The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กระบวนการจัดทำหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ka_poo_ja, 2022-05-14 09:55:02

บทที่ 3 กระบวนการจัดทำหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้

กระบวนการจัดทำหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้

Keywords: กระบวนการจัดทำหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้

NPU61512404

บทท่ี 3
กระบวนการจัดทาหลักสูตร
และการนาหลกั สตู รไปใช้

Chapter III

Curriculum Development System [CDS]

แนว● คิดการพฒั นาหลกั สตู รของไทเลอร์ 1.จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.สาระการเรียนรู้
[Learing Objectives] [Learning Cintent]
และคนอื่นๆ เมอื่ ใชว้ ิธีการเชงิ ระบบเป็นกรอบแนวคิด
และเขยี นแผนภาพกระบวนการจัดทาหลักสตู ร ท่ี Curriculum & Instruction
แสดงความสัมพันธร์ ะหว่างข้นั ตอน(Stages) ได้ดัง
ภาพประกอบที่ 1

3.ประสบการณก์ ารเรียนรู้ 4.การประเมินผลการเรียนรู้
[Learning Experiences] [Evaluation of Learning
Outcome]

ภาพประกอบท่ี 1 ระบบการพฒั นาหลกั สตู ร

เม่ือนาคาถามของไทเลอร์มาเขียนเป็นแผนภาพ
ตามวิธีการเชิงระบบแบบลิเนียโมเดล ระบบการพัฒนา
หลักสูตร ประกอบด้วยสองระบบย่อย คือ มิติด้าน
หลักสูตร(สอนอะไร) และมิติด้านการเรียนการสอน
(สอน/จัดการเรียนรู้อย่างไร) ดงั ภาพประกอบ

มิติดา้ นหลักสูตร ประกอบด้วย สองคาถามแรกของไทเลอร์ คือ มิตดิ ้านการสอน ประกอบด้วยสองคาถามหลังของไทเลอร์ คอื
1.มีความมงุ่ หมายทางการศกึ ษาอะไรบา้ งทโี่ รงเรยี นควรจะ 1. จะจัดประสบการณท์ างการศกึ ษาอยา่ งไร จงึ จะทาให้การ
แสวงหาเป็นการกาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เรียนการสอน/การจัดการเรยี นรมู้ ีประสทิ ธิภาพเปน็ เรื่อง
2. มีประสบการณท์ างการศกึ ษาอะไรบา้ งทโ่ี รงเรียนควรจดั ขึ้น เกีย่ วกับการจดั ระบบหลักสตู รและการนาหลกั สตู รไปใช้ มี
เพ่ือใหบ้ รรลุจุดประสงคท์ ี่กาหนดไวเ้ ปน็ การเสนอแนะ สาระสาคัญเกย่ี วกับการบรหิ ารหลกั สูตรและการจดั
ประสบการณ์การเรยี นรู้ทเ่ี ป็นประโยชน์ ประสบการณก์ ารเรยี นร้ใู ห้ประสทิ ธิภาพสงู สุดกับผเู้ รยี น
2. จะประเมินประสทิ ธผิ ลของประสบการณ์ในการเรียนอย่างไร
จงึ จะตัดสนิ ใจไดว้ ่าบรรลถุ งึ จดุ ประสงค์ทก่ี าหนดไวเ้ ปน็ การ
ประเมินกระบวนการและทบทวนสิ่งที่จะไม่ทาใหเ้ กดิ
ประสิทธภิ าพ

“คาถามทั้งส่คี าถามน้ี มีความสัมพนั ธ์กบั ข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนา

หลกั สตู ร อย่างนอ้ ย 3 ด้าน คอื ด้านปรชั ญา ด้านจติ วทิ ยา และดา้ นสังคม และอาจ
รวมพน้ื ฐานข้อมลู ดา้ นอื่น ๆ ทน่ี ักพฒั นาหลกั สตู รให้ความสนใจและความสาคัญ

