The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน ชีวิตกับสังคมไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by narin_99991121, 2021-04-08 04:53:24

แผนการสอน ชีวิตกับสังคมไทย

แผนการสอน ชีวิตกับสังคมไทย

แผนการจดั การเรียนรู้
รหัส 3000-1501 วชิ า ชีวติ กบั สังคมไทย

ครูผ้สู อน
นายพงษ์นรินทร์ ไชยนาม

ตรงตามมาตรฐานสมรรถนะและคาอธิบายรายวชิ า
หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง พุทธศักราช 2557

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ

รหัส 3000-1501 ชีวิตกับสังคมไทย 3-0-3
(Thai Life and Society)

จดุ ประสงค์รายวชิ า เพอ่ื ให้
1. มีความรูค้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั สงั คม ศลิ ปวฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย หลกั ธรรมาภบิ าล
ใน องค์กร ห ลักธรรม ใน การพัฒ น างาน พัฒ น าคน แล ะสังคม สัน ติวัฒ น ธรรม
และความร่วมมือกบั ประเทศตา่ ง ๆ ในสงั คมโลก
2. วเิ คราะห์และประเมินสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสงั คมและวฒั นธรรมไทย
โดยประยกุ ตใ์ ชศ้ าสนธรรมในการพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คม การใชห้ ลกั สนั ติวธิ ี
ในสงั คมไทยและการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข
3. ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเพอ่ื การประกอบอาชีพและการดาเนินชีวติ
4. ตระหนกั ในการเป็นพลเมืองดีในสงั คมประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
เห็นคุณคา่ ของศิลปวฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั สังคม ศิลปวฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย หลธั รรมาภิบาล หลกั ธรรม
ในการพฒั นางาน คนและสังคม สันติวฒั นธรรม ความร่วมมือกบั ประเทศต่าง ๆ และหลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การเปล่ียนแปลงของสังคมและวฒั นธรรมไทยกบั สงั คม
โลกบนพ้นื ฐานของศาสนธรรม
3. ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในอาชีพและการดาเนินชีวติ
4. ปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมืองดีในสงั คมระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
5. สืบสานศลิ ปวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาและมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาเก่ียวกับสังคม การจัดระเบียบทางสังคม ศิลปวัฒ นธรรมและภูมิ ปั ญ ญ าไทย

หลักธรรมาภิบาลในองคก์ ร หลักธรรมเพ่ือพฒั นางาน พฒั นาคนและสังคม สันติวฒั นธรรม ความเป็ น
พลเมืองดี ความร่วมมือกับประเทศต่าง ๆ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการประยุกต์ใช้
ในการดารงชีวติ

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1
ช่ือวิชา : ชีวิตกบั สังคมไทย (3000-1501) สัปดาห์ที่ 1-3
ชื่อหน่วย : สังคมและการจัดระเบียบทางสังคม เวลา 9 ช่ัวโมง

สาระสาคญั
สงั คมเป็ นส่ิงท่ใี ชเ้ รียกพฤติกรรมการอยรู่ วมกนั เป็ นกลุ่มตามธรรมชาติของมนุษย์ มนุษยไ์ ม่สามารถ

เรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ ไดโ้ ดยสญั ชาตญาณ แต่ตอ้ งอาศยั การฝึกฝนเรียนรู้จากผูม้ ีความรู้ ประสบการณ์มาก่อนและ
มีการถ่ายทอดส่งต่อเป็ นกระบวนการอยา่ งต่อเนื่องตลอดชว่ั อายขุ องชีวติ เพื่อให้สมาชิกใหม่สามารถเรียนรู้
และอยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข และสืบเน่ืองจากมนุษยอ์ ยูร่ วมกันเป็ นสังคมจึงจาเป็ นต้องมีการจดั
ระเบียบปฏิบตั ขิ องสมาชิกใหเ้ ป็นไปในแนวทางเดียวกนั เครื่องมือในการจดั ระเบียบและขดั เกลาทางสงั คม
ไดแ้ ก่ บรรทดั ฐาน ค่านิยม ความเช่ือ สถานภาพ บทบาท และการควบคุมทางสังคม โดยมีตวั แทนท่ีทา
หน้าที่ขัดเกลาถ่ายทอดระเบียบทางสังคม ได้แก่ ครอบครัว โรงเรียน ศาสนา กลุ่มเพ่ือน เป็ นต้น
จุดมุ่งหมายสาคญั เพอ่ื จดั ระเบียบการปฏิบตั ิของคนในสังคมให้เป็ นไปในแนวทางเดียวกนั ส่งผลให้เกิดมี
ความเรียบร้อยและความเจริญกา้ วหนา้ ของสงั คมอยา่ งต่อเนื่อง

สาระการเรียนรู้
1. ความรูท้ วั่ ไปเก่ียวกบั สงั คม
2. ความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั การขดั เกลาทางสงั คม
3. ความรูท้ ว่ั ไปเกี่ยวกบั การจดั ระเบียบทางสงั คม
4. ประโยชนแ์ ละความสาคญั ของการขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสงั คม

สมรรถนะประจาหน่วย
แสดงความรู้เกี่ยวกบั การขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสังคมผ่านทักษะการพูด เขียนอธิบาย

นาเสนอ วเิ คราะห์ มีเจคติทด่ี ีตอ่ ประโยชนแ์ ละความสาคญั ของการขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสงั คม

สมรรถนะการเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกบั ความรู้ทวั่ ไปและการจดั ระเบยี บทางสงั คมแตล่ ะประเภทได้
2. อธิบายเกี่ยวกบั หนา้ ท่แี ละบทบาทการขดั เกลาทางสงั คมได้
3. อธิบายความหมายของเคร่ืองมือในการขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสงั คมได้
4. วเิ คราะห์ความสาคญั และประโยชนข์ องการขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสงั คมได้

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
พุทธิพิสัย
1. อธิบายเกี่ยวกบั ความรูท้ วั่ ไปของการขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสงั คมแต่ละประเภท
ได้
2. อธิบายเกี่ยวกบั หนา้ ที่ และบทบาทของกลุ่มตวั แทนของการขดั เกลา และการจดั ระเบียบ
ทางสงั คมได้
3. อธิบายความหมายของเครื่องมือในการขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสงั คมได้
4. วเิ คราะหป์ ัจจยั ที่ส่งผลตอ่ การขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสงั คมได้
5. วเิ คราะห์ความสาคญั และประโยชนข์ องการขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสงั คมได้

ทกั ษะพสิ ัย
-

จติ พิสัย
มีคุณลกั ษณะตามแนวหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

จดุ ประสงค์ทว่ั ไป
มีความรู้เก่ียวกบั การขัดเกลาการจดั ระเบียบทางสังคมและประยุกต์ใช้เพ่ือการดาเนิน

ชีวติ ประจาวนั ในสงั คม

กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน

1. ผสู้ อนและผเู้รียน ตกลงร่วมกนั เก่ียวกบั กระบวนการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา
2. ผูส้ อนช้ีแจงเรื่องการเรียนรู้รายวิชา ชีวิตกับสังคมไทย (3000-1501)โดยวางแนวทาง

การเรียนรู้ไว้ 2แนวทาง คือ การเรียนรู้ด้วยตนเองก่อนเข้าช้ันเรียนและ การเรียนรู้ปกติ
ในช้นั เรียน
3. ผเู้รียนและผูส้ อนร่วมกันสนทนา เรื่อง การขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสังคม โดย
ผสู้ อนเน้นย้าเรื่อง การนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นกระบวนการเรียนรู้ เช่น
ตระหนั กถึ งคุ ณ ค่ าใน การเรี ยน รู้ ท างานที่ ได้รั บมอบ หมายเสร็ จเรี ยบร้ อยสมบู รณ์
ความพอประมาณในการใชก้ ระดาษในการตอบ มีการวางแผนการในการทางาน ร่วมมือ

ช่วยเหลือเพ่อื นเอ้ือเฟ้ื อเผอื่ แผซ่ ่ึงกนั และกนั ในหมู่เพื่อนฝงู และขอใหใ้ ชแ้ นวหลกั ปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนรู้ตลอดท้งั ภาคเรียนและในรายวิชาอ่ืนๆ
4. ผูส้ อนช้ีแจงผูเ้ รียนถึงวตั ถุประสงค์ของการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และวิธีการ
ทาแบบทดสอบ ผู้สอน ให้ผู้เรี ยน ท าแบ บท ดสอบก่อน เรี ยน โดยให้เวลา
ทาประมาณ 10 นาที
5. ผสู้ อนเฉลยแบบทดสอบ/ใหผ้ เู้ รียนสลบั กนั ตรวจ/และช่วยกนั รวมคะแนน
6. ผูส้ อนแจง้ คะแนนการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และทาความเขา้ ใจกบั ผูเ้ รียนว่า
ผลการทดสอบเพอ่ื เป็นการวดั ความรู้พน้ื ฐานเทา่ น้นั ไม่มีผลตอ่ การวดั ผลคะแนนรวม
7. ผสู้ อนเร่ิมนาเขา้ สู่กิจกรรมการเรียนการสอนตามวตั ถุประสงค์

หมายเหตุ ก่อนสอนข้นั นาเขา้ สู่บทเรียนผสู้ อนตอ้ งเตรียมสื่อตามที่ระบุในกิจกรรมการเรียน
การสอน

ข้ันกิจกรรมการเรียนการสอนตามวัตถุประสงค์

วัตถปุ ระสงค์ มีความรู้เกี่ยวกบั การขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสงั คมและประยกุ ตใ์ ช้

เพอ่ื การดาเนินชีวติ ประจาวนั ในสงั คม

1. ผูส้ อนฉาย Clip vdo เรื่องการขัดเกลาและการจดั ระเบียบทางสังคม (10 นาที)
ใหผ้ เู้ รียนดู เมื่อจบแลว้ ผสู้ อนถามความรู้สึกของผเู้ รียนเป็นอยา่ งไรบา้ ง

2. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนแต่ละคน แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการขดั เกลาและการจดั
ระเบียบทางสังคม กลุ่มตวั แทนของการขัดเกลาและการจดั ระเบียบทางสังคม
เคร่ืองมือในการขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสงั คม ปัจจยั ทสี่ ่งผลตอ่ การขดั เกลา
และการจัดระเบียบทางสังคม ตามที่กาหนดให้ และอธิบายประโยชน์และ
ความสาคญั ของการขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสงั คม โดยที่ผสู้ อนเป็ นคนต้งั
ประเดน็ คาถาม เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมในการคิด วเิ คราะห์

3. ผสู้ อนพูดเสริมใหเ้ ห็นความสาคญั ของการขดั เกลา และการจดั ระเบียบทางสังคม
ตามที่กาหนดให้ อธิบายเกี่ยวกับความสาคญั และประโยชน์ของความสาคัญ
ของการขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสงั คม

4. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนแบง่ กลุ่มตามความสมคั รใจ (จานวนสมาชิกประมาณ 5-7 คน) เพ่อื
ใช้ใน กิ จก รรม ก ารเรี ยน ก ารสอ น ต ล อ ด ห น่ วยก ารเรี ยน รู ้แล ะ ให้เขี ยน ช่ื อ ก ลุ่ ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่มลงในใบงาน

5. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาขอ้ มูลไดจ้ าก หนงั สือ และ Internet ตามหวั ขอ้

ทก่ี าหนดให้ คือ

1. ความรูท้ วั่ ไปเกี่ยวกบั การขดั เกลาทางสงั คม
2. ความรูท้ วั่ ไปเกี่ยวกบั การจดั ระเบียบทางสงั คม
3. กลุ่มตวั แทนของการขดั เกลาและจดั ระเบยี บทางสงั คม

4. เคร่ืองมือในการขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสงั คม

5. ปัจจยั ทีส่ ่งผลต่อการขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสงั คม

6. ประโยชน์และความสาคญั ของการขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสงั คม

6. ผูส้ อนให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสรุปความรู้ท่ัวไปในการขัดเกลาทางสังคม การจดั
ระเบียบทางสังคม กลุ่มตวั แทนของการขดั เกลาและจดั ระเบียบทางสงั คมเคร่ืองมือ

ในการขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสงั คม ปัจจยั ท่สี ่งผลตอ่ การขดั เกลาและการจดั

ระเบียบทางสงั คม ประโยชน์และความสาคญั ของการขดั เกลาและการจดั ระเบียบ

ทางสงั คม โดยการเขยี นในรูปแบบ Mind Mapping ในแต่ละหวั ขอ้

7. ในขณะที่ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความรู้ ผสู้ อนก็เดินให้คาปรึกษาตามกลุ่ม
ตา่ งๆ ตามที่ผูเ้ รียนสงสัย และคอยสังเกตการณ์การทางานของแต่ละกลุ่ม ทาบนั ทึก
ผลการทางานเป็นกลุ่มของผเู้ รียน

8. ตวั แทนกลุ่มแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงาน หรืออภิปราย อยา่ งน้อยกลุ่มละ 2
คน

9. หลงั จากตวั แทนของแต่ละกลุ่มนาเสนอจบ ก็เปิ ดโอกาสให้สมาชิกต่างกลุ่มถาม
ปัญหา หรือขอ้ สงสยั ได้

10. เม่ือส้ินสุดการระดมความคิด ผเู้ รียนกบั ผสู้ อนร่วมกนั สรุปความคิดเห็นที่ไดร้ ับใน
แต่ละกลุ่ม ผูส้ อนบอกจุดดี จุดเด่น ของแต่ละกลุ่มในการนาเสนอขอ้ มูล ผูส้ อน
ให้กาลังใจ กลุ่มท่ีนาเสนอข้อมูลได้ดี (ควรหาจุดดีของทุกๆ กลุ่ม แล้วชมเชย
ใหก้ าลงั ใจ เพอื่ เป็นการเสริมแรงในการนาเสนอคร้งั ต่อไป)

11. ผเู้ รียนแต่ละกลุ่มส่ง Mind Mapping ในแต่ละหวั ขอ้ ผูส้ อนตรวจ ประเมินผล และ
รายงานผล

ข้ันสรุป

1. ผสู้ อนและผเู้ รียนช่วยกนั สรุปองคค์ วามรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั การขดั เกลาทางสงั คม ความรู้
ทว่ั ไปเกี่ยวกบั การจดั ระเบยี บทางสงั คม กลุ่มตวั แทนของการขดั เกลาและจดั ระเบียบ
ทางสงั คมเครื่องมือในการขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสงั คม ปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อการ

ขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสงั คมประโยชน์และความสาคญั ของการขดั เกลาและ
การจดั ระเบยี บทางสงั คม
2. ผสู้ อนจดั ใหผ้ ูเ้ รียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ นาคะแนนท่ีไดไ้ ปเปรียบเทียบกบั
คร้ังแรก วา่ ผา่ นเกณฑห์ รือไม่ ชมเชยคนที่ผา่ นเกณฑ์ ใหก้ าลงั ใจคนทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑ์
3. ผสู้ อนฝากให้ผเู้ รียนไปศึกษาใน เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกบั การขดั เกลาและการจดั ระเบียบ
ทางสงั คม ต่อไป

ข้นั วดั ผลและประเมินผลตามวัตถปุ ระสงค์
1. ผสู้ อนช้ีแจงผูเ้ รียนเกี่ยวกบั วธิ ีการวดั ผลและประเมินผล
2. วดั ผลประเมินผลตามวตั ถุประสงค์

สื่อการเรียนรู้

ประเภทส่ือส่ิงพิมพ์
1. หนงั สือเรียนวิชา ชีวติ กบั สงั คมไทย
2. แบบทดสอบ
3. งานมอบหมาย
4. แบบประเมิน/แบบสงั เกต

ประเภทสื่อเทคโนโลยี
1. วดี ิทศั น์ เรื่องการขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสงั คม
2. PowerPoint/โปรเจก็ เตอร์
3. แผน่ ใส/OverHead

ประเภทสื่อแหล่งการเรียนรู้
1. หอ้ งปฏิบตั ิการทางศาสนา (ลานธรรม)
2. วดั (กิจกรรมชวนลูกศษิ ยเ์ ขา้ วดั ใกลบ้ า้ น)

การวัดผลและประเมินผล
วดั ผลโดยวิธีการ (วดั ความรู้ ทกั ษะ จิตพสิ ัย)
1. ตรวจคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน/ช้ินงาน
.............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………..………
……………………………………………………………………………...……………..

