The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือรถขับเคลื่อนไฟฟ้า4.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by araya_200250, 2022-06-09 23:48:41

คู่มือรถขับเคลื่อนไฟฟ้า4.2

คู่มือรถขับเคลื่อนไฟฟ้า4.2

ค่มู อื ความปลอดภัย

สาํ หรับรถขับเคล่ือนไฟฟ้ าภายในอาคาร
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์

1



คาํ นาํ

คมู อื ฉบับนี้จัดทาํ ขึน้ เพื่อเปน คูมอื ความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทาํ งาน
สําหรับพนักงานขับรถขับเคล่ือนไฟฟาภายในอาคารของโรงพยาบาลสงขลานครินทร โดยมีเนื้อหา
เก่ียวขอ งกบั

1. กฎหมายดา นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการทาํ งานเกยี่ วกับรถยก
2. ขอมลู สวนประกอบ ประเภท และวิธกี ารใชง านรถขบั เคล่ือนไฟฟา ภายในอาคาร
3. วิธีการทํางานอยา งปลอดภัย
โดยคณะผูจัดทํามีความมุงม่ัน สนับสนุนและสงเสริมใหผูปฏิบัติงานทุกทานมีความตระหนัก
และปฏิบัตงิ านดวยความปลอดภัย โดยคํานงึ ถึงความปลอดภัยของตนเอง เพื่อนรวมงาน และบุคคลอ่ืน
ท่ีมาใชบ ริการสถานพยาบาลแหง นดี้ ว ย
ผูจัดทําหวังเปนอยางย่ิงวา คูมือฉบับนี้จะเปนประโยชนแกผูปฏิบัติงานเปนอยางมาก หาก
ผูปฏิบตั งิ านปฏิบัตงิ านตามความปลอดภัยอยา งเครงครดั

จัดทําโดย
งานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ ม

โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร

2

งานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอม



สารบัญ

นโยบายความปลอดภัย………………………….……………………………………………………………….…….……….….1
กฎหมายที่เกีย่ วของ…………………………….………………………………………………………………….…….……….….4
รถขับเคล่ือนไฟฟา ภายในอาคาร……………………………………………………………………………….…….………….6
ขอมูลการใชรถขับเคล่ือนไฟฟา ภายในอาคารโรงพยาบาล ....................................................................7
ประเภทรถขับเคลอ่ื นไฟฟา ภายในอาคารท่ีใชในโรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร. .......................................8

ประเภทขับหนา (นั่งขบั )............................................................................................8
ประเภทขับหลงั (ยนื ขับ)...........................................................................................12
การชารจ แบตเตอรี่...............................................................................................................................16
กระบวนการรบั -สง วสั ดอุ ุปกรณโดยรถขบั เคลอื่ นไฟฟา ภายในอาคาร...................................................19
การทํางานกับรถขับเคลอ่ื นไฟฟา อยางปลอดภัย...................................................................................20
ภาคผนวก............................................................................................................................................26

3

งานความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอม

1

นโยบายความปลอดภัยฯ

ประกาศคณะแพทยศาสตร
เรื่อง วสิ ยั ทัศน พันธกิจ นโยบาย กลยทุ ธ ในงานอาชีวอนามยั และความปลอดภัย

คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร

.........................................

 วสิ ัยทัศน
คณะแพทยศาสตรช้ันเลิศในการบูรณาการดานอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพแวดลอม

ในงานเขาสกู ระบวนการทาํ งาน
 พันธกจิ

1. สรางความเปนเลิศในการดําเนินงานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอม
ในงานท่คี รอบคลมุ ทั้งบคุ ลากรและผทู ม่ี ีสวนไดสวนเสยี

2. พัฒนาปรับปรุงประสิทธิผลของงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอ มในงานตลอดจนความรับผิดชอบตอ สังคม

งานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม 4

2

นโยบายความปลอดภัยฯ

 นโยบาย
คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรมีความใสใจในสุขภาพและความปลอดภัย

ในการทํางานของบคุ ลากรทกุ ทา น โดยงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจะสมบูรณได ขึ้นอยูกับความรวมมือ
จากบคุ ลากรทุกคน จึงไดก าํ หนดนโยบายไวดงั นี้
1. พฒั นาและปรับปรงุ อยา งตอ เน่ือง ซึง่ ระบบบรหิ ารงานตามมาตรฐานงานอาชีวอนามยั และความปลอดภยั
2. ติดตามและปฏิบัติตามการเปลี่ยนแปลงของกฎหมาย ขอกําหนดดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย

และสภาพแวดลอมในงาน ตลอดจนความมุง หวงั ขององคก รและผูมสี วนไดสวนเสียทกุ ภาคสวน
3. มุงเนนการสรางจิตสํานึกและการมีสวนรวมตอความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในงาน

ใหกับบุคลากรทุกคนและทุกระดับเพ่ือใหเกิดเปนคานิยมขององคกร “สุขภาพและความปลอดภัย
ของตนเองและเพ่ือนรวมงานเปนส่งิ สําคญั และผบู ังคบั บญั ชาทกุ ระดับจะตอ งปฏิบัตติ นเปน แบบอยา งที่ด”ี
4. ดําเนินการเพ่ือใหมัน่ ใจวาบคุ ลากรและผูม ีสวนไดสวนเสยี ไมเกิดการบาดเจบ็ อันตราย และเกิดโรคจากการ
ทาํ งาน โดยจดั ใหม ี

(มีตอ หนา ถดั ไป)

งานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม 5

3

นโยบายความปลอดภยั ฯ

4.1 การพัฒนาโครงสรางการบริหารงาน การพัฒนาบุคลากร ระบบสารสนเทศ และงบประมาณ
เพ่ือรองรับดานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในงานที่ดี

4.2 จั ด ส ภ าพ แ ว ด ล อ มใ นกา ร ทํ า ง า นที่ ป ล อ ด ภั ย ป ร าศ จาก อั น ต ร า ย ห รื อเ ห ตุ ก อโ ร ค ใ ด ๆ
อนั เนอ่ื งจากงานใหบคุ ลากรและผูมีสวนไดสวนเสยี

4.3 การกําหนดเปาหมาย แผนงานโครงการเพ่ือประเมินและจัดการความเสี่ยงจากอุบัติเหตุ ส่ิงคุกคาม
โรคทุกประเภทและปญหาทาทางการทํางานทีไ่ มเ หมาะสมอันเนื่องมาจากการทาํ งาน

4.4 การตรวจสอบความปลอดภัย การสอบสวน/คนหาสาเหตุของอุบัติการณใด ๆ ที่กระทํา
อยางตอเนอื่ งสม่าํ เสมอ

4.5 การประเมินผลและการบันทึกผลการดําเนินงานท่ีครบถวน ถูกตอง และนํามาใชปอนกลับเพ่ือแกไข
ปรบั ปรงุ ระบบไดอยางเพียงพอและทันเหตุการณ

 กลยทุ ธ
สรา งการมีสวนรวมในการจดั การปญ หาอาชีวอนามยั และความปลอดภัยจากระดับผบู รหิ ารสูงสดุ ถึงบคุ ลากรทกุ ทาน
คณะแพทยศาสตร กําหนดใหเปนหนาที่และความรับผิดชอบของบุคลากรทุกคนและทุกระดับ รวมถึงผูมีสวนได

สว นเสียทกุ ภาคสว นทจ่ี ะตองปฏบิ ัตติ ามนโยบาย เพือ่ ใหค ณะแพทยศาสตรเ ปนเลิศดา นอาชีวอนามยั และความปลอดภยั

งานความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอม 6

4

กฎหมายทเ่ี กย่ี วของ

กฎกระทรวง กาํ หนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนนิ การดา นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอม
ในการทํางานเกย่ี วกบั เครอื่ งจักร ปนจ่นั และหมอ น้ํา พ.ศ. ๒๕๖๔
“รถยก” หมายความวา รถที่ติดต้ังอุปกรณใชสําหรับการยกหรือเคล่ือนยายส่ิงของ เชน ฟอรคลิฟต (forklift) หรือรถ
ทที่ าํ งานในลกั ษณะเดียวกัน

สว นที่ ๔ รถยก
________________________

• ขอ ๓๔ ในการทํางานเกี่ยวกับรถยก นายจา งตองปฏิบัติ • ขอ ๓๕ นายจางตองไมดัดแปลงหรือกระทําการใด
ดงั ตอ ไปนี้ กับรถยกที่มีผลทําใหความปลอดภัยในการทํางานลดลง
เวนแตกรณีท่ีนายจางดั ดแปลงรถยกเพ่ือใชกาซ
(๑) จัดใหมีโครงหลังคาของรถยกที่ม่ันคง ปโตรเลียมเหลวเปน เช้อื เพลิง และไดปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย
แข็งแรง สามารถปองกันอันตรายจากวัสดุตกหลนได วาดวยโรงงานแลว
เวนแตรถยกท่ีออกแบบมาใหยกวัสดุสิ่งของท่ีมีความสูง
ไมเกนิ ศรี ษะของผูข ับขี่ • ขอ ๓๖ นายจา งตองควบคุมดูแลบริเวณที่มีการเติมประจุ
ไฟฟาแบตเตอรี่สําหรับรถยกที่ใชไฟฟา ใหอยูหางจาก
( ๒ ) จั ด ใ ห มี ป า ย บ อ ก พิ กั ด นํ้ า ห นั ก ย ก บริเวณท่ีลูกจางทํางานไดอยางปลอดภัย และจัดใหมี
อยางปลอดภัย ตามที่กําหนดไวในรายละเอียดคุณลักษณะ มาตรการเก่ียวกับการระบายอากาศเพื่อปองกันการ
และคูมือการใชงานตามขอ ๘ ไวท่ีรถยก พรอมทั้งติดต้ัง สะสมของไอกรด และไอระเหยของไฮโดรเจนจากการ
ปา ยเตอื นใหระวงั เตมิ ประจไุ ฟฟา

(๓) ตรวจสอบรถยกใหมีสภาพใชงานไดดี • ขอ ๓๗ นายจางตองตีเสนชองทางเดินรถยกบริเวณ
และปลอดภัยกอนการใชงานทุกครั้ง และตองมีสําเนา ภายในอาคารหรือกําหนดเสนทางเดินรถในบริเวณอื่น
เอกสารการตรวจสอบไวใหพนักงานตรวจความปลอดภัย ท่มี กี ารใชร ถยกเปน ประจํา
ตรวจสอบได
• ขอ ๓๘ นายจางตองติดต้ังกระจกนูนหรือวัสดุอื่นที่มี
(๔) จัดใหมีสัญญาณเสียงหรือแสงไฟเตือน คุณสมบัติคลายกันไวที่บริเวณทางแยก หรือทางโคง
ในขณะทาํ งานตามความเหมาะสมของการใชงาน ทีม่ องไมเห็นเสน ทางขางหนา

(๕) จัดใหมีอุปกรณชวยการมองเห็นตามสภาพ • ขอ ๓๙ นายจางตองจัดทางเดินรถ ใหมีความม่ันคง
ในการทาํ งาน เชน กระจกมองขาง แข็งแรง และสามารถรองรับนํ้าหนักรถ รวมท้ังนํ้าหนัก
บรรทุกของรถไดอ ยา งปลอดภัย
(๖) ใหลูกจางซ่ึงทําหนาที่ขับรถยกชนิดน่ังขับ
สวมใสเ ข็มขัดนริ ภัยในขณะทํางานบนรถตลอดเวลา

งานความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม

5

กฎกระทรวง กําหนดมาตรฐานในการบรหิ าร จัดการ และดําเนนิ การดา นความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานเกย่ี วกับเครอื่ งจักร ปน จั่น

และหมอนาํ้ พ.ศ. ๒๕๖๔

• ขอ ๔๐ นายจางตอ งจัดใหลูกจา งซง่ึ จะทําหนา ทเี่ ปนผูขับรถ • ขอ ๔๒ นายจางตองควบคุมดูแลไมใหบุคคลอ่ืน นอกจาก
ผ า น ก า ร ฝ ก อ บ ร ม เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ใ ช ร ถ แ ต ล ะ ป ร ะ เ ภ ท ผูขับรถยก โดยสารหรอื ข้ึนไปบนสว นหนึ่งสวนใดของรถยก
ความปลอดภัยในการขับรถยก การตรวจสอบและ
บํารุงรักษารถยกโดยวิทยากรซ่ึงมีความรูความเชี่ยวชาญ
และประสบการณการทํางานเกี่ยวกับรถยกตามหลักสูตร
ท่อี ธิบดีประกาศกําหนด

• ข อ ๔ ๑ นา ย จ า ง ต อ ง ค ว บ คุ ม ดู แ ล ก าร นํ า ร ถ ย ก
ไ ป ใ ช ป ฏิ บั ติ ง า น ใ ก ล ส า ย ไ ฟ ฟ า ห รื อ อุ ป ก ร ณ ไ ฟ ฟ า ที่ มี
แ ร ง ดั น ไ ฟ ฟ า โ ด ย ต อ ง มี ร ะ ย ะ ห า ง เ พ่ื อ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย
ดงั ตอไปน้ี
(๑) สายไฟฟาหรืออุปกรณไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟา

ไมเ กิน ๖๙ กโิ ลโวลต ตองหางไมน อยกวา ๓.๑ เมตร
(๒) สายไฟฟาหรืออุปกรณไฟฟาท่ีมีแรงดันไฟฟา

เกิน ๖๙ กิโลโวลตแตไมเกิน ๑๑๕ กิโลโวลต ตองหาง
ไมนอ ยกวา ๓.๓ เมตร

(๓) สายไฟฟาหรืออุปกรณไฟฟาท่ีมีแรงดันไฟฟา
เกิน ๑๑๕ กิโลโวลตแตไมเกิน ๒๓๐ กิโลโวลต ตองหาง
ไมนอ ยกวา ๔ เมตร

(๔) สายไฟฟาหรืออุปกรณไฟฟาที่มีแรงดันไฟฟา
เกิน ๒๓๐ กิโลโวลตแตไมเกิน ๕๐๐ กิโลโวลต ตองหาง
ไมน อยกวา ๖ เมตร

งานความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอม 8

6

รถขบั เคล่อื นไฟฟา ภายในอาคาร

 รถขับเคล่ือนไฟฟาภายในอาคาร หมายถึง ยานยนตขนาดเล็ก ขับเคล่ือนดวยไฟฟา มีพื้นที่วางวัสดุอยูดานหนา
หรือดา นหลงั ของตัวรถ ใชย กวัสดุส่ิงของที่หนกั เกนิ กาํ ลงั คนยกได นิยมใชเปนเครื่องทุนแรงสําหรับการขนสง จัดสง
สนิ คาภายในอาคาร

 “รถยก” หมายความวา รถท่ีติดตั้งอุปกรณใชสําหรับการยกหรือเคล่ือนยายส่ิงของ เชน ฟอรคลิฟต (forklift)
หรือรถท่ีทํางานในลักษณะเดียวกัน (กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการดานความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ มในการทํางานเกี่ยวกบั เครอื่ งจกั ร ปน จ่นั และหมอนํา้ พ.ศ.๒๕๖๔)
ดงั นัน้ รถขับเคล่ือนไฟฟาภายในอาคารท่ีใชในโรงพยาบาลจึงเทียบไดกับ รถยก ตามกฎกระทรวงกําหนด

มาตรฐานในการบริหารและจัดการดานความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานเกี่ยวกับ
เครอื่ งจกั ร ปนจัน่ และหมอ นา้ํ พ.ศ.๒๕๖๔

9

งานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอม

7

ขอมูลการใชง านรถขบั เคลอื่ นไฟฟาภายในโรงพยาบาล

ตารางท่ี 1 แสดงการใชรถขับเคล่ือนไฟฟาภายในอาคารของหนว ยงานตา ง ๆ

ประเภทรถ ชัว่ โมงใชง าน/
สปั ดาห
หนว ยงาน จํานวนรถ จาํ นวนคนขบั ขับหนา ขับหลงั
14
จา ยผา กลาง 2 2 02 10
35-56
คลังยา 1 6 1 0 8-12
49
งานโภชนาการ 8 15-20 0 8

คลังพสั ดุ 1 7 10

เวชภัณฑกลาง 4 15-20 4 0

ตารางที่ 2 แสดงเสนทางใหบ ริการของรถขับเคล่ือนไฟฟาแตล ะหนวยงาน

หนว ยงาน เสน ทางบริการ

จายผากลาง เสนทางจากหนวยงานขึน้ ลฟิ ตตึกกระดูก ชนั้ B ผา น OPD ทาํ แผลฉดี ยา / OPD ตา
ผานทางเชอื่ มเพ่อื สง ผาไปยงั หอผปู วยอาคารรตั นชีวรักษ

คลงั ยา อาคารรตั นชวี รกั ษ / อาคารศรีเวชวฒั น

งานโภชนาการ เสนทางจากงานโภชนาการไปยงั ทกุ หอผูปวยในโรงพยาบาล

คลงั พสั ดุ ข้นึ ลิฟตห ลงั งานเวชภณั ฑก ลาง ผา นทางเชอื่ มชนั้ 1 ไปยงั อาคารรัตนชีวรักษ และคลนิ กิ ตา ง ๆ

เวชภัณฑกลาง ทกุ หอผูปว ยในโรงพยาบาล/ หองผาตดั / OPD ผูปว ยนอก

10

งานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม

8

ประเภทรถขับเคล่ือนไฟฟาภายในอาคารท่ใี ชใ น
โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร

1. ประเภทขบั หนา (นั่งขับ)

1.1 สวนประกอบของรถ 5. แบตเตอรร ี่
1. แผงควบคมุ 6. ลอ
2. แกรนบังคับ 7. ชองชารจ
3. เบาะนง่ั
4. พ้ืนท่สี ําหรับวางวัสดุ

งานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอม 11

9

อุปกรณและวธิ กี ารใชง านอปุ กรณ

ชอ งเสียบกุญแจ ปุมปรบั ความเรว็ คันเรง

ใชงาน : บิดกุญแจใหไฟสถานะ สามารถปรบั ความเร็วได 10 ระดบั บีบดานขวา - รถเดนิ หนา
ขนึ้ พรอมใชง าน บีบดานซาย - รถถอยหลงั
เลกิ ใชงาน : ถอดกุญแจ ปลอ ยคันเรง - รถหยดุ

มาตรวัดประจุแบตเตอรี่ เบรก จดุ ชารจแบตเตอร่ี

สเี ขียว แบตเตอร่เี พียงพอ บบี เบรก รถจะหยดุ ทาํ งานทันที
สีแดง แบตเตอร่ีตา่ํ

งานความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอม 12

วธิ ีการใชงานรถ 10

1.เสียบกุญแจใหไ ฟสถานะขนึ้ พรอมใชงาน 13

2.หมุนปมุ ปรับความเรว็

3.บบี คันเรง เพ่อื เดินหนาหรอื ถอยหลงั โดย
บบี คันเรงดา นขวา-รถเดินหนา บบี คนั เรงดานซา ย-รถถอยหลงั
4.หมุนคันบงั คับเมือ่ ตองการเล้ียว
เลย้ี วซา ย-เอยี งคนั บังคบั ไปทางขวา เลี้ยวขวา-เอยี งคนั บงั คับไปทางซา ย

5.บบี แตรเมอื่ ตอ งการใหสัญญาณเสียง

6.กดปุม เบรกหรอื ปลอยคันเรง ทง้ั 2 ขา งเม่ือตองการใหรถหยุด

7.เม่ือใชร ถเสร็จแลว ใหถอดกญุ แจเพอ่ื ดับเคร่ืองยนต และชารจ แบตเตอร่ี
งานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอม

11

ตวั อยางรถขับเคลอ่ื นไฟฟาภายในอาคารประเภทขับหนา
ท่มี ีใชใ นหนว ยงาน

รถขบั เคลอ่ื นไฟฟาประเภทขบั หนาทใ่ี ชในงานเวชภณั ฑกลาง รถขบั เคลื่อนไฟฟาประเภทขับหนา ทใี่ ชใ นงานคลงั ยา

รถขับเคล่ือนไฟฟา ประเภทขับหนาทใ่ี ชใ นงานคลงั พัสดุ

งานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม

12

2. ประเภทขับหลงั (ยืนขับ)

สว นประกอบของรถ • จดุ ชารจแบตเตอรร ่ี
• ท่เี สยี บกญุ แจ • สเกลดูระดับไฟแบตเตอรร่ี
• จดุ ยนื ขบั รถ • เซนเซอรก นั ชน
• ปมุ เสยี งแตรขอทาง
• สวิตชฉ กุ เฉิน
• คันเรงเดนิ หนา -ถอยหลงั

• วงมาลยั บังคบั

จดุ ชารจ์ แบตเตอรี่

เมอื่ สง่ ผา้ เสร็จ จะตอ้ งมาชารจ์ แบตเตอรี่
ทกุ ครง้ั ( ชารจ์ หนา้ หนว่ ยงาน )

15

งานความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอม

13

อุปกรณวิธีการใชง านอปุ กรณ

จุดยนื ขับ ท่ีเสยี บกุญแจ สวติ ชฉุกเฉนิ
ใชงาน : ปลดตะขอท่ีขาเหยยี บลง ใชง าน : เสยี บกญุ แจ ใชง านเม่อื ตองการหยดุ รถฉุกเฉิน
เลิกใชง าน : แขวนตะขอท่ีขา เลกิ ใชงาน : ถอดกุญแจ
เหยียบขนึ้ หรือระบบไฟฟา ขดั ของ

คันเรง วงมาลัยบังคับ จดุ ชารจแบตเตอรร ่ี
บบี คันเรงเขาหาตัว -รถเดนิ หนา เลีย้ วซา ย : เอียงพวงมาลัยขวา เมอื่ สง วัสดเุ สรจ็ จะตอ งชารจ
บีบคนั เรง ออกจากตัว -รถถอยหลัง เล้ยี วขวา : เอียงพวงมาลัยซาย
แบตเตอรร ่ีทุกครงั้

งานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม 16

14

วิธกี ารใชง านรถ

1.ปลดตะขอขาเหยยี บลง

2.เสยี บกญุ แจ

3.กดสวติ ชเพือ่ เลือกระดับความเรว็ ตํา่ (Low) หรอื สูง (High)

4.ผลกั คันเรง เพอื่ เดนิ หนา หรือถอยหลงั
ผลกั คันเรง เขา หาตวั เอง-รถเดินหนา ผลักคันเรง ออกจากตวั เอง-รถถอยหลัง

5.หมุนคันบงั คบั เมือ่ ตองการเลย้ี ว
เลย้ี วซา ย-เอยี งคนั บงั คับไปทางขวา เลย้ี วขวา-เอยี งคนั บังคบั ไปทางซาย

6.บีบแตรเม่อื ตองการใหส ัญญาณเสียง

7. ปลอ ยคนั เรง ท้งั สองขางเมอื่ ตองการใหรถหยดุ

8.เม่ือใชร ถเสรจ็ แลวใหถ อดกญุ แจเพื่อดับเครอ่ื งยนต เก่ยี วตะขอขาเหยียบเพอ่ื เก็บเขาที่ 17
และชารจแบตเตอร่ี
งานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอม

15

ตวั อยางรถขับเคลอ่ื นไฟฟาภายในอาคาร
ประเภทขับหลังที่มีใชใ นหนว ยงาน

• รถขับเคลอ่ื นไฟฟาประเภทขับหลังทใี่ ชใ นงานจา ยผา กลาง • รถขบั เคลอ่ื นไฟฟาประเภทขบั หลังทใ่ี ชใ นงานโภชนาการ

งานความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม 18

16

การชารจแบตเตอรร ี่

วธิ ีการชารจ
1. ดับเครือ่ งยนต
2. เช่ือมตอกบั เครือ่ งชารจ
3. หมุนฝาปด ชอ งชารจท่อี ยูด า นซายของคันบังคับ

4. เสยี บสายชารจ เขา กบั เตา เสยี บบนผนงั และเปดสวิตชไฟบนเครอ่ื งชารจ
5. ขณะชารจ ไฟจะแสดงสถานะ ไฟ LED สแี ดงหรอื สสี ม
6. เมือ่ แบตเตอรเ่ี ต็มสถานะไฟ LED จะเปล่ยี นเปน สีเขยี ว
7. เมือ่ ชารจเสร็จแลวใหปดสวิตชบ นอุปกรณชารจทุกครัง้ ถอดสายชารจออกและเก็บใหเ รยี บรอย

งานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม 19

17

ขอแนะนาํ ดา นการชารจ

1. ควรชารจ แบตเตอรีโ่ ดยทําตามขัน้ ตอนที่ถูกตอ ง
2. ไมควรดดั แปลงตัวชารจ
3. หลีกเลี่ยงการชารจในพนื้ ทแี่ สงแดดจัดหรอื ความช้นื สูง
4. หลกี เลย่ี งการชารจในบริเวณทม่ี อี ุณหภูมิต่าํ กวา 10 องศาเซลเซยี ส หรืออณุ หภมู ิสูงกวา 30 องศาเซลเซยี ส
5. เก็บใหหางจากทที่ ่ีมีเชอื้ เพลง หรอื สารท่ีลกุ ตดิ ไฟไดง า ย
6. ไมส บู บหุ รี่หรอื กอประกายไฟขณะชารจ
7. อยา ดงึ ปลก๊ั หรอื สายไฟออกขณะท่ีมอื เปยก
8. ควรชารจจนไฟ LED บนแบตเตอร่ีเปลี่ยนสถานะเปนสีเขยี ว หากดึงปลั๊กออกในขณะท่ียงั ชารจไมเต็ม

อาจทําใหแบตเตอรเี่ สื่อมเร็วขึ้น
9. ควรชารจ แบตเตอรี่ 1 คร้งั ตอสัปดาหไ มวาจะมกี ารใชร ถหรือไม
10. ไมค วรชารจ แบตเตอรี่หากพบวา บริเวณฝาครอบมรี อยน้ํามันอยู
11. หามเปลี่ยนแบตเตอรีด่ วยตัวเองเดด็ ขาด

งานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม 20

18

ขอ มลู รถ

รายการ Specification

ความยาว 1800 มิลลเิ มตร
ความกวาง 750 มิลลเิ มตร
ระยะเวลาทีใ่ ชไ ดห ลังการชารจ 1 ครั้ง 30-35 กิโลเมตร (36 กม./ชว่ั โมง)
ความเรว็ สูงสุด สูงสดุ 6 กโิ ลเมตร/ชวั่ โมง ตาํ่ สดุ 3 กิโลเมตร/ชว่ั โมง
ระยะในการหยดุ 1 เมตร
ระยะการเลยี้ ว 3320 มลิ ลิเมตร
น้ําหนัก (ไมรวมแบตเตอร)่ี 56 กโิ ลกรัม
ลอ หนา ขนาด 13 น้ิว
ลอหลงั ขนาด 13 นิ้ว
ระยะหางทป่ี ลอดภยั 280 มลิ ลิเมตร
ความสามารถในการรับนํา้ หนกั 300 กโิ ลกรมั
แบตเตอร่ี 12 โวลต
ที่ชารจ 25V 5A
นํา้ หนักสุทธิ 80 กิโลกรัม
นํ้าหนกั รวม 85 กโิ ลกรัม

งานความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม 21

19

กระบวนการรบั -สง วสั ดอุ ุปกรณโดย
รถขับเคลอ่ื นไฟฟา ภายในอาคาร

6.ชารจแบตเตอร่ี 1.ขับรถไปยงั จุดรับวสั ดุ
เมื่อเลกิ ใชงาน อุปกรณ

5.ขบั กลบั หนว ยงาน กระบวนการ 2.รับวสั ดุบรรทุกขึ้นรถ
สงวสั ดอุ ปุ กรณ

4.นําวัสดุลงจากรถ จัดเกบ็ หรือสง 3.สง วสั ดุไปยังหอผูปวย/ หอง
บรเิ วณท่ีจัดเตรยี มไว ผา ตัด / OPD

6.ชารจ แบตเตอรี่เมอ่ื เลกิ ใชง าน 1.ขับรถไปยังจุดรบั วัสดุ
อปุ กรณ

5. ลางทําความสะอาดรถ กระบวนการ 2.รับวสั ดบุ รรทุกขึ้นรถ
รับวัสดอุ ปุ กรณ

3.ขบั กลับไปยงั หนว ยงาน

4.นาํ วัสดอุ ุปกรณลงจากรถเพ่ือ
ทําความสะอาด

งานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม 22

20

การทํางานอยางปลอดภัย

23

21

กอ นใชง าน

ผูข บั ขี่ผานการอบรมการขับขี่ ตรวจสภาพรถ/วัสดบุ รรทุก ตรวจสอบพิกัดนํ้าหนักบรรทกุ ให
อยา งปลอดภยั กอนใชงาน เหมาะสม (ไมเกนิ 300 กโิ ลกรัม)

ศกึ ษาคมู ือการขับรถกอนใชงาน คาดเข็มขดั นิรภยั กอนใชง าน การตรวจสอบประจําวัน
(Daily Inspections)

1. ทดสอบ : ระบบเบรก แตรรถ
คันบงั คบั สญั ญาณไฟ ปุม หยุด
รถฉกุ เฉนิ

2. ตรวจสอบ : ยางรถ การทํางาน
ของมาตรวดั แบตเตอรร/ี่
มอเตอร

3. ตรวจสอบวัสดุทีบ่ รรทุกตองอยู
ในสภาพมนั่ คงแข็งแรง ไมเ สีย่ ง
ตอการหลุดรวง

งานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอม

24

22

ขณะใชง าน

หา มมผี ูโดยสารบนรถ กรณีขับหลงั หา มบรรทกุ ของเกนิ หามย่ืน แขน ขาออกนอกตวั รถ
ระดบั สายตา

ดูระยะหางของรถกบั วัสดุรอบขา ง หามออกรถเรว็ เลี้ยวกะทันหัน หรือ ขบั รถความเร็วไมเกนิ 20 กโิ ลเมตร
ขณะขบั หยุดรถฉับพลนั ตอชวั่ โมง

งานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม 25

23

ขณะใชง าน

หามขับแซงรถคันอื่นท่ีไปในทาง หา มขับรถทับสงิ่ ของท่ตี กอยูบนพืน้ หามจบั คนั บงั คบั หรอื ขับข่ขี ณะ
เ ดี ย วกั น ใ นบ ริ เ วณท าง แ ย ก มอื หรอื ถงุ มอื เปอ นน้ํามนั หลอลนื่
จุ ด อั บ ส าย ต า ห รื อบ ริ เ วณ ที่
อันตราย

บีบแตรใหสญั ญาณและขับรถชา ๆ หลกี เล่ียงการขับรถเขาใกลบ รเิ วณ ลดความเรว็ ลงเมื่อเขา ใกลบริเวณ
เม่ือเขาใกล ประตู ทางเดิน ทางขา ม ทม่ี คี นพลุกพลา น มุมอับทม่ี องไมถนดั

หรือรถคนั อนื่

งานความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม 26

24

ขณะใชง าน

ไมชําเลืองตามองที่อนื่ ขณะขบั รถ มี สั ญ ญ า ณ เ สี ย ง ห รื อ แ ส ง ไ ฟ เ ตื อ น อ ย า ขั บ ร ถ ย ก ใ น ข ณ ะ ท่ี มี อ า ก า ร
ในขณะทาํ งาน มึนงง เมา หรือไมสบาย

ขับชา ๆ เมื่อผานท่เี ปยกหรอื ล่ืน กอนขับรถลอดผานที่ใด ๆ ผูขับตอง ไมใ ชโทรศพั ทขณะขบั รถ
แนใ จวา สามารถขับลอดผา นไดอยาง
ปลอดภัย

งานความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม 27

25

ขณะใชลฟิ ต

ตรวจสอบใหแนใ จวา ลฟิ ต ตรวจสอบขนาดและความกวา ง ผูขบั ขต่ี อ งลงไปกดปมุ HOLD
สามารถรบั น้ําหนักไดเ พยี งพอ หรือ DOOR HOLD ทกุ ครั้ง
กอ นใชลฟิ ตเพื่อหนวงเวลาปด

ประตู

สอดสองใหมน่ั ใจกอนออกจาก 28
ลฟิ ตว า ไมม ผี ูคนหรอื ส่งิ กีดขวาง

ทจี่ ะกอ ใหเ กิดอุบัตเิ หตุ
งานความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม

25

หลังใชง าน

ถอดกญุ แจออกทกุ ครัง้ ตรวจสอบสถานะแบตเตอรี่ จอดรถในสถานที่จอดรถทีก่ ําหนดไว

ตร วจส ภาพ ร ถ ร อย ร่ั ว ล มล อ ดับเครื่องยนตทุกครั้งเมื่อตองการ ไมช ารจ แบตเตอรี่คางไวขา มคนื
การทาํ งานของมอเตอรหลังใชง าน ชารจแบตเตอรี่

งานความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอม 29

26

ภาคผนวก

30

27

แบบฟอรมตรวจสอบการทาํ งานของรถขับเคล่ือนไฟฟา โดยผเู ชย่ี วชาญ

ระยะเวลาตรวจสอบ

ตรวจสอบรายการ 3 ป
2.5 ป
2 ป
1.5 ป
1 ป
6 เดือน
1 เดือน

ระบบ คนั เรง เดินหนา -ถอยหลงั ใชงานไดปกติ

ปุมกดตาง ๆ และคนั เลยี้ วใชง านไดปกติ

มอเตอร ปลก๊ั / สายชารจ / ขวั้ ตอใชงานไดปกติ
สถานะการทํางานของมอเตอรปกติ

เสียงเครอื่ งยนตป กติ

สถานะเบรก/แมเ หล็กไฟฟาปกติ

ปล๊ัก/สายชารจ / ข้ัวตอ บริเวณมอเตอรปกติ

ชุดเพลาสง กําลัง สถานะการทํางาน/ เสยี งปกติ

แบตเตอรร ี่ ไมม กี ารรวั่ ไหลของน้าํ มนั บรเิ วณชดุ เพลาสง กําลงั
อปุ กรณชารจ
ขว้ั ตอ อิเล็กโทรดไมมกี ารชาํ รดุ ใชงานไดปกติ
ท่ีนง่ั ปลก๊ั /ข้ัวตอปกติ
สถานะการทาํ งานระหวา งชารจ ปกติ
ปลก๊ั /สายชารจ ไมชาํ รุด

ทีน่ งั่ สามารถปรับระดับไดป กติ

ความแข็งแรงของชุดเบาะรองนง่ั ปกติ

ลอ ดอกยางของลอ ไมมีการสึกหรอ
ขอบ สกรู/นอต แนนไมห ลุดหรือหลวม
ระบบกนั สัน่ สะเทอื น ใชง านไดป กติ ไมม กี ารเส่ือมสภาพ

ผูตรวจสอบ
วันท่ตี รวจสอบ

งานความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอม 31

28

แบบฟอรมตรวจสอบรถประจาํ วนั
ผตู รวจสอบ ____________________________ หนวยงาน______________________________
วันท่ตี รวจสอบ_________________________________________________________________

รายการตรวจเช็ค วิธีการตรวจสอบ สถานะ หมายเหตุ

แกรนบังคับ ปกติ ไมป กติ
เบรกมอื -ตรวจสอบการทํางาน การหมุนซาย / ขวาปกติ
หรือไม
-ตรวจสอบความแนนของแกรนบังคบั ยังใชงานไดดี
เกิดการชาํ รุดหรอื หลวมหรือไม
บีบเบรกรถหยดุ หรือไม

คันเรง -ตรวจสอบการเดินหนา ถอยหลงั
-ตรวจสอบการหยุดของรถหลังจากปลอยคันเรง
ทง้ั 2 ขา ง

มอเตอร -เสยี งมอเตอรมคี วามผิดปกตหิ รอื ไม

มาตรวัดแบตเตอร่ี -ตรวจสอบไฟสถานะยังใชง านไดปกติหรอื ไม
-แบตเตอรี่มคี วามเพยี งพอตอ การใชง าน

ปมุ หยุดฉกุ เฉิน กดปมุ วาไฟฟาถูกตัดออกหรือไม

ปุมแตร กดปมุ เสียงดงั ปกติ สวติ ชใชงานไดปกติ

สวติ ชความเรว็ สงู /ตํ่า ตรวจสอบการทํางานของสวิตชปรับความเร็ว
วา เปน ปกตหิ รือไม

ลอ -ตรวจสอบวาไมมีรอยแตกหรือรอยรวั่
-ตรวจสอบลมยาง

อ่นื ๆ -วัสดุบ รรทุก/ ตู อยูใ นสภาพ มั่นคงแ ข็งแร ง
ไมเ สย่ี งตอการหลดุ รวง
-น้าํ หนักบรรทุกไมเ กิน 300 กิโลกรัม
-สัญญาณเตอื น แสง/เสยี ง ใชง านไดปกติ

32

33


Click to View FlipBook Version