The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือ แนวทางพัฒนาโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Web Master, 2020-06-26 05:44:41

คู่มือ แนวทางพัฒนาโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ

คู่มือ แนวทางพัฒนาโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ

ทีป่ รึกษา

แพทยห์ ญงิ พรรณพมิ ล วปิ ุลากร อธิบดกี รมอนามัย
นายแพทยบ์ ัญชา คา้ ของ รองอธิบดีกรมอนามัย
นายแพทยอ์ รรถพล แก้วสัมฤทธิ ์ รองอธิบดกี รมอนามัย
ดร.จินตนา พฒั นพงศธ์ ร นักวชิ าการสาธารณสุขทรงคณุ วฒุ ิ
(ด้านส่งเสริมสขุ ภาพ)
นายแพทยเ์ อกชยั เพยี รศรวี ัชรา ผอู้ ำ�นวยการส�ำ นักส่งเสริมสุขภาพ

กองบรรณาธกิ าร เม๊าะสน ิ ส�ำ นกั ส่งเสริมสุขภาพ
โภคสมบตั ิ ส�ำ นักส่งเสรมิ สุขภาพ
นางสาวฟารดี า ออ่ นศร ี สำ�นกั ส่งเสรมิ สุขภาพ
นางสาวอรอมุ า จนั่ ผอ่ ง สำ�นักส่งเสริมสขุ ภาพ
นางสาวอญั ชลุ ี ชณั ยะมาตร ์ ส�ำ นกั ส่งเสริมสขุ ภาพ
นางปนัดดา จินดาวณชิ ย์ ส�ำ นกั ส่งเสริมสุขภาพ
นางสาววลั นภิ า ภ่ปู ระสม ส�ำ นกั ส่งเสริมสขุ ภาพ
นายสโรช โสดาปดั ชา สำ�นักสง่ เสรมิ สุขภาพ
นายเนต์ ิ
นางสาวคทั ลียา

พมิ พ์ครงั้ ที่ 1 มนี าคม 2563
จ�ำ นวนพิมพ ์ 5,000 เลม่
พิมพ์ที ่ สำ�นักงานกิจการโรงพิมพอ์ งคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก

คำ�นำ�

กรมอนามัย ได้ด�ำเนินงานส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนวัยรุ่นให้เกิดการพัฒนาสุขภาพควบคู่กับการศึกษา
ตามแนวทางโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพตามกรอบแนวทางขององค์การอนามัยโลก (WHO) มาต้ังแต่ ปี พ.ศ.2541 แบ่งการ
ประเมินรบั รองด้านกระบวนการ เปน็ 3 ระดบั คอื ทอง เงนิ และทองแดง และด้านผลลัพธ์สขุ ภาพและพฤติกรรมสุขภาพ
เปน็ การประเมนิ รบั รองโรงเรยี นสง่ เสรมิ สขุ ภาพระดบั เพชร ผลการด�ำเนนิ งานมคี วามกา้ วหนา้ มากขน้ึ ตามล�ำดบั มโี รงเรยี น
เขา้ ร่วมโครงการโรงเรียนสง่ เสริมสุขภาพ ระดบั ทอง เงนิ ทองแดง รวมร้อยละ 90 และมีโรงเรยี นสง่ เสรมิ สขุ ภาพระดับเพชร
รอ้ ยละ 3 ตามกรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ การปฏริ ปู ความรอบรแู้ ละการสอ่ื สารสขุ ภาพ เปน็ นโยบายเรง่ ดว่ นในการผลกั ดนั ใหก้ าร
ท�ำงานเกิดผลสัมฤทธ์ิต่อการสร้างพลเมืองไทยให้มีสุขภาพดีอย่างเป็นรูปธรรม ดังน้ันก้าวต่อไปในการพัฒนาด้านสุขภาพ
เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นจ�ำเป็นต้องด�ำเนินงานควบคู่ท้ังในด้านการแก้ปัญหาสุขภาพเฉพาะประเด็นและการส่งเสริมสุขภาพ
องค์รวม โดยใช้กลยุทธ์การพัฒนาความรอบรู้และพฤติกรรมสุขภาพเป็นส�ำคัญตามแนวทางทฤษฎี V-Shape มาเป็น
กระบวนการความส�ำเร็จในการขับเคล่ือนความรอบรู้ด้านสุขภาพและการสื่อสารสุขภาพของเด็กวัยเรียนในการกลั่นกรอง
ประเมินและตัดสินใจ ที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การเลือกใช้บริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างเหมาะสม
มีความสามารถจัดการสุขภาพได้ด้วยตนเอง (Self Management) และอยู่ในสังคมรอบรู้ (Literate Society)
โดยเร่ิมให้เด็กวัยเรียนสามารถเข้าถึงและเข้าใจข้อมูลความรู้สุขภาพ โต้ตอบ ซักถาม แลกเปล่ียน น�ำไปสู่การตัดสินใจ
ปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมตนเองและปรบั สภาพแวดลอ้ มได้ และสดุ ทา้ ยบอกต่อเพอ่ื สรา้ งสังคมรอบรูส้ ุขภาพอยา่ งยง่ั ยนื
กรมอนามัยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงได้จัดท�ำแนวทางการพัฒนาโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ
(Health Literate School : HLS) ภายใต้ 4 องค์ประกอบ 12 ตวั บง่ ช ้ี ซ่ึงเปน็ แนวทางการพัฒนา ยกระดบั การดูแลสุขภาพ
นกั เรยี นดว้ ยการจดั ระบบการบรหิ ารจดั การใหท้ กุ คนในโรงเรยี นสอ่ื สารดแู ลสขุ ภาพของตนเอง รจู้ กั คน้ หาขอ้ มลู ไปใชป้ ระกอบ
การตดั สนิ ใจ น�ำไปสกู่ ารปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพทเี่ หมาะสมและบอกตอ่ สอ่ื สารผอู้ นื่ ได้ กรมอนามยั หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่โรงเรียนและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง น�ำไปใช้เป็น
แนวทางการด�ำเนินงานใหบ้ รรลุผลส�ำเรจ็ ตอ่ ไป

กรมอนามยั
2563

ค�ำ แนะนำ�การใช้

แนวทางการพฒั นาโรงเรียนรอบรู้ดา้ นสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

แนวทางการพัฒนาโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literate School : HLS) จัดทำ�ขึ้น
เพอ่ื ใหค้ รู บคุ ลากรในโรงเรยี น นกั วชิ าการ เจา้ ทส่ี าธารณสขุ ผรู้ บั ผดิ ชอบงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพในโรงเรยี นหรอื เจา้ หนา้ ท่ี
ที่เก่ียวข้องนำ�แนวทางไปใช้ในการพัฒนาโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ ภายใต้ 4 องค์ประกอบ 12 ตัวบ่งชี้
ด้วยการจัดระบบการบริหารจัดการให้ทุกคนในโรงเรียนส่ือสารดูแลสุขภาพของตนเอง รู้จัก ค้นหาข้อมูล
ไปใช้ประกอบการตัดสินใจ นำ�ไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพท่ีเหมาะสมและบอกต่อสื่อสารผู้อ่ืนได้
เพ่ือสร้างสังคมรอบรู้สุขภาพอย่างย่ังยืน ซ่ึงผู้ท่ีจะนำ�แนวทางไปใช้ควรศึกษาข้อมูลในแนวทางอย่างละเอียด
ทง้ั นีแ้ นวทางการดำ�เนินงานสามารถปรบั ตามบริบทและสภาพแวดลอ้ มของโรงเรียนนนั้ ๆ