2. สงั เกต/ทดสอบความสามารถ/ทกั ษะจากการปฏบิ ตั ิงาน/การใชท้ กั ษะตา่ งๆ

................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

3. สมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤตกิ รรมเชิงคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์
ของผเู้ รียน
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

ประเมินผลสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียนจาก

1. เกณฑค์ ะแนน/คา่ คะแนนเฉลี่ยคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน
/ช้ินงาน

2. เกณฑค์ ะแนน/ค่าคะแนนเฉลี่ยคุณภาพจากการสงั เกต/ทดสอบความสามารถ/
ทกั ษะจากการปฏิบตั งิ าน/การใชท้ กั ษะตา่ งๆ

3. เกณฑค์ ะแนน/คา่ คะแนนเฉล่ียคุณภาพจากการสมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤตกิ รรมเชิง
คุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมทีพ่ งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
..........................................................................................................................................

หลักฐานการเรียนรู้และกิจกรรมเสนอแนะ

หลกั ฐานการเรียนรู้ (หลกั ฐานร่องรอย/ผลงาน/แบบฝึกหดั /รายงาน/วสั ดุ) ท่แี สดงใหเ้ ห็นถึงความ
พยายามในการพฒั นาการเรียนรู้แก่ผเู้ รียน

1. ช้ินงาน Mind Mapping
2. แบบฝึกหดั

กิจกรรมเสนอแนะ (ขอ้ เสนอแนะของผสู้ อน/ผจู้ ดั ทาแผนการเรียนรู)้

1. จดั นิทรรศการในหวั ขอ้ เก่ียวกบั การขดั เกลาและการจดั ระเบยี บทางสงั คม
2. จดั อภิปรายโตว้ าทีเกี่ยวกบั การขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสงั คม
3. ใหผ้ ูเ้ รียนรวบรวมแนวคดิ การขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสงั คม ท่ีผูเ้ รียนสนใจ

จากเวบ็ ไซตท์ ีเ่ ก่ียวขอ้ ง เพอ่ื ใชพ้ ฒั นาองคค์ วามรู้ใหก้ วา้ งขวางยงิ่ ข้ึน
4. จดั ทาป้ายนิเทศ หลงั ช้นั เรียนเก่ียวกบั การขดั เกลาและการจดั ระเบียบทางสงั คมตา่ ง ๆ

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 2
ชื่อวิชา : ชีวิตกบั สังคมไทย (3000-1501) สัปดาห์ที่ 4
ชื่อหน่วย : ประวัติสังคมและศิลปวฒั นธรรมไทย เวลา 3 ช่ัวโมง

สาระสาคญั
ธรรมชาติของมนุษยอ์ ยรู่ วมกนั เป็ นสังคมเพอื่ รักษาและพฒั นาการเป็ นอยขู่ องสมาชิกใหด้ ารงอยไู่ ด้

อยา่ งมีความสุข การอยรู่ วมเป็ นกลุ่มส่งผลใหเ้ กิดปฏิสมั พนั ธท์ างสงั คมและร่วมกนั ประดิษฐค์ ิดคน้ เคร่ืองมือ
และวธิ ีการตา่ ง ๆ เพอื่ สร้างความเจริญแก่สมาชิกท้งั ดา้ นกายภาพและดา้ นจิตใจ เคร่ืองมือและวธิ ีการดงั กล่าว
จดั เป็ น “ศิลปวฒั นธรรม” ศิลปวฒั นธรรมไทยแสดงให้เห็นถึงความเจริญก้าวหน้าท้งั ดา้ นกายภาพและ
เอกลกั ษณ์การดาเนินชีวิตที่โดดเด่นดา้ นต่าง ๆ มากมาย สงั คมและศลิ ปวฒั นธรรมยอ่ มเปล่ียนแปลงไปตาม
ยคุ สมยั นบั แต่สุโขทยั อยธุ ยา ธนบุรีและรัตนโกสินทร์ การเปล่ียนแปลงดงั กล่าวเป็ นไปท้งั ดา้ นการพฒั นา
และส่วนที่ทาลายความเป็ นเอกลกั ษณ์ของสงั คมไทย ซ่ึงส่วนที่เป็ นปัญหาคงเป็ นหนา้ ที่ขององคก์ รภาครัฐ
เอกชนท่ีเก่ียวขอ้ งและท่ีสาคญั สูงสุดคือคนไทย ทุกคนตอ้ งร่วมมือกนั แกป้ ัญหาเพ่ือรักษา “เอกลกั ษณ์ของ
ความเป็นชาตไิ ทยใหค้ งอยตู่ อ่ ไป”

สาระการเรียนรู้
5. ความรูท้ วั่ ไปเก่ียวกบั สงั คมและศลิ ปวฒั นธรรมไทย
6. พฒั นาการของสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทย
7. การเปลี่ยนแปลงทางสงั คมและศลิ ปวฒั นธรรมไทย
8. แนวโนม้ การเปลี่ยนแปลงดา้ นสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทยสู่สงั คมโลกในปัจจบุ นั
9. แนวทางการอนุรักษว์ ถิ ีชีวติ สงั คมและศลิ ปวฒั นธรรมไทย
10.ประโยชน์และความสาคญั ของศิลปวฒั นธรรมไทยต่อสงั คมไทย

สมรรถนะประจาหน่วย

แสดงความรู้เก่ียวกับประวตั ิสังคมและศิลปวฒั นธรรมไทย ผ่านกระบวนการฝึ กทกั ษะ
อภิปราย เขียนอธิบาย วิเคราะห์สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมและวฒั นธรรมไทยมีเจตคติที่ดี
ตอ่ สงั คมและคุณคา่ ของศิลปวฒั นธรรมไทยโดยแสดงออกถึงการอนุรักษศ์ ิลปวฒั นธรรมไทย

สมรรถนะการเรียนรู้
1. อธิบายเก่ียวกบั สาระสาคญั ทว่ั ไปของสงั คมและวฒั นธรรมไทยได้
2. อธิบายพฒั นาการของสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทยแตล่ ะยคุ สมยั ได้
3. วเิ คราะหส์ ภาพความเปล่ียนแปลงทางสงั คมและศลิ ปวฒั นธรรมไทยได้
4. วเิ คราะหแ์ นวโนม้ การเปล่ียนแปลงดา้ นสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทยสู่สงั คมโลก
ในอนาคตได้
5. บอกประโยชนแ์ ละความสาคญั ของศลิ ปวฒั นธรรมไทยต่อสงั คมไทยตามท่ีกาหนดได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
พทุ ธิพิสัย
1. อธิบายเกี่ยวกบั สาระสาคญั ทวั่ ไปของสงั คมและวฒั นธรรมไทยได้
2. อธิบายพฒั นาการของสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทยแต่ละยคุ สมยั ได้
3. วเิ คราะหส์ ภาพความเปลี่ยนแปลงทางสงั คมและศลิ ปวฒั นธรรมไทยได้
4. วเิ คราะหแ์ นวโนม้ การเปล่ียนแปลงดา้ นสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทยสู่สงั คมโลกใน
อนาคตได้
5. บอกประโยชนแ์ ละความสาคญั ของศลิ ปวฒั นธรรมไทยตอ่ สงั คมไทยตามทกี่ าหนดได้
ทกั ษะพสิ ัย
-
จิตพิสัย
มีคุณลกั ษณะตามแนวหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

จดุ ประสงค์ทวั่ ไป
มีความรู้เก่ียวกบั ประวตั ิสังคมและศิลปะวฒั นธรรมไทยและประยกุ ตใ์ ช้เพื่อการดาเนิน

ชีวติ ประจาวนั ในสงั คม

เนื้อหาการเรียนรู้

ความรู้ทว่ั ไปเกย่ี วกบั สังคมและศิลปวฒั นธรรมไทย

ความหมายของสังคมและศิลปวฒั นธรรมไทย

1. ความหมายของสงั คมไทย
2. ลกั ษณะทวั่ ไปของสงั คมไทย
3. ประเภทของสงั คมไทย
4. ความหมายของศลิ ปวฒั นธรรมไทย
5. ลกั ษณะทวั่ ไปของศลิ ปวฒั นธรรมไทย
6. ประเภทของศิลปวฒั นธรรมไทย
พฒั นาการของสังคมและศิลปวฒั นธรรมไทย
พฒั นาการของสงั คมไทย
1. พฒั นาการสงั คมไทยสมยั สุโขทยั
2. พฒั นาการสงั คมไทยสมยั อยธุ ยา
3. พฒั นาการสงั คมไทยสมยั รตั นโกสินทร์
4. พฒั นาการสงั คมไทยยคุ สมยั ใหม่
5. พฒั นาการสงั คมไทยยคุ ประชาธิปไตย
พฒั นาการของศิลปวัฒนธรรมไทย
1. ศิลปวฒั นธรรมไทยสมยั สุโขทยั
2. ศลิ ปวฒั นธรรมไทยสมยั อยธุ ยา
การเปล่ยี นแปลงทางสังคมและศิลปวฒั นธรรมไทย
1. ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสงั คมและศลิ ปวฒั นธรรมไทย
2. ปัจจยั ทสี่ ่งผลตอ่ การเปล่ียนแปลงของสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทย
แนวโน้มการเปลย่ี นแปลงด้านสังคมและศิลปวฒั นธรรมไทยสู่สังคมโลกในอนาคต
1. ดา้ นสงั คมไทย
2. ดา้ นศิลปวฒั นธรรมไทย
- แนวทางการอนุรกั ษว์ ถิ ีชีวติ สงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทย
- ประโยชนแ์ ละความสาคญั ของศิลปวฒั นธรรมไทยตอ่ สงั คมไทย

กิจกรรมการเรียนรู้
ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน
1. ผสู้ อนและผเู้รียน ตกลงร่วมกนั เกี่ยวกบั กระบวนการเรียนการสอน ตลอดภาคการศกึ ษา

2. ผูส้ อนช้ีแจงเร่ืองการเรียนรู้รายวิชา ชีวิตกับสังคมไทย (3000-1501)โดยวางแนวทาง
การเรียนรู้ไว้ 2 แนวทางคือ การเรียนรู้ดว้ ยตนเองก่อนเขา้ ช้ันเรียนและการเรียนรู้ปกติในช้ัน
เรียน

3. ผูเ้รียนและผูส้ อนร่วมกนั สนทนา เรื่อง ชีวิตกับสังคมไทย โดยผูส้ อนเน้นย้าเร่ืองการนา
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในกระบวนการเรียนรู้ เช่น ตระหนักถึงคุณค่าใน
การเรียนรู้ ทางานที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ ความพอประมาณในการใช้
กระดาษในการตอบ มีการวางแผนการในการทางาน ร่วมมือ ช่วยเหลือเพอ่ื นเอ้ือเฟ้ื อเผอ่ื แผ่
ซ่ึงกนั และกนั ในหมู่เพอื่ นฝูง และขอให้ใชแ้ นวหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนรู้
ตลอดท้งั ภาคเรียนและในรายวชิ าอื่นๆ

4. ผูส้ อนช้ีแจงผูเ้ รียนถึงวตั ถุประสงคข์ องการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และวิธีการทา
แบบทดสอบผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดยใหเ้ วลาทาประมาณ 10 นาที

5. ผสู้ อนเฉลยแบบทดสอบ/ใหผ้ เู้ รียนสลบั กนั ตรวจ/และช่วยกนั รวมคะแนน
6. ผูส้ อนแจง้ คะแนนการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และทาความเข้าใจกับผูเ้ รียนว่า

ผลการทดสอบเป็ นการวดั ความรูพ้ ้นื ฐานเทา่ น้นั ไม่มีผลต่อการวดั ผลคะแนนรวม
7. ผสู้ อนเริ่มนาเขา้ สู่กิจกรรมการเรียนการสอนตามวตั ถุประสงค์

หมายเหตุ ก่อนสอนข้นั นาเขา้ สู่บทเรียนผสู้ อนตอ้ งเตรียมส่ือตามทรี่ ะบใุ นกิจกรรมการเรียนการสอน

ข้ันกิจกรรมการเรียนการสอนตามวตั ถปุ ระสงค์

วตั ถุประสงค์ อธิบายความหมายเกี่ยวกบั ประวตั สิ งั คมและศิลปวฒั นธรรมไทยและ

ประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื การดาเนินชีวติ ประจาวนั ในสงั คม

1. ผสู้ อนฉาย Clip vdo เร่ืองประวตั ิสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทย (13 นาท)ี

ใหผ้ เู้ รียนดู เม่ือจบแลว้ ผสู้ อนถามความรูส้ ึกของผเู้ รียนเป็ นอยา่ งไรบา้ ง

2. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนแต่ละคนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความหมาย ลักษณะทว่ั ไป
ประเภทของประวตั ิสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทยตามท่ีกาหนดให้ อธิบายเกี่ยวกบั

ความสาคญั และประโยชน์ของประวตั ิสังคมและศิลปวฒั นธรรมไทย โดยท่ีผสู้ อน

เป็ นคนต้งั ประเดน็ คาถาม เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมในการคิดวเิ คราะห์

3. ผสู้ อนพูดเสริมให้เห็นความสาคญั ของประวตั ิสังคมและศิลปวฒั นธรรมไทยตาม

ท่ีกาหนดให้ อธิบายเก่ียวกับความสาคญั และประโยชน์ของประวตั ิสังคมและ

ศลิ ปวฒั นธรรมไทย

4. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนแบง่ กลุ่มตามความสมคั รใจ (จานวนสมาชิกประมาณ 5-7 คน) เพอื่
ใชใ้ นกิจกรรมการเรียนการสอนตลอดหน่วยการเรียนรูแ้ ละให้เขยี นช่ือกลุ่ม รายชื่อ
สมาชิกกลุ่มลงในใบงาน

5. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนแตล่ ะกลุ่มไปศึกษาขอ้ มลู ไดจ้ าก หนงั สือ และ Internet ตามหวั ขอ้
ที่กาหนดใหค้ ือ
1. ความรูท้ วั่ ไปเก่ียวกบั สงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทย
2. พฒั นาการของสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทย
3. การเปล่ียนแปลงทางสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทย
4. แนวโนม้ การเปลี่ยนแปลงดา้ นสงั คมและศลิ ปวฒั นธรรมไทยสู่สงั คมโลกใน
อนาคต
5. แนวทางการอนุรักษว์ ถิ ีชีวติ สงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทย
6. ประโยชน์และความสาคญั ของศิลปวฒั นธรรมไทยต่อสงั คมไทย

6. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนแตล่ ะกลุ่มสรุปความหมาย ของประวตั สิ งั คมและศิลปวฒั นธรรม
ไทย พฒั นาการของสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทย การเปล่ียนแปลงทางสงั คมและ
ศลิ ปวฒั นธรรมไทย เพอื่ การปฏิบตั ิในชีวติ ประจาวนั พรอ้ มท้งั ประโยชนแ์ ละ
ความสาคญั ของศิลปวฒั นธรรมไทยตอ่ สงั คมไทย โดยการเขียนในรูปแบบ Mind
Mapping ในแต่ละหวั ขอ้