”และนามาใช้ในกระบวนการพฒั นาหลักสูตร

กระบวนการจดั ทาหลักสตู ร รปู แบบการพัฒนาหลักสตู รของโอลิวา

หลกั สูตรมีลกั ษณะเดน่ ดังตอ่ ไปน้ี

01 เป็นรปู แบบทมี่ คี วามเป็นระบบและ วางแผนและ ระบบการใช้ ประเมนิ
02 สะท้อนรายละเอียดระบบการ ออกแบบ หลกั สูตร หลักสตู ร
03 พัฒนาหลกั สตู รและการจัดการ
เรยี นการสอนอย่างชดั เจน รูปแบบการพัฒนาหลกั สูตรของโอลิวา มีองค์ประกอบ 3 ส่วน

ระบบการประเมนิ ผลในรปู แบบ
สะท้อนการประเมนิ การจัดการ
เรียนการสอนและการประเมิน
หลกั สูตรท่ีมีความเกี่ยวขอ้ งกัน

สะทอ้ นความเช่อื มโยงกันระหว่าง
การพัฒนาหลกั สูตรและการเรยี น
การสอนชดั เจน

01

ระบบการวางแผนและออกแบบหลักสูตร

สาหรับระบบการวางแผนและออกแบบหลักสตู ร ให้ความสาคัญกับการวิเคราะหค์ วาม
ตอ้ งการของผู้เรียนและสงั คม สงั เคราะห์ร่วมกนั แลว้ กาหนดเป็นเปา้ หมายของการศึกษาที่
สะทอ้ นปรชั ญาการศึกษา แลว้ นาขอ้ มูลทไี่ ด้รับมากาหนดความตอ้ งการของผเู้ รยี น สงั คม
และเนือ้ หาแลว้ สังเคราะหเ์ ป็นจุดมุ่งหมายของหลักสตู ร เมอ่ื ไดจ้ ุดมุ่งหมายของหลักสูตร
แล้วจึงกาหนดวัตถปุ ระสงคข์ องหลักสตู ร

02 ระบบการใชห้ ลกั สูตร

เม่ือได้จุดมุ่งหมายของหลกั สตู รแลว้ จึงกาหนดวัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร
รปู แบบของหลกั สตู รส่วนระบบการจัดการเรียนการสอน (เป็นระบบยอ่ ยอยู่ภายใน
ระบบการการวางแผนและออกแบบหลกั สูตร) ประกอบด้วย การกาหนดจุดม่งุ หมาย
ของการเรียนการสอน การกาหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรยี นการสอน การคัดเลอื ก
ยทุ ธศาสตรก์ ารเรยี นการสอน การคดั เลือกแนวทางการประเมนิ ผลการจัดการเรยี น
การสอน การคดั เลือกเทคนิคการประเมนิ ผล

03 การประเมินผลการเรียนการสอน

การประเมินผลการเรียนการสอน เพื่อนาผลการประเมินไป
ปรับปรุงจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน และในขั้นตอนสุดท้าย
คือการประเมินหลักสูตร เพ่ือนาผลการประเมินไปปรับปรุง
เปา้ ประสงค์ของหลักสตู รซึง่ จะนาไปสกู่ ารปรบั ปรุงวตั ถุประสงค์ของ
หลักสูตร รูปแบบของหลักสูตร จุดมุ่งหมายการเรียนการสอน
วัตถุประสงค์การเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอน และการ
ประเมนิ ผลการเรียนการสอนอยา่ งเปน็ ระบบตอ่ ไป

รูปแบบการพัฒนาหลกั สูตรของโอลวิ า

1. กาหนดความต้องการจาเป็น 7. กาหนดจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตร 14. จดั การเรยี นการสอนตาม
ของผูเ้ รยี นในแบบทว่ั ๆ ไป สถานศกึ ษา กลยุทธทเ่ี ลือกไว้

