The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ท่านกล้า, 2021-11-03 22:12:58

EMPLOYEE HANDBOOK 2021

EMPLOYEE HANDBOOK

คมู อื พนักงาน

EMPLOYEE HANDBOOK

ฝาย
ทรัพยากรมนษุ ย

บทนำ
พนกั งานชาวซูกิชิ...ที่รักทกุ ทา น

เอกสารคมู อื พนกั งานฉบบั น้ี จดั ทำขน้ึ เพ่อื เปน ขอ มลู ใหพนักงานทกุ ทานไดท ราบประวตั ิความเปนมาของ
บริษทั ซกู ชิ ิ อินเตอร กรปุ จำกดั นโยบายการดำเนนิ งานดานการบริหารบุคคล โครงสรางตำแหนงงานตลอดจน
ระเบียบขอ บังคบั และสวสั ดิการตางๆ ทบ่ี ริษัทฯ จัดใหแ กพ นกั งาน ซึง่ พนกั งานทุกทา นที่ผานข้นั ตอนการคดั เลอื ก
เขา มาทำงานกบั บรษิ ัทฯ ลวนแตเ ปนบคุ ลากรที่มคี วามรู ความสามารถในการทำงาน หากพนักงานมีความมงุ มั่น
ต้งั ใจ ท่ีจะทำงานอยางเตม็ ความสามารถ กย็ อมจะไดรับความเจรญิ กาวหนา และความมนั่ คงในอาชพี การงาน

บริษัท ชกู ชิ ิ อินเตอร กรุป จำกดั ประกอบดวยแบรนดต า งๆท่มี ีอยูในปจ บุ ัน และจะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตแต
มสี ิง่ ท่เี รามุงเนน เหมอื นกนั คือคุณภาพและการบริการท่ีดที ี่สดุ สลู ูกคา วธิ ีการทำงาน ความมุงมน่ั ในการทำงาน การ
รวมแรงรว มใจ และการเอ้อื เฟอเผือ่ แผชวยเหลอื กันของพนักงาน คอื ส่ิงสำคัญทผี ลักดนั ให Sukishi เราเขมแข็ง
เจรญิ เตบิ โตรดุ หนาสูวิสัยทศั นในการเปนผูนำในธรุ กจิ บริการรานอาหารในประเทศไทย และภมู ภิ าคอาเซยี น ความ
สำเร็จในการทำงานของพนกั งานจะเกดิ ขนึ้ เมอ่ื ทานเห็นคณุ คา และความสำคญั ของงานของทาน ทม่ี ีตอระบบงาน
ของบริษัทฯ ท้ังระบบ การบรรลเุ ปา หมายของหนาที่รบั ผิดชอบของทา น คือ องคป ระกอบสำคัญสูค วามสำเร็จของ
องคก ร

ทรพั ยากรบคุ คล คือ องคประกอบท่ีสำคญั ยิง่ ขององคกร บรษิ ทั ฯ เลง็ เห็นความสำคญั ของพนักงานทกุ
ระดบั และไดจดั ใหม รี ะบบการพฒั นาบุคลากรท่มี ปี ระสิทธภิ าพ เพ่ือฝก ฝนใหพนักงานปฏบิ ตั ิงานในหนา ท่ีปจ จุบนั
อยางเต็มศักยภาพ และตรยี มควาพรอ ม ใหพนังานมคี วามกาวหนาในสายอาชพี ตอ ไปในอนาคต การเติบโตในอาชีพ
การงานตอ งอาศยั ความขยนั การศกึ ษากระบวนการทำงานการพัฒนาหาความรใู หมๆ และความตงั้ ใจจรงิ ของ
พนกั งาน

ผมหวังวา พนักงานทกุ ทานจะรวมมือรวมใจทำงานกับบรษิ ทั ฯ อยางเต็มท่ี และเราจะรวมกันกา วไปขา ง
หนาอยางมั่นคง

นพดล จริ วราพันธ
กรรมการผจู ัดการใหญ
บริษทั ซูกิชิ อนิ เตอรก รุป จำกัด

1

บทนำ

วิสยั ทศั น

ซกู ชิ ิ ไมใชแคร า นอาหารธรรมดาแตเ ปนรา นอาหาร
ท่ีเนน การสรางความประทับใจใหก บั ลกู คาโดย

มกี ารทำงานเปนทีมและใหบรกิ ารอาหารที่ปลอดภยั แกลูกคา

ปรชั ญา

ซกู ิชิ ตองคัดสรรอาหารทีด่ ีมคี ุณภาพ พรอ มมอบการบรกิ าร
ทป่ี ระทบั ใจ พรอมทง้ั พัฒนาบคุ คลกรและสรา งงานใหกบั คนไทย

คำขวญั เราชาว ซูกชิ ิ
ซูกชิ ริ วมพลัง สรา งสรรคผ ลงาน
สมานสามัคคี ทกุ นาทีสูค วามย่ิงใหญ

ซกู ิชิรวมแรงใจ กาวไกลพฒั นา

2

ประวัตแิ ละความเปน มาของซกู ิชิ
"บริษัท ซกู ชิ ิ อนิ เตอรก รปุ จำกดั "

แบรนดของคนไทย บรหิ ารงานโดยกรรมการบริหารชาวไทย ภายใตช่ือภตั ตาคารอาหาร "ซกู ิชิ"
ซึ่งคำวา "ซกู ิชิ" นน้ั มาจาก สุกี้ และ ซูชิ รวมกันโดยผบู รหิ ารและพนกั งานทกุ คนมีความภาคภูมใิ จ มุงม่ัน
ใหบรกิ ารดา นอาหารเพอื่ ใหล ูกคาไดรับความพอใจสูงสุด จากอาหารท่สี ดสะอาด มีคุณภาพและมีประโยชน
ตอ สขุ ภาพ

ซูกิชิ เปด ตัวครง้ั แรกในประเทศไทย เมอื่ วันที 4 มกราคม 2544 กบั ธุรกจิ รานอาหารญ่ีปุนท่กี ำลงั
เปนที่นยิ ม สำหรับกลมุ คนท่ีรักสุขภาพ ภตั ตาคารซูกชิ ิสาขาแรก ตั้งอยูท ีถ่ นนหองหลอ ซอย 11 ซงึ่ ถือได
วา เปน จดุ กำเนิดของธรุ กิจรา นอาหารแบบสกุ ส้ี ายพาน แหง แรกในประเทศไทยโดยบรรยากาศในรานจะ
เนนที่การตกแตง ทีห่ รหู ราและนำสมัย อปุ กรณภ าชนะทใี่ ช สัง่ นำเขา จากตางประเทศ เพื่อสรา งความ
ปลอดภัยและสะดวกสบายสงู สุด กบั ลกู คา ท่ีมาใชบ รกิ าร

นับจากวันนัน้ ชูกชิ ิ ไดพ ัฒนาท้งั ดานคุณภาพของอาหาร และการบรกิ ารอนั เปนเลิศ พรอ มเปด
ตวั Brand ใหมๆ ในเครือ ซูกิชิ ดังตอ ไปนี้