7. ในขณะทผี่ เู้ รียนแตล่ ะกลุ่มช่วยกนั ระดมความรู้ ผสู้ อนก็เดินใหค้ าปรึกษาตามกลุ่ม
ตา่ งๆ ตามทีผ่ เู้ รียนสงสยั และคอยสงั เกตการณ์ทางานของแต่ละกลมุ่ ทาบนั ทกึ ผล
การทางานเป็นกลุ่มของผเู้ รียน

8. ตวั แทนกลุ่มแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงาน หรืออภิปราย อยา่ งนอ้ ยกลุ่ม
ละ 2 คน

9. หลงั จากตวั แทนของแตล่ ะกลุ่มนาเสนอจบ ก็เปิ ดโอกาสใหส้ มาชิกต่างกลุ่มถาม
ปัญหา หรือขอ้ สงสยั ได้

10. เมื่อส้ินสุดการระดมความคิด ผเู้ รียนกบั ผูส้ อนร่วมกนั สรุปความคิดเห็นที่ไดร้ ับใน
แต่ละกลุ่ม ผูส้ อนบอกจุดดี จุดเด่น ของแต่ละกลุ่มในการนาเสนอขอ้ มูลผูส้ อนให้
กาลงั ใจ กลุ่มทน่ี าเสนอขอ้ มูลไดด้ ี (ควรหาจดุ ดีของทุกๆ กลุ่ม แลว้ ชมเชย ใหก้ าลงั ใจ
เพอ่ื เป็นการเสริมแรงในการนาเสนอคร้งั ตอ่ ไป)

11. ผเู้ รียนแต่ละกลุ่มส่ง Mind Mapping ในแต่ละหวั ขอ้ ผสู้ อนตรวจ ประเมินผล และ
รายงานผล

ข้นั สรุป

1. ผูส้ อนและผูเ้ รียนช่วยกันสรุปองค์ความรู้เรื่องความหมาย ของประวตั ิสังคมและ
ศลิ ปวฒั นธรรมไทย พฒั นาการของสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทย การเปล่ียนแปลง
ทางสังคมและศิลปวฒั นธรรมไทย เพ่ือการปฏิบัติในชีวิตประจาวัน พร้อม
ท้งั ประโยชน์และความสาคญั ของศิลปวฒั นธรรมไทยตอ่ สงั คมไทย

2. ผสู้ อนจดั ใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ นาคะแนนที่ไดไ้ ปเปรียบเทียบกบั
คร้งั แรก วา่ ผา่ นเกณฑห์ รือไม่ ชมเชยคนทีผ่ า่ นเกณฑ์ ใหก้ าลงั ใจคนทไี่ ม่ผา่ นเกณฑ์

3. ผสู้ อนฝากใหผ้ เู้ รียนไปศกึ ษาใน เวบ็ ไซต์ ท่ีเกี่ยวกบั ประวตั แิ ละศลิ ปวฒั นธรรมไทย
ตอ่ ไป

ข้นั วดั ผลและประเมนิ ผลตามวัตถปุ ระสงค์
1. ผสู้ อนช้ีแจงผูเ้ รียนเกี่ยวกบั วธิ ีการวดั ผลประเมินผล
2. วดั ผลประเมินผลตามวตั ถุประสงค์

ส่ือการเรียนรู้

ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์

1. หนงั สือเรียนวิชา ชีวติ กบั สงั คมไทย
2. แบบทดสอบ
3. งานมอบหมาย
4. แบบประเมิน/แบบสงั เกต
ประเภทส่ือเทคโนโลยี

1. วดี ิทศั น์ เร่ืองทกั ษะชีวติ และสงั คม
2. PowerPoint/โปรเจก็ เตอร์
3. แผน่ ใส/OverHead

ประเภทสื่อแหล่งการเรียนรู้

3. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางศาสนา (ลานธรรม)
4. วดั (กิจกรรมชวนลูกศษิ ยเ์ ขา้ วดั ใกลบ้ า้ น)

การวัดผลและประเมินผล
วดั ผลโดยวิธีการ (วดั ความรู้ ทกั ษะ จิตพสิ ยั )

4. ตรวจคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน/ชิ้นงาน
.............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………..………
……………………………………………………………………………...……………..

5. สงั เกต/ทดสอบความสามารถ/ทกั ษะจากการปฏบิ ตั งิ าน/การใชท้ กั ษะต่างๆ
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

6. สมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤตกิ รรมเชิงคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์
ของผเู้ รียน
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

ประเมินผลสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียนจาก

4. เกณฑค์ ะแนน/คา่ คะแนนเฉล่ียคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน
/ช้ินงาน

5. เกณฑค์ ะแนน/คา่ คะแนนเฉล่ียคุณภาพจากการสงั เกต/ทดสอบความสามารถ/
ทกั ษะจากการปฏบิ ตั งิ าน/การใชท้ กั ษะตา่ งๆ

6. เกณฑค์ ะแนน/ค่าคะแนนเฉลี่ยคุณภาพจากการสมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤติกรรมเชิง
คุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมทีพ่ งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
..........................................................................................................................................

หลักฐานการเรียนรู้และกจิ กรรมเสนอแนะ

หลกั ฐานการเรียนรู้ (หลกั ฐานร่องรอย/ผลงาน/แบบฝึกหดั /รายงาน/วสั ดุ) ทแ่ี สดงใหเ้ ห็นถึงความ
พยายามในการพฒั นาการเรียนรูแ้ ก่ผเู้ รียน

3. ช้ินงาน Mind Mapping
4. แบบฝึกหดั
กจิ กรรมเสนอแนะ (ขอ้ เสนอแนะของผสู้ อน/ผจู้ ดั ทาแผนการเรียนรู้)

1. จดั นิทรรศการในหวั ขอ้ เกี่ยวกบั ประวตั สิ งั คมและศลิ ปวฒั นธรรมไทย
2. จดั อภปิ ราย โตว้ าทเี กี่ยวกบั ประวตั ิสงั คมและศิลปวฒั นธรรมไทย
3. ใหผ้ ูเ้ รียนรวบรวมแนวคิด เก่ียวกบั ประวตั ิสงั คมและศลิ ปวฒั นธรรมไทย ท่ีผเู้ รียนสนใจ

จากเวบ็ ไซตท์ เี่ ก่ียวขอ้ ง เพอื่ ใชพ้ ฒั นาองคค์ วามรูใ้ หก้ วา้ งขวางยง่ิ ข้นึ
4. จดั ทาป้ายนิเทศ หลงั ช้นั เรียนเกี่ยวกบั ประวตั ิสงั คมและศลิ ปวฒั นธรรมไทยตา่ ง ๆ

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยท่ี 3
ชื่อวชิ า : ชีวิตกบั สังคมไทย (3000-1501) สัปดาห์ที่ 5-6
ชื่อหน่วย : ภูมปิ ัญญาไทย เวลา 6 ชั่วโมง

สาระสาคญั
ภูมิปัญญาไทย เป็ นมรดกทางสติปัญญาความคิดอนั ชาญฉลาดลุ่มลึกในการสัง่ สมประสบการณ์

ดา้ นอาชีพตลอดจนถึงการใช้เครื่องมือรูปแบบต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการดาเนินชีวติ ของคนในแต่ละรุ่นให้
ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ภูมิปัญญาไทยแม้ไม่เป็ นวิทยาศาสตร์เสียท้ังหมดแต่ก็มีลกั ษณะเด่น
ท่ีสามารถใช้เป็ นเครื่องมือในการแกป้ ัญหาและพฒั นาคุณภาพชีวิตของผูค้ นในแต่ละยคุ สมัยให้ดาเนินไป
อยา่ งราบร่ืนสอดคลอ้ งกบั การเปล่ียนแปลงของสงั คมไดอ้ ยา่ งลงตวั การอนุรักษภ์ ูมิปัญญาไทยถือเป็ นหนา้ ท่ี
ของคนไทยทุกคนเพราะภมู ิปัญญาไทยเป็น “มรดกของสงั คมไทย”

สาระการเรียนรู้
11.ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั ภมู ิปัญญาไทย
12.ประเภทของภมู ิปัญญาไทย
13.การส่งเสริมพฒั นาสืบทอดภมู ิปัญญาไทย
14.แหล่งการเรียนรูแ้ ละอนุรักษภ์ ูมิปัญญาไทย
15.ความสาคญั และประโยชน์ของภูมิปัญญาไทย

สมรรถนะประจาหน่วย
แสดงความรู้เก่ียวกับหลักภูมิปัญญาไทย เสนอแนวทางการพฒั นาและปฏิบตั ิ อนุรักษ์

ภูมิปัญญาไทยผ่านทกั ษะการปฏิบตั ิโดยการบอก เขียนอธิบาย นาเสนออภิปราย และแสดงเจตคติเชิงบวก
ตอ่ ประโยชนแ์ ละความสาคญั ของภมู ิปัญญาไทย

สมรรถนะการเรียนรู้
1. อธิบายเก่ียวกบั ความรู้ทว่ั ไปของภูมิปัญญาไทยตามท่ีกาหนดได้
2. อธิบายเกี่ยวกบั ภมู ิปัญญาไทยแตล่ ะประเภทได้
3. วเิ คราะห์แนวทางการพฒั นาสืบทอดภูมิปัญญาไทยได้
4. อธิบายแหล่งการเรียนรู้ และอนุรกั ษภ์ มู ิปัญญาไทยได้
5. วเิ คราะหค์ วามสาคญั และประโยชน์ของภมู ิปัญญาไทยตามท่กี าหนดได้

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
พทุ ธิพิสัย
1. อธิบายเก่ียวกบั ความรูท้ วั่ ไปของภมู ิปัญญาไทยตามทีก่ าหนดได้
2. อธิบายเกี่ยวกบั ภูมิปัญญาไทยแตล่ ะประเภทได้
3. วเิ คราะห์แนวทางการพฒั นาสืบทอดภมู ิปัญญาไทยได้
4. วเิ คราะห์ความสาคญั และประโยชนข์ องภูมิปัญญาไทยตามทก่ี าหนดได้
ทกั ษะพิสัย
-
จิตพสิ ัย
มีคุณลกั ษณะตามแนวหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

จุดประสงค์ทว่ั ไป
มีความรูเ้ ก่ียวกบั ภูมิปัญญาไทยและประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื่ การดาเนินชีวติ ประจาวนั ในสงั คม

เนื้อหาการเรียนรู้

ความรู้ทัว่ ไปเกยี่ วกบั ภมู ปิ ัญญาไทย

1. ความหมายของภมู ิปัญญาไทย
2. ลกั ษณะของภูมิปัญญาไทย
ประเภทของภูมปิ ัญญาไทย

1. ประเภทของภมู ิปัญญาไทยทแ่ี บ่งตามสาขาอาชีพ

2. ประเภทของภูมิปัญญาไทยทแ่ี บ่งตามความจาเป็ นในการดารงชีพ
การส่งเสริมพฒั นาสืบทอดภูมปิ ัญญาไทย

1. องคก์ รพฒั นาเอกชนหรือเอน็ จีโอ (Non-Government Organization-NGO)
2. ผนู้ าทางศาสนาและพระภกิ ษุนกั พฒั นา
3. ปราชญช์ าวบา้ น
4. ผนู้ าชุมชนหรือแกนนาชุมชน
5. ผนู้ าทางราชการ
6. ปัญญาชนทอ้ งถ่ิน
7. นกั วชิ าการ
8. การกาหนดนโยบายภาครฐั
แหล่งการเรียนรู้และอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
แนวทางการอนุรักษ์ภูมปิ ัญญาไทย
1. ส่งเสริมปัญญาชนทอ้ งถิ่นหรือปราชญช์ าวบา้ น
2. สรรหารวบรวมบคุ คลผทู้ รงภมู ิปัญญาไทยในแต่ละสาขา
3. การรวบรวมขอ้ มูลภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นไทย
4. การส่งเสริมการเผยแพร่
5. ส่งเสริมการคน้ ควา้ วจิ ยั
6. ส่งเสริมการถ่ายทอดภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ สู่เยาวชน
7. จดั ทาเป็นหลกั สูตรการศกึ ษา
8. ประสานความร่วมมือองคก์ รภาครัฐเอกชน
9. การสนบั สนุนของภาครฐั
10. สนบั สนุนใหม้ ีการคุม้ ครองทรัพยส์ ินทางปัญญา
ความสาคญั และประโยชน์ของภูมิปัญญาไทย
1. ความสาคญั ของภมู ิปัญญาไทย
2. ประโยชนข์ องภูมิปัญญาไทย

กิจกรรมการเรียนรู้
ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน
1. ผสู้ อนและผเู้รียน ตกลงร่วมกนั เกี่ยวกบั กระบวนการเรียนการสอน ตลอดภาคการศกึ ษา

2. ผสู้ อนช้ีแจงเรื่องการเรียนรู้รายวิชา ชีวิตกับสังคมไทย (3000-1501)โดยวางแนวทางการ
เรียนรูไ้ ว้ 2 แนวทาง คอื การเรียนรู้ดว้ ยตนเองก่อนเขา้ ช้นั เรียนและ การเรียนรูป้ กติในช้นั เรียน

3. ผเู้รียนและผูส้ อนร่วมกนั สนทนา เร่ือง ภูมิปัญญาไทย โดยผสู้ อนเน้นย้าเรื่อง การนาหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นกระบวนการเรียนรู้ เช่น ตระหนักถึงคุณค่าในการเรียนรู้
ทางานที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ ความพอประมาณในการใชก้ ระดาษใน
การตอบ มีการวางแผนการในการทางาน ร่วมมือ ช่วยเหลือเพ่อื นเอ้ือเฟ้ื อเผื่อแผซ่ ่ึงกนั และ
กนั ในหมู่เพ่ือนฝูง และขอให้ใช้แนวหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งในการเรียนรู้ตลอดท้งั
ภาคเรียนและในรายวิชาอ่ืนๆ

4. ผูส้ อนช้ีแจงผูเ้ รียนถึงวตั ถุประสงค์ของการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และวิธีการ
ทาแบบทดสอบ ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดยให้เวลาทาประมาณ
10 นาที

5. ผสู้ อนเฉลยแบบทดสอบ/ใหผ้ เู้ รียนสลบั กนั ตรวจ/และช่วยกนั รวมคะแนน
6. ผสู้ อนแจง้ คะแนนการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และทาความเขา้ ใจกบั ผูเ้ รียนวา่ ผลการ

ทดสอบเพอื่ เป็ นการวดั ความรูพ้ น้ื ฐานเท่าน้นั ไม่มีผลตอ่ การวดั ผลคะแนนรวม
7. ผสู้ อนเร่ิมนาเขา้ สู่กิจกรรมการเรียนการสอนตามวตั ถุประสงค์
หมายเหตุ ก่อนสอนข้นั นาเขา้ สู่บทเรียนผสู้ อนตอ้ งเตรียมสื่อตามทีร่ ะบใุ นกิจกรรมการเรียน

การสอน
ข้ันกิจกรรมการเรียนการสอนตามวตั ถุประสงค์

วัตถุประสงค์ อธิบายความหมาย เก่ียวกบั ภูมิปัญญาไทยและประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื่ การดาเนิน

ชีวติ ประจาวนั ในสงั คม

1. ผสู้ อนฉาย Clip vdo เร่ืองภูมิปัญญาไทย (15 นาที) ให้ผูเ้ รียนดู เมื่อจบแล้วผสู้ อนถาม

ความรู้สึกของผเู้ รียนเป็นอยา่ งไรบา้ ง

2. ผูส้ อนให้ผเู้ รียนแต่ละคน แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั ภูมิปัญญา

ไทย ประเภทของภูมิปัญญาไทย การส่งเสริมพฒั นาสืบทอดภูมิปัญญาไทย แหล่งการ

เรียนรูแ้ ละอนุรกั ษภ์ ูมิปัญญาไทยตามท่ีกาหนดให้ และอธิบายเกี่ยวกบั ความสาคญั และ