2. กาหนดความตอ้ งการจาเปน็ 8. วัตถปุ ระสงค์ของหลกั สูตร 15. ตดั สินใจเลอื กใชเ้ ทคนคิ การวัด
ของสงั คม สถานศกึ ษา และประเมนิ ผล

3. เขียนปรัชญาการศกึ ษาเป็น 9. จดั ระบบระเบยี บและการนา 16. ประเมินการเรียนการสอนและ
จดุ หมายของการศึกษา หลักสตู รไปใช้ ปรับปรงุ องคป์ ระกอบท่ีเก่ยี วขอ้ ง

4. กาหนดความต้องการจาเปน็ 10. กาหนดจุดม่งุ หมายของการ 17. ประเมินหลักสูตรและปรับปรงุ
ของผเู้ รียนในสถานศกึ ษา เรียนการสอน องค์ประกอบท่เี ก่ยี วขอ้ ง

5. กาหนดความตอ้ งการจาเป็น 11. กาหนดวัตถปุ ระสงคข์ องการ
เฉพาะสงั คม เรียนการสอน

6. กาหนดความตอ้ งการจาเปน็ ท่ี 12. เลือกกลยุทธการเรยี นการสอน
เกย่ี วข้องกับเน้อื หาสาระวิชา 13. เริม่ เลือกเทคนคิ การวดั และ

ประเมินผล

แผนภาพ รปู แบบการพฒั นาหลักสตู รของโอลวิ า

การพฒั นาหลกั สูตรบูรณาการ
โดย วัฒนาพร ระงับทุกข์

ข้ันเตรยี ม วางแผนเร่ืองระยะเวลาในการพัฒนาหลักสูตร
ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ งบประมาณท่ีจาเป็นเอกสาร
หลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
ควรจัดประชุมคณะครเู พื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หรือหลักสูตรสถานศึกษา
เกีย่ วกบั กระบวนการพฒั นาหลกั สูตรบูรณาการ และให้ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม ในระดับช้ันต่างๆ เพื่อ
เกิดความตระหนักและเห็นความสาคัญของการจดั ทา เป็นข้อมลู ในการพัฒนาหลักสูตรบรู ณาการ
หลักสูตรบูรณาการ

ขน้ั พัฒนาหลักสูตร 2. การต้ังหวั ข้อเรือ่ ง คณะครูระดมสมองร่วมกันต้งั หัวขอ้
เรือ่ งและควรมจี านวนทเ่ี หมาะสมกบั จานวนวนั หรอื
1. หลงั จากที่ศึกษากระบวนการพฒั นาหลักสตู รแล้ว สปั ดาหท์ สี่ อน เช่น ในหน่งึ ภาคเรยี นมเี วลาเรียนประมาณ
ใหค้ ณะครูที่ทาการสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรูท้ ้ัง 8 กลุ่ม 20 สปั ดาห์ ช่วงต้นภาคเรยี นอาจตอ้ งเตรยี มนกั เรียนทาให้
ร่วมกันวางแผน เรือ่ งเวลาที่จะใช้ทาการสอนในแต่ละ มวี ันสอนน้อย สว่ นช่วงปลายภาคเรียนอาจตอ้ งมกี ารวัด
หัวขอ้ เรือ่ งก่อนว่า จะสอนหัวขอ้ เรือ่ งละกว่ี ัน ประเมนิ ผลปลายภาค ดงั น้นั จงึ เหลือเวลาจัดการเรยี นรู้
เช่น 3 วนั 5 วัน หรือกีว่ นั ก็ได้ตามความเหมาะสมหรอื ประมาณ 18 สปั ดาห์ ครูอาจตัง้ หวั ข้อเรือ่ ง 18 หัวขอ้
ความต้องการของครู หรือตัง้ ไว้เกนิ เผ่อื เลือกใชก้ ็ไดต้ วั อยา่ งหวั ข้อเรอ่ื ง เชน่
ท้องถ่นิ ของเรา ธรรมชาตแิ ละชวี ติ สมุนไพรไทย แมน่ ี้เป็น
ทหี่ นึ่ง สยามเมืองย้มิ อาหารจานเดด็ อาชีพของคนไทย
ฉนั รกั การอ่านและการเขียนภาษาไทย ความเปน็ มาของ
ชาติไทย เปน็ ต้น