วัตถุประสงค์

1. เพื่อพัฒนาและสนบั สนุนโรงเรยี นใหเ้ ปน็ โรงเรยี นรอบรูด้ า้ นสขุ ภาพ (Health Literate School)
2. เพื่อเสริมสร้างกระบวนการพัฒนาให้เด็กวัยเรียนวัยรุ่น มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีทักษะสุขภาพ
และมีพฤติกรรมสขุ ภาพที่พงึ ประสงค์

ประชากรกลุ่มเป้าหมาย

- โรงเรียนทกุ สังกัดท่วั ประเทศ
- เดก็ อายุ 6-14 ปี ในโรงเรียนระดับประถมศกึ ษา และมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ม.1-ม.3

กระบวนการน�ำ แนวทางไปจัดกจิ กรรมในห้องเรียน

ใช้กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม / เกม / ยกตัวอย่างสถานการณ์ประกอบ และบรรยาย
ซงึ่ จะท�ำ ใหน้ กั เรยี นสามารถเขา้ ใจเนอื้ หา และกจิ กรรมไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทง้ั นตี้ อ้ งใหน้ กั เรยี นสามารถแสดงออกได้
อยา่ งอิสระ

การบรู ณาการแนวทางโรงเรยี นรอบรู้ด้านสุขภาพกบั สาระการเรยี นการสอน

- บูรณาการกบั การเรยี นการสอนทุกกล่มุ สาระวชิ า
- กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น วิชาแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี กิจกรรมลดเวลาเรียน
เพ่ิมเวลารู้ ฯลฯ

เอกสารสนับสนนุ ประกอบการพฒั นาโรงเรียนรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ

1. แนวทางสง่ เสริมสขุ ภาพป้องกันโรคเดก็ วยั เรยี น และเยาวชน
2. คู่มือการตรวจคัดกรองสุขภาพและการดูแลปัญหาที่พบบ่อยในเด็กวัยเรียน สำ�หรับครูพยาบาล
อนามัยโรงเรียน
3. หนงั สอื ถอดบทเรยี นโรงเรยี นส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
4. คู่มือเสริมสรา้ งศกั ยภาพนกั เรียน STRONG SMART SMILE
5. ส่ือเด็กไทยรอบรู้สุขภาพ
6. สอ่ื วซี ดี ี ปฏิบตั ิการความรอบรู้ ดา้ นสุขภาพ (Animation, Poster)
7. ชดุ ความรเู้ พอ่ื การดูแลสขุ ภาพเดก็ วยั เรยี นแบบองคร์ วม (NuPETHS)
E-Book : http://nutrition.anamai.moph.go.th/download/NuPETHS/index.html
PDF : http://nutrition.anamai.moph.go.th/images/files/NuPETHS3.pdf
8. สอ่ื NuPETHS Animation
9. แผ่นพับโภชนาการดี สูงดีสมส่วน
10. แผน่ พับสง่ เสริมโภชนาการเด็กวยั เรยี นวยั รุ่น สูงดสี มส่วน ไม่อ้วน ผอม เตีย้
11. อน่ื ๆ

สารบัญ

ค�ำ น�ำ หน้า

บทท่ี บทน�ำ 1

บทท่ี แนวคดิ ทฤษฎีที่เก่ยี วขอ้ ง 5

21บทท่ี กระบวนการพฒั นาส่โู รงเรยี นรอบร้ดู ้านสุขภาพ (Health Literate School : HLS)
23บ ทที่ แนวทางการพัฒนาโรงเรียนรอบรู้ด้านสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

• องคป์ ระกอบที่ 1 กระบวนการบรหิ ารจดั การ 23
27
องคป์ ระกอบท ่ี 2 การสอื่ สารความรอบร้ดู ้านสขุ ภาพ 31
34
องค์ประกอบท ่ี 3 การจดั การสงิ่ เเวดลอ้ มในโรงเรียนที่เอ้อื ตอ่ สขุ ภาพ เเละการเรยี นร ู้

องคป์ ระกอบท่ ี 4 การมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครือขา่ ย