3

นโยบายการบรหิ ารงานดา นบุคคล

1. บริษทั ฯ จัดใหมีสภาพการจา งและการทำงานทีด่ ี โดยปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน
2. บริษัทฯ สรรหาวา จา งบุคคลเขา ทำงาน โดยพจิ ารณา ความเหมาะสมดานความรู ความ
สามารถ ประสบการณ และความประพฤติ
3. บริษทั ฯ จะเปน ผกู ำหนดอตั ราคา จา งโดยพิจารณาตามคาของงาน ความรู ความสามารถและ
ประสบการณของพนักงานและเปน อัตราที่ไมนอยกวาอตั ราคาจางของธรุ กิจในประเภทเดียวกนั
4. การปรบั เงนิ เดือนประจำปพิจารณาจากผลการปฏบิ ัตงิ าน โดยมีเกณฑก ารวัดที่ยตุ ธิ รรมและจัด
งบประมาณตามผลประกอบการของบรษิ ัทฯ และสภาพการณท างเศรษฐกิจของประเทศ
5. บริษทั ฯ มนี โยบายพัฒนาพนักงานทกุ ระดับ ใหมีความรู ความสามารถ ในการทำงานสูงขน้ึ
โดย จดั การอบรมหลกั สูตรตาง ๆ ใหพนักงาน เปด โอกาสการสอบเล่อื นตำแหนง และใหผ ลตอบแทนตาม
ตำแหนง งานทีส่ ูงขน้ึ
6. บรษิ ัทฯ ยึดหลักความยตุ ธิ รรมในการปกครองบังคบั บัญชา สรา งความสัมพนั ธท ่ดี ีภายใน
องคก รและการใหเ กียรติซงึ่ กันและกัน

โครงสรางระดบั พนักงาน

บรษิ ทั ฯ ไดจ ดั โครงสรา งระดบั พนักงานออกเปน 5 ระดับดงั นี้

Career Level ระดบั การบรหิ าร ผบู รหิ าร

1. Managing Director กรรมการบรหิ าร ประธานกรรมการบรษิ ทั ฯ
2. Director อำนวยการสายงาน
3. Division ผูอำนวยการสายงาน
4. Department ฝาย หรอื เทียบเทา
5. Section แผนก ผูจัดการฝา ย
สวนงาน หรอื เทยี บเทา
ผจู ดั การแผนก
หรือเทียบเทา

หวั หนาแผนก/หวั หนาสวน
หรอื เทยี บเทา

4

วนั เวลาทำงานปกติ เวลาพกั และการบันทกึ เวลาทำงาน

1. นโยบายการจา งงาน

1.1. บริษัทฯ จะสรรหา คดั เลอื ก และบรรจุแตง ต้งั บคุ คลใหต ำรงตำแหนงท่วี า งนั้น โดย
บริษัทฯ ทรงไวซ ่งึ สิทธิและอำนาจในการท่ีจะพจิ ารณา สรรหา คัดเลอื ก และบรรจุแตงตั้งบคุ คลใน
ตำแหนง ตา งๆ ไดตามทีเ่ หน็ สมควรและเหมาะสม

1.2. การจางบุคคลเขา ทำงานตอ งเปนไปตามอตั รากำลังคนทีไ่ ดก ำหนดไวเทานัน้ การเพิม่ หรอื
การลดอตั รากำลงั คนใหเปนไปตามที่ไดรับอนมุ ัติ

1.3. ผทู ไ่ี ดร บั มอบอำนาจโดยการแตง ต้ัง เปนผูมีอำนาจในกาสรรหา
ทดสอบ สมั ภาษณ คัดเลอื กบรรจุ แตง ต้ัง ใหเ ขา ทำงานโยกยา ย เปลีย่ นแปลง
หนาทก่ี ารงาน

1.4. บริษัทฯ ทรงไวซง่ึ สทิ ธจิ ะใหพ นกั งาน
ไปทำงานนอกสถานที่

1.5. บคุ คลทบ่ี ริษทั ฯ พิจารณาจา งเขา ทำงาน
จะตอ งมกี ารตรวจสุขภาพตามหลักเกณฑท ี่บริษัทฯ
กำหนดกอนวนั เร่มิ งาน

1.6. บุคคลทบ่ี รษิ ทั ฯ พจิ ารณาจางเขาทำงานใน
ตำแหนงงานทตี่ อ งคำ้ ประกันการทำงาน จะตอ งทำประกัน
การทำงานตามหลกั เกณฑท ่บี ริษัทฯ กำหนด

1.7. บุคคลท่ีบรษิ ัทฯ พจิ ารณาจา งเขาทำงานจะตอ งมกี ารตรวจ
ประวัติอาชญากรรมจากสำนักงานตำรวจแหงชาติกอนเริ่มงาน
หรือภายใน 30 วันนับแตวนั เร่มิ งาน

5

วันเวลาทำงานปกติ เวลาพกั และการบนั ทึกเวลาทำงาน

2. ประเภทพนกั งาน

เพ่ือประโยชนใ นการบริหารงาน บรษิ ทั ฯ จำแนกประเภทของพนักงานไว 5 ประเภทดงั น้ี
2.1 พนกั งานทดลองงาน คือ พนักงานท่บี รษิ ัทฯ แจง ใหท ราบตามหนังสือสญั ญาจา งแตแรกวาให

ทดลองงานรวมระยะเวลาทดลองงานไมเกิน 119 วนั โดยบรษิ ัทฯ จะประเมินผลการทำงานอยางนอ ย
2 ครัง้ คอื รอบอายงุ านครบ 30 วัน และรอบอายุงานครบ 80 วัน

2.2 พนักงานรายเดือน คือ พนักงานทบ่ี ริษทั ฯ ทำสัญญาจางโดยตกลงจา ยคาจา งเปน รายเดอื น
2.3 พนักงานรายวนั คอื พนักงานทบ่ี รษิ ัทฯ ทำสญั ญาจา ง
โดยตกลงจา ยคา จางเฉพาะวนั ทม่ี าทำงานวันหยดุ ตาม
ประเพณี ตามท่ีบริษทั ฯ กำหนด และวันหยุด วันลาตาม
ทีก่ ฎหมายคมุ ครองแรงงานกำหนด
2.4 พนักงานรายชั่วโมง คือ พนกั งานทบ่ี รษิ ัทฯ ทำ
สญั ญาจา งโดยตกลงจายคาจา งเฉพาะวนั ทีม่ า
ทำงานเปน รายช่ัวโมง รวมวันหยดุ ตาม
ประเพณี ตามท่บี ริษัทฯ กำหนด และวันหยดุ
วันลาตามที่กฎหมายคมุ ครองแรงงานกำหนด
ท้งั นเ้ี วลาในการทำงานตองไมเ กนิ วันละ 6 ช่วั โมง
2.5 พนกั งานตามสญั ญาจางพิเศษ คอื พนักงานที่
บริษทั ฯ ทำสญั ญาเปน หนังสือเพ่ือใหเ ขามาทำงาน

อันมลี กั ษณะเปนครง้ั คราว เปนงานตามโครงการหรอื เปน งานทวั่ ๆ ไป
โดยมีวนั เริ่มตนและวันสิ้นสุดการจาง โดยใหรบั สิทธิประโยชนต ามท่ี
กฎหมายคุมครองแรงงานกำหนด

6

วันเวลาทำงานปกติ เวลาพกั และการบันทกึ เวลาทำงาน

3. วันทำงานและเวลาทำงานปกติ

บรษิ ทั ฯ กำหนดวันทำงาน เวลาทำงานปกติ ไวด งั นี้
สำนักงานใหญ

1. วนั ทำงานปกติ คอื วันจันทร ถึง วนั ศุกร หรอื ตามท่บี ริษทั ฯ กำหนด
2. เวลาทำงานปกติ คือ 08.30 - 18.00 น.หรือตามทบี่ รษิ ัทฯ กำหนด
3. เวลาพัก 1 ชวั่ โมง หรอื ตามท่ีบรษิ ัทฯ กำหนด
4. บนั ทกึ เวลาการทำงานเกนิ กวา ท่บี ริษัทฯ กำหนดถือวา เขาทำงานสาย
5. พนกั งานท่ีเขา ทำงานสายจะถกู ลงโทษตามระเบียบขอ บังคับของบรษิ ทั ฯ
สำนกั งานคลงั สินคา และสาขา
1. วันทำงานปกติ บริษัทฯ กำหนดวนั ทำงานปกตสิ ัปดาหละ 6 วนั
2. เวลาทำงานปกติ บรษิ ทั ฯ กำหนดเวลาทำงานปกติไมเ กนิ 8 ชั่วโมงตอวัน
3. เวลาพัก ไมต่ำกวา 1 ช่วั โมงตอวัน หรอื ตามทีบ่ ริษัทฯ กำหนด
4. บนั ทกึ เวลาการทำงานเกนิ กวาท่บี ริษทั ฯ กำหนดถอื วาเขา ทำงานสาย
5. พนกั งานทเี่ ขา ทำงานสายไมไ ดรับเบยี้ ยยนั และสวัสตกิ ารอนื่ ๆ ตามสดั สวนท่สี ายตาม