ขั้นพฒั นาหลกั สูตร 4. วเิ คราะห์เนอื้ หาสาระทใ่ี กลเ้ คยี งกันหรอื สอดคลอ้ งกัน
ของกลมุ่ สาระการเรยี นร้ทู ่สี ามารถเชอ่ื มโยงกนั ได้ โดยการ
3. วางแผนเรียงลาดับหวั ขอ้ เรือ่ งทกี่ าหนดไว้ตามลาดับความ วิเคราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชว้ี ดั ของกลมุ่ สาระ
เหมาะสม และเขียนชือ่ หวั ขอ้ เรอ่ื งไว้ตรงกลางแผนผังความคดิ การเรียนรทู้ ีต่ ้องการบูรณาการในระดับชั้นที่จะสอนจาก
เพ่อื เตรยี มเขยี นแบบใยแมงมุม (Web) พร้อมทัง้ อภปิ รายว่า หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพทุ ธศักราช 2551
ในหัวข้อเร่อื งนน้ั ๆนา่ จะเรยี นร้เู ก่ยี วกบั เรอ่ื งแบบใด เพอ่ื เปน็ หรอื จากหลกั สูตรสถานศึกษา หากในหวั ข้อเรื่องใดไม่
แนวทางในการเลือกเนอ้ื หาสาระจากกล่มุ สาระการเรยี นรู้ สามารถเลือกเน้อื หาสาระเข้าไปบรู ณาการได้ ครูผ้สู อนก็ไม่
ตา่ งๆ มาใส่เพือ่ บูรณาการเชื่อมโยงกนั ตอ้ งกงั วลใจเพราะการบูรณาการน้ัน ไม่จาเป็นตอ้ งบรู ณา
การครบท้ัง 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้

ขนั้ พฒั นาหลกั สูตร 6. ส่งิ ท่ีควรทาเปน็ ลาดับต่อไป คอื การนาเน้อื หาสาระหรอื
หัวขอ้ ยอ่ ยของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรทู้ ีป่ รากฏใน Web
5. เขยี นแผนผังความคดิ หรอื Web แสดงความเช่ือมโยงหรือ แต่ละ Web มาเขียนคาอธิบายเพ่ิมเตมิ เพื่อให้มีรายละเอียด
สัมพนั ธ์ของกลุ่มสาระการเรยี นรแู้ ละเนือ้ หาสาระ ตรวจสอบ มากข้ึนจะไดเ้ ข้าใจถูกหรอื ดูง่ายยิ่งข้ึน และจัดทาเป็นหนว่ ย
อกี ครัง้ หนง่ึ วา่ มีเน้ือหาสาระใดหลงเหลืออยบู่ า้ ง และพจิ ารณา การเรียนรู้
ความเหมาะสมของ Web ทง้ั หมด ตลอดจนการเรียงลาดับ 7. จัดทาแนวการสอนและกาหนดเวลาทีจ่ ะสอนให้เหมาะสม
Web ซ่งึ สามารถขยบั ได้จนกว่าจะเห็นว่าเหมาะสมท่ีสุด 8. เขียนแผนการจัดการเรยี นรู้