1บทที่

1.1 ทีม่ า บทน�ำ

ปัจจัยพ้ืนฐานของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กไทย คือ การท�ำให้เด็กทุกคนมีสุขภาพอนามัยที่ดี
ทง้ั ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ และสงั คม ในปจั จบุ นั ความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยที างการแพทยส์ ามารถควบคมุ
และแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้สาเหตุการเสียชีวิตจากโรคติดเช้ือ
ลดลง ในขณะเดียวกนั การเปลีย่ นแปลงทางด้านเศรษฐกจิ และสังคม การน�ำเทคโนโลยตี ่างๆ เข้ามาในสังคมไทย รวมทง้ั
การไดร้ บั อทิ ธพิ ลของสอื่ และวฒั นธรรมของตา่ งชาติ สง่ ผลท�ำใหว้ ถิ ชี วี ติ (Life Style) ของเดก็ ไทยในปจั จบุ นั เปลย่ี นแปลง
ไปจากเดมิ และอยบู่ นพนื้ ฐานความเสย่ี งตอ่ สขุ ภาพ จากผลการส�ำรวจพฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงคเ์ ดก็ วยั เรยี นของกรมอนามยั
ในนักเรยี นอายุ 12 ปี ในปีการศกึ ษา 2560 ท่ผี า่ นมา พบว่า 1 ใน 5 ของนักเรยี นไทย มภี าวะอว้ น (รอ้ ยละ 21.6)
แต่มเี พียงแค่ 1 ใน 3 ของเดก็ อายุ 12 ปี ทก่ี ินขา้ วครบ 3 มอ้ื (ร้อยละ 33.2) และมีนกั เรียนถึง 4 ใน 5 ท่ีดม่ื นำ้� อัดลม
(ร้อยละ 81.2) มีนักเรยี นแค่ 1 ใน 3 (หรือรอ้ ยละ 18.5) ทมี่ ีกจิ กรรมทางกายมากกวา่ 3 วันตอ่ สปั ดาห์ และมากกวา่ 60 นาที
ใน 1 วนั พบวา่ นักเรียนประมาณ 2 ใน 4 ใช้คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือนานเกนิ 2 ชั่วโมง (รอ้ ยละ 38.3) นกั เรยี น
ร้อยละ 41.1 ไม่แปรงฟนั ก่อนนอน ด้านอนามัยสง่ิ แวดล้อมมเี พยี ง 1 ใน 3 ทค่ี ดั แยกขยะลงถังก่อนทงิ้ (ร้อยละ 31.3)

แนวทางการพฒั นา 1
โรงเรยี นรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