ประโยชน์ของภูมิปัญญาไทย โดยท่ีผูส้ อนเป็ นคนต้งั ประเด็นคาถาม เพ่ือให้ผูเ้ รียน

มีส่วนร่วมในการคิดวเิ คราะห์

3. ผสู้ อนพดู เสริมให้เห็นความสาคญั ของภูมิปัญญาไทยตามท่ีกาหนดให้ อธิบายเก่ียวกับ

ความสาคญั และประโยชนข์ องภมู ิปัญญาไทย

4. ผสู้ อนให้ผูเ้ รียนแบ่งกลุ่มตามความสมคั รใจ (จานวนสมาชิกประมาณ 5-7 คน) เพ่ือใช้
ในกิจกรรมการเรียนการสอนตลอดหน่วยการเรียนรู้ และใหเ้ ขยี นช่ือกลุ่ม รายชื่อสมาชิก
กลุ่มลงในใบงาน

5. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาขอ้ มูลได้จาก หนังสือ และ Internet ตามหัวขอ้ ที่
กาหนดใหค้ ือ
1. ความรูท้ วั่ ไปเกี่ยวกบั ภูมิปัญญาไทย
2. ประเภทของภูมิปัญญาไทย
3. การส่งเสริมพฒั นาสืบทอดภมู ิปัญญาไทย
4. แหล่งการเรียนรู้และอนุรักษภ์ ูมิปัญญาไทย
5. ความสาคญั และประโยชน์ของภมู ิปัญญาไทย

6. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มสรุปเก่ียวกับภูมิปัญญาไทย ประเภทของภูมิปัญญาไทย
การส่งเสริมพฒั นาสืบทอดภูมิปัญญาไทย แหล่งการเรียนรู้และอนุรักษภ์ ูมิปัญญาไทย
ตามท่ีกาหนดให้ และอธิบายเก่ียวกับความสาคญั และประโยชน์ของภูมิปัญญาไทย
โดยการเขยี นในรูปแบบ Mind Mapping ในแต่ละหวั ขอ้

7. ในขณะที่ผเู้ รียนแตล่ ะกลุ่มช่วยกนั ระดมความรู้ ผูส้ อนกเ็ ดินให้คาปรึกษาตามกลุ่มตา่ งๆ
ตามที่ผเู้ รียนสงสยั และคอยสงั เกตการณ์การทางานของแต่ละกลุ่ม ทาบนั ทึกผล
การทางานเป็นกลุ่มของผเู้ รียน

8. ตวั แทนกลุ่มแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลงาน หรืออภปิ ราย อยา่ งนอ้ ยกลุ่มละ 2 คน
9. หลงั จากตวั แทนของแต่ละกลุ่มนาเสนอจบ ก็เปิ ดโอกาสใหส้ มาชิกต่างกลุ่มถามปัญหา

หรือขอ้ สงสยั ได้
10. เม่ือสิ้นสุดการระดมความคิด ผเู้ รียนกบั ผูส้ อนร่วมกนั สรุปความคิดเห็นที่ไดร้ ับในแต่

ละกลุ่ม ผสู้ อนบอกจดุ ดี จุดเด่นของแต่ละกลุ่มในการนาเสนอขอ้ มูล ผสู้ อนใหก้ าลงั ใจ
กลุ่มที่นาเสนอขอ้ มูลไดด้ ี (ควรหาจุดดีของทุกๆ กลุ่ม แลว้ ชมเชย ให้กาลงั ใจ เพอื่ เป็ น
การเสริมแรงในการนาเสนอคร้ังต่อไป)
11. ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มส่ง Mind Mapping ในแต่ละหัวข้อ ผูส้ อนตรวจ ประเมินผล และ
รายงานผล
ข้นั สรุป

1. ผูส้ อนและผูเ้ รียนช่วยกันสรุปความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย ประเภทของภูมิ
ปัญญาไทย การส่งเสริมพฒั นาสืบทอดภูมิปัญญาไทย แหล่งการเรียนรู้และอนุรักษ์
ภูมิปัญญาไทย ตามที่กาหนดให้ และอธิบายเกี่ยวกบั ความสาคญั และประโยชน์ของ
ภมู ิปัญญาไทย

2. ผสู้ อนจดั ใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ นาคะแนนท่ีไดไ้ ปเปรียบเทยี บกบั
คร้งั แรกวา่ ผา่ นเกณฑห์ รือไม่ ชมเชยคนทีผ่ า่ นเกณฑ์ ใหก้ าลงั ใจคนท่ไี ม่ผา่ นเกณฑ์

3. ผสู้ อนฝากใหผ้ เู้ รียนไปศึกษาใน เวบ็ ไซตท์ ีเ่ ก่ียวกบั ภมู ิปัญญาไทยต่อไป

ข้นั วัดผลและประเมนิ ผลตามวตั ถุประสงค์
3. ผสู้ อนช้ีแจงผูเ้ รียนเก่ียวกบั วธิ ีการวดั ผลและประเมินผล
4. วดั ผลประเมินผลตามวตั ถุประสงค์

ส่ือการเรียนรู้

ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์
5. หนงั สือเรียนวชิ า ชีวติ กบั สงั คมไทย
6. แบบทดสอบ
7. งานมอบหมาย
8. แบบประเมิน/แบบสงั เกต

ประเภทสื่อเทคโนโลยี
4.วดี ิทศั น์ เรื่อง ภูมิปัญญาไทย
5. PowerPoint/โปรเจก็ เตอร์
6. แผน่ ใส/OverHead

ประเภทสื่อแหล่งการเรียนรู้
5. หอ้ งปฏิบตั ิการทางศาสนา (ลานธรรม)
6. วดั (กิจกรรมชวนลูกศิษยเ์ ขา้ วดั ใกลบ้ า้ น)

การวดั ผลและประเมินผล
วดั ผลโดยวิธีการ (วดั ความรู้ ทกั ษะ จิตพสิ ัย)
7. ตรวจคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน/ชิ้นงาน
.............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................………………………………………………………………….………………

……………………………………………………………………………………..………
……………………………………………………………………………...……………..
8. สงั เกต/ทดสอบความสามารถ/ทกั ษะจากการปฏิบตั งิ าน/การใชท้ กั ษะต่างๆ
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

9. สมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤตกิ รรมเชิงคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมทพี่ งึ ประสงค์
ของผเู้ รียน
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

ประเมินผลสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียนจาก
7. เกณฑค์ ะแนน/คา่ คะแนนเฉล่ียคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน
/ชิ้นงาน
8. เกณฑค์ ะแนน/ค่าคะแนนเฉล่ียคุณภาพจากการสงั เกต/ทดสอบความสามารถ/
ทกั ษะจากการปฏิบตั ิงาน/การใชท้ กั ษะตา่ งๆ
9. เกณฑค์ ะแนน/ค่าคะแนนเฉลี่ยคุณภาพจากการสมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤติกรรมเชิง
คุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
..........................................................................................................................................

หลักฐานการเรียนรู้และ กิจกรรมเสนอแนะ
หลกั ฐานการเรียนรู้ (หลกั ฐานร่องรอย/ผลงาน/แบบฝึกหดั /รายงาน/วสั ดุ) ที่แสดงใหเ้ ห็นถึงความ

พยายามในการพฒั นาการเรียนรูแ้ ก่ผเู้ รียน

5. ช้ินงาน Mind Mapping
6. แบบฝึกหดั
กิจกรรมเสนอแนะ (ขอ้ เสนอแนะของผสู้ อน/ผจู้ ดั ทาแผนการเรียนรู้)
5. จดั นิทรรศการในหวั ขอ้ เกี่ยวกบั ภมู ิปัญญาไทย
6. จดั อภิปราย โตว้ าทเี กี่ยวกบั ภูมิปัญญาไทย

7. ใหผ้ เู้ รียนรวบรวมแนวคิด เกี่ยวกบั ภมู ิปัญญาไทย ท่ีผเู้ รียนสนใจจากเวบ็ ไซต์
ท่ีเกี่ยวขอ้ ง เพอื่ ใชพ้ ฒั นาองคค์ วามรูใ้ หก้ วา้ งขวางยงิ่ ข้ึน

8. จดั ทาป้ายนิเทศ หลงั ช้นั เรียนเก่ียวกบั ภมู ิปัญญาไทย ตา่ ง ๆ

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 4
ชื่อวชิ า : ชีวิตกบั สังคมไทย (3000-1501) สัปดาห์ที่ 7
ช่ือหน่วย : หลักธรรมาภิบาลในองค์กร เวลา 3 ชั่วโมง

สาระสาคญั
การบริหารจดั การองคก์ รไม่วา่ จะเป็ นภาครัฐ เอกชนหรือภาคประชาสงั คมใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด

ท้งั ต่อองคก์ รของตนเองและประเทศชาติตอ้ งอาศยั ปัจจยั สาคญั อยา่ งนอ้ ยสองประการ ไดแ้ ก่ การใชห้ ลกั
ธรรมาภบิ าลในการบริหารงานและการประสานความร่วมมืออยา่ งจริงจงั หวั ใจสาคญั ของหลกั ธรรมาภบิ าล
คอื การเคารพในหลกั นิติธรรม หลกั คุณธรรม หลกั ความโปร่งใส หลกั การมีส่วนร่วม หลกั ความรับผดิ ชอบ
หลกั การใชท้ รพั ยากรอยา่ งคุม้ คา่ และหลกั การเคารพในสิทธิความเสมอภาค เป็ นตน้

สาระการเรียนรู้
1. ความรูท้ วั่ ไปเกี่ยวกบั หลกั ธรรมาภบิ าล
2. หลกั ธรรมาภบิ าลกบั การบริหารองคก์ ร
3. เครื่องมือสนบั สนุนใหก้ ารบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล
4. ความสาคญั และประโยชน์ของหลกั ธรรมาภบิ าล

สมรรถนะประจาหน่วย

แส ด งค วา ม รู้ เก่ี ยว กับ ห ลั ก ธร รม า ภิ บ า ล ใน ก าร บ ริ ห าร อ งค์ก ร ผ่ า น ทัก ษ ะ ก าร บ อ ก
เขียนอธิบาย เสนอความเห็น อภิปรายและแสดงความภูมิใจในประโยชน์และความสาคัญของ
หลกั ธรรมาภิบาล

สมรรถนะการเรียนรู้
1. อธิบายหลกั การ ความหมาย และองคป์ ระกอบของธรรมาภิบาลได้
2. อธิบายวธิ ีการนาหลกั ธรรมาภบิ าลไปประยกุ ตก์ บั องคก์ รภาครฐั เอกชนและภาคประชา
สงั คมได้
3. วเิ คราะห์เก่ียวกบั ความสาเร็จขององคก์ รโดยใชห้ ลกั การบริหารจดั การตามหลกั
ธรรมาภบิ าลได้
4. วเิ คราะห์ความสาคญั และประโยชน์ของหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานภาครัฐ
เอกชนและภาคประชาสงั คมได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
พุทธิพิสัย
1. อธิบายหลกั การ ความหมาย และองคป์ ระกอบของธรรมาภบิ าลได้
2. อธิบายวธิ ีการนาหลกั ธรรมาภบิ าลไปประยกุ ตก์ บั องคก์ รภาครัฐ เอกชนและภาคประชา
สงั คมได้
3. วเิ คราะห์เกี่ยวกบั ความสาเร็จขององคก์ รโดยใชห้ ลกั การบริหารจดั การตามหลกั
ธรรมาภบิ าลได้
4. วเิ คราะห์ความสาคญั และประโยชน์ของหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานภาครัฐ
เอกชนและภาคประชาสงั คมได้
ทกั ษะพิสัย

-
จิตพิสัย

มีคุณลกั ษณะตามแนวหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

จดุ ประสงค์ทว่ั ไป

มีความรูเ้ ก่ียวกบั หลกั ธรรมาภิบาลในองคก์ รและประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื การดาเนินชีวติ ประจาวนั

ในสงั คม

เนื้อหาการเรียนรู้

1. ความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั หลกั ธรรมาภิบาล
2. หลกั ธรรมาภิบาลกบั การบริหารองคก์ ร
3. เคร่ืองมือสนบั สนุนใหก้ ารบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล
4. ความสาคญั และประโยชน์คุณค่าของหลกั ธรรมาภิบาล

กิจกรรมการเรียนรู้
ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน
1. ผสู้ อนและผเู้รียน ตกลงร่วมกนั เก่ียวกบั กระบวนการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา
2. ผสู้ อนช้ีแจงเร่ืองการเรียนรู้รายวิชา ชีวติ กบั สงั คมไทย (3000-1501)โดยวางแนวทางการ
เรียนรูไ้ ว้ 2 แนวทางคอื การเรียนรูด้ ว้ ยตนเองก่อนเขา้ ช้นั เรียนและ การเรียนรู้ปกติในช้นั เรียน
3. ผเู้รียนและผสู้ อนร่วมกนั สนทนา เร่ือง หลกั ธรรมาภิบาลในองคก์ ร โดยผสู้ อนเน้นย้าเร่ือง
การนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นกระบวนการเรียนรู้ เช่น ตระหนกั ถึงคุณค่าใน
การเรียนรู้ ทางานที่ไดร้ ับมอบหมายเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ ความพอประมาณในการใช้
กระดาษในการตอบ มีการวางแผนการในการทางาน ร่วมมือ ช่วยเหลือเพ่อื นเอ้ือเฟ้ื อเผื่อแผ่
ซ่ึงกนั และกนั ในหมู่เพอื่ นฝูง และขอให้ใชแ้ นวหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งในการเรียนรู้
ตลอดท้งั ภาคเรียนและในรายวิชาอื่นๆ
4. ผูส้ อนช้ีแจงผูเ้ รียนถึงวตั ถุประสงค์ของการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และวิธีการทา
แบบทดสอบ ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดยให้เวลาทาประมาณ 10
นาที
5. ผสู้ อนเฉลยแบบทดสอบ/ใหผ้ เู้ รียนสลบั กนั ตรวจ/และช่วยกนั รวมคะแนน
6. ผสู้ อนแจง้ คะแนนการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และทาความเขา้ ใจกบั ผเู้ รียนวา่ ผลการ
ทดสอบเพอื่ เป็นการวดั ความรู้พน้ื ฐานเท่าน้นั ไม่มีผลต่อการวดั ผลคะแนนรวม
7. ผสู้ อนเร่ิมนาเขา้ สู่กิจกรรมการเรียนการสอนตามวตั ถุประสงค์

หมายเหตุ ก่อนสอนข้นั นาเขา้ สู่บทเรียนผสู้ อนตอ้ งเตรียมส่ือตามทีร่ ะบใุ นกิจกรรมการเรียนการสอน

ข้นั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามวตั ถุประสงค์

วัตถุประสงค์ มีความรู้เกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลในองค์กร และประยุกต์ใช้เพ่ือ
การดาเนินชีวติ ประจาวนั ในสงั คม

1. ผสู้ อนฉาย Clip vdo เร่ืองหลกั ธรรมาภิบาลในองคก์ ร (10 นาที) ใหผ้ เู้ รียนดู เม่ือจบแลว้
ผสู้ อนถามความรู้สึกของผเู้ รียนเป็นอยา่ งไรบา้ ง

2. ผู้ส อ น ให้ ผู้เรี ยน แต่ล ะ ค น แสด งค วาม คิ ด เห็ น เกี่ ยวกับ ห ลัก ธรรม าภิบ าล
หลกั ธรรมาภิบาลกบั การบริหารองคก์ ร เคร่ืองมือสนบั สนุนให้การบริหารจดั การตาม

หลักธรรมาภิบาล และอธิบ ายเกี่ ยวกับ ความ สาคัญ และประโยชน์ ของหลัก
ธรรมาภิบาลในองคก์ รโดยที่ผูส้ อนเป็ นคนต้งั ประเด็นคาถาม เพอ่ื ให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วม
ในการคิด วเิ คราะห์
3. ผสู้ อนพูดเสริมให้เห็นความสาคญั ของหลักธรรมาภิบาลในองคก์ ร ตามที่กาหนดให้
อธิบายเก่ียวกบั ประโยชน์และความสาคญั ของหลกั ธรรมาภิบาลในองคก์ ร
4. ผสู้ อนใหผ้ ูเ้ รียนแบ่งกลุ่มตามความสมคั รใจ (จานวนสมาชิกประมาณ 5-7 คน) เพ่ือใช้
ในกิจกรรมการเรียนการสอนตลอดหน่วยการเรียนรู้ และใหเ้ ขยี นชื่อกลุ่ม รายชื่อสมาชิก
กลุ่มลงในใบงาน
5. ผสู้ อนให้ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาขอ้ มูลได้จาก หนังสือ และ Internet ตามหัวขอ้ ท่ี
กาหนดใหค้ ือ

1. ความรูท้ ว่ั ไปเก่ียวกบั หลกั ธรรมาภิบาล
2. หลกั ธรรมาภบิ าลกบั การบริหารองคก์ ร
3. เคร่ืองมือสนบั สนุนใหก้ ารบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล
4. ความสาคญั และประโยชนค์ ุณคา่ ของหลกั ธรรมาภิบาล
6. ผสู้ อนให้ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มสรุปเก่ียวกบั ความรู้ทวั่ ไปในการขดั เกลาทางสังคม ความรู้
ทว่ั ไปเกี่ยวกับหลกั ธรรมาภิบาล หลักธรรมาภิบาลกบั การบริหารองค์กร เคร่ืองมือ
สนบั สนุนให้การบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล และอธิบายเก่ียวกบั ความสาคญั
และประโยชน์ของหลักธรรมาภิบาลในองค์กร โดยการเขียนในรูปแบบ Mind
Mapping ในแตล่ ะหวั ขอ้
7. ในขณะที่ผเู้ รียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั ระดมความรู้ ผูส้ อนกเ็ ดินใหค้ าปรึกษาตามกลุ่มต่างๆ
ตามท่ีผูเ้ รียนสงสัย และคอยสังเกตการณ์การทางานของแต่ละกลุ่มทาบันทึกผลการ
ทางานเป็นกลุ่มของผเู้ รียน
8. ตวั แทนกลุ่มแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงาน หรืออภิปราย อยา่ งนอ้ ยกลุ่มละ 2 คน
9. หลงั จากตวั แทนของแต่ละกลุ่มนาเสนอจบ ก็เปิ ดโอกาสใหส้ มาชิกต่างกลุ่มถามปัญหา
หรือขอ้ สงสยั ได้
10. เมื่อสิ้นสุดการระดมความคิด ผเู้ รียนกบั ผูส้ อนร่วมกนั สรุปความคิดเห็นที่ไดร้ ับในแต่
ละกลุ่ม ผูส้ อนบอกจุดดี จุดเด่น ของแตล่ ะกลุ่มในการนาเสนอขอ้ มูล ผสู้ อนใหก้ าลงั ใจ
กลุ่มที่นาเสนอขอ้ มูลไดด้ ี (ควรหาจุดดีของทุกๆ กลุ่ม แลว้ ชมเชย ให้กาลงั ใจ เพอื่ เป็ น
การเสริมแรงในการนาเสนอคร้ังต่อไป)
11. ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มส่ง Mind Mapping ในแต่ละหัวขอ้ ผูส้ อนตรวจ ประเมินผล และ
รายงานผล

ข้นั สรุป

1. ผสู้ อนและผเู้ รียนช่วยกนั สรุปองคค์ วามรูเ้ ก่ียวกบั หลกั ธรรมาภิบาล หลกั ธรรมาภบิ าล
กบั การบริหารองคก์ ร เครื่องมือสนบั สนุนใหก้ ารบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล
และความสาคญั และประโยชน์ของหลกั ธรรมาภิบาลในองคก์ ร

2. ผสู้ อนจดั ใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ นาคะแนนท่ีไดไ้ ปเปรียบเทียบกบั คร้ัง
แรก วา่ ผา่ นเกณฑห์ รือไม่ ชมเชยคนท่ีผา่ นเกณฑ์ ใหก้ าลงั ใจคนทีไ่ ม่ผา่ นเกณฑ์

3. ผสู้ อนฝากใหผ้ เู้ รียนไปศกึ ษาใน เวบ็ ไซต์ ที่เก่ียวกบั หลกั ธรรมาภบิ าลในองคก์ ร ตอ่ ไป

ข้ันวัดผลและประเมินผลตามวตั ถปุ ระสงค์
5. ผสู้ อนช้ีแจงผูเ้ รียนเกี่ยวกบั วธิ ีการวดั ผลและประเมินผล
6. วดั ผลประเมินผลตามวตั ถุประสงค์

ส่ือการเรียนรู้
ประเภทส่ือสิ่งพิมพ์
1. หนงั สือเรียนวชิ า ชีวติ กบั สงั คมไทย
2. แบบทดสอบ
3. งานมอบหมาย
4. แบบประเมิน/แบบสงั เกต

ประเภทสื่อเทคโนโลยี
7. วดี ิทศั น์ เรื่อง หลกั ธรรมาภิบาลในองคก์ ร
8. PowerPoint/โปรเจก็ เตอร์
9. แผน่ ใส/OverHead

ประเภทสื่อแหล่งการเรียนรู้
7. หอ้ งปฏบิ ตั ิการทางศาสนา (ลานธรรม)
8. วดั (กิจกรรมชวนลูกศษิ ยเ์ ขา้ วดั ใกลบ้ า้ น)

การวดั ผลและประเมนิ ผล
วดั ผลโดยวิธีการ (วดั ความรู้ ทกั ษะ จิตพสิ ยั )
10. ตรวจคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน/ชิ้นงาน
.............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

.................………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………..………
……………………………………………………………………………...……………..
11. สงั เกต/ทดสอบความสามารถ/ทกั ษะจากการปฏบิ ตั ิงาน/การใชท้ กั ษะต่างๆ
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

12.สมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤติกรรมเชิงคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์
ของผเู้ รียน
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

ประเมินผลสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียนจาก
10.เกณฑค์ ะแนน/คา่ คะแนนเฉล่ียคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน
/ชิ้นงาน
11.เกณฑค์ ะแนน/ค่าคะแนนเฉล่ียคุณภาพจากการสงั เกต/ทดสอบความสามารถ/
ทกั ษะจากการปฏบิ ตั ิงาน/การใชท้ กั ษะต่างๆ
12.เกณฑค์ ะแนน/ค่าคะแนนเฉลี่ยคุณภาพจากการสมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤตกิ รรมเชิง
คุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
..........................................................................................................................................

หลักฐานการเรียนรู้และ กิจกรรมเสนอแนะ
หลกั ฐานการเรียนรู้ (หลกั ฐานร่องรอย/ผลงาน/แบบฝึกหดั /รายงาน/วสั ดุ) ทแ่ี สดงใหเ้ ห็นถึงความพยายามใน
การพฒั นาการเรียนรู้แก่ผเู้ รียน

1. ช้ินงาน Mind Mapping

2. แบบฝึกหดั
กจิ กรรมเสนอแนะ (ข้อเสนอแนะของผู้สอน/ผู้จดั ทาแผนการเรียนรู้)

1. จดั นิทรรศการในหวั ขอ้ เก่ียวกบั หลกั ธรรมาภบิ าลในองคก์ ร
2. จดั อภิปราย โตว้ าทีเกี่ยวกบั หลกั ธรรมาภบิ าลในองคก์ ร
3. ใหผ้ ูเ้ รียนรวบรวมแนวคิด หลกั ธรรมาภบิ าลในองคก์ ร ท่ีผเู้ รียนสนใจจากเวบ็ ไซต์

ท่ีเกี่ยวขอ้ ง เพอื่ ใชพ้ ฒั นาองคค์ วามรูใ้ หก้ วา้ งขวางยง่ิ ข้นึ
4. จดั ทาป้ายนิเทศ หลงั ช้นั เรียนเกี่ยวกบั หลกั ธรรมาภิบาลในองคก์ รตา่ ง ๆ

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 5
ช่ือวชิ า : ชีวติ กบั สังคมไทย (3000-1501) สัปดาห์ที่ 8
ชื่อหน่วย : หลกั ธรรมเพ่ือการพฒั นางาน พฒั นาคนและสังคม เวลา 6 ช่ัวโมง

สาระสาคญั
องค์ประกอบสาคญั ของความเจริญก้าวหน้าและความสงบสุขของสังคมมีพ้ืนฐานสาคญั มาจาก

สมาชิกของสังคมเป็ นบุคคลคุณภาพ คุณภาพของคนมาจากการพฒั นาคุณภาพชีวิตที่มีหลักคุณธรรม
จริยธรรมเป็ นพ้ืนฐานท่ีจะส่งผลใหก้ ารทางานประสบความสาเร็จและสมั ฤทธิผลตามเป้าหมาย ผลของการ
ทางานดงั กล่าวจะเป็นปัจจยั สาคญั ท่ีเป็นเครื่องมือในการพฒั นาและวดั คุณภาพของคน เมื่อสมาชิกของสงั คม
เป็นบุคคลคุณภาพจะส่งผลใหส้ งั คมเป็นสงั คมคุณภาพตามไปดว้ ย ผลของสงั คมคุณภาพจะแสดงใหเ้ ห็นได้
จากความเจริญรุ่งเรืองท้งั ทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และโดยภาพรวมสูงสุด คือ “ความสงบสุขของ
สงั คม”

สาระการเรียนรู้
1. ความรูท้ ว่ั ไปเก่ียวกบั หลกั ธรรม
2. หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นางาน
3. หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นาคน พฒั นาตนเอง
4. ประโยชนข์ องหลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นางานพฒั นาคนและสงั คม

สมรรถนะประจาหน่วย
แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักธรรมเพื่อการพฒั นางาน พฒั นาคนและสังคม ผ่านทักษะการบอก

เขยี นอธิบาย เสนอความเห็น วเิ คราะหแ์ ละแสดงความภาคภมู ิใจในประโยชนแ์ ละความสาคญั ของหลกั ธรรม
เพอื่ การพฒั นาดา้ นต่าง ๆ

สมรรถนะการเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกบั ความหมาย ขอบข่ายของหลกั ธรรมเพอ่ื การพฒั นาได้
2. อธิบายเก่ียวกบั หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นางานในแต่ละหมวดได้
3. อธิบายเกี่ยวกบั หลกั ธรรมเพอ่ื การพฒั นาคนในแตล่ ะหมวดได้
4. อธิบายเกี่ยวกบั หลกั ธรรมเพอ่ื การพฒั นาสงั คมแตห่ มวดได้
5. วเิ คราะหป์ ระโยชน์ คุณคา่ ของหลกั ธรรมเพอ่ื การพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คมได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม
พทุ ธิพสิ ัย
1. อธิบายเก่ียวกบั ความหมายขอบขา่ ยของหลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นาได้
2. อธิบายเกี่ยวกบั หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นางานในแตล่ ะหมวดได้
3. อธิบายเก่ียวกบั หลกั ธรรมเพอ่ื การพฒั นาคนในแต่ละหมวดได้
4. อธิบายเก่ียวกบั หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นาสงั คมแตห่ มวดได้
5. วเิ คราะหป์ ระโยชน์ คุณค่าของหลกั ธรรมเพอ่ื การพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คมได้

ทักษะพิสัย
-

จติ พิสัย
มีคุณลกั ษณะตามแนวหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

จดุ ประสงค์ทั่วไป

มีความรู้เก่ียวกบั หลักธรรมเพ่ือการพฒั นางาน พฒั นาคน และสังคมพร้อมท้งั ประยุกต์
ใชเ้ พอื่ การดาเนินชีวติ ประจาวนั ในสงั คม

เนื้อหาการเรียนรู้
1. ความรูท้ ว่ั ไปเกี่ยวกบั หลกั ธรรม
2. หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นางาน
3. หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นาคน พฒั นาตนเอง

4. ประโยชนข์ องหลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คม

กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน
1. ผสู้ อนและผเู้รียน ตกลงร่วมกนั เก่ียวกบั กระบวนการเรียนการสอน ตลอดภาคการศกึ ษา
2. ผูส้ อนช้ีแจงเร่ืองการเรียนรู้รายวิชา ชีวิตกับสังคมไทย (3000-1501)โดยวางแนวทาง
การเรียนรู้ไว้ 2 แนวทางคือ การเรียนรู้ดว้ ยตนเองก่อนเขา้ ช้นั เรียนและ การเรียนรู้ปกติในช้นั
เรียน
3. ผเู้รียนและผสู้ อนร่วมกนั สนทนาเร่ือง หลกั ธรรมเพ่อื การพฒั นางาน พฒั นาคนและสังคม
โดยผสู้ อนเน้นย้าเรื่อง การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นกระบวนการเรียนรู้
เช่น ตระหนักถึงคุณค่าในการเรียนรู้ ทางานท่ีได้รับมอบหมายเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์
ความพอประมาณในการใช้กระดาษในการตอบ มีการวางแผนในการทางาน ร่วมมือ
ช่วยเหลือเพอ่ื นเอ้ือเฟ้ื อเผือ่ แผ่ซ่ึงกนั และกนั ในหมู่เพ่ือนฝงู และขอให้ใชแ้ นวหลกั ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี งในการเรียนรู้ตลอดท้งั ภาคเรียนและในรายวิชาอ่ืนๆ
4. ผสู้ อนช้ีแจงผเู้ รียนถึงวตั ถุประสงคข์ องการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และวธิ ีการทา
แบบทดสอบ ผสู้ อนใหผ้ ูเ้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดยใหเ้ วลาทาประมาณ 10
นาที
5. ผสู้ อนเฉลยแบบทดสอบ/ใหผ้ ูเ้ รียนสลบั กนั ตรวจ/และช่วยกนั รวมคะแนน
6. ผสู้ อนแจง้ คะแนนการทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน และทาความเขา้ ใจกบั ผเู้ รียนวา่ ผลการ
ทดสอบเพอ่ื เป็นการวดั ความรู้พ้นื ฐานเทา่ น้นั ไมม่ ีผลต่อการวดั ผลคะแนนรวม
7. ผสู้ อนเร่ิมนาเขา้ สู่กิจกรรมการเรียนการสอนตามวตั ถุประสงค์

หมายเหตุ ก่อนสอนข้นั นาเขา้ สู่บทเรียนผสู้ อนตอ้ งเตรียมสื่อตามท่ีระบใุ นกิจกรรมการเรียนการสอน

ข้นั กิจกรรมการเรียนการสอนตามวตั ถุประสงค์
วัตถปุ ระสงค์ มีความรู้เกี่ยวกบั หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คม และ

ประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื การดาเนินชีวติ ประจาวนั ในสังคม
1. ผสู้ อนฉาย Clip vdo เรื่อง หลกั ธรรมเพ่ือการพัฒนางาน พัฒนาคนและสังคม (10 นาท)ี
ใหผ้ เู้ รียนดู เม่ือจบแลว้ ผสู้ อนถามความรู้สึกของผเู้ รียนเป็นอยา่ งไรบา้ ง

2. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนแต่ละคน แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับหลักธรรม
หลักธรรมเพ่ือการพฒั นางาน หลักธรรมเพื่อการพฒั นาคน หลักธรรมเพื่อการพฒั นา
ตนเอง ประโยชน์ของหลกั ธรรมเพอ่ื การพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คม โดยท่ีผสู้ อนเป็ น
คนต้งั ประเดน็ คาถาม เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมในการคดิ วเิ คราะห์

3. ผสู้ อนพูดเสริมใหเ้ ห็นความสาคญั ของหลกั ธรรมเพ่อื การพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คม
ตามท่ีกาหนดให้ อธิบายและประโยชน์ของหลกั ธรรมเพ่ือการพฒั นางาน พฒั นาคนและ
สงั คม

4. ผสู้ อนให้ผเู้ รียนแบ่งกลุ่มตามความสมคั รใจ (จานวนสมาชิกประมาณ 5-7 คน) เพ่อื ใช้ใน
กิจกรรมการเรียนการสอนตลอดหน่วยการเรียนรู้ และให้เขยี นช่ือกลุ่ม รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
ลงในใบงาน

5. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาขอ้ มูลได้จาก หนังสือ และ Internet ตามหัวข้อที่
กาหนดใหค้ ือ
1. ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั หลกั ธรรม
2. หลกั ธรรมเพอ่ื การพฒั นางาน
3. หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นาคน พฒั นาตนเอง
4. ประโยชน์ของหลกั ธรรมเพอ่ื การพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คม

6. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มสรุปความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับหลักธรรม หลักธรรมเพ่ือการ
พฒั นางาน หลกั ธรรมเพ่ือการพฒั นาคน หลกั ธรรมเพือ่ การพฒั นาตนเอง ประโยชน์ของ
หลักธรรมเพ่ือการพัฒนางาน พฒั นาคนและสังคม โดยการเขียนในรูปแบบ Mind
Mapping ในแต่ละหวั ขอ้

7. ในขณะท่ีผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั ระดมความรู้ ผสู้ อนก็เดินให้คาปรึกษาตามกลุ่มต่างๆ
ตามท่ีผเู้ รียนสงสัย และคอยสงั เกตการณ์การทางานของแต่ละกลุ่มทาบนั ทึกผลการทางาน
เป็ นกลุ่มของผเู้ รียน

8. ตวั แทนกลุ่มแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลงาน หรืออภิปราย อยา่ งนอ้ ยกลุ่มละ 2 คน
9. หลงั จากตวั แทนของแต่ละกลุ่มนาเสนอจบ ก็เปิ ดโอกาสใหส้ มาชิกต่างกลุ่มถามปัญหา หรือ

ขอ้ สงสยั ได้
10. เมื่อส้ินสุดการระดมความคิด ผูเ้ รียนกับผูส้ อนร่วมกนั สรุปความคิดเห็นที่ไดร้ ับในแต่ละ

กลุ่ม ผสู้ อนบอกจดุ ดี จุดเด่นของแตล่ ะกลุ่มในการนาเสนอขอ้ มูล ผสู้ อนใหก้ าลงั ใจ กลุ่มท่ี

ข้นั สรุป นาเสนอข้อมูลได้ดี (ควรหาจุดดีของทุกๆ กลุ่ม แล้วชมเชย ให้กาลังใจ เพื่อเป็ น
การเสริมแรงในการนาเสนอคร้ังต่อไป)
11. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มส่ง Mind Mapping ในแต่ละหัวข้อ ผูส้ อนตรวจ ประเมินผล และ
รายงานผล

1. ผสู้ อนและผเู้ รียนช่วยกนั สรุปความรูท้ ว่ั ไปเก่ียวกบั หลกั ธรรม หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นางาน
หลกั ธรรมเพอ่ื การพฒั นาคน หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นาตนเอง ประโยชนข์ องหลกั ธรรมเพ่ือ
การพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คม

2. ผสู้ อนจดั ใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ นาคะแนนทไี่ ดไ้ ปเปรียบเทยี บกบั
คร้ังแรก วา่ ผา่ นเกณฑห์ รือไม่ ชมเชยคนท่ีผา่ นเกณฑ์ ใหก้ าลงั ใจคนทีไ่ ม่ผา่ นเกณฑ์

3. ผสู้ อนฝากให้ผเู้ รียนไปศึกษาใน เว็บไซต์ ที่เก่ียวกบั หลกั ธรรมเพื่อการพฒั นางาน พฒั นา

คนและสงั คม ตอ่ ไป

ข้นั วดั ผลและประเมินผลตามวัตถปุ ระสงค์
7. ผสู้ อนช้ีแจงผเู้ รียนเก่ียวกบั วธิ ีการวดั ผลประเมินผล
8. วดั ผลประเมินผลตามวตั ถุประสงค์

สื่อการเรียนรู้

ประเภทส่ือส่ิงพิมพ์

5. หนงั สือแบบเรียนวชิ า ชีวติ กบั สงั คมไทย
6. แบบทดสอบ
7. งานมอบหมาย
8. แบบประเมิน/แบบสงั เกต
ประเภทส่ือเทคโนโลยี

10.วดี ิทศั น์ เรื่อง หลกั ธรรมเพอ่ื การพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คม
11.PowerPoint/โปรเจก็ เตอร์
12.แผน่ ใส/OverHead
ประเภทสื่อแหล่งการเรียนรู้

9. หอ้ งปฏิบตั ิการทางศาสนา (ลานธรรม)

10.วดั (กิจกรรมชวนลูกศิษยเ์ ขา้ วดั ใกลบ้ า้ น)

การวัดผลและประเมินผล
วดั ผลโดยวิธีการ (วดั ความรู้ ทกั ษะ จิตพสิ ัย)
13. ตรวจคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน/ชิ้นงาน
.............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………..………
……………………………………………………………………………...……………..

14. สงั เกต/ทดสอบความสามารถ/ทกั ษะจากการปฏบิ ตั ิงาน/การใชท้ กั ษะต่างๆ
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
15.สมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤติกรรมเชิงคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมทีพ่ งึ ประสงค์
ของผเู้ รียน
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

ประเมนิ ผลสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียนจาก
13.เกณฑค์ ะแนน/คา่ คะแนนเฉล่ียคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน
/ชิ้นงาน
14.เกณฑค์ ะแนน/คา่ คะแนนเฉล่ียคุณภาพจากการสงั เกต/ทดสอบความสามารถ/
ทกั ษะจากการปฏบิ ตั ิงาน/การใชท้ กั ษะตา่ งๆ

15.เกณฑค์ ะแนน/ค่าคะแนนเฉล่ียคุณภาพจากการสมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤติกรรมเชิง
คุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
..........................................................................................................................................

หลกั ฐานการเรียนรู้และ กจิ กรรมเสนอแนะ
หลกั ฐานการเรียนรู้ (หลกั ฐานร่องรอย/ผลงาน/แบบฝึกหดั /รายงาน/วสั ดุ) ทแี่ สดงใหเ้ ห็นถึงความพยายามใน
การพฒั นาการเรียนรูแ้ ก่ผเู้ รียน

3. ชิ้นงาน Mind Mapping
4. แบบฝึกหดั
กิจกรรมเสนอแนะ (ข้อเสนอแนะของผู้สอน/ผู้จัดทาแผนการเรียนรู้)
1. จดั นิทรรศการในหวั ขอ้ เกี่ยวกบั หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คม
2. จดั อภิปราย โตว้ าทีเกี่ยวกบั หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คม

3. ใหผ้ เู้ รียนรวบรวมแนวคิด หลกั ธรรมเพอื่ การพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คม
ทผี่ เู้ รียนสนใจจากเวบ็ ไซตท์ เ่ี ก่ียวขอ้ ง เพอื่ ใชพ้ ฒั นาองคค์ วามรูใ้ หก้ วา้ งขวางยง่ิ ข้ึน

4. จดั ทาป้ายนิเทศ หลงั ช้นั เรียนเก่ียวกบั หลกั ธรรมเพอ่ื การพฒั นางาน พฒั นาคน
และสงั คมตา่ ง ๆ

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 6
ช่ือวิชา : ชีวิตกบั สังคมไทย (3000-1501) สัปดาห์ที่ 11
ชื่อหน่วย : ความเป็ นพลเมืองดี เวลา 3 ชั่วโมง

สาระสาคญั
“ความเป็ นพลเมืองดี” พิจารณาได้จากการปฏิบัติของบุคคลภายใตห้ ลักศีลธรรม กฏหมาย

วฒั นธรรม ประเพณีและค่านิยมที่ดีงามของสงั คม การปฏิบตั ิเพอ่ื พฒั นาตนใหเ้ ป็ นพลเมืองดีสามารถทาได้

หลายวิธี โดยเร่ิมจากกิจกรรมใกลต้ วั อยา่ งง่าย ๆ ต้งั แต่ระดบั ครอบครวั ครูอาจารย์ โรงเรียน ชุมชน สงั คม
และประเทศชาติ ตลอดจนสังคมโลก ความสาคญั และประโยชน์ของการเป็ นพลเมืองดี คือ ทาให้สังคมมี
ความเจริญ สมาชิกอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมีความสงบสุขซ่ึงก็เป็ นพ้นื ฐานสาคญั ในการพฒั นาประเทศในทุกดา้ น

สาระการเรียนรู้

1. ความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั ความเป็ นพลเมืองดี
2. คุณสมบตั ขิ องบคุ คลทเี่ ป็นพลเมืองดี
3. วธิ ีการพฒั นาเพอ่ื ความเป็นพลเมืองดี
4. ความสาคญั และประโยชน์ของความเป็นพลเมืองดี

สมรรถนะประจาหน่วย
แสดงความรู้เกี่ยวกบั ความเป็ นพลเมืองดี ผา่ นทกั ษะการพดู เขียนอธิบาย นาเสนอ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์

มีเจตคติที่ดีต่อคุณคา่ ของการเป็นพลเมืองดีและปฏิบตั ติ นเป็ นแบบอยา่ งของพลเมืองดี

สมรรถนะการเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกบั ความรู้ทวั่ ไปของการเป็นพลเมืองดีได้
2. อธิบายคุณสมบตั ิของความเป็นพลเมอื งดีได้
3. อธิบายหลกั พฒั นาคุณสมบตั คิ วามเป็นพลเมืองดีได้
4. วเิ คราะหค์ วามสาคญั และประโยชนข์ องความเป็นพลเมืองดีได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
พุทธิพสิ ัย
1. อธิบายเกี่ยวกบั ความรู้ทว่ั ไปของการเป็นพลเมืองดีได้
2. อธิบายคุณสมบตั ิของความเป็นพลเมืองดีได้
3. อธิบายหลกั พฒั นาคุณสมบตั คิ วามเป็นพลเมืองดีได้
4. วเิ คราะห์ความสาคญั และประโยชนข์ องความเป็นพลเมืองดีได้
ทกั ษะพิสัย
-
จติ พสิ ัย
มีคุณลกั ษณะตามแนวหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

จุดประสงค์ทว่ั ไป

แสดงความรู้เก่ียวกบั ความเป็ นพลเมืองดี และนาไปประยกุ ตใ์ ชเ้ พ่ือพฒั นาและปฏิบตั ิตน
เป็นพลเมืองดีตามบทบาทหนา้ ท่ขี องตนในชีวติ ประจาวนั

เนื้อหาการเรียนรู้
1. ความรูท้ วั่ ไปเก่ียวกบั ความเป็นพลเมืองดี
2. คุณสมบตั ิของบคุ คลทเ่ี ป็นพลเมืองดี
3. วธิ ีการฝึกพฒั นาเพอ่ื ความเป็นพลเมืองดี
4. ความสาคญั และประโยชนข์ องความเป็นพลเมอื งดี

กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน
8. ผสู้ อนช้ีแจงผเู้ รียนถึงวตั ถุประสงคข์ องการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และวธิ ีการทา
แบบทดสอบ ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดยให้เวลาทาประมาณ
10 นาที
9. ผสู้ อนเฉลยแบบทดสอบ/ใหผ้ ูเ้ รียนสลบั กนั ตรวจ/และช่วยกนั รวมคะแนน
10.ผสู้ อนแจง้ คะแนนการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และทาความเขา้ ใจกบั ผเู้ รียนวา่
ผลการทดสอบเพอื่ เป็นการวดั ความรู้พ้นื ฐานเทา่ น้นั ไม่มีผลต่อการวดั ผลคะแนนรวม
11.ผสู้ อนเร่ิมนาเขา้ สู่กิจกรรมการเรียนการสอนตามวตั ถุประสงค์
12.ผสู้ อนเฉลยแบบทดสอบ/ใหผ้ เู้ รียนสลบั กนั ตรวจ/และช่วยกนั รวมคะแนน
13.ผูส้ อนแจง้ คะแนนการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และทาความเขา้ ใจกบั ผูเ้ รียนว่า ผลการ
ทดสอบเพอื่ เป็นการวดั ความรูพ้ น้ื ฐานเท่าน้นั ไม่มีผลต่อการวดั ผลคะแนนรวม
14.ผสู้ อนเร่ิมนาเขา้ สู่กิจกรรมการเรียนการสอนตามวตั ถุประสงค์

หมายเหตุ ก่อนสอนข้นั นาเขา้ สู่บทเรียนผสู้ อนตอ้ งเตรียมสื่อตามทีร่ ะบใุ นกิจกรรมการเรียนการสอน

ข้นั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามวตั ถุประสงค์
แสดงความรูเ้ ก่ียวกบั ความเป็นพลเมืองดี ผา่ นทกั ษะการพดู เขียนอธิบาย นาเสนอ วเิ คราะห์

วจิ ารณ์ มีเจตคติทีด่ ีต่อคุณคา่ ของการเป็นพลเมืองดีและปฏบิ ตั ติ นเป็ นแบบอยา่ งของพลเมืองดี
1. ผสู้ อนฉาย Clip vdo เรื่องการเป็นพลเมืองดี (10 นาที) ใหผ้ เู้ รียนดู เม่ือจบแลว้ ผสู้ อน

ถามความรู้สึกของผเู้ รียนเป็นอยา่ งไรบา้ ง

2. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนแตล่ ะคนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกบั ความเป็นพลเมืองดี คุณสมบตั ิของบุคคล
ท่ีเป็ นพลเมืองดี วิธีการพัฒนาเพ่ือความเป็ นพลเมืองดี ความสาคัญและประโยชน์ของ
ความเป็นพลเมืองดี ผา่ นทกั ษะการบอก การสาธิต เขียนอธิบาย นาเสนอโดยการแสดงบทบาท
สมมติ และแสดงเจตคติทด่ี ีต่อความสาคญั ของหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งโดยท่ีผสู้ อนเป็ น
คนต้งั ประเด็นคาถามเพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมในการคิดวเิ คราะห์

3. ผสู้ อนพูดเสริมให้เห็นความสาคญั เกี่ยวกบั ความเป็ นพลเมืองดี คุณสมบตั ิของบุคคลที่เป็ น
พลเมืองดี วธิ ีการพฒั นาเพอ่ื ความเป็ นพลเมืองดี และความสาคญั และประโยชน์ของความเป็ น
พลเมืองดี

4. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ (จานวนสมาชิกประมาณ 5-7 คน) เพ่ือใช้ใน
กิจกรรมการเรียนการสอนตลอดหน่วยการเรียนรู้ และให้เขียนช่ือกลุ่ม รายช่ือสมาชิกกลุ่มลง
ในใบงาน

5. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนแตล่ ะกลุ่มไปศึกษาขอ้ มูลไดจ้ าก หนงั สือ และ Internet ตามหวั ขอ้ ที่กาหนด
ใหค้ อื
1. ความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั ความเป็นพลเมืองดี
2. คุณสมบตั ิของบุคคลท่ีเป็นพลเมืองดี
3. วธิ ีการพฒั นาเพอ่ื ความเป็นพลเมืองดี
4. ความสาคญั และประโยชนข์ องความเป็นพลเมืองดี
6. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มสรุปความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั การเป็ นพลเมืองดี คุณสมบตั ิของ
บคุ คลที่เป็นพลเมืองดี วธิ ีการพฒั นาเพอ่ื ความเป็นพลเมืองดี ความสาคญั และประโยชนข์ อง
ความเป็ นพลเมืองดี ในรูปแบบ Mind Mapping หรือแบบอ่ืนทเี่ ห็นวา่ เหมาะสม ในแต่ละ
หวั ขอ้
7. ในขณะทีผ่ เู้ รียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั ระดมความรู้ และเขียนบทเพอ่ื ออกมาแสดงหนา้ ช้นั
ผสู้ อนก็เดินใหค้ าปรึกษาตามกลุ่มตา่ งๆ ตามทผ่ี เู้ รียนสงสยั และคอยสงั เกตการณ์ทางาน
ของแต่ละกลุ่มทาบนั ทึกผลการทางานเป็ นกลุ่มของผเู้ รียน
8. ตวั แทนกลุ่มแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลงานหรืออภปิ ราย
9. หลงั จากตวั แทนของแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอจบ กเ็ ปิ ดโอกาสใหส้ มาชิกต่างกลุ่มถามปัญหา
หรือขอ้ สงสยั ได้

10. เม่ือสิ้นสุดการระดมความคิด ผูเ้ รียนกบั ผูส้ อนร่วมกนั สรุปความคิดเห็นท่ีไดร้ ับในแต่ละ
กลุ่ม ผสู้ อนบอกจุดดี จุดเด่นของแต่ละกลุ่มในการนาเสนอขอ้ มูล ผสู้ อนให้กาลงั ใจกลุ่ม
ที่นาเสนอข้อมูลได้ดี (ควรหาจุดดีของทุกๆ กลุ่มแล้วชมเชยให้กาลังใจ เพ่ือเป็ น
การเสริมแรงในการนาเสนอคร้งั ต่อไป)

11. ผเู้ รียนแตล่ ะกลุ่มส่ง Mind Mapping หรืองานที่ไดร้ ับมอบหมาย ในแตล่ ะหวั ขอ้ ผสู้ อน
ตรวจ ประเมินผล และรายงานผล

ข้นั สรุป
1. ผสู้ อนและผเู้ รียนช่วยกนั สรุปองคค์ วามรู้เรื่องการเป็นพลเมืองดี คุณสมบตั ิของบคุ คลทเ่ี ป็ น
พลเมืองดี วธิ ีการพฒั นาเพ่ือความเป็ นพลเมืองดี ความสาคญั และประโยชน์ของการเป็ น
พลเมืองดี
2. ผสู้ อนจดั ให้ผูเ้ รียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ นาคะแนนที่ไดไ้ ปเปรียบเทียบกบั คร้ัง
แรก วา่ ผา่ นเกณฑห์ รือไม่ ชมเชยคนทผ่ี า่ นเกณฑ์ ใหก้ าลงั ใจคนทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑ์
3. ผสู้ อนฝากให้ผเู้ รียนไปศึกษาใน เว็บไซตเ์ ก่ียวกบั การเป็ นพลเมืองดี คุณสมบตั ิของบุคคล
ท่ีเป็ นพลเมืองดี วิธีการพฒั นาเพื่อการเป็ นพลเมืองดี ความสาคญั และประโยชน์ของการ
เป็นพลเมืองดี ต่อไป

ข้นั วดั ผลและประเมนิ ผลตามวัตถปุ ระสงค์
9. ผสู้ อนช้ีแจงผเู้ รียนเกี่ยวกบั วธิ ีการวดั ผลและประเมินผล
10.วดั ผลประเมินผลตามวตั ถุประสงค์

สื่อการเรียนรู้
ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์
9. หนงั สือเรียนวิชา ชีวติ กบั สงั คมไทย
10.แบบทดสอบ
11. งานมอบหมาย
12.แบบประเมิน/แบบสงั เกต
ประเภทสื่อเทคโนโลยี
13.วดี ิทศั น์ เร่ือง ความเป็นพลเมืองดี
14.PowerPoint/โปรเจก็ เตอร์
15.แผน่ ใส/OverHead
ประเภทสื่อแหล่งการเรียนรู้
11.หอ้ งปฏบิ ตั ิการทางศาสนา (ลานธรรม)
12.วดั (กิจกรรมชวนลูกศษิ ยเ์ ขา้ วดั ใกลบ้ า้ น)

การวัดผลและประเมนิ ผล

วดั ผลโดยวธิ ีการ (วดั ความรู้ ทกั ษะ จติ พสิ ยั )
16. ตรวจคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน/ชิ้นงาน
.............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………..………
……………………………………………………………………………...……………..
17. สงั เกต/ทดสอบความสามารถ/ทกั ษะจากการปฏบิ ตั ิงาน/การใชท้ กั ษะตา่ งๆ
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
18.สมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤตกิ รรมเชิงคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พงึ ประสงค์
ของผเู้ รียน
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

ประเมนิ ผลสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียนจาก
16.เกณฑค์ ะแนน/คา่ คะแนนเฉล่ียคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน
/ช้ินงาน

17.เกณฑค์ ะแนน/คา่ คะแนนเฉลี่ยคุณภาพจากการสงั เกต/ทดสอบความสามารถ/
ทกั ษะจากการปฏิบตั งิ าน/การใชท้ กั ษะตา่ งๆ

18.เกณฑค์ ะแนน/ค่าคะแนนเฉล่ียคุณภาพจากการสมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤติกรรมเชิง
คุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
..........................................................................................................................................

หลักฐานการเรียนรู้และ กิจกรรมเสนอแนะ

หลกั ฐานการเรียนรู้ (หลกั ฐานร่องรอย/ผลงาน/แบบฝึกหดั /รายงาน/วสั ดุ) ท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงความพยายามใน
การพฒั นาการเรียนรูแ้ ก่ผเู้ รียน

5. ช้ินงาน Mind Mapping
6. แบบฝึกหดั
กิจกรรมเสนอแนะ (ข้อเสนอแนะของผู้สอน/ผู้จดั ทาแผนการเรียนรู้)
1. จดั นิทรรศการในหวั ขอ้ การเป็นพลเมืองดีเพอ่ื การพฒั นาคุณภาพชีวติ
2. จดั อภิปราย โตว้ าทเี ก่ียวกบั การเป็นพลเมืองดี
3. ให้ผูเ้ รียนรวบรวมแนวคิดเก่ียวกับการเป็ นพลเมืองดี คุณสมบัติของบุคคลท่ีเป็ น

พลเมืองดี วิธีการพัฒนาเพื่อความเป็ นพลเมืองดี ความสาคัญและประโยชน์ของ
การเป็ นพลเมืองดี ที่ผูเ้ รียนสนใจจากเวบ็ ไซตท์ ี่เก่ียวขอ้ ง เพื่อใชพ้ ฒั นาองค์ความรู้
ใหก้ วา้ งขวางยงิ่ ข้ึน
4. จดั ทาป้ายนิเทศ หลงั ช้นั เรียนเก่ียวกบั ความเป็นพลเมืองดี

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 7
ช่ือวชิ า : ชีวิตกับสังคมไทย (3000-1501) สัปดาห์ที่ 12-13
ชื่อหน่วย : สันตวิ ฒั นธรรม เวลา 3 ช่ัวโมง

สาระสาคญั
สนั ติวฒั นธรรม คือ การกาหนดรูปแบบการปฏบิ ตั ิร่วมกนั ของทุกคนในสงั คมเพอ่ื สร้างสังคมแห่ง

สันติสุข รูปแบบการปฏิบตั ิดงั กล่าว เช่น ความเอ้ือเฟ้ื อเผ่อื แผ่ เก้ือกูลต่อกนั การยอมรับในคุณค่าท่ีเสมอ
กนั ของความเป็ นมนุษย์ การไม่มองคนอื่นเป็ นศตั รู การหลีกเลี่ยงการใชค้ วามรุนแรง การคุม้ ครองและ
ยอมรับในสิทธิ เสรีภาพของทุกชีวิตในสังคม การปฏิบตั ิดงั กล่าวตอ้ งได้รับการปฏิบตั ิอยา่ งต่อเน่ืองจน
กลายเป็ นวิถีชีวติ ของสงั คมท่ีเรียกว่า “สันติวฒั นธรรม” ประโยชน์สูงสุดของสนั ติวฒั นธรรม คอื ความสงบ
สุขและความเจริญกา้ วหนา้ ของสงั คม

สาระการเรียนรู้
1. ความรูท้ วั่ ไปเก่ียวกบั สนั ติวฒั นธรรม
2. องคป์ ระกอบของสนั ตวิ ฒั นธรรม

3. บุคคลและองคก์ รทีเ่ ป็ นพน้ื ฐานของการสรา้ งสนั ตวิ ฒั นธรรม
4. การแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ในสงั คมไทยดว้ ยสนั ติวธิ ี
5. ความสาคญั และประโยชน์ของสนั ตวิ ฒั นธรรม

สมรรถนะประจาหน่วย
แสดงความรู้เก่ียวกับหลักทั่วไปของสันติวฒั นธรรม บุคคลและองค์กรด้านการส่งเสริมสันติ

วฒั นธรรม แนวทางการส่งเสริมสันติวฒั นธรรม และการแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ในสังคมไทยดว้ ยสันติวิธี
ผ่านทกั ษะการบอก เขียนอธิบาย เสนอความเห็น อภิปรายและแสดงความภาคภูมิใจ ในประโยชน์และ
ความสาคญั ของหลกั สนั ตวิ ฒั นธรรม

สมรรถนะการเรียนรู้
1. อธิบายหลกั การและความหมายของสนั ตวิ ฒั นธรรมได้
2. อธิบายองคป์ ระกอบของสนั ติวฒั นธรรมได้
3. อธิบายพ้นื ฐานการสรา้ งสนั ติวฒั นธรรมได้
4. อธิบายวธิ ีการแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ในสงั คมไทยดว้ ยสนั ติวธิ ีตามท่กี าหนดใหไ้ ด้
5. วเิ คราะหค์ วามสาคญั และประโยชน์ของสนั ติวฒั นธรรมได้

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
พทุ ธิพิสัย
1. อธิบายหลกั การและความหมายของสนั ติวฒั นธรรมได้
2. องคป์ ระกอบสนั ตวิ ฒั นธรรมได้
3. อธิบายพน้ื ฐานการสรา้ งสนั ตวิ ฒั นธรรมได้
4. อธิบายวธิ ีการแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ในสงั คมไทยดว้ ยสนั ติวธิ ีตามที่กาหนดใหไ้ ด้
5. วเิ คราะห์ความสาคญั และประโยชนข์ องสนั ตวิ ฒั นธรรมได้
ทกั ษะพิสัย
-
จติ พสิ ัย
มีคุณลกั ษณะตามแนวหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

จดุ ประสงค์ทั่วไป

มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับสันติวัฒนธรรมพร้อมท้ังประยุกต์ใช้เพ่ือการดาเนิ น
ชีวติ ประจาวนั ในสงั คม

เนื้อหาการเรียนรู้
1. ความรูท้ วั่ ไปเกี่ยวกบั สนั ตวิ ฒั นธรรม
2. องคป์ ระกอบของสนั ติวฒั นธรรม
3. บุคคลและองคก์ รที่เป็ นพ้นื ฐานของการสร้างสนั ตวิ ฒั นธรรม
4. การแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ในสงั คมไทยดว้ ยสนั ติวธิ ี
5. ความสาคญั และประโยชน์ของสนั ติวฒั นธรรม

กจิ กรรมการเรียนรู้
ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน
1. ผสู้ อนและผเู้รียน ตกลงร่วมกนั เกี่ยวกบั กระบวนการเรียนการสอน ตลอดภาคการศึกษา
2. ผูส้ อนช้ีแจงเร่ืองการเรียนรู้รายวิชา ชีวิตกับสังคมไทย (3000-1501)โดยวางแนวทางการ
เรียนรูไ้ ว้ 2แนวทาง คือ การเรียนรูด้ ว้ ยตนเองก่อนเขา้ ช้นั เรียนและ การเรียนรูป้ กติในช้นั เรียน

3. ผเู้รียนและผสู้ อนร่วมกนั สนทนา เร่ือง สนั ติวฒั นธรรม โดยผสู้ อนเนน้ ย้าเร่ืองการนาหลกั
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นกระบวนการเรียนรู้ เช่น ตระหนักถึงคุณค่าในการเรียนรู้
ทางานที่ได้รับมอบหมายเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ ความพอประมาณในการใช้กระดาษใน
การตอบ มีการวางแผนในการทางาน ร่วมมือ ช่วยเหลือเพ่ือนเอ้ือเฟ้ื อเผอ่ื แผ่ซ่ึงกนั และกัน
ในหมู่เพอ่ื นฝงู และขอให้ใช้แนวหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนรู้ตลอดท้งั ภาค
เรียนและในรายวชิ าอื่นๆ

4. ผสู้ อนช้ีแจงผเู้ รียนถึงวตั ถุประสงคข์ องการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และวิธีการทา
แบบทดสอบ ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดยให้เวลาทาประมาณ 10
นาที

5. ผสู้ อนเฉลยแบบทดสอบ/ใหผ้ เู้ รียนสลบั กนั ตรวจ/และช่วยกนั รวมคะแนน
6. ผสู้ อนแจง้ คะแนนการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และทาความเขา้ ใจกบั ผเู้ รียนวา่ ผลการ

ทดสอบเพอ่ื เป็นการวดั ความรู้พ้นื ฐานเท่าน้นั ไม่มีผลต่อการวดั ผลคะแนนรวม
7. ผสู้ อนเร่ิมนาเขา้ สู่กิจกรรมการเรียนการสอนตามวตั ถุประสงค์

หมายเหตุ ก่อนสอนข้นั นาเขา้ สู่บทเรียนผสู้ อนตอ้ งเตรียมส่ือตามท่ีระบใุ นกิจกรรมการเรียนการสอน

ข้ันกิจกรรมการเรียนการสอนตามวัตถุประสงค์
มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั สนั ติวฒั นธรรม และประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื่ การดาเนินชีวติ ประจาวนั

ในสงั คม

1. ผสู้ อนฉาย Clip vdo เรื่อง สันติวฒั นธรรม (10 นาที) ใหผ้ เู้ รียนดู เมื่อจบแลว้ ผสู้ อนถาม
ความรูส้ ึกของผเู้ รียนเป็นอยา่ งไรบา้ ง

2. ผสู้ อนใหผ้ ูเ้ รียนแตล่ ะคน แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั สนั ติวฒั นธรรม องคป์ ระกอบของ
สันติวฒั นธรรม บุคคลและองคก์ รที่เป็ นพ้ืนฐานของการสร้างสันติวฒั นธรรม การ
แกป้ ัญหาความขดั แยง้ ในสังคมไทยดว้ ยสนั ติวิธี ความสาคญั และประโยชน์ของสันติ
วฒั นธรรม โดยท่ีผสู้ อนเป็ นคนต้งั ประเด็นคาถาม เพื่อให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการคิด
วเิ คราะห์

3. ผูส้ อนพูดเสริมให้เห็นความสาคญั ของหลกั ธรรมเพ่ือการพฒั นางาน พฒั นาคนและ
สังคมตามที่กาหนดให้ อธิบายเก่ียวกับความสาคัญและประโยชน์ของความสาคญั
ของหลกั ธรรมเพอ่ื การพฒั นางาน พฒั นาคนและสงั คม

4. ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนแบ่งกลุ่มตามความสมคั รใจ (จานวนสมาชิกประมาณ 5-7 คน) เพ่ือใช้
ในกิจกรรมการเรียนการสอนตลอดหน่วยการเรียนรู้ และใหเ้ ขียนชื่อกลุ่ม รายช่ือสมาชิก
กลุ่มลงในใบงาน

5. ผสู้ อนให้ผูเ้ รียนแต่ละกลุ่มไปศึกษาขอ้ มูลได้จาก หนังสือ และ Internet ตามหัวขอ้ ที่
กาหนดใหค้ อื
1. ความรูท้ วั่ ไปเก่ียวกบั สนั ตวิ ฒั นธรรม
2. องคป์ ระกอบของสนั ติวฒั นธรรม
3. บคุ คลและองคก์ รที่เป็นพ้นื ฐานของการสร้างสนั ตวิ ฒั นธรรม
4. การแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ในสงั คมไทยดว้ ยสนั ติวธิ ี
5. ความสาคญั และประโยชน์ของสนั ติวฒั นธรรม

6. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนแต่ละกลุ่มสรุปเกี่ยวกบั สนั ติวฒั นธรรม บุคคลและองคก์ รท่ีเป็ นพ้ืนฐาน
ของการสร้างสันติวฒั นธรรม องคป์ ระกอบของสนั ติวฒั นธรรม การแกป้ ัญหาความ
ขดั แยง้ ในสงั คมไทยดว้ ยสนั ตวิ ธิ ี

7. ความสาคัญและประโยชน์ของสันติวฒั นธรรม โดยการเขียนในรูปแบบ Mind
Mapping ในแต่ละหวั ขอ้

8. ในขณะท่ีผเู้ รียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั ระดมความรู้ ผูส้ อนก็เดินให้คาปรึกษาตามกลุ่มตา่ งๆ
ตามท่ีผูเ้ รียนสงสัย และคอยสังเกตการณ์การทางานของแต่ละกลุ่ม ทาบันทึกผลการ
ทางานเป็นกลุ่มของผเู้ รียน

9. ตวั แทนกลุ่มแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงาน หรืออภิปราย อยา่ งนอ้ ยกลุ่มละ 2 คน
10. หลงั จากตวั แทนของแต่ละกลุ่มนาเสนอจบ ก็เปิ ดโอกาสให้สมาชิกต่างกลุ่มถามปัญหา

หรือขอ้ สงสยั ได้
11. เมื่อสิ้นสุดการระดมความคิด ผเู้ รียนกบั ผสู้ อนร่วมกนั สรุปความคิดเห็นทไ่ี ดร้ บั ในแต่ละ

กลุ่ม ผสู้ อนบอกจุดดี จุดเด่นของแต่ละกลุ่มในการนาเสนอขอ้ มูล ผูส้ อนให้กาลังใจ
กลุ่มท่ีนาเสนอขอ้ มูลไดด้ ี (ควรหาจุดดีของทุกๆ กลุ่มแลว้ ชมเชยให้กาลงั ใจ เพ่ือเป็ น
การเสริมแรงในการนาเสนอคร้งั ตอ่ ไป)
12. ผเู้ รียนแต่ละกลุ่มส่ง Mind Mapping ในแต่ละหวั ขอ้ ผสู้ อนตรวจ ประเมินผล และ

รายงานผล

ข้ันสรุป

1. ผสู้ อนและผเู้ รียนช่วยกนั สรุปองคค์ วามรู้เกี่ยวกบั สนั ติวฒั นธรรมบุคคลและองคก์ ร
ที่เป็ นพ้ืนฐานของการสร้างสันติวฒั นธรรม องค์ประกอบสันติวฒั นธรรม
การแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ในสังคมไทยดว้ ยสันติวิธี ความสาคญั และประโยชน์
ของสนั ตวิ ฒั นธรรม

2. ผสู้ อนจดั ใหผ้ เู้ รียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ นาคะแนนทไ่ี ดไ้ ปเปรียบเทียบ
กบั คร้งั แรก วา่ ผา่ นเกณฑห์ รือไม่ ชมเชยคนท่ผี า่ นเกณฑ์ ใหก้ าลงั ใจคนท่ีไม่ผา่ น
เกณฑ์

3. ผสู้ อนฝากใหผ้ เู้ รียนไปศกึ ษาใน เวบ็ ไซต์ ทเ่ี กี่ยวกบั สนั ตวิ ฒั นธรรม ต่อไป

ข้นั วดั ผลและประเมินผลตามวตั ถปุ ระสงค์
11. ผสู้ อนช้ีแจงผูเ้ รียนเกี่ยวกบั วิธีการวดั ผลและประเมินผล
12. วดั ผลประเมินผลตามวตั ถุประสงค์

ส่ือการเรียนรู้

ประเภทส่ือส่ิงพิมพ์

13.หนงั สือเรียนวิชา ชีวติ กบั สงั คมไทย
14.แบบทดสอบ
15. งานมอบหมาย
16.แบบประเมิน/แบบสงั เกต
ประเภทสื่อเทคโนโลยี

16.วดี ิทศั น์ เร่ือง สนั ติวฒั นธรรม
17.PowerPoint/โปรเจก็ เตอร์
18.แผน่ ใส/OverHead
ประเภทส่ือแหล่งการเรียนรู้

13.หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางศาสนา (ลานธรรม)
14.วดั (กิจกรรมชวนลูกศษิ ยเ์ ขา้ วดั ใกลบ้ า้ น)

การวดั ผลและประเมินผล

วดั ผลโดยวิธีการ (วดั ความรู้ ทกั ษะ จิตพสิ ัย)

19. ตรวจคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน/ชิ้นงาน
.............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................………………………………………………………………….………………
……………………………………………………………………………………..………
……………………………………………………………………………...……………..

20. สงั เกต/ทดสอบความสามารถ/ทกั ษะจากการปฏบิ ตั งิ าน/การใชท้ กั ษะตา่ งๆ
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

21.สมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤติกรรมเชิงคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมที่พงึ ประสงค์
ของผเู้ รียน
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................

................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

ประเมนิ ผลสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียนจาก
19.เกณฑค์ ะแนน/คา่ คะแนนเฉลี่ยคุณภาพจากใบงาน/แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ/รายงาน
/ชิ้นงาน
20.เกณฑค์ ะแนน/ค่าคะแนนเฉล่ียคุณภาพจากการสงั เกต/ทดสอบความสามารถ/
ทกั ษะจากการปฏิบตั งิ าน/การใชท้ กั ษะตา่ งๆ
21.เกณฑค์ ะแนน/ค่าคะแนนเฉลี่ยคุณภาพจากการสมั ภาษณ์/สอบถาม/สงั เกตพฤตกิ รรมเชิง
คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
..........................................................................................................................................

หลักฐานการเรียนรู้และ กจิ กรรมเสนอแนะ
หลกั ฐานการเรียนรู้ (หลกั ฐานร่องรอย/ผลงาน/แบบฝึกหดั /รายงาน/วสั ดุ) ทแี่ สดงใหเ้ ห็นถึง

ความพยายามในการพฒั นาการเรียนรูแ้ ก่ผเู้ รียน
7. ช้ินงาน Mind Mapping
8. แบบฝึกหดั

กิจกรรมเสนอแนะ (ข้อเสนอแนะของผู้สอน/ผู้จดั ทาแผนการเรียนรู้)
1. จดั นิทรรศการในหวั ขอ้ เกี่ยวกบั สนั ตวิ ฒั นธรรม
2. จดั อภปิ ราย โตว้ าทีเกี่ยวกบั สนั ติวฒั นธรรม
3. ใหผ้ ูเ้ รียนรวบรวมแนวคิด สนั ติวฒั นธรรม ทผี่ ูเ้ รียนสนใจจากเวบ็ ไซตท์ ี่เก่ียวขอ้ ง เพอื่
ใชพ้ ฒั นาองคค์ วามรู้ใหก้ วา้ งขวางยง่ิ ข้ึน
4. จดั ทาป้ายนิเทศ หลงั ช้นั เรียนเกี่ยวกบั สนั ติวฒั นธรรม

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 8
ชื่อวชิ า : ชีวิตกบั สังคมไทย (3000-1501) สัปดาห์ที่ 14-15

ช่ือหน่วย : ความร่วมมือกับประเทศต่าง ๆ ในสังคมโลก เวลา 6 ชั่วโมง

สาระสาคญั
ท่ามกลางความเจริญดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ประกอบกับ

ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนควบคู่กบั ความเจริญดงั กล่าวส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตของมนุษยใ์ นทุกสังคม
โลก หลายปัญหาที่เกิดข้ึนไม่สามารถแกไ้ ขได้เพียงแค่สังคมใดสังคมหน่ึง จึงเป็ นปัจจยั สาคญั ที่ทาให้
ประเทศต่าง ๆ ตอ้ งหนั หน้าเขา้ หาและแสดงความร่วมมือกนั ในรูปแบบตา่ ง ๆ ต้งั แต่ระดบั อนุภูมิภาค ระดบั
ภมู ิภาค จนถึงระดบั สงั คมโลกเพอ่ื เชื่อมโยงความร่วมมือเป็ นเครือขา่ ยสู่การพฒั นาและแกป้ ัญหาดา้ นต่าง ๆ
ใหส้ งั คมโลกมีความเจริญต่อไป

สาระการเรียนรู้
1. ความร่วมมือไทย-อาเซียน
2. ความร่วมมือกบั ประเทศเพอื่ นบา้ น
3. ความร่วมมือไทย-กลุ่มประเทศอาเซียน + 3
4. ความร่วมมือไทยกบั องคก์ รระดบั โลก

สมรรถนะประจาหน่วย
แสดงความรู้เก่ียวกบั ความร่วมมือของประเทศไทยกบั ประเทศต่าง ๆ ในสังคมโลก ไดแ้ ก่ ความ

ร่วมมือไทย-อาเซียน ไทย-ประเทศเพื่อนบา้ น ไทย-กลุ่มประเทศอาเซียน + 3 และไทย-องคก์ รระดบั โลก
ผา่ นทกั ษะการบอก เขยี นอธิบาย เสนอความเห็น อภปิ รายและแสดงความภาคภูมิใจ วเิ คราะห์ประโยชนแ์ ละ
ความสาคญั ของความร่วมมือกบั ประเทศต่าง ๆ ในสงั คมโลก

สมรรถนะการเรียนรู้
1. อธิบายเกี่ยวกบั ความร่วมมือระหวา่ งไทยกบั อาเซียนดา้ นการเมืองและความมน่ั คง
ดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นสงั คมและความร่วมมือเฉพาะดา้ นได้
2. อธิบายความร่วมมือระหวา่ งไทยกบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น ดา้ นการเมืองและ
ความมน่ั คง ดา้ นเศรษฐกิจ และดา้ นการพฒั นาสงั คมได้

3. อธิบายความร่วมมือ ระหวา่ งไทยกบั กลุ่มประเทศอาเซียน +3 ดา้ นการเมืองและ
ความมน่ั คง ดา้ นเศรษฐกิจและดา้ นการพฒั นาสงั คมได้

4. อธิบายเกี่ยวกบั ความร่วมมือ ระหวา่ งไทยกบั องคก์ รระดบั สงั คมโลกดา้ นตา่ ง ๆได้

จุดประสงค์การเรียนรู้
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
พทุ ธิพสิ ัย
1. อธิบายเก่ียวกบั ความร่วมมือระหวา่ งไทยกบั อาเซียน ดา้ นการเมืองและความมน่ั คง
ดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นสงั คมและความร่วมมือเฉพาะดา้ นได้

2. อธิบายความร่วมมือระหว่างไทยกบั ประเทศเพื่อนบา้ น ดา้ นการเมืองและความ
มน่ั คง ดา้ นเศรษฐกิจ และดา้ นการพฒั นาสงั คมได้

3. อธิบายความร่วมมือ ระหวา่ งไทยกบั กลมุ่ ประเทศอาเซียน +3 ดา้ นการเมืองและ
ความมนั่ คง ดา้ นเศรษฐกิจและดา้ นการพฒั นาสงั คมได้

4. อธิบายเกี่ยวกบั ความร่วมมือ ระหวา่ งไทยกบั องคก์ รระดบั สงั คมโลกดา้ นตา่ ง ๆได้

ทักษะพิสัย
-

จติ พิสัย
มีคุณลกั ษณะตามแนวหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

จุดประสงค์ท่วั ไป

มี ค วาม รู้ค วาม เข้าใจเกี่ ยวกับ ค วาม ร่ วม มื อ กับ ป ระ เท ศต่ าง ๆ ใน สังค ม โล ก
พร้อมท้งั ประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื่ การดาเนินชีวติ ประจาวนั ในสงั คม

เนื้อหาการเรียนรู้

1. ความร่วมมือไทย-อาเซียน
2. ความร่วมมือกบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น
3. ความร่วมมือไทย-กลุ่มประเทศอาเซียน + 3
4. ความร่วมมือไทยกบั องคก์ รระดบั โลก

กิจกรรมการเรียนรู้
ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน
1. ผสู้ อนและผเู้รียน ตกลงร่วมกนั เก่ียวกบั กระบวนการเรียนการสอน ตลอดภาคการศกึ ษา

2. ผูส้ อนช้ีแจงเรื่องการเรียนรู้รายวิชา ชีวิตกับสังคมไทย (3000-1501)โดยวางแนวทาง
การเรียนรู้ไว้ 2 แนวทางคือ การเรียนรู้ดว้ ยตนเองก่อนเขา้ ช้นั เรียนและ การเรียนรู้ปกติใน
ช้นั เรียน

3. ผเู้รียนและผสู้ อนร่วมกนั สนทนา เร่ือง ความร่วมมือกบั ประเทศต่างๆ ในสังคมโลก โดย
ผสู้ อนเน้นย้าเร่ือง การนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นกระบวนการเรียนรู้ เช่น
ตระหนักถึงคุณค่าในการเรียนรู้ ทางานที่ได้รับมอบหมายเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์
ความพอประมาณในการใชก้ ระดาษในการตอบ มีการวางแผนการในการทางาน ร่วมมือ
ช่วยเหลือเพอ่ื นเอ้ือเฟ้ื อเผื่อแผซ่ ่ึงกนั และกนั ในหมู่เพ่ือนฝูง และขอใหใ้ ชแ้ นวหลกั ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี งในการเรียนรู้ตลอดท้งั ภาคเรียนและในรายวิชาอ่ืนๆ

4. ผูส้ อนช้ีแจงผูเ้ รียนถึงวตั ถุประสงค์ของการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และวิธีการทา
แบบทดสอบผสู้ อนให้ผเู้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน โดยให้เวลาทาประมาณ 10
นาที

5. ผสู้ อนเฉลยแบบทดสอบ/ใหผ้ เู้ รียนสลบั กนั ตรวจ/และช่วยกนั รวมคะแนน
6. ผสู้ อนแจง้ คะแนนการทาแบบทดสอบก่อนเรียน และทาความเขา้ ใจกบั ผเู้ รียนวา่

ผลการทดสอบเพอื่ เป็นการวดั ความรู้พน้ื ฐานเทา่ น้นั ไม่มีผลตอ่ การวดั ผลคะแนนรวม
7. ผสู้ อนเร่ิมนาเขา้ สู่กิจกรรมการเรียนการสอนตามวตั ถุประสงค์

หมายเหตุ ก่อนสอนข้นั นาเขา้ สู่บทเรียนผสู้ อนตอ้ งเตรียมส่ือตามทร่ี ะบใุ นกิจกรรมการเรียนการสอน

ข้นั กิจกรรมการเรียนการสอนตามวตั ถปุ ระสงค์
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความร่วมมือกับประเทศต่างๆ ในสังคมโลก และประยุกต์ใช้

เพอ่ื การดาเนินชีวติ ประจาวนั ในสงั คม

1. ผสู้ อนฉาย Clip vdo เร่ืองความร่วมมือกบั ประเทศตา่ งๆ ในสงั คมโลก (10 นาท)ี ใหผ้ เู้ รียนดู
เมื่อจบแลว้ ผสู้ อนถามความรู้สึกของผเู้ รียนเป็นอยา่ งไรบา้ ง

2. ผูส้ อนให้ผู้เรียนแต่ละคน แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับความร่วมมือไทย-อาเซียน
ความร่วมมือกับประเทศเพ่ือนบ้าน ความร่วมมือไทย-กลุ่มประเทศอาเซียน +3


Click to View FlipBook Version