ขั้นนาหลักสูตรไปใช้ ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ปรบั ปรุงแกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง
เพือ่ ใหป้ ระสทิ ธิภาพการสอนของครูเพ่ิมขึ้น ผลสัมฤทธิ์ของ
ข้นั นิเทศติดตามผลการจัดการเรยี นรู้ เพ่อื การพัฒนากระบวนการ นกั เรียน ซ่งึ เปน็ ผลจากการสั่งสอนของครูในโรงเรียนกส็ ูงขน้ึ
เรียนการสอนของครู และการนเิ ทศการศึกษา ควรมกี ารบรหิ าร ด้วยครมู ที ศั นคติทด่ี ตี อ่ หน่วยงาน มคี วามพงึ พอใจทจี่ ะ
เป็นกระบวนการเชงิ ระบบ มกี ารวางแผนการดาเนนิ งาน มขี นั้ กระทาหนา้ ทขี่ องตนใหด้ ีย่ิงๆ ข้นึ ไป
ตอนในการปฏบิ ตั ิงาน ถือหลกั การมีส่วนรว่ ม ในการทางาน
มคี วามเป็นประชาธปิ ไตย มีการดาเนนิ งานอยา่ งสร้างสรรค์
มกี ารแกป้ ญั หาที่เกดิ ข้นึ จากการเรยี นการสอน

การนาหลักสตู รไปใช้

วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์

“ยทุ ธศาสตรก์ ารนาหลกั สตู รไปใชไ้ ดส้ รปุ เป็ นหลกั การสาคญั ในการนาหลกั สตู รไปใช ้”

ยทุ ธศาสตร์การนาหลกั สูตรไปใช้

1.วางแผนและเตรยี มการ 3.กาหนดวิถที างและกระบวนการ
นาหลักสตู รไปใช้ นาหลกั สตู รไปใช้อยา่ งเปน็ ข้ันตอน

2.มีหน่วยงานส่งเสรมิ
การนาหลกั สูตรไปใช้

ขอ้ 1 ข้อ 3 ขอ้ 5 ขอ้ 8 ขอ้ 11

ธรรมชาติของ การสรา้ งองค์ความรู้ การพิจารณา แรงจูงใจภายในของ อิทธิพลทางสังคม
กระบวนการเรยี นรู้ เรือ่ งการคดิ การเรียนรู้ ตอ่ การเรยี นรู้
ข้อ 4
ขอ้ 2 ขอ้ 6 ขอ้ 9 ข้อ 12
การคิดเชิงกลยุทธ์
เป้าหมายของ บริบทของการเรียนรู้ ผลของแรงจงู ใจที่มี ความแตกต่างของ
กระบวนการเรียนรู้ ต่อความพยายาม แตล่ ะบคุ คลในการ
ข้อ 7 เรียนรู้
14 ข้อ 10
อทิ ธพิ ลจากแรงบันดาล ขอ้ 13
ใจและอารมณใ์ นการ อิทธิพลในเชงิ พัฒนา
เรยี นรู้ การตอ่ การเรยี นรู้ การเรยี นรูแ้ ละความ
หลากหลาย
ภาระกิจสาคญั ของการบรหิ ารหลักสตู ร
ขอ้ 14

มาตรฐานและการ
ประเมนิ ผล

วชิ ัย วงษ์ใหญ่

ได้ให้ความเห็นวา่ ผมู้ บี ทบาทในการนาหลกั สูตรไปใชใ้ ห้บรรลุจุดหมาย
มี 3 กลมุ่ คือ ครใู หญ่ ครูประจาช้ัน และชมุ ชน ในจานวนนี้ครใู หญเ่ ป็นผูท้ ม่ี ี
บทบาทมากที่สดุ ทจ่ี ะตอ้ งศกึ ษาและวางแผนเกีย่ วกับการใชห้ ลกั สูตรโดยมี
ขัน้ ตอนสรุปสั้นๆ ได้ดงั น้ี

1. เตรียมวางแผน
2. เตรยี มจัดอบรม
3. การจดั ครเู ข้าสอน
4. การจัดตารางสอน
5. การจดั วสั ดปุ ระกอบหลักสตู ร
6. การประชาสัมพันธ์
7. กาCรRจัดEสDภITาSพ:แTวhดisลp้อrมeแseลnะtกaาtiรoเnลtอื eกmกpจิ laกtรeรwมaเสsรcมิ reหaลteกั dสูตร
8. การจbัดyโSคlรiidงnกefosาgรgrปoa,รpะihnเiccมlsuินd&inimg aicgoenssbbyyFFrleaetipciokn. , and