และจากรายงานการส�ำรวจภาวะสขุ ภาพนกั เรียนในประเทศไทย พ.ศ.2558 (GSHS 2015) ดา้ นปจั จยั เสย่ี ง พบว่า 1
ใน 10 ของนักเรียนไทยเคยพยายามฆ่าตัวตาย (ร้อยละ 13.0) เป็นเด็กชาย ร้อยละ 14.4 เด็กหญิง ร้อยละ 11.7
ด้านพฤติกรรมทางเพศ พบว่า เกือบ 1 ใน 5 ของนักเรียนไทยเคยมีเพศสัมพันธ์ (ร้อยละ 18.6) โดยเป็นเด็กชาย
รอ้ ยละ 23.7 เด็กหญงิ ร้อยละ 14.2 อกี ทงั้ สถานการณ์อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง
อายุ 15-19 ปี 1,000 คน ปี 2563 มีค่าเท่ากับร้อยละ 27.56 ซึ่งบรรลุเป้าหมายกรมอนามัย (29.31) และพบว่า
มแี นวโน้มลดลง ปี 2560, 2561, 2562 ร้อยละ 39.60, 35.41, 27.56 ตามล�ำดับ แต่เมอ่ื เปรยี บเทยี บกับประเทศใน
อาเซียน พบว่า อัตราการคลอดมีชีพ ในปี 2015 สูงเป็นอันดับ 3 ของ ASEAN (51.0 ต่อพัน) รองจาก กัมพูชา,
ฟิลิปปินส์ (57.0) ลาว (75.6)
ส�ำหรับผลการประเมินระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเด็กและเยาวชน
ส่วนใหญ่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เร่ืองสุขบัญญัติในระดับพอใช้ (ร้อยละ 59.94) และระดับดีมาก (ร้อยละ 36.97)
เพียงส่วนน้อยท่ีมีความรอบรู้ด้านสุขภาพระดับต่�ำ (ร้อยละ 3.09) และส่วนใหญ่มีพฤติกรรมสุขภาพในระดับดีมาก
(ร้อยละ 45.08) รองลงมาคือระดับพอใช้ (ร้อยละ 36.72) มีเพียงส่วนน้อยที่มีพฤติกรรมสุขภาพในระดับไม่ดี
(ร้อยละ 18.20) (กองสุขศึกษา, 2557) จะเห็นได้ว่าส่วนใหญ่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ
อยใู่ นระดบั พอใช้ ซงึ่ ไมเ่ พยี งพอตอ่ การมพี ฤตกิ รรมสขุ ภาพทย่ี ง่ั ยนื และน�ำไปสกู่ ารมสี ขุ ภาวะทดี่ ี จะสง่ ผลตอ่ ความสามารถ
ในการดูแลสุขภาพของตนเองเมื่อเติบโตเป็นวัยผู้ใหญ่ จากสถานการณ์ปัญหาสุขภาพดังกล่าว จ�ำเป็นต้องด�ำเนินการ
แก้ไขแบบเชิงรุก เพ่ือลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคและส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนวัยรุ่น มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
เสริมสร้างปัจจัยส�ำคัญคือความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองหรือท่ีเรียกว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health
literacy) อีกท้ังต้องมีการก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินงานให้สอดคล้องและมีความเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนา
ท่ีย่ังยืน (SDGs) ด้านการรับรองการมีสุขภาพและความเป็นอยู่ท่ีดีของทุกคนทุกช่วงอายุ แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ. 2561 - 2580) ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12
ด้านการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ตามเป้าหมาย Thailand 4.0 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2559 ฉบับลงประชามติ มาตรา 55 ว่ารัฐต้องด�ำเนินการให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุข
ท่ีมีประสิทธิภาพอย่างท่ัวถึง เสริมสร้างให้ประชาชนมีความรู้พื้นฐานเก่ียวกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค

2 แนวทางการพัฒนา
โรงเรยี นรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหม้ กี ารพฒั นาภมู ปิ ญั ญาดา้ นการแพทยแ์ ผนไทยใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ อกี ทง้ั แผนการปฏริ ปู ประเทศ
ดา้ นสาธารณสขุ มเี ปา้ หมายหรอื ผลลพั ธท์ พ่ี งึ ประสงคใ์ นการปฏริ ปู ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ คอื 1) เพอ่ื ใหป้ ระชาชนไทย
ทุกคนมีทักษะการเข้าถึงและประมวลข้อมูลสุขภาพ เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง
2) เพือ่ ใหส้ งั คมไทยเป็นสังคมรอบรูส้ ุขภาพ และ 3) เพอื่ ใหป้ ระเทศไทยมรี ะบบสาธารณสุข การศึกษา สวสั ดิการ
สังคมและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล เข้าใจประเมินและปรับใช้ข้อมูลและบริการต่างๆ
ในสังคมเพ่ือตัดสนิ ใจดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครวั ได้อย่างเหมาะสม
ท่ีผ่านมากระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการได้บูรณาการขับเคลื่อนการด�ำเนินงานส่งเสริม
สุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียนวัยรุ่นให้เกิดการพัฒนาสุขภาพนักเรียนควบคู่กับการศึกษา เพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนา
ทง้ั ดา้ นสตปิ ญั ญา กระบวนการเรยี นรู้ และทกั ษะความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง มงุ่ สเู่ ปา้ หมายเดก็ ไทย ดี เกง่ มสี ขุ สอดคลอ้ ง
กับแนวคิดโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและโรงเรียนต้นแบบนักเรียนไทยสุขภาพดี และจากการทบทวนผลการด�ำเนินงาน
ท่ีผ่านมา พบช่องว่างของความรู้ (Gap of Knowledge) ในประเด็นส�ำคัญคือ การด�ำเนินงานท่ียังไปไม่ถึงผลลัพธ์
ท้ังด้านพฤตกิ รรมสุขภาพและภาวะสุขภาพของนกั เรยี น เน่อื งจากกระบวนการขบั เคลอ่ื นเน้นกลไกเชงิ ระบบแตไ่ ม่ไปสู่
ตวั นกั เรียน ดงั นั้นการด�ำเนนิ งานดแู ลสขุ ภาพเดก็ วัยเรียนวยั รุ่น จึงจ�ำเป็นต้องด�ำเนินงานควบคทู่ ้ังในดา้ นการแกป้ ัญหา
สุขภาพเฉพาะประเด็นและการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม โดยใช้กลยุทธ์การพัฒนาโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ
เพ่ือสรา้ งเด็กไทยให้เปน็ พลเมอื งทม่ี ีสขุ ภาพดอี ย่างต่อเน่ือง

1.2 กรอบการดำ�เนนิ งานส่งเสรมิ ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพและองคก์ รรอบรดู้ ้านสุขภาพ

การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) เป็นทักษะใหม่ท่ีส�ำคัญและจ�ำเป็นในการสร้าง
พฤตกิ รรมสขุ ภาพและสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนพฒั นาขดี ความสามารถของตนเองเพอื่ การธ�ำรงรกั ษาสขุ ภาพทดี่ อี ยา่ งยงั่ ยนื
ตามกระบวนการสง่ เสริมความรอบร้ดู ้านสุขภาพดว้ ย วีเชฟ (V-shape) ทั้งนแี้ บบจ�ำลอง V-shape มี 6 องคป์ ระกอบ
คือ การเข้าถึง การเข้าใจ การโต้ตอบซักถามและแลกเปล่ียน การตัดสินใจ การเปล่ียนพฤติกรรมและการบอกต่อ
(วชิระ เพง็ จนั ทร,์ และชะนวนทอง ธนสกุ าญจน,์ 2560) มากกว่าการสอนใหร้ ู้ แตเ่ ปล่ียนมาเป็นการสร้างทักษะใหร้ จู้ กั

แนวทางการพัฒนา 3
โรงเรยี นรอบรดู้ า้ นสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

แสวงหา “เนือ้ หา” หรอื ขอ้ มูลจากช่องทางการเผยแพรต่ ่างๆ ได้ จนสามารถแยกแยะข้อมลู ท่เี ป็นจรงิ ข้อมลู ท่ีเปน็ จริง
บางส่วนหรือข้อมูลที่หลอกลวงได้ และสามารถใช้ข้อมลู ทเ่ี ปน็ จรงิ สอดคลอ้ งกบั วธิ ีของตนเองไปประกอบการตดั สินใจ
วางแผนการเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมรว่ มกบั ผ้ใู หบ้ รกิ ารจนส�ำเรจ็ ผลดังตงั้ ใจ และสามารถบอกเลา่ ความส�ำเรจ็ ให้ผอู้ น่ื ได้
ดังภาพหนา้ 10

สง่ เสโรรงิมเรสียขุ นภาพ

School)



4 แนวทางการพัฒนา
โรงเรียนรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

22บบทททที่ ี่

แนวคดิ ทฤษฏที ่เี กย่ี วขอ้ ง

2.1 โครงการโรงเรยี นส่งเสริมสขุ ภาพ (Health Promoting School : HPS)

กรมอนามัยได้ด�ำเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเพ่ือพัฒนาเด็กและเยาวชนด้านสุขภาพ 5

ควบคไู่ ปกบั การพฒั นาการศกึ ษา โดยการพฒั นาศกั ยภาพโรงเรยี นใหเ้ ปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ และศนู ยก์ ลางของการพฒั นาสขุ ภาพ
รวมท้ังพัฒนาชุมชนให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพตามความหมายที่องค์การอนามัยโลก (2541) ได้ให้ค�ำจ�ำกัดความว่า
“โรงเรียนที่มีขีดความสามารถแข็งแกร่ง มั่นคง ที่จะเป็นสถานท่ีท่ีมีสุขภาพท่ีดีเพื่อการอาศัย ศึกษา
และท�ำงาน” และส�ำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2545) ระบุไว้คือ โรงเรียนที่มี
ความร่วมมือร่วมใจกันพัฒนาพฤติกรรมและส่ิงแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพอย่างสม�่ำเสมอเพ่ือการมีสุขภาพดี
ของทุกคนในโรงเรียน นอกจากนี้ประโยชน์ของการที่เป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ คือ 1) โรงเรียนได้รับรู้
แนวทางการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและขยายผลสู่ชุมชม 2) นักเรียนได้เรียนรู้วิถีชีวิต
ในการสร้างพฤติกรรม ซึ่งจะปลูกฝังให้เกิดการปฏิบัติตนที่จะน�ำไปสู่การมีสุขภาพดีตั้งแต่เด็กควบคู่ไปกับการศึกษา

แนวทางการพฒั นา
โรงเรยี นรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

เพ่อื ให้เด็ก “ดี เกง่ มีสุข” 3) ครู ผูป้ กครอง และสมาชกิ ของชมุ ชนจะไดร้ บั ความรู้เก่ยี วกบั สขุ ภาพอนามัยเพ่ือน�ำไปปฏบิ ัติ
ให้เกิดทักษะการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม 4) โรงเรียนมีโอกาสได้รับความร่วมมือและการช่วยเหลือจากชุมชน
และองค์กรต่าง ๆ เพ่ิมข้ึน อย่างไรก็ตามเป้าหมายสูงสุดของการด�ำเนินงานคือ ภาพลักษณ์ของเด็กวัยเรียนและ
เยาวชนไทยที่ดี เกง่ และมีความสุข อันเปน็ ความส�ำเร็จของการปฏริ ปู การศึกษาและระบบสขุ ภาพซึ่งจะน�ำไปสู่การบรรลุ
ถงึ ปรัชญาการพัฒนา “คน” อย่างแท้จรงิ
การดำ�เนินงานขับเคลื่อนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพอาศัยพลังในการพัฒนาสู่ความสำ�เร็จและความยั่งยืน
3 ประการ ได้แก่ (1) พลังดา้ นวิชาการ (Academic-based driven) ที่อาศัยองค์ความรู้ทกุ ๆ มิตทิ ่เี กี่ยวขอ้ งน�ำ มาสรา้ ง
กลยุทธ์และแรงจูงใจในการทำ�งานท้ังกับบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน ชุมชนและบุคลากรทางด้านสาธารณสุข
ท่ีให้การสนับสนุน การศึกษาข้อมูล และการวิจัยเพ่ือหาข้อมูลเชิงประจักษ์นับเป็นหัวใจของพลังทางวิชาการ
ที่จะขับเคลื่อนการดำ�เนินงานให้สำ�เร็จตามพื้นฐานสภาพปัญหา (2) พลังด้านการเมือง (Political commitment)
เป็นการสนับสนุนของระบบบริหารจัดการต่างๆ ท่ีเป็นกระบวนการบริหาร สายการบังคับบัญชา คณะกรรมการ
ดำ�เนินงาน ตลอดจนหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องที่จะร่วมกันขับเคล่ือนการทำ�งาน ติดตามกำ�กับ และประเมิน
ผลการดำ�เนินงาน และ (3) พลังประชาสังคม (Community-based driven) มุ่งเน้นด้านการสนับสนุนและ
ให้ความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชน โดยการมีส่วนรับรู้และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ดำ�เนินกิจกรรมหรือส่วนร่วม
ในกจิ กรรมและมีจิตส�ำ นกึ ของการเป็นเจ้าของโครงการร่วมกนั
ในปี 2545 กรมอนามัยได้จัดทำ�เกณฑ์มาตรฐานการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพให้ครอบคลุม
10 องค์ประกอบ เพื่อให้โรงเรียนมีแนวทางการดำ�เนินงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยแบ่งระดับของ
การรับรองโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเป็น 3 ระดับ คือ ทอง เงิน และทองแดง ซ่ึงการประเมินดังกล่าวเน้นกระบวน
การดำ�เนินงานเป็นหลัก การดำ�เนินงานให้ความสำ�คัญในการพัฒนา 2 ด้านใหญ่ๆ ได้แก่ (1) ด้านกระบวนการ และ
(2) ด้านการส่งเสริมสุขภาพและส่งิ แวดลอ้ ม ซึ่งแต่ละด้านมอี งค์ประกอบดงั นี้

6 แนวทางการพัฒนา
โรงเรยี นรอบรดู้ า้ นสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

ตาราง แสดงองค์ประกอบหลักและองคป์ ระกอบยอ่ ยของการดำ�เนนิ งาน
โรงเรียนส่งเสริมสขุ ภาพ

องค์ประกอบหลัก องคป์ ระกอบยอ่ ย

ดา้ นกระบวนการ องค์ประกอบท่ี 1 นโยบายของโรงเรยี น
องค์ประกอบท่ี 2 การบริหารจัดการในโรงเรียน

องค์ประกอบ ที่ 3 โครงการรว่ มระหวา่ งโรงเรียนและชมุ ชน
องค์ประกอบที่ 4 การจดั การส่งิ แวดล้อม
ในโรงเรียนที่เอ้ือตอ่ สุขภาพ
ดา้ นการส่งเสริมสุขภาพ องคป์ ระกอบที่ 5 การบรกิ ารอนามัยในโรงเรียน
และสง่ิ แวดลอ้ ม องค์ประกอบท่ี 6 สุขศกึ ษาในโรงเรียน
องค์ประกอบท่ี 7 โภชนาการและอาหารทป่ี ลอดภัย
องค์ประกอบท่ี 8 การออกก�ำ ลงั กายกฬี าและนันทนาการ
องค์ประกอบท่ี 9 การใหค้ �ำ ปรึกษาและสนับสนุนทางสงั คม
องคป์ ระกอบท่ี 10 การส่งเสรมิ สุขภาพบุคลากรในโรงเรยี น

และในปี 2552 กรมอนามัยไดจ้ ัดท�ำ เกณฑ์มาตรฐานการประเมนิ โรงเรยี นสง่ เสรมิ สขุ ภาพระดับเพชรข้นึ
ประกอบดว้ ย มาตรฐาน 3 ด้าน 19 ตวั ชวี้ ัด คอื มาตรฐานท่ี 1 การด�ำ เนนิ งานโรงเรยี นส่งเสริมสุขภาพ (ตัวชี้วัดที่ 1)
มาตรฐานท่ี2การด�ำ เนนิ งานสขุ ภาพของนกั เรยี นแกนน�ำ (ตวั ชวี้ ดั ที่2และ3)และมาตรฐานที่3ผลส�ำ เรจ็ ของการด�ำ เนนิ งาน
ซงึ่ ประกอบดว้ ย ภาวะสขุ ภาพของนกั เรยี น (ตวั ชว้ี ดั ท่ี 4-10) โครงการแกไ้ ขปญั หาในโรงเรยี น (ตวั ชวี้ ดั ที่