เงือ่ นไขท่ีบริษัทฯ กำหนด

MONTH

M T W T F S S

01 02 03 04 05 13 07
14
11 12
28
15 16 17 18 19 20

22 23 25 26 27

29 30 31

7

วันเวลาทำงานปกติ เวลาพัก และการบันทึกเวลาทำงาน

4. วันหยดุ และหลักเกณฑการหยดุ

4.1 วนั หยุดประจำสปั ดาห พนกั งานจะไดรับคาจา งเทา กบั วันทำงานปกติ ยกเวน พนกั งานรายวนั และ
รายชวั่ โมง

1. สำนักงานใหญ 2 วนั ตอ สปั ดาห คอื วนั เสาร และวนั อาทติ ย
2. สำนักงานคลงั สินคา 1 วนั ตอสปั ดาห ตามท่บี ริษัทฯ กำหนด
3. พนกั งานประจำสาขา วันหยดุ ประจำสปั ดาห คือ วันใดวนั หนึง่ ระหวา ง
วนั จนั ทร - วันศกุ รส ัปดาหละ 1 วัน
4.2 วันหยุดตามประเพณี บรษิ ทั ฯ กำหนดใหมวี นั หยดุ ตามประเพณีปห นงึ่ ไมนอ ยกวา 13 วนั
4.3 วนั หยุดพกั ผอนประจำปี (พกั รอน) พนกั งานที่ผานทดลองงานมสี ิทธหิ ยุดพักผอนประจำปโ ดยไดรบั
คา จาง ตามสดั สว นอายงุ าน โดยมหี ลกั เกณฑ และเงอื่ นไขดงั นี้
1. พนกั งานท่ีผานทดลองงาน และมีอายงุ านไมครบ 1 ป สามารถหยุดพกั ผอ นประจำปไดต าม
สัดสว น 2 เดือน ตอ 1 วัน
2. วนั หยดุ พักผอนประจำป ไมสามารถสะสมไปรวมในปถ ัดไปได
3. บริษทั ฯ จะเปน ผกู ำหนดวันหยดุ พักผอ นประจำปใหแกพ นกั งาน พนกั งานท่ีประสงคจะใช
สทิ ธิ์ จะตอ งยื่นขออนุมตั ิการลาโดยผา นระบบอเิ ลค็ ทรอนกิ ท่บี ริษัทฯ กำหนดลว งหนาไมน อ ยวา 3 วนั
ทำงาน และตองไดร ับการอนุมัติจากหวั หนา งานเทานน้ั
4. การหยุดพกั ผอนประจำปแ ตละครงั้ จะตอ งหยุดไมต ำ่ กวา 0.5 วนั (ครง่ึ วัน)
5. สดั สวนการไดสิทธิหยุดพกั ผอ นประจำป ตามอายุงาน

เดือนท่ีเร่ิมงาCน areer Lอeายvงุ าeน l อตั ราสอาวยนุงราวนะนั ด1หปับย ุดกพาักรผบอ นรอปหิายรุงาะารนจำ2ปป (วัน) อายงุ าผน บู3 ปร หิ าร อายุงาน 5 ป
0-1 ป แตไมถึง 2 ป แตไ มถึง 3 ป แตไมถงึ 5 ป ข้ึนไป

ม.ค. –1ก..พM. anaging Di6rector 6 6 9 12

มี.ค. – เม.ย. 5 6 6 9 12

พ.ค. –2ม..ิ ยD. irector 4 6 6 9 12

ก.ค. ––3ตส...คคD.. ivision 3 6 6 9 12
ก.ย. - 8 6 9 12

พ.ย. –4ธ..คD. epartment- 8 6 9 12

8

วันเวลาทำงานปกติ เวลาพัก และการบนั ทึกเวลาทำงาน

5. วันลา และหลักเกณฑก ารลา

- พนักงานที่ประสงคจ ะลาหยดุ งาน จะตองทำการขออนุมตั กิ ารลาผา นระบบออนไลนเปนการ
ลวงหนาตอ ผูบังคับบัญชาตามลำดับชั้น และจะหยุดงานไดก ต็ อเมือ่ หัวหนา งานฝา ยของตนไดอ นมุ ัตแิ ลว
เทาน้นั

- ในกรณที ีม่ ีเหตุสดุ วิสัยทำใหไมสามารถขออนญุ าตลวงหนาไดเ ปน หนาที่ของพนกั งานทจ่ี ะหา
วธิ แี จงใหห ัวหนาฝา ยของตนไดร บั ทราบโดยเร็วทส่ี ดุ แตอ ยา งชา ไมควรเกินกวากำหนดเวลาเขางานตาม
ปกติ และเมือ่ กลบั มาทำงานตามปกตแิ ลว ใหขออนุมตั กิ ารลาผานระบบออนไลนต อ ผูบังคบั บัญชาทันที

- การปฏิบตั ฝิ าฝน ระเบียบการลาหรอื การแจง ความเท็จตอ ผบู งั คับบัญชาเพือ่ ทต่ี นจะไดรับ
อนุญาตใหล าหยุดงานนน้ั ถือเปน ความผดิ ทางวนิ ัย
1. การลากจิ พนักงานสามารถใชสิทธิลากจิ โดยไดรบั คาจางปล ะ 3 วนั ตอป

1.1 พนักงาน ตองย่นื ขอลาลว งหนาอยา งนอย 1 วนั หากเปน กรณีจำเปน ทีไ่ มส ามารถแจง ลวง
หนาได ตอ งแจงใหผ ูบังคับบัญชาหรือฝายบุคคลทราบ ไมวา ดวยวธิ ใี ดภายในวันทีล่ า

1.2 การลากิจตามความจำเปนท่ตี องลา 1-2 ชว่ั โมง ใหบนั ทึกการลาโดยระบุเวลาที่ลา
2. การลาปวย พนักงานมสี ิทธลิ าปว ยไดตามจรงิ ทีก่ ำหนดไวใ นใบรบั รองแพทย และจะไดรบั คา จางจา
กบรษิ ทั ฯ ปละไมเกนิ 30 วัน

2.1 เปนการลากรณเี จ็บปวยจรงิ
2.2 แจงหวั หนา งานกอนเวลาทำงานปกติ
2.3 บนั ทึกขอลาในระบบ ทันทีทกี่ ลับมาทำงาน
2.4 ลาปว ย 3 วนั ข้ึนไปตองแสดงใบรับรองแพทย
2.5 หากพนักงานนอนพักรกั ษาตัวทีโ่ รงพยาบาล บริษทั ฯ จะจัดของเยี่ยมเพื่อเย่ียมไข

9

วันเวลาทำงานปกติ เวลาพัก และการบันทกึ เวลาทำงาน

3. การลาเพือ่ คลอดบุตร พนกั งานหญงิ ท่ตี ้งั ครรภม ีสิทธเิ พอื่ คลอดบตุ รไดครรภห นง่ึ ไมเ กิน 98 วนั โดย
นบั รวมถึงวันลาเพ่อื ตรวจครรภกอนคลอดบตุ รและใหน ับรวมวันหยุดทุกประเภทเขาดวย

3.1 ไดร บั คาจางจากบริษทั ฯ 45 วนั
3.2 ไดรับคา จางจากกองทนุ ประกนั สงั คม 45 วัน (กรณสี ง เงนิ สมทบครบ 7 เดอื น)
3.3 บันทกึ ขอลาในระบบ เพือ่ ขออนมุ ตั ิตอ ผูบงั คบั บัญชาลว งหนา 15 วัน
3.4 กรณีฉุกเฉินใหพ นักงานหรอื ญาติ แจง ตอผบู ังคับบัญชาโดยเร็ว
3.5 บริษทั ฯ จัดของเยย่ี มแสดงความยนิ ดี
4. การลาเพอ่ื ทำหมนั พนักงานมีสิทธิลาเพ่ือทำหมันและตอเน่ืองจากการทำหมนั โดยไดรับคาจางตาม
หนังสือรับรองแพทยก ำหนด
4.1 บนั ทกึ ขอลาในระบบเพื่อขออนุมตั ติ อผบู งั คบั บญั ชาลว งหนา อยา งนอ ย 7 วนั และตองไดรับ
อนุมตั ิ
4.2 แสดงหลกั ฐานใบรับรองแพทยประกอบการลาในวันแรกท่กี ลบั มาทำงาน
5. การลาเพื่อรบั ราชการทหาร พนักงานมีสิทธลิ าเพ่อื รับราชการทหาร เพ่ือเขา รับราชการทหารในการ
เรยี กพลเพ่ือตรวจสอบเพอื่ การฝกวิชาทหาร หรอื เพือ่ ทดสอบความพรอมโดยพนกั งานจะไดรบั คา จางใน
วันทำงานตลอดระยะเวลาท่ลี า ปห น่ึงไมเกิน 60 วนั โดยนบั ตอ เนื่องและรวมทั้งวนั หยดุ ประจำสัปดาห
และวนั หยุดตามประเพณี
5.1 แจง ผูบังคบั บญั ชาทันทที ไ่ี ดร ับหมายเรยี ก
5.2 บันทกึ ขอลาในระบบเพื่อขออนมุ ตั ิลวงหนาอยา งนอย 7 วัน
6. การลาเพือ่ การฝก อบรมและพฒั นาความรู พนกั งานทผ่ี า นทดลองงาน มีสทิ ธลิ าเพือ่ การฝก อบรม
และพฒั นาความรคู วามสามารถ โดยไมไดร ับคาจางในกรณดี ังตอ ไปน้ี
6.1 เพ่ือประโยชนต อ แรงงานและสวัสดิการสงั คมรวมท้งั การฝก อบรมหรือพัฒนาเกย่ี วกับทักษะ
เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการทำงาน
6.2 การสอบวดั ผลทางการศึกษาทท่ี างราชการจดั หรืออนญุ าตใหจ ัดขึ้น
6.3 บันทึกขอลาในระบบเพอ่ื ขออนุมัติตอ ผบู ังคบั บัญชาลวงหนา อยางนอ ย 7 วนั และตอ งไดรบั
อนมุ ัติจากผบู งั คับบัญชา

10

วนั เวลาทำงานปกติ เวลาพกั และการบนั ทกึ เวลาทำงาน

7. การลาเพอื่ การสมรส พนักงานทีม่ ีอายุงานครบ 1 ปขน้ึ ไป มสี ิทธลิ าเพื่อการสมรสได 1 ครั้งตลอด
ระยะเวลาการเปน พนกั งานโดยไดรับคาจา ง ไมเ กนิ 5 วนั โดยนับรวมวันหยุดประจำสัปดาห และวนั หยดุ
ตามประเพณีเขาดว ย

7.1 บนั ทกึ ขอลาในระบบเพือ่ ขออนุมัตติ อผบู ังคับบัญชาลวงหนาอยา งนอ ย 7 วนั และตองไดร ับ
อนมุ ตั ิจากผบู ังคบั บญั ชา

7.2 นำหลักฐานทะเบียนสมรสมาประกอบการลาภายใน 30 วนั นบั แตวันแรกที่กลับมาทำงาน
7.3 ลาได 1 ครัง้ ตลอดระยะเวลาการเปนพนักงาน
8. การลาเพือ่ จัดการพิธศี พ พนักงานสามารถใชส ทิ ธิลาเพื่อจดั การพิธศี พโดยไดรับคาจางไมเกนิ 7 วัน
โดยนับวันหยุดประจำสปั ดาห และวันหยดุ ตามประพณีรวมดวย ในกรณีตอไปน้ี
8.1 บดิ า หรือมารดา ตามกฎหมาย หรือตามสายเลอื ดเสียชีวิต
8.2 คูส มรส หรือบตุ รท่ีถกู ตอ งตามกฎหมายเสียชีวิต
8.3 บนั ทกึ ขอลาในระบบเพื่อขออนุมัตติ อ ผบู ังคบั บญั ชาและแสดงใบมรณะบัตรประกอบการลา
ในวนั แรกที่กลบั มาทำงาน
9. การลาเพื่อการอปุ สมบท
9.1 พนักงานชายมีอายุงานครบ 1 ป และไมเคยอปุ สมบทมากอ น มสี ทิ ธลิ าอุปสมบทโดยไมไ ด
รบั คา จา งไมเ กิน 105 วัน
9.2 บนั ทึกขอลาในระบบเพอ่ื ขออนุมัตติ อผบู งั คับบัญชาลวงหนาอยางนอ ย 30 วนั พรอมแสดง
กำหนดการท่แี นช ดั และตองไดรบั การอนมุ ัติ
9.3 บรษิ ทั ฯ ขอสงวนสทิ ธเิ์ ฉพาะการอุปสมบทในทางพระพุทธศาสนา
10. การลาโดยไมไดร ับอนุมัติ หรอื ไมมีเหตอุ นั สมควร หรอื ไมถกู ระเบยี บ
การลาทีไ่ มไ ดร บั การอนมุ ัติ การหยุดงานโดยไมมเี หตุผลอนั สมควรถอื เปน การละทง้ิ หนา ทแ่ี ละ
ขาดงานพนกั งานจะไมไดรบั คาจา ง และถูกพจิ ารณาลงโทษทางวินัย

11

วันเวลาทำงานปกติ เวลาพัก และการบนั ทกึ เวลาทำงาน

11. การลาออก
พนกั งานทม่ี ีความประสงคจะลาออกจากการเปน พนกั งานของบริษัทฯ ตอ งยืน่ หนงั สือขอลาออก

ลว งหนา 30 วัน หากไมเปน ตามกำหนดถือวาเปนการลาออกไมถ กู ตองตามระเบยี บบริษัทฯ และหากเกดิ
ความเสยี หายเพราะเหตนุ พี้ นักงานจะตองรบั ผิดชอบตอ ความเสยี หายนน้ั
12. การเกษียณอายุ

12.1 พนกั งานครบเกษยี ณอายุเมือ่ อายคุ รบ 60 ปบ ริบรู ณ ณ ปใด
12.2 บรษิ ัทฯ จะใหเ กษียณอายุการทำงาน ณ ปป ฏิทนิ น้นั

12

การทำงานลวงเวลา,การทำงานในวันหยุด,
คาลว งเวลา,ลว งเวลาในวนั หยดุ และรอบการจายคาจาง

1. การทำงานลวงเวลา/คา ลว งเวลา/การทำงานในวันหยุด
ในกรณีที่ลักษณะหรอื สภาพของงานจำเปนตองทำตดิ ตอ กันไป ถา หยดุ จะเสยี หายแกง านหรือ

เปนงานฉกุ เฉนิ โดยจะหยุดเสยี ไมได บริษัทฯ อาจจะใหพนักงานทำงานเกนิ เวลาทำงานปกตหิ รือมา
ทำงานในวันหยุดไดเ พอ่ื ประโยชนแ กก ารบริการ หรือกจิ การ พนักงานจะทำงานลวงเวลา ทำงานในวนั
หยุด หรอื ทำงานลว งเวลาในวันหยดุ ไดต ามท่ีบรษิ ทั ฯ กำหนด โดยไดรบั ความยนิ ยอมจากพนกั งาน

1.1 การทำงานลวงเวลาในวนั ทำงานปกติ บริษทั ฯ จะจายคา ตอบแทน 1.5 เทา
ของคาแรงตอ ชว่ั โมงในวนั ทำงาน

1.2 การทำงานในวนั หยดุ บรษิ ัทฯ จะจายคาตอบแทนการทำงานในวนั หยุดดังน้ี
1.2.1 พนกั งานรายเดอื น ไดค าตอบแทน 1 เทาของเงินเดอื นเฉลีย่ เปน วัน
1.2.2 พนักงานรายวันและรายชั่วโมง ไดค าตอบแทน 2 เทาของคา จา งรายวัน
หรือรายชั่วโมงทีไ่ ดร บั

1.3 การทำงานลวงเวลาในวันหยุด บริษัทฯ จะจายคาตอบแทน 3 เทาของคา แรงตอ ชว่ั โมง
ในวันทำงานการทำงานลว งเวลาน้นั จะตองไดรับการอนุมัติ จากหัวหนา งานพรอ มลง
ลายมอื ชื่อทุกครงั้

2. การจายเงินเดือน รอบการคำนวณจายเงนิ เดอื น
2.1 รอบการคำนวณเงินเดอื น การคำนวนคาลวงเวลา และสวสั ดิการตา งๆ คือเริ่มตน
วันที่ 21 ของเดอื นทผ่ี านมา นับถงึ วันท่ี 20 ของเดือนถดั ไป เชน เงนิ เดือนในเดือน
มนี าคม จะนบั แตว ันที่ 21 กมุ ภาพันธ ถงึ วนั ท่ี 20 มีนาคม และจะไดรบั เงนิ เดอื นใน
วันท่ี 31 มนี าคม
2.2 บรษิ ทั ฯ กำหนดจา ยเงนิ เดอื นพนักงานทกุ วันสดุ ทา ยของเดอื น ไมม กี ารเลอื่ น
แมจ ะตรงกบั วนั เสาร หรอื วนั อาทิตย

13

สวัสดิการพนักงาน

1. สวัสดิการของขวัญวนั เกดิ
1.1 สิทธนิ ี้ไดนบั แตเร่มิ งานวันแรก
1.2 พนกั งานจะไดร ับเปนของขวัญ ณ เดอื นทม่ี ีวันคลา ยวันเกดิ

2. สวัสดิการตรวจสขุ ภาพประจำป
2.1 สทิ ธิน้ไี ดเ มอ่ื ผา นการทดลองงาน
2.2 กำหนดการตรวจประจำปเ ดอื น กันยายน ของทุกป

3. สวัสดกิ ารดา นของเย่ียมไขพ นกั งาน
3.1 สิทธนิ ้ไี ดเ มอ่ื ผา นการทดลองงาน
3.2 สวัสดกิ ารของเยยี่ มไขมลู คาไมเ กนิ 1,000 บาท
3.3 เขา รักษาพยาบาลเปนผูปว ยใน (พักรักษาตัวทโี่ รงพยาบาลเกินกวา 1 วัน)
3.4 พนกั งานหญิงทค่ี ลอดบตุ ร
3.5 พนกั งานชายท่ีภรรยาคลอดบตุ ร (จดทะเบยี นสมรส)

4. สวสั ดิการดานเงินชว ยเหลอื เพอ่ื การสมรส
4.1 สทิ ธินีไ้ ดเม่อื พนกั งานมีอายงุ านครบ 1 ปข้ึนไป
4.2 ตองเปนการสมรสตามกฎหมาย
4.3 ระดับพนักงาน (SECTION) ไดร บั เงินชวยเหลือ 1,000 บาท
4.4 ระดบั ผจู ัดการแผนก (DEPARTMENT) หรือเทียบเทา ไดรับเงนิ ชวยเหลือ 1,500 บาท
4.5 ระดับผูจดั การฝาย (DIVISION) หรือเทียบเทาข้นึ ไป ไดรบั เงินชว ยเหลอื 2,000 บาท
4.6 กรณที ่ีคูสมรสเปน พนกั งานทัง้ คูสามารถไดส ทิ ธิสวสั ดกิ ารประเภทน้ีไดทง้ั สองคน

5. สวสั ดกิ ารเงินชว ยเหลอื กรณปี ระสบภัยพบิ ตั ิ
5.1 สิทธินีไ้ ดเม่อื พนักงานท่ีผา นทดลองงาน
5.2 ไดรับเงนิ ชว ยเหลอื ตามความเปนจริงในวงเงินครัง้ ละไมเ กิน 5,000 บาท
5.3 เกดิ ภัยพบิ ัติ ตอ บา นพักทีอ่ ยอู าศยั ของพนกั งาน หรอื บดิ ามารดา

14

สวัสดกิ ารพนักงาน

6. สวสั ดิการเงินชว ยเหลอื กรณีพนกั งานเสียชีวติ
6.1 สิทธนิ ี้ไดนับแตวันแรกท่ีเริ่มงาน
6.2 บรษิ ัทฯ มอบเงนิ ชวยเหลือแกทายาทของพนักงาน
6.3 พนกั งานทเี่ สียชีวติ จะไดรบั เงินเดอื นในเดอื นสุดทา ยทีท่ ำเตม็ เดือน และไดรับเงนิ ชวยเหลือดงั นี้
6.3.1 อายุงานไมถ ึง 1 ป ไดเ งนิ ชว ยเหลอื 1 เดือน
6.3.2 อายุงาน 1 ป แตไมถ งึ 3 ป ไดเงนิ ชวยเหลือ 3 เดือน
6.3.3 อายุงาน 3 ป แตไมถึง 6 ป ไดเ งินชวยเหลอื 6 เดอื น
6.3.4 อายงุ าน 6 ป แตไ มถ งึ 10 ป ไดเงนิ ชว ยเหลือ 8 เดอื น
6.3.5 อายุงาน 10 ป ขึน้ ไป ไดเงินชว ยเหลอื 10 เดอื น
6.3.6 เงนิ ชว ยเหลือดงั กลาวตามอายงุ านจะตอ งไมเ กนิ 500,000 บาท

7. สวสั ดกิ ารเงินชวยเหลอื ในพิธีศพ
7.1 สทิ ธินี้ไดน บั แตว นั แรกท่ีเรม่ิ งาน
7.2 กรณีพนักงานเสยี ชวี ิต เปนเจา ภาพบำเพญ็ กุศล 5,000 บาท
7.3 กรณสี ามี หรอื ภรรยาท่ีถูกตอ งตามกฎหมายเสยี ชวี ิตเปน เจาภาพบำเพญ็ กุศล 4,000 บาท
7.4 กรณบี ิดา, มารดา หรอื บตุ รเสยี ชีวติ เปน เจา ภาพบำเพญ็ กศุ ล 3,000 บาท
7.5 มอบพวงหรดี แสดงความอาลัยวงเงินไมเ กิน 1,000 บาท

8. สวัสดิการเบยี้ ขยนั
8.1 สทิ ธินี้ไดน ับแตวนั แรกทีเ่ รม่ิ งาน
8.2 ยกเวนพนักงานสังกัดสำนกั งานใหญ
8.3 วันทำงานครบ 22 วนั

9. สวัสดิการคาอาหาร
9.1 สิทธนิ ้ไี ดน ับแตว นั แรกทเ่ี ริ่มงาน
9.2 ยกเวน พนกั งานสังกัดสำนักงานใหญ
9.3 วันทำงานครบ 22 วัน

10. สวสั ดกิ ารสว นลดพเิ ศษสำหรบั พนักงาน
10.1 สิทธนิ ้ไี ดน ับแตว นั แรกท่เี รม่ิ งาน
10.2 ใชสทิ ธิไดใ นรา น หรอื สาขาของบริษทั ฯ

15

สวัสดิการพนกั งาน

11. สวัสดิการกองทนุ ประกันสังคม
กองทุนประกันสงั คม คอื กองทนุ ท่ใี หหลกั ประกนั แกผ ปู ระกันตน ใหไ ดร ับประโยชนทดแทนเมือ่ ตอง

ประสบอันตราย เจบ็ ปว ย ทพุ พลภาพ หรอื ตาย ซง่ึ ไมใชเ นอื่ งจากการทำงาน รวมถึงกรณีคลอดบุตร ชราภาพ
สงเคราะหบ ุตร และวา งงาน โดยบริษทั ฯ หกั เงินจากเงินเดอื นพนกั งานในแตละเดือน และบริษัทฯ จายเงนิ
สมทบเขา กองทนุ ประกันสังคมตามสดั สวนที่กฎหมายกำหนด
สิทธิประโยชนจ ากกองทนุ ประกันสงั คมมี 7 กรณีดงั น้ี

1. กรณีเจบ็ ปว ย หรอื ประสบอนั ตรายไดรับบริการทางการแพทยโดยไมเ สียคา ใชจ า ยและไดร บั เงิน
ทดแทนการขาดรายได (จายเงนิ สมทบครบ 3 เดือน ภายใน 15 เดอื น)

2. กรณีคลอดบุตร ไดร ับคาคลอดบตุ รเหมาจา ย 13,000 บาท ตอ คร้ัง (จายเงนิ สมทบครบ 5 เดือน
ภายใน 15 เดอื นกอ นเดือนคลอดบตุ ร)

3. กรณที ุพพลภาพ ไดร บั คา รกั ษาพยาบาลผูปว ยนอกไมเ กิน 2,000 บาท ตอ เดอื น และผูป ว ยในไม
เกนิ 4,000 บาทตอเดอื น (จายเงินสมทบครบ 3 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน)

4. กรณสี งเคราะหบ ุตร ไดร บั เงนิ สงเคราะหบ ุตรเดือนละ 600 บาท ตอบตุ ร 1 คน ไมเกิน 3คนบตุ ร
อายไุ มเกนิ 6 ป (จายเงินสมทบครบ 12 เดอื น ภายในระยะเวลา 36 เดอื น)

5. กรณีวา งงาน (จา ยเงนิ สมทบครบ 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดอื น)
5.1 กรณวี างงานจากการเลกิ จา ง ไดร ับเงนิ ชดเชย 50% ของเงนิ เดือนไมเ กนิ 180 วัน
5.2 กรณวี างงานจากการลาออก ไดรบั เงนิ ชดเชย 30% ของเงินเดอื นไมเกิน 90 วัน
5.3 กรณีวา งงานดว ยเหตุสดุ วสิ ยั ไดรับเงินชดเชย 50% ของเงินเดอื นไมเ กนิ 180 วนั

6. กรณชี ราภาพ
6.1 ไดร ับเงินบำนาญชราภาพ
1. จา ยเงนิ สมทบไมนอ ยกวา 180 เดอื น
2. มีอายคุ รบ 55 ปบรบิ รู ณ
3. ความเปนผปู ระกนั ตนสนิ้ สุดลง
6.2 ไดรบั เงนิ บำเหนจ็ ชราภาพ
1. จา ยเงนิ สมทบไมค รบ 180 เดือน
2. ความเปนผูประกนั ตนส้นิ สดุ ลง
3. มีอายคุ รบ 55 ปบรบิ ูรณ หรอื เปนผูทพุ พลภาพ หรอื ถึงแกความตาย

7. กรณเี สยี ชวี ิต ไดร บั คา ทำศพ 50,000 บาท (จายเงินสมทบครบ 1 เดือน ภายในระยะเวลา 6 เดอื น)

16

สวัสดกิ ารพนกั งาน

12. สวัสดกิ ารกองทุนเงนิ ทดแทน
12.1 สิทธนิ ีไ้ ดรบั ตั้งแตว ันแรกทเี่ รมิ่ งาน พนักงานท่ีประสบอุบตั เิ หตุ หรอื ไดรบั อันตรายอนั
เนือ่ งจากการทำงาน หรอื ปฏิบตั ิหนาท่ตี ามความรับผิดชอบที่ไดร บั มอบหมาย
12.2 ไดร บั เงินทดแทนตามกฎเกณฑท ี่กำหนดไวใ นกองทนุ เงินทดแทน

13. สวสั ดกิ ารเงินกเู พอ่ื ทอ่ี ยูอาศยั กับธนาคารอาคารสงเคราะห
13.1 สิทธินไ้ี ดเ มื่อพนกั งานมอี ายุงานครบ 1 ป ข้ึนไป
13.2 ไดร บั สิทธพิ ิเศษในการอนุมตั วิ งเงินกู และดอกเบ้ยี ในอตั ราตำ่ พิเศษ
13.3 หกั ชำระเงนิ กูผ า นบัญชีเงนิ เดอื น

14. ปรับเงนิ เดือน และโบนัสประจำปี
14.1 ปรับเงินเดือนประจำป
1.พนกั งานท่ีผา นทดลองงานและเร่มิ งานกอนระยะเวลาในการประเมนิ ประจำป
2.ไดสิทธิประเมินการทำงานเพอื่ พิจารณาปรบั เงนิ เดอื นประจำป
3.การปรบั เงนิ เดือนประจำป มผี ล ณ วนั ท่ี 31 มกราคม
14.2 โบนสั ประจำป
1.พนกั งานทผี่ า นทดลองงานและเรมิ่ งานกอนระยะเวลาในการประเมนิ ประจำป
2.ไดส ิทธิประเมนิ การทำงานเพ่อื พิจารณาจายโบนัสประจำปตามสดั สวนป
3.การจายโบนสั ประจำป มีผล ณ วนั ที่ 30 เมษายน
14.3 อัตราการปรบั เงนิ เดอื นประจำปแ ละการจา ยโบนัส บริษัทฯ จะพิจารณาปตอ ป โดย
พิจารณาจากผลประกอบการของบริษัทฯ ผลงานของพนกั งาน และผลงานของฝา ยท่ี
พนกั งานสังกดั โดยใช Balanced Scorecard KPI และ พฤติกรรมการทำงาน เปน
เกณฑก ารพจิ ารณา

17

นโยบายดา นอืน่ ๆ
1. นโยบายในดา นความปลอดภยั

บริษัท ชูกิชิ อินเตอรกรปุ จำกัด มคี วามหว งใย และตระหนักในความปลอดภยั สุขภาพอนามัย
ของพนกั งาน รวมท้งั ผูท เ่ี ก่ียวขอ งกบั บรษิ ัทฯ ทุกคนเปนสำคญั ดงั น้นั จึงเหน็ สมควรใหม กี ารดำเนนิ การ
และสนับสนนุ การดำเนินงานดา นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน เพอ่ื ลด
ความเสยี งตอ การเกิดอบุ ตั ิเหตุ การเจบ็ ปว ย และการสูญเสยี ท่อี าจจะเกดิ ข้ึน จึงไดก ำหนดนโยบายดา น
ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน ไวด งั น้ี

1. ความปลอดภัยในการทำงานถือเปน หนา ทร่ี บั ผิดชอบของพนักงานทุกคน
2. บริษัทฯ จะสนบั สนนุ สงเสริมใหม ีกิจกรรมดา นความปลอดภยั ตางๆ ท่จี ะชว ยกระตนุ

จติ สำนึกของบคุ ลากรในบรษิ ทั ฯ เชน การอบรม จูงใจ การประชาสมั พันธ การแขงขันดา น
ความปลอดภัย เปนตน
3. บริษทั ฯ จะปฏบิ ัติตามขอกำหนดของกฎหมายที่เกยี่ วของกบั ความปลอดภยั อาชวี อนามยั
และสภาพแวดลอ มในการทำงานอยา งเครง ครดั
4. ผบู ริหาร ผบู งั คบั บัญชาทุกระดับจะตอ งกระทำตนใหเปน แบบอยา งทด่ี ี เปน ผูนำ อบรม
ฝก สอน จูงใจใหผ ใู ตบ ังคับบัญชา และพนกั งานปฏบิ ัติงานดว ยวธิ ีทถ่ี ูกตอ งโดยคำนึงถงึ ความ
ปลอดภัยมาเปนอันดบั แรก
5. พนักงานทกุ คนตอ งคำนงึ ถงึ ความปลอดภัยของตนเอง เพ่อื นรว มงานตลอดจนทรัพยส ิน
ของบริษัทฯ เปน สำคญั ตลอดเวลาท่ีปฏบิ ตั งิ าน
6. พนกั งานทุกคนตองดแู ลความสะอาด และความเปนระเบียบเรียบรอ ยในพ้ืนทที่ ี่ปฏิบตั ิงาน
7. พนักงานทกุ คนตอ งปฏิบัติตามขอ บงั คับและคมู ือวาดว ยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดลอ มในการทำงานโดยเครง ครดั และมสี ิทธเิ สนอความคิดเห็นในการปรับปรุง
สภาพการทำงาน และวิธีการทำงานใหป ลอดภยั
8. บรษิ ทั ฯ จะจดั ใหมกี ารทบทวน ตดิ ตาม และประเมินผลการปฏบิ ตั ติ ามนโยบายดา นความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานเปน เพอ่ื นำมาประกอบการ
วางแผนและปรบั ปรุงอยางตอ เน่อื งย่งั ยนื

18

นโยบายดานอื่น ๆ
2. นโยบายการตอ ตานการทจุ รติ คอรรัปชั่น

บริษัท ซกู ชิ ิ อินเตอรก รุป จำกดั ดำเนนิ ธุรกิจภายใตการกำกับดแู ลกิจการ โดยยึดหลกั
บรรษทั ภิบาล และจรรยาบรรณทางธรุ กิจทีม่ คี วามรับผิดชอบตอ ลกู คา สงั คม คคู า และผูม ีสวนไดสวน
เสียทกุ ภาคสว น โดยใชก ลยุทธในการแขง ขนั ทางธรุ กิจอยางเปนธรรมตัวคุณภาพดีท่ีสดุ ของผลติ ภณั ฑ
วัตถุดิบ และการบริการท่ีดีทสี่ ุด นอกจากนบ้ี รษิ ัทฯ ยังมีความมงุ ม่นั ในการตอตา นการทจุ ริตคอรรปั ชน่ั ใน
ทุกรูปแบบ และกำหนดใหก รรมการบรษิ ัทฯ ผูบ ริหาร พนกั งานทุกคนตลอดจนผทู เี่ กยี่ วของกบั การ
ดำเนนิ ธรุ กิจของบรษิ ทั ฯ ปฏิบัติตามนโยบายการตอ ตา นการทุจริตคอรร ัปช่ันนอี้ ยา งเครง ครัด เพือ่ เปน
แนวทางการปฏิบัตทิ ี่ชดั เจนในการดำเนนิ ธรุ กจิ เพือ่ พัฒนาสอู งคก รแหง ความม่นั คง และยง่ั ยืน และให
ถือวานโยบายตอตานการทจุ รติ และคอรรัปชั่นฉบบั น้ี เปน สว นหน่ึงของ
“ระเบียบขอ บังคบั การทำงาน” ของ บริษทั ฯ

ทง้ั น้ีบรษิ ทั ฯ ไดม กี ารสอ่ื สาร ประชาสมั พันธ เพือ่ สรา งความรูความเขาใจใหก ับผูทเ่ี กี่ยวของ ไม
ใหม ีการเรยี กรับ หรือยนิ ยอมจะรับเงนิ ส่งิ ของ หรอื ผลประโยชนใดๆ จากผทู ี่เก่ยี วของทางธรุ กจิ กับ
บริษัทฯ รวมทง้ั ไมด ำเนนิ การ หรอื กระทำการใดๆทีเ่ ขา ขา ยดังกลาว และไมเ รยี กรอง ดำเนนิ การ หรือ
ยอมรับสินบน เพื่อประโยชนท้ังตอ บริษัทฯ ตอ ตนเองหรอื พนักงาน ซึง่ กำหนดไวในจรรยาบรรณธรุ กจิ
ของบริษทั ฯ และไดย ึดถอื ปฏบิ ัตมิ าโดยตลอดดงั น้ี

1. บริษทั ฯ จะดำเนนิ ธรุ กิจและการแขงขนั ดว ยกลยุทธท ชี่ อบธรรม บนพ้ืนฐานในความ
ชดั เจน สามารถ ตรวจสอบได พรอ มทง้ั สรา งความนา เชื่อถอื นำไปสูก ารเปน บริษทั ฯ
ทมี่ ีธรรมาภบิ าลสงู มจี รรยาบรรณในการประกอบธุรกจิ และมีความชดั เจนโปรง ใสในทกุ
ข้นั ตอนการปฏบิ ัติงาน

2. กรรมการบรษิ ทั ฯ ผบู รหิ าร และพนกั งาน จะไมมกี ารเรยี กรบั หรอื ยินยอมทจี่ ะรับเงนิ
สิ่งของหรือประโยชนอืน่ ใดจากผูเ กยี่ วขอ งทางธรุ กจิ กับบรษิ ทั ฯ ท่อี าจมีผลตอการตัดสินใจ
ทางธรุ กิจของพนกั งานในนามบริษทั ฯ หากพนกั งานไดร บั ของขวญั ในโอกาสตามประเพณี
นิยมจากผูเกย่ี วของทางธุรกจิ กับบรทิ ษั ฯ ใหนำสง ขึน้ ทะเบียนท่สี วนกลาง และหากของขวัญ
น้นั มีมลู คาเกินปกตวิ ิสัยใหร ายงานผูบงั คบั บญั ชากอ นรับ และนำสงขน้ึ ทะเบียนทส่ี ว นกลาง

3. บรษิ ทั ฯ จะไมใ หข องขวญั หรอื ของกำนลั ทม่ี คี าทั้งทางตรง และทางออมแกเ จาหนาทข่ี องรฐั
เพ่ือเออื้ ประโยนตอการดำเนินธุรกจิ เวน แตเ ปนการมอบใหตามเทศกาลประเพณนี ิยม เชน
เดียวกับการมอบของขวญั หรือของกำนัลท่มี คี าใหแกล กู คา หรือคคู าของบริษทั ฯ

19

นโยบายดานอืน่ ๆ

4. พนกั งานจะตองไมเปด เผยขอมูลของบริษัทฯ ที่ยังมไิ ดมกี ารเปด เผยตอ สาธารณะ ยกเวน
เปน ไปตามกฎหมาย หรอื ไดรบั การอนมุ ัติจากผูบรหิ ารระดบั สงู การรกั ษาความลับของ
ขอมลู น้ี รวมถึงขอ มูลของลูกคา ผลิตภณั ฑ สตู รการผลติ แผนงาน กลยทุ ธ วธิ กี าร
ดำเนนิ การและระบบงานภายใน โดยนำไปใชใ นทางท่กี อใหเกิดผลประโยชนส วนตน

ท้งั น้ี หากไมปฏิบัติตามนโยบายนี้ จะตอ งไดร บั โทษทางวนิ ยั ในขณะเดียวกนั บรษิ ัทฯ ไมมี
นโยบายทจ่ี ะใหผลทางลบตอ พนกั งานทีป่ ฏิเสธการทุจริตคอรร ัปชั่น แมวาการกระทำน้นั จะทำให
บริษัทฯ ตอ งสูญเสยี โอกาสทางธุรกจิ ก็ตาม

บรษิ ัทฯ ไดก ำหนดชอ งทางการแจงเบาะแส หรือขอ รอ งเรียนมายงั กรรมการตรวจสอบของ
บริษัทฯ โดยกรรมการบริษทั ฯ ไดมอบหมายใหแผนกแรงงานสัมพนั ธ ฝายบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย เปน
ผพู จิ ารณารับเรื่องแจงเบาะแส ขอรองเรียนการกระทำทอี่ าจทำใหเ กดิ ความสงสยั ไดว า เปน การทุจริตและ
คอรร ัปช่นั ท่เี กดิ ข้ึนกบั บรษิ ัทฯ โดยทง้ั ทางตรงหรอื ทางออม

3. นโยบายดา นการประหยดั พลังงาน และการใชท รัพยากรในองคกรอยางประหยดั

บรษิ ัท ชูกิชิ อินเตอรก รุป จำกัด ไดใ หค วามสำคัญของการประหยัดพลังงานและการใช
ทรพั ยากรภายในองคกร เชนอปุ กรณก ารทำงานตา งๆ อยางประหยัด จึงไดกำหนดมาตรการการ
ประหยดั พลังงานและการใชพลงั งานอยางคุมคาท่สี ุด ในทกุ หนว ยงานและทุกสาขา การประหยัด
พลงั งาน ดงั นี้

1. การประหยดั พลงั งานตนแสงสวาง โดยใชหลอดไฟแบบประหยัด ปดไฟบางจดุ ทีไ่ มจ ำเปน
ตองเปด ไฟสำนกั งานชวงพักกลางวัน และการจดั สำนักงานโดยใชแสงธรรมชาตมิ ากท่สี ดุ

2. การประหยดั พลังงานในระบบแอร โดยหมัน่ ทำความสะอาดอุปกรณใ นระบบแอรล ด
จำนวนชว่ั โมงการเปดแอร เชน เปดซา ลงในตอนเชา ปดเร็วข้ึนในตอนเลกิ งานโดยไมให
กระทบตอการทำงานหรอื การบริการลกู คา

3. การประหยดั พลงั งานในการใชเ ครอ่ื งคอมพิวเตอร โดยใชคอมพวิ เตอรระบบประหยัด
พลงั งานและ ขอความรวมมอื พนกั งานสำนกั งานปดจอภาพ ถาไมใ ชง านนานเกนิ กวา
10 นาที

4. การประหยดั พลังงานทสี่ าขา
4.1การตรวจสอบบำรงุ รักษาอปุ กรณเครอ่ื งใชภ ายในรา นใหอ ยใู นสภาพดี และใชอ ยาง

ประหยดั พลงั งาน

20

นโยบายดา นอ่นื ๆ

4.2 ปด เตาทอดบางเตาชว งลูกคา นอย หรอื ไมไ ดใช
4.3 ลดเวลาการ Warm เตา หรือ อุปกรณต า งๆ จากเดิม Warm ลว งหนา ตามความเหมาะสม
4.4 เปด แอรใ นตอนเชาเทา ท่ีจำเปน บางจดุ ทีไ่ มจ ำเปนอาจเปดแอรภายหลังและปด แอรบางโซน

ชว งใกลปดราน โดยดคู วามเหมาะสมไมใหกระทบตอลูกคา
5. การใชอ ุปกรณก ารทำงานตางๆ อยางประหยัด เชน การใชก ระดาษ ซองจดหมายอปุ กรณเ ครื่อง

เขยี นอยางคมุ คา รวมถึง การใชโทรศัพท การใชน้ำ ฯลฯ ดวยจิตสำนึกรับผิดชอบตอสวนรวม
6. บรษิ ทั ฯ ตดิ ตามผลการดำเนนิ การ โดยตรวจสอบตัวเลขคาใชจ า ย คา กระแสไฟฟาและ คาใชจาย

ตา ง ๆ ทกุ เดือน และเปรยี บเทยี บกบั คาใชจ ายระยะเวลาเดยี วกนั ของปท ่ผี า นมา
ทง้ั นี้ บริษัทฯ ขอความรวมมอื พนักงานทกุ ระดบั ใหเ ห็นความสำคญั และความจำเปน ของการประหยดั
พลังงานและการใชอ ปุ กรณต า งๆ โดยขอใหถ ือเปน แนวปฏิบตั ทิ ส่ี ำคัญตลอดเวลาทพ่ี นักงานอยูใ นทีท่ ำงาน การ
มีจติ สำนึกเหน็ ความสำคญั และความรสู กึ รับผดิ ชอบตอการเปนสวนหนึง่ ของบรษิ ัทฯ จะทำใหโครงการประหยัด
พลงั งานและประหยัดการใชอุปกรณตางๆ ของบรษิ ทั ฯ สมั ฤทธ์ิผล

4. ระเบยี บวินยั

วินัยของพนักงานตามท่รี ะบุไวใ นขอ บงั คบั ในการทำงาน พนักงานทกุ คนมีหนา ท่ีตอ งปฏิบตั ติ าม
อยา งเครงครดั ถา พนักงานผใู ดไมปฏบิ ตั ิ หรอื ละเวนการปฏิบตั ิใดๆ อนั ถอื วาเปน การฝาฝนวนิ ัยในขอ
บังคับดงั กลา วจะตองถกู พจิ ารณาลงโทษทางวินัยตามลกั ษณะแหง ความผิด หรอื ความหนักเบาของการก
ระทำผิด หรอื ความรายแรงเกิดขึน้ การลงโทษทางวนิ ัยจะเปน ไปตามขอหนึ่งขอ ใด หรอื หลายขอรวมกัน
ก็ไดตามบทลงโทษทางวินยั บริษทั ฯ กำหนดบทลงโทษทางวนิ ยั ไว 5 ประการดงั น้ี

1. ตักเตอื นดว ยวาจา (บนั ทึกเปนหนังสือ)
2. ตกั เตอื นเปน ลายลกั อักษร (หนงั สอื เตือน)
3. พักงานโดยไมจ า ยคาจา งเปนระยะเวลาไมเกนิ 7 วัน
4. ตัดโบนสั หรืองดขน้ึ เงนิ เดอื น
5. เลกิ จา ง, ใหอ อก หรอื ไลอ อกโดยไมจ า ยคา ชดเชย

21

เอกสารคูมอื พนกั งานนี้ รวบรวม

ขอมลู ตา งๆ เพ่อื ใหพนกั งานมีความรคู วามเขา ใจเกย่ี ว
กบั บรษิ ทั ฯ และผลประโยชนตา ง ๆ ท่ีเกยี่ วกับ
พนักงาน ท้ังน้ี การดำเนนิ การ จะตองปฏิบัติตามราย
ละเอียดในขอบังคับ เกี่ยวกบั การทำงานของ บริษัท
ซกู ิชิ อินเตอรกรุป จำกดั รวมถึงหากมขี อ ความใดขัด
แยง ใหย ดึ รายละเอียดตามขอความในขอบงั คับการ
เก่ยี วกับการทำงานฯ หากพนักงานมีขอ สงสยั เกยี่ วกบั
คูมือพนกั งานน้ี สามารถสอบถามได ทีฝ่ ายบรหิ าร
ทรพั ยากรมนษุ ย

สแกน QR Code
เพือ่ ดูคมู ือพนกั งาน ในรปู แบบ E-Book

22


Click to View FlipBook Version