วชิ ัย วงษ์ใหญ่

กล่าวว่า เอกสารหลักสตู รเมอ่ื ได้จดั ทาเสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ กอ่ นท่ีจะนาไปใช้
ควรจะไดท้ บทวนตรวจสอบอกี ครงั้ ดงั นน้ั ขน้ั ตอนการนาหลักสูตรไปใช้มีดงั น้ี
1. ตรวจสอบทบทวนหลกั สตู รตามหลกั การของทฤษฎีหลักสูตร
2. ทาโครงการและวางแผนการศึกษานารอ่ งเพอ่ื หาประสิทธิภาพของหลกั สูตร
3. ประเมนิ โครงการศึกษาทดลอง
4. ประชาสมั พนั ธห์ ลกั สตู ร
5. การอบรมครผู ูบ้ รหิ ารผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การใช้หลกั สตู ร
6. นาหลกั สตู รไปปฏบิ ตั ิจรงิ หรือเรียกวา่ ข้ันดาเนนิ การใช้หลกั สูตรเต็มรปู
7. การอบรมครูเพม่ิ เติมในสว่ นทจี่ าเปน็ ในระหว่างการใช้หลกั สตู ร
8. การติดตามและประเมนิ ผลการใชห้ ลักสตู ร

CREDITS: This presentation template was created
by Slidesgo, including icons by Flaticon, and
infographics & images by Freepik.

การตรวจสอบหลกั สูตร

ปรบั แก้ ยอมรบั ใช้ไม่ได้

โครงการศกึ ษานาร่อง

ปรบั แก้ ยอมรบั ใชไ้ มไ่ ด้

การฝึกอบรม นาไปปฏบิ ตั ิจรงิ การฝึกอบรมครู
เพมิ่ เติม บริการสนบั สนุน

CREDITS: This presentation template was created
by Slidesgo, including icons by Flaticon, and

infograตpดิ hตicาsม&แลimะaปgรeะsเมbินyผFลreepik.

ภาพประกอบที่ 2 ขัน้ ตอนการนาหลักสตู รไปใช้

ปรัชญา วสิ ยั ทศั น์/พันธกจิ
จดุ หมายของหลกั สตู ร

จดุ ประสงค์กลมุ่ วิชา

คาอธิบาย ผลการเรยี นรู้
รายวชิ า คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์

แผนการ จุดประสงค์ สาระการ กระบวนการ นวตั กรรม/ การวัด/
จดั การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ เรยี นรู้ เรยี นรู้ การเรยี นรู้ ประเมินผล

ภาพประกอบที่ 3 การนาหลกั สูตรไปใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ ให้เกดิ ประสิทธผิ ลและมปี ระสิทธภิ าพ

แนวปฏิบัตใิ นการนาหลกั สูตรบูรณาการไปจัดการเรยี นรู้
และประเมินผลการเรียนรู้

เพ่อื ให้การวัดและประเมินมีความถูกต้องตรงตามสภาพจริงของผู้เรียน
การนาหลักสูตรบูรณาการไปจัดการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนรู้ มี
ลาดบั ขัน้ ตอนดังนี้
1. กาหนดจุดประสงค์ในการวัดและประเมิน การวัดและประเมิน แต่ละ
คร้ังต้องกาหนดจดุ ประสงคข์ องการวัด เพ่อื เลือกใชเ้ คร่อื งมือได้ถูกต้อง
2. วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้หรือลักษณะพฤติกรรม ที่คาดหวังจาก
การเรียนการสอน กาหนดเป็นภาคความรู้
3. เลือกเครื่องมือวัด การเลือกใช้เคร่ืองมือและกาหนดวิธีการวัด ตาม
ลักษณะและสิ่งท่ีต้องการวัด เลือกใช้เครื่องมือและวิธีการวัดให้เหมาะสม
กับแหล่งข้อมูล

แนวปฏบิ ัตใิ นการนาหลกั สูตรบรู ณาการไปจดั การเรียนรู้
และประเมินผลการเรียนรู้

4. สร้างเคร่ืองมือวัด เขียนข้อคาถามและพิจารณาเลือกข้อคาถามตาม
ขอบข่ายเน้ือหา ระดบั พฤติกรรมทต่ี ้องการวดั
5. การพัฒนาคุณภาพเคร่ืองมือวัดผล ซึ่งมีหลายประการ อาทิ ความเที่ยงตรง
(validity ) ความเช่อื มน่ั (reliability) ความเปน็ ปรนัย (objectivity) ความยาก
ง่าย (difficulty) ความมีอานาจจาแนก ( discrimination) และความมี
ประสิทธภิ าพ (efficiency ) เป็นตน้
6. การใช้เคร่ืองมือวัดผล ในการใช้ เคร่ืองมือจะต้องดาเนินการวัดในรูปแบบ
เดยี วกัน ในทานองเดยี วกนั โดยเฉพาะอย่างย่ิงให้ผู้สอบได้แสดงความสามารถ
ทแี่ ทจ้ ริงออกมาอยา่ งเต็มที่
7. ตรวจให้คะแนน และประเมินผล การตรวจให้คะแนนต้องดาเนินการให้
ถกู ตอ้ งตามเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนท่ีกาหนดไว้

ตารางท่ี 1 การวเิ คราะห์หลกั สูตร( Table of specification)

ภาคความรู้ ภาคปฏบิ ัติ

หวั ข้อเร่อื ง จุดประสงค์
การเรียนรู้
Kn Co Ap An Sy Ev Process Product

ตารางท่ี 1 การวิเคราะห์หลกั สตู ร( Table of specification)

จะแสดงหัวเร่ือง และจุดประสงค์การ เรียนรู้ และแต่จุดประสงค์การเรียนรู้จะมีวิธีการวัดอยู่สองแบบ คือ
ภาคความรู้และ ภาคปฏิบัติ ในภาคความรู้มีการวัด 6 ระดับ ความรู้ความจา(Knowledge) ความเข้าใจ
(Comprehension) การนาไปใช้ (Application) การวิเคราะห์ ( Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) และ การ
ประเมินค่า ( Evaluation) ทางปฏิบัติจริงอาจกาหนดตัวเลขแสดงถึงจานวนข้อ หรือน้าหนักในการวัด ส่วนการวัด
ภาคปฏิบัตินั้น ผู้เรียนต้องลงมือทาจริง โดยใช้แบบวัดภาคปฏิบัติ (Performance test) ทั้งด้านกระบวนการ และ
ผลผลติ

ตวั อย่าง การนาหลกั สตู รบูรณาการไปจดั การเรียนรู้

กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา คือ
การออกแบบเชิงวิศวกรรมเข้ากับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีของผู้เรียน นาไปสู่ทักษะการ
คดิ เชงิ นวตั กรรม มีกระบวนหลัก ๆ 5 ขั้นตอน ดังน้ี

ขน้ั ที่ 1 การระบุปัญหา (Identify a challenge)
ขน้ั ที่ 2 การคน้ หาแนวคิดท่เี ก่ยี วข้อง (Explore ideas)
ขน้ั ที่ 3 การวางแผนและการพฒั นา (Plan and develop)
ข้นั ท่ี 4 การทดสอบและประเมนิ ผล (Test and evaluate)
ขน้ั ที่ 5 การนาเสนอผลลพั ธ์ (Present the solution)
กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาของศูนย์สะเต็มศึกษาแห่งชาติ (2558) ดังกล่าวน้ี
เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถคิดสิ่งใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาท่ีสามารถสร้างคุณค่าและ
ใชป้ ระโยชนใ์ นการดารงชีวติ ซ่ึงควรปลูกฝงั ให้เกดิ ขน้ึ ในตวั ผู้เรยี น

สรุป 9TH GRADE

มติ ดิ ้านหลกั สตู ร ประกอบด้วย สองคาถามแรกของไทเลอร์ คอื มติ ิด้านการสอน ประกอบด้วยสองคาถามหลงั ของไทเลอร์ คอื
1.มคี วามมุ่งหมายทางการศกึ ษาอะไรบา้ งที่โรงเรียนควรจะ 1. จะจัดประสบการณ์ทางการศึกษาอยา่ งไร จงึ จะทาให้การเรยี น
แสวงหาเปน็ การกาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การสอน/การจดั การเรียนรู้มีประสิทธภิ าพเปน็ เรื่องเกยี่ วกับการ
2. มีประสบการณ์ทางการศึกษาอะไรบา้ งท่โี รงเรยี นควรจดั ขึ้น จดั ระบบหลกั สูตรและการนาหลกั สตู รไปใช้ มสี าระสาคญั เกย่ี วกบั
เพ่อื ให้บรรลจุ ุดประสงคท์ ่กี าหนดไวเ้ ปน็ การเสนอแนะ การบรหิ ารหลักสตู รและการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรใู้ ห้
ประสบการณก์ ารเรียนรทู้ เ่ี ป็นประโยชน์ ประสทิ ธิภาพสงู สดุ กับผูเ้ รียน
2. จะประเมินประสทิ ธผิ ลของประสบการณใ์ นการเรียนอยา่ งไรจงึ
จะตัดสนิ ใจไดว้ ่าบรรลถุ ึงจดุ ประสงค์ที่กาหนดไว้เป็นการประเมิน
กระบวนการและทบทวนสิง่ ท่ีจะไมท่ าใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพ

9TH GRADE

เมือ่ มีความชดั เจนเก่ยี วกับหลักสตู ร จดุ หมาย โดยอาจตั้งคาถามดงั ต่อไปน้ี
การเรียนรู้ และหลักฐานทีเ่ ปน็ รูปธรรมแลว้ ความรแู้ ละทกั ษะอะไรจะช่วยให้นักเรียนมคี วามสามารถตาม
ผสู้ อนสามารถนาหลกั สตู รไปสู่การปฏิบตั ิ เริ่มจาก จุดหมายท่กี าหนดไว้?
วางแผนการจัดการเรยี นรู้ กิจกรรมอะไรจะช่วยพฒั นานกั เรยี นไปสู่จดุ หมายดังกล่าว?
สือ่ การเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสาหรบั กจิ กรรมการเรียนรู้?
ประเมินการออกแบบและการนาไปใช้โดยรวมสอดคล้องและลงตัว
หรือไม?่

การนาหลักสูตรบรู ณาการ ไปจัดการเรยี นรู้ดาเนินการ

1. กาหนดจดุ ประสงคใ์ นการวัดและประเมิน
2. วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้หรือลักษณะพฤติกรรม ที่คาดหวังจากการ
เรียนการสอน
3. เลือกเครื่องมือวัด การเลือกใช้เครื่องมือและกาหนดวิธีการวัด ตาม
ลักษณะและสงิ่ ท่ตี ้องการวัด
4. สร้างเคร่ืองมือวัด เขียนข้อคาถามและพิจารณาเลือกข้อคาถามตาม
ขอบข่ายเนื้อหา ระดับพฤติกรรมท่ีต้องการวัด
5. การพฒั นาคณุ ภาพเครอ่ื งมอื วดั ผล
6. การใช้เคร่ืองมอื วดั ผล
7. ตรวจใหค้ ะแนน และประเมนิ ผล

CREDITS: This presentation template was created
by Slidesgo, including icons by Flaticon, and
infographics & images by Freepik.


Click to View FlipBook Version