเชน่
จาใจจากแมเ่ ปล้อื ง ปลดิ อก อรเอย
เยยี ววา่ แดเดยี วยก แยกได้
สองซกี แลง่ ทรวงตก แตกภาค ออกแม่
ภาคพ่ไี ปหนึ่งไว้ แนบเนื้อ
จากบทประพันธ์ข้างต้น เป็นคาประพันธ์จากเรื่องนิราศนรินทร์ กวีกล่าวถึงยามท่ี
ต้องจากคนรัก ได้พรรณนาความรู้สึกอาลัยที่มีต่อนางผู้เป็นที่รักว่า เมื่อต้องแยกจาก
กันราวกับได้ปลิดหัวใจไปจากตัว หากแบ่งหัวใจเป็น ๒ ซีกได้ ซีกแรกจะเอาติดตัวไป
ดว้ ย ส่วนอีกซกี จะฝากไว้กบั นาง
๔. พจิ ำรณำกำรใช้กลวธิ ใี นกำรแต่งคำประพนั ธ์
กลวิธีในการแต่งคาประพันธ์เป็นวิธีการสร้างความรู้สึกนึกคิดของกวี
ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจทัศนะและนัยสรุปของกวี หรือเน้ือเร่ืองได้ชัดเจนยิ่งกว่า
การบอกกล่าวดว้ ยถ้อยคาและวิธกี ารตรงไปตรงมา
ดังจะเห็นได้จากปมปัญหาของเสภาเร่ืองขุนช้างขุนแผนท่ีเป็นปมความขัดแย้ง
เรือ่ งความรักระหว่างชายสองหญิงหนึ่ง จนในท่ีสุดได้นาไปสู่การคล่ีคลายปมปัญหา
ด้วยการประหารชีวิตนางวันทอง ซึ่งเป็นจุดจบท่ีน่าเศร้าสลดใจ แต่ก็เป็นกลวิธีที่ทา
ให้เรื่องนี้อยู่ในใจผู้อ่านมายาวนาน เพราะกวีสร้างความรู้สึกค้างคาใจ ความไม่
สมหวงั ของตวั ละคร
๒๒
๕. ควำมงำมควำมไพเรำะของภำษำ
พิจารณาการสรรคาและการเรียบเรียงคาให้เป็นตามลาดับอย่างไพเราะ
เหมาะสม และการใช้โวหารก่อให้เกิดจนิ ตภาพ อารมณ์ และความรสู้ กึ เช่น กวี
เลือกใช้คาที่มีความหมายว่า งาม อย่างเหมาะสม จากบทละครพูดคาฉันท์
เรื่อง มทั นะพาธา ความวา่
อ้าอรุณแอร่มระเรอ่ื รจุ ี ประดจุ มโนภริ มย์ระตี ณ แรกรกั
แสงอรณุ วิโรจน์นภาประจักษ์ แฉล้ม เฉลา และโศภิ นกั นะฉันใด
หญิงและชาย ณ ยามระตอี ทุ ัย สว่าง ณ กลางกมล ละไม ก็ฉันนนั้
แสงอษุ าสกาวพะพราว ณ สรรค์ ก็เหมอื นระตวี สทุ ธิอันสว่างจิต
๒๓
กิจกรรมที่ ๑.๓
คำช้แี จง : ใหน้ กั เรียนนำคำไวพจนท์ ่ีกำหนดจบั กล่มุ เติมให้ถูกต้อง ตรงกบั รปู ภำพ
นที ไพรี ภผู ำ ผกำ ครี ี มำลี
บหุ งำ พนำวัน คงคำ วำรี พนำ
ไพรสัณฑ์ บรรพต บุษบำ มำลำ
สิงขร ชลธำร สำคร พงพี ไศล
๒๔
๒๕
บตั รเนอ้ื หำท่ี ๑.๓
พิจำรณำคุณคำ่ ดำ้ นเน้อื หำ
วรรณคดีเป็นผลงานที่สืบทอดกันมาช้านานเป็นหนังสือที่มีคุณค่าสมควรอ่าน
อย่างพินิจ พิเคราะห์ไปถึงการวิจักษ์ ซึ่งเท่ากับเป็นการกล่ันกรองคุณค่าของวรรณคดี
ท่ีอ่าน มีทั้งคุณค่าทางด้านเน้ือหา คุณค่าทางด้านวรรณศิลป์ และคุณค่าทางด้าน
สงั คม โดยพจิ ารณาดงั น้ี
รปู แบบ
ในการศกึ ษาวรรณคดี นกั เรียนควรมีความเขา้ ใจเกี่ยวกับรูปแบบของวรรณคดีว่า
จะพิจารณาวรรณคดีเร่ืองนั้นในลักษณะใด ซ่ึงรูปแบบของวรรณคดีแบ่งออกเป็น
รอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรอง
๑. วรรณคดีหรอื วรรณกรรมร้อยแกว้
คือ เนื้อความท่ีไม่กาหนดบังคับคาหรือฉันทลักษณ์ เป็นความเรียงท่ัวไป
การเขียนในลักษณะนย้ี งั แบง่ ยอ่ ยออกเป็น
๑.๑ บันเทิงคดี (Fiction) คือ วรรณกรรมท่ีมุ่งให้ความเพลิดเพลินแก่ผู้อ่าน
เป็นประการสาคัญ และให้ข้อคิด คตินิยม หรือ สอนใจ แก่ผู้อ่านเป็นวัตถุประสงค์
รอง ได้แก่ นวนยิ าย เรอ่ื งสัน้ และบทละคร
๑.๒ สำรคดี (Non-Fiction) คือ วรรณกรรมที่มุ่งให้ความรู้ หรือ ความคิด
เป็นคุณประโยชน์สาคัญ อาจจะเขียนเชิงอธิบายเชิงวิจารณ์ เชิงพรรณนาสั่งสอน
โดยอธิบายเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง อย่างมีระบบมีศิลปะในการถ่ายทอดความรู้ เพ่ือมุ่ง
ตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นให้แก่ผู้อ่าน และก่อให้เกิดคุณค่าทางปัญญาแก่
ผู้อ่าน ไดแ้ ก่ ความเรียง บทความ สารคดที ่องเท่ียว สารคดีชีวประวัติ อนุทิน และ
จดหมายเหตุ
๒๖
๒. วรรณคดหี รอื วรรณกรรมรอ้ ยกรอง
คือ วรรณกรรมที่การเขียนมีการบังคับรูปแบบด้วยฉันทลักษณ์ต่างๆ เช่น
บังคับคณะ บังคับคา และแบบแผนการสง่ สมั ผสั ต่าง ๆ บางครั้งเรียกงานเขียนประเภท
นี้ว่า กวีนิพนธ์ หรือ คาประพันธ์ เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย ลิลิต เป็นต้น
นอกจากน้วี รรณกรรมรอ้ ยกรองยงั แบง่ เป็นชนิดยอ่ ยๆ ดงั น้ี
๒.๑ วรรณกรรมประเภทบรรยำย (Narrative) คือ วรรณกรรมร้อยกรองท่ีมี
โครงเรอ่ื ง ตวั ละคร และเหตุการณต์ ่าง ๆ ผูกเป็นเรื่องราวต่อเน่ืองกันไป เช่น ขุนช้าง
ขุนแผน พระอภยั มณี อิเหนา เปน็ ต้น
ถงึ มว้ ยดินสิน้ ฟ้ามหาสมทุ ร ไม่ส้ินสดุ ความรักสมคั รสมาน
แมเ้ กิดในใต้ฟ้าสธุ าธาร ขอพบพานพศิ วาสไมค่ ลาดคลา
แมเ้ นือ้ เยน็ เปน็ ห้วงมหรรณพ พ่ีขอพบศรีสวัสดิ์เป็นมัจฉา
แมเ้ ปน็ บวั ตวั พเี่ ป็นภมุ รา เชยผกาโกสมุ ประทุมทอง
แมเ้ ป็นถา้ อาไพใครเ่ ปน็ หงส์ จะรอ่ นลงสงิ สเู่ ปน็ ค่สู อง
ขอตดิ ตามทรามสงวนนวลละออง เป็นคคู่ รองพิศวาสทุกชาตไิ ป
(พระอภยั มณี : สุนทรภ)ู่
๒.๒ วรรณกรรมประเภทพรรณนำ หรือ รำพึงรำพัน (Descriptive or
Lyrical) มักเป็นบทร้อยกรองที่ผู้แต่งมุ่งแสดงอารมณ์ส่วนตัวอย่างใดอย่างหน่ึง ไม่มี
โครงเรือ่ ง เชน่ นิราศ และเพลงยาว เป็นต้น
๒.๓ วรรณกรรมประเภทบทละคร (Dramatic) เป็นบทร้อยกรองสาหรับการ
อ่านและใช้เป็นบทสาหรับการแสดงด้วย เช่น บทพากย์โขน บทละครร้อง บทละคร
รา เป็นต้น
๒๗
เนอ้ื หำในวรรณคดี
เนื้อหาในวรรณคดี มหี ลากหลาย อาจจาแนกไดต้ ามเนอ้ื หาและเรือ่ งราวดงั ต่อไปนี้
๑. วรรณคดีศำสนำ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างศรัทธาและสั่งสอนให้เข้าใจสาระของ
ศาสนา เนอ้ื เรือ่ งมที ั้งที่นามาจากศาสนาโดยตรงและท่ีนาเค้าโครงหรือแนวคิดของศาสนา
มาผูกเป็นเรื่อง เช่น ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก ไตรภูมิพระร่วง สามัคคีเภทคาฉันท์
ธรรมาธรรมะสงคราม ลลิ ติ นารายณ์สบิ ปาง เปน็ ต้น
๒. วรรณคดีคำสอน มีจุดมุ่งหมายเพ่ือเป็นแนวทางในการนาไปประพฤติปฏิบัติ
เน้ือเรื่องสว่ นใหญไ่ ดร้ ับอทิ ธพิ ลจากหลักธรรมทางศาสนา เช่น สุภาษิตพระร่วง โคลงโลก
นติ ิ สุภาษติ สอนหญิง สวสั ดริ์ กั ษาคากลอน โคลงพาลสี อนนอ้ ง เปน็ ต้น
๓. วรรณคดีขนบธรรมประเพณีและพิธีกรรม มี ๒ ลักษณะ คือ เป็นบทที่นาไปใช้
ในการประกอบพธิ ี มีเน้อื หาและการใช้ภาษาท่ีไพเราะ สร้างอารมณ์ให้ความรู้สึกถึงความ
ศักดิ์สิทธิ์ของพิธี เช่น กาพย์เห่เรือ โองการแช่งน้า ฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง มหาชาติ
กลอนเทศน์ เปน็ ตน้
๔. วรรณคดีประวัติศำสตร์ มักมีเนื้อหาเก่ียวกับการศึกสงคราม การสดุดีวีรชนท่ี
กล้าหาญ และเล่าถึงเหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในบ้านเมือง เช่น ศิลาจารึกพ่อขุน
รามคาแหงมหาราช ลิลิตรชยวนพ่าย ลิลิตตะเลงพ่าย เสภาพระราชวงค์ศาวดารชร
โคลงชะลอพระพทุ ธไสยาสน์ เปน็ ตน้
๕. วรรณคดีบันทึกกำรเดินทำง มักมีเน้ือหาพรรณนาความรักความอาลัยของกวี
ท่ีต้องจากนางอันเป็นที่รัก และเล่ารายละเอียดเก่ียวกับการเดินทาง การบรรยายสภาพ
สังคม วัฒนธรรมรวมทั้งการแสดงทัศนะต่อเหตุการณ์ท่ีกวีพบเห็นตลอดเส้นทาง เช่น
นิราศนรนิ ทร์ นิราศพระบาท นิราศนครสวรรค์ นิราศสพุ รรณ เป็นตน้
๖. วรรณคดีเพื่อควำมบันเทิง มักมีเน้ือหามาจากนิทานประเภทจักรๆ วงศ์ๆ หรือ
นิยายท้องถ่ินท่ีมีเค้าเร่ืองจริง เน้ือหาซ่ึงเป็นนิทานนั้นกับการแต่งเป็นวรรณคดี เพราะมี
ครบทุกอรรถรสและอารมณ์ และมักแต่งเพื่อใช้ประกอบการแสดงมหรสพต่างๆ เช่น
บทละครพูดคาฉนั ท์เรือ่ งมัทนะพาธา สังขท์ อง รามเกยี รต์ิ ขุนช้างขุนแผน อเิ หนา เป็นต้น
๒๘
กจิ กรรมที่ ๑.๔
คำชแี้ จง : นักเรียนอธบิ ำยรูปแบบของวรรณคดีที่กำหนด
๑. เหตใุ ดนักเรยี นต้องมคี วำมรู้เกย่ี วกบั ฉนั ทลกั ษณ์
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
๒. นกั เรียนยกตวั อย่ำงรปู แบบวรรณคดีเรื่องที่นักเรยี น
เคยเรยี นหรอื ร้จู กั มำอยำ่ งน้อย ๓ ตวั อยำ่ ง
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
๒๙
บัตรเนือ้ หำท่ี ๑.๔
พจิ ำรณำคุณคำ่ ด้ำนสังคม
การพิจารณาคุณค่าทางด้านสังคม เป็นการพิจารณาว่า ผู้แต่งมีจุดประสงค์ใน
การจรรโลงสังคมอย่างไร โดยการพิจารณาจากแนวคิด การให้คติเตือนใจ
การสะท้อนให้เห็นชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี
และจริยธรรมของคนในสังคมท่ีวรรณคดีได้จาลองภาพ โดยกวีได้สอดแทรกไว้ในบท
ประพันธอ์ ย่างแนบเนียน เช่น
จงึ ปลอบวา่ พลายงามพ่อทรามรกั อย่าฮึกฮกั วา่ วุ่นทาหนุ หนั
จงครวญใคร่ให้เห็นขอ้ สาคญั แมน่ ีพ้ รัน่ กลวั แต่จะเกิดความ
ดว้ ยเป็นข้าลักไปไทลกั มา เหน็ เบ้อื งหนา้ จะอึงแม่จงึ หา้ ม
ถ้าเจา้ เห็นเปน็ สุขไม่ลกุ ลาม ก็ตามเถิดมารดาจะคลาไคล
ว่าพลางนางลกุ ออกจากห้อง เศรา้ หมองโศกานา้ ตาไหล
พระหมื่นไวยก็พามารดาไป พอรงุ่ แจ้งแสงใสก็ถึงเรอื น
(เสภำเร่อื งขนุ ช้ำงขุนแผน)
จำกบทประพันธ์แสดงถึงลักษณะนิสัยของนำงวันทอง จะเห็นได้ว่ำนำง
เป็นคนที่รักลูกมำก เม่ือลูกบุกขึ้นเรือนผู้อื่นในยำมวิกำลก็วิตกว่ำลูกจะได้รับ
อันตรำยและมคี วำมผิด แตเ่ มื่อลูกตดั พ้อว่ำนำงคงไม่รักลูก นำงกร็ สู้ ึกเสียใจจน
ยอมตำยตำมลกู ไปเพรำะเห็นแก่ควำมสุขของลูก
๓๐
กจิ กรรมที่ ๑.๕
คำช้ีแจง : นักเรียนจงอธิบำยบทประพันธต์ อ่ ไปน้ี ถงึ คุณค่ำด้ำนสงั คม (รปู ธรรม) (นำมธรรม)
ท่ีแพ้แก้ชนะ ไม่ถือพระประเพณี
ข้ีฉ้อกไ็ ดด้ ี ไล่ด่าตีมอี าญา
ทีซ่ ้อื ถือพระเจ้า วา่ โง่เงา่ เต่าปปู ลา
ผเู้ ฒา่ เหลา่ เมธา วา่ ใบ้บ้าสาระยา
ด้ำนนำมธรรม ดำ้ นรูปธรรม
................................................. .................................................
................................................. .................................................
................................................. .................................................
................................................. .................................................
................................................. .................................................
๓๑
แบบทดสอบหลงั เรยี น
แบบฝกึ ทกั ษะกำรอ่ำนวิเครำะหใ์ นวรรณคดีและวรรณกรรม
วชิ ำภำษำไทย ๕ สำหรับนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๖
ชุดท่ี ๑ เรื่องกำรศึกษำวรรณคดี
คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนเลอื กคำตอบทถี่ กู ตอ้ งท่ีสุดเพียงคำตอบเดียว และทำเครอ่ื งหมำย ลงใน
กระดำษคำตอบ
๑. ขาวสดุ พุดจีบจนี เจ้ามีสินพ่มี ีศกั ดิ์
ทัง้ วังเขาชังนัก แต่พร่ี กั เจา้ คนเดยี ว
จากบทประพันธข์ า้ งตน้ ไม่ได้กลา่ วถึงเรอ่ื งใด
ก. ค่านิยมในสงั คม
ข. ความรกั ท่ยี ง่ิ ใหญ่
ค. สถานภาพของสตรี
ง. ศักดิศ์ รีและชาติตระกูล
๒. คาศพั ท์ในข้อใดมคี วามหมายแตกต่างจากข้ออนื่
ก. โพยม นภา
ข. พสธุ า ธาตรี
ค. คัดนานต์ อัมพร
ง. ทิฆมั พร นภาพร
๓. องค์ประกอบใดถือเปน็ ธรรมเนยี มในการแต่งคาประพนั ธ์
ก. บทสดดุ ี
ข. บทไหวค้ รู
ค. บทชมโฉม
ง. บทคร่าครวญ
๓๒
๔. เออนี่เนอ้ื เคราะห์กรรมมานาผดิ น่าอายมติ รหมองใจไม่หายหมาง
ฝา่ ยพอ่ มีบุญเปน็ ขนุ นาง แต่แมไ่ ปแนบขา้ งคนจญั ไร
บทประพันธ์ขา้ งตน้ เป็นคาพูดของใคร และคาทข่ี ดี เส้นใต้หมายถงึ ใคร
ก. ขุนแผน ขุนชา้ ง
ข. พลายงาม ขุนชา้ ง
ค. นางวนั ทอง ขนุ ช้าง
ง. ขุนช้าง ขุนแผน
๕. วนั นีเ้ พื่อนเรา เพ่อื นเก่าเพ่อื นใหม่
ที่ห่างกนั ไกล มาพรอ้ มหนา้ กัน
บทประพันธข์ ้างตน้ มีลกั ษณะคาประพันธป์ ระเภทใด
ก. กลอนสส่ี ุภาพ
ข. มาณวกฉนั ท์ ๘
ค. วิชชุมมาลาฉันท์ ๘
ง. กาพยส์ ุรางคนางค์ ๒๘
๖. การอ่านบทละครพูดเรื่องเห็นแกล่ กู ควรใชห้ ลักการวิจกั ษว์ รรณคดตี ามขอ้ ใด
ก. อา่ นอยา่ งพนิ ิจพิจารณา
ข. รับรอู้ ารมณ์ของบทประพันธ์
ค. พิจารณากลวิธใี นการแต่งคาประพันธ์
ง. ค้นหาความหมายพืน้ ฐานของบทประพันธ์
๗. บทประพันธใ์ นขอ้ ใดไม่มคี าทีก่ ่อให้เกิดจินตภาพทางการเคลอื่ นไหว
ก. มหี มที ดี่ าขลับ ข้ึนไมผ้ บั ฉบั ไวถงึ
ข. กระจงกระจดิ เตย้ี วิ่งเร่ียเร่ยี น่าเอด็ ดู
ค. กระจอกหางพัวพู่ โพรงไม้อยคู่ ู่ไลต่ าม
ง. เลียงผาอยู่ภเู ขา หนวดพรายเพราเขาแปลป้ ลาย
๓๓
๘. ขอ้ ใดใช้ลักษณะคาประพนั ธ์แตกต่างจากขอ้ อื่น
ก. ขาวสดุ พุดจีบจนี เจ้ามีสนิ พีม่ ีศกั ดิ์
ข. นวลจันทร์เปน็ นวลจริง เจา้ งามพรง้ิ ยงิ่ นวลปลา
ค. ชะโดดกุ กระดี่โดด สลาดโลดยะหยอยหยอย
ง. สุวรรณหงส์ทรงพ่หู อ้ ย งามชดชอ้ ยลอยหลงั สินธุ์
๙. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้องท่สี ุดเก่ยี วกับการอา่ นวรรณคดี
ก. การอา่ นวรรณคดคี ือการอ่านเพอ่ื ให้เห็นคุณค่าของวรรณคดี
ข. การอา่ นวรรณคดคี ือการอ่านเพื่อให้เกิดความซาบซ้ึง
ค. การอ่านวรรณคดคี อื การอา่ นท่ีตอ้ งใช้กระบวนการคิดวิเคราะหอ์ ย่างมเี หตผุ ล
ง. การอา่ นวรรณคดีคอื การอ่านท่ีตอ้ งใชส้ ตปิ ัญญา กลน่ั กรองคณุ คา่ ทางอารมณ์
และคุณคา่ ทางความคิด
๑๐. ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ กู ตอ้ ง
ก. วรรณคดีเกิดจากจินตนาการของกวเี พยี งประการเดยี ว
ข. คตธิ รรมทก่ี วีถา่ ยทอดไว้ในวรรณคดคี อื มมุ มองทก่ี วีประสบพบเห็น
ค. พฤติกรรมท่ตี วั ละครในวรรณคดีแสดงออก มพี ฤติกรรมเหมือนมนุษย์ทว่ั ไป
ง. การอ่านวรรณคดโี ดยวิเคราะห์เนือ้ หาและพิจารณาคุณคา่ ดา้ นวรรณศิลปท์ าให้
ผอู้ ่านเข้าใจวรรณคดมี ากข้ึน
๓๕
กระดำษคำตอบ
กอ่ นเรียน - หลงั เรยี น
ช่อื – สกุล ..................................................เลขที่...........ชัน้ ม.๖/.........
ขอ้ ก ข ค ง
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙.
๑๐
๓๖
เฉลยกจิ กรรมท่ี ๑.๑
คำชี้แจง : ให้นกั เรียนเติมคำที่มเี สยี งสัมผัสสระ ๒ คำตอ่ จำกคำท่ีกำหนดให้
ตวั อย่าง เก็บหอม รอมริม
๑. ข้าวแดง แกงร้อน
๒. ลาบาก แจม่ จน
๓. ยมิ้ แยม้ แจม่ ใส
๔. สุกเอา เผำกิน
๕. ยนิ ยอม พร้อมใจ
๖. ดีดสี ตเี ป่า
๗. ข้าวยาก หมำกแพง
๘. ขน้ แค้น แสนเข็ญ
๙. ใจไม้ ไส้ระกา
๑๐. เบยี้ บา้ ย รำยทาง
๓๗
เฉลยกจิ กรรมที่ ๑.๒
คำชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นบอกสัมผสั สระทป่ี รำกฏในคำประพนั ธ์ตอ่ ไปน้ใี ห้ถูกต้อง
๑. ศรรักปกั อกแม่ คอยดแู ลสมคั รมัน่
สมั ผัสสระ คอื รกั - ปัก กก
๒. สายใยแตใ่ นครรภ์ เอย่ รกั นน้ั พลันยนิ ดี
สมั ผัสสระ คือ ใย - ใน, นั้น - พลนั ง
๓. อกอุ่นการณุ รกั เฝา้ ฟูมฟักไม่เลีย่ งหนี
สัมผัสสระ คอื อ่นุ - (กำ) รณุ ง
๔. ถกั ทอต่อชวี ี เป็นมง่ิ ม่นั นิรันดร
สมั ผสั สระ คือ ทอ - ต่อ , ชี – วี , มน่ั – รัน ง
๕. อุ่นมอื ส่อื สัมผสั คอ่ ยฝึกหดั เขียนอกั ษร
สัมผสั สระ คือ มอื - สือ่ กก
๖. ฝึกฝนไมแ่ ง่งอน ออ้ นเอ่ยรักประจักษค์ ุณ
สัมผสั สระ คือ รัก - (ประ) จกั ษ์ ง
๗. อ่นุ เอือ้ เม่อื ฟ้าหมน่ แม่อดทนให้ตกั หนุน
สัมผัสสระ คือ เอื้อ - เมื่อ กก
๘. กอดใดใครล่ ะมนุ ค้นุ เคยรกั ถกั ตอ่ พลนั
สัมผัสสระ คือ ใด - ใคร่ , รกั – ถกั ง
๙. อ่นุ แท้แมร่ กั ลูก คอยปลอบปลูกทกุ สิง่ สรรค์
สมั ผสั สระ คือ แท้ - แม่ ง
๑๐. รกั แท้แต่ในครรภ์ ปลูกฝังคนจนดงี าม
สัมผัสสระ คือ แท้ - แต่ , คน - จน ง
๓๘
เฉลยกิจกรรมท่ี ๑.๓
คำชี้แจง : ใหน้ ักเรียนนำคำไวพจนท์ ่กี ำหนดจับกลุม่ เตมิ ให้ถูกต้อง ตรงกบั รูปภำพ
นที ไพรี ภผู ำ ผกำ ครี ี มำลี
บหุ งำ พนำวัน คงคำ วำรี พนำ
ไพรสณั ฑ์ บรรพต บุษบำ มำลำ
สิงขร ชลธำร สำคร พงพี ไศล
นที คงคำ วำรี ชลธำร สำคร
๓๙
ไพรี พนำวัน ไพรสัณฑ์ พนำ พงพี
ภูผำ คีรี บรรพต สงิ ขร ไศล
ผกำ บหุ งำ บุษบำ มำลำ มำลี
๔๐
เฉลยกจิ กรรมท่ี ๑.๔
คำชี้แจง : นกั เรียนอธบิ ำยรปู แบบของวรรณคดที ก่ี ำหนด
๑. เหตุใดนกั เรยี นตอ้ งมีควำมรเู้ กย่ี วกับฉนั ทลกั ษณ์
แนวคำตอบ
เพื่อช่วยให้กำรอ่ำนวรรณคดีแต่ละเร่ืองมีอรรถรสได้รับ
ควำมไพเรำะซำบซ้ึงของคำประพันธ์ และส่ืออำรมณ์จำกเน้ือหำ
จังหวะ และท่วงทำนองในกำรประพันธ์ เช่น ในเร่ืองสำมัคคีเภท
คำฉันท์ใช้วิชชุมมำลำฉันท์ ซ่ึงมีคำในคณะน้อย ใช้กับเน้ือควำม
ตนื่ ตระหนก โดยใชบ้ รรยำยภำพชำวเวสำลี เมือ่ รู้วำ่ มีศกึ
๒. นักเรยี นยกตัวอย่ำงรูปแบบวรรณคดีเรื่องที่นกั เรยี น
เคยเรียนหรอื รจู้ กั มำอย่ำงนอ้ ย ๓ ตวั อย่ำง
แนวคำตอบ
ตัวอย่ำงเช่น เสภำเรื่องขุนช้ำงขุนแผน แต่งเป็นกลอน
นิทำน มหำเวสสนั ดรชำดกแต่งเปน็ รำ่ ย ลิลิตตะเลงพ่ำยแต่งเป็น
โคลงและร่ำย เรียกว่ำลิลิต กำพย์เห่เรือ แต่งเป็นกำพย์และโคลง
เรียกว่ำ กำพยห์ อ่ โคลง
๔๑
เฉลยกจิ กรรมที่ ๑.๕
คำชี้แจง : นกั เรยี นจงอธบิ ำยบทประพนั ธต์ ่อไปนี้ ถงึ คุณค่ำดำ้ นสังคม (รปู ธรรม) (นำมธรรม)
ทีแ่ พแ้ ก้ชนะ ไม่ถอื พระประเพณี
ขฉี้ อ้ กไ็ ด้ดี ไล่ดา่ ตมี ีอาญา
ทซี่ อื้ ถือพระเจ้า ว่าโงเ่ งา่ เต่าปูปลา
ผเู้ ฒ่าเหล่าเมธา วา่ ใบ้บา้ สาระยา
ดำ้ นนำมธรรม (กำพย์พระไชยสุริยำ : สนุ ทรภู่)
กาพย์พระไชยสุริยาบทท่ียกมาว่า ดำ้ นรปู ธรรม
ด้วยเรื่องของเหล่าเสนาไม่ตั้งอยู่ใน กาพย์พระไชยสุริยาบทท่ียกมา
ความดี ทาให้ประชาชนต้องเดือนร้อน
และประชนลาบากยากเข็ญ ว่าด้วยเร่ืองของเหล่าเสนาประพฤติ
ไม่ดี ทาให้ประชาชนได้รับความ
ลาบาก แต่ก็ไม่สามารถพูด หรือ
แสดงความคิดเห็นได้
๔๒
บัตรเฉลยแบบทดสอบ
กำรศกึ ษำวรรณคดี
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบหลงั เรียน
๑. ง ๖. ก ๑. ก ๖. ก
๒. ค ๗. ง ๒. ข ๗. ง
๓. ค ๘. ค ๓. ง ๘. ค
๔. ง ๙. ง ๔. ข ๙. ง
๕. ข ๑๐. ข ๕. ค ๑๐. ก
๔๓
เกณฑก์ ำรประเมินใบกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๑.๑
กำรวดั /ประเมนิ ผลกำรเรียน คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน
คะแนน ๘ – ๑๐ คะแนน ได้ระดับ ดี คะแนนทไ่ี ด้ ....................................
คะแนน ๖ – ๗ คะแนน ได้ระดบั พอใช้ ได้ระดบั .........................................
คะแนน ๐ – ๕ คะแนน ไดร้ ะดับ ปรบั ปรุง ผ่าน
* นกั เรยี นตอ้ งไดค้ ะแนนไม่ตา่ กว่า ๖ คะแนน ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่าน
กิจกรรมท่ี ๑.๒
กำรวัด/ประเมินผลกำรเรียน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน
คะแนน ๘ – ๑๐ คะแนน ไดร้ ะดบั ดี คะแนนทไี่ ด้ ....................................
คะแนน ๖ – ๗ คะแนน ได้ระดับ พอใช้ ไดร้ ะดบั .........................................
คะแนน ๐ – ๕ คะแนน ไดร้ ะดบั ปรับปรงุ ผ่าน
* นกั เรยี นตอ้ งได้คะแนนไม่ตา่ กวา่ ๖ คะแนน ผา่ นเกณฑ์ ไม่ผ่าน
กจิ กรรมท่ี ๑.๓
กำรวดั /ประเมินผลกำรเรียน คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน
คะแนน ๘ – ๑๐ คะแนน ได้ระดบั ดี คะแนนท่ีได้ ....................................
คะแนน ๖ – ๗ คะแนน ไดร้ ะดบั พอใช้ ไดร้ ะดบั .........................................
คะแนน ๐ – ๕ คะแนน ได้ระดบั ปรบั ปรงุ ผา่ น
* นกั เรยี นต้องไดค้ ะแนนไมต่ า่ กวา่ ๖ คะแนน ผา่ นเกณฑ์ ไม่ผา่ น
กจิ กรรมที่ ๑.๔
กำรวัด/ประเมนิ ผลกำรเรยี น คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน
คะแนน ๘ – ๑๐ คะแนน ได้ระดับ ดี คะแนนทีไ่ ด้ ....................................
คะแนน ๖ – ๗ คะแนน ไดร้ ะดับ พอใช้ ไดร้ ะดับ .........................................
คะแนน ๐ – ๕ คะแนน ไดร้ ะดบั ปรบั ปรุง ผ่าน
* นักเรยี นต้องไดค้ ะแนนไม่ตา่ กวา่ ๖ คะแนน ผ่านเกณฑ์ ไม่ผา่ น
กจิ กรรมท่ี ๑.๕
กำรวดั /ประเมนิ ผลกำรเรยี น คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน
คะแนน ๘ – ๑๐ คะแนน ได้ระดับ ดี คะแนนท่ีได้ ....................................
คะแนน ๖ – ๗ คะแนน ได้ระดบั พอใช้ ไดร้ ะดับ .........................................
คะแนน ๐ – ๕ คะแนน ได้ระดับ ปรบั ปรงุ ผา่ น
* นกั เรียนตอ้ งไดค้ ะแนนไม่ตา่ กวา่ ๖ คะแนน ผา่ นเกณฑ์ ไม่ผ่าน
๔๔
แบบสรปุ ผลกำรเรียน
ชุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ที่ ๑
เร่อื ง กำรศกึ ษำวรรณคดพี ้นื ฐำน
ชอ่ื – สกุล........................................................ เลขท่ี............. ชนั้ ม.๖/.........
คะแนนแบบทดสอบก่อนเรยี น
ข้อ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ รวม
คะแนน
คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน
ขอ้ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ รวม
คะแนน
เกณฑ์กำรผ่ำน
แบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรยี น มี ๑๐ ข้อ คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน
คะแนน ๑ – ๓ ระดบั คุณภำพ ควรปรับปรุง
คะแนน ๔ – ๕ ระดับคณุ ภำพ ปำนกลำง
คะแนน ๖ – ๗ ระดบั คุณภำพ ดี
คะแนน ๘ – ๑๐ ระดบั คุณภำพ ดีมำก
สรปุ ผลกำรทำกิจกรรม
ประเมนิ กจิ กรรม กจิ กรรม กิจกรรม กจิ กรรม กจิ กรรม แบบทดสอบ แบบทดสอ รวม ผลการ
ผล ที่ ๑ ที่ ๒ ท่ี ๓ ที่ ๔ ที่ ๕ กอ่ นเรียน บหลังเรียน พัฒนา
เตม็
ได้
๔๕
บรรณำนุกรม
กระแสร์ มาลยาภรณ์. (๒๕๒๘). มนษุ ย์กับวรรณกรรม. พมิ พค์ รั้งท่ี ๒. กรงุ เทพฯ :
โอเอสปร้นิ ติ้งเฮาส.์
กุหลาบ มลั ลกิ ะมาส. (๒๕๕๔). วรรณคดวี จิ ำรณ์. พมิ พ์คร้งั ท่ี ๑๕. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
เจตนา นาควัชระ. (๒๕๔๒). ทฤษฎเี บ้อื งตน้ แหง่ วรรณคดี. พิมพค์ รัง้ ที่ ๒. กรุงเทพฯ :
สยาม
เนาวรตั น์ พงษไ์ พบูลย์. (๒๕๔๕). เพียงควำมเคล่อื นไหว. พิมพ์ครง้ั ท่ี ๑๔. กรุงเทพฯ :
ภาพพมิ พ์.
เปรมวทิ ย์ ววิ ฒั นเศรษฐ์. (๒๕๕๔). ควำมร้เู บอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั วรรณคดแี ละวรรณกรรม.
พะเยา : มหาวทิ ยาลัยพะเยา.
เปลือ้ ง ณ นคร. (๒๕๔๐). ประวัติวรรณคดไี ทย. กรงุ เทพ ฯ : โอเดียนสโตร์
ศกึ ษาธิการ กระทรวง. (๒๕๔๒). พนิ ิจวรรณกรรม. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรุสภา
ลาดพรา้ ว
สจุ ิตรา จงสถิตวัฒนา. (๒๕๔๙). ภำษำวรรณศิลป์ในวรรณคดีไทย. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๒.
กรงุ เทพ : โครงการเผยแพรผ่ ลงานวิชาการ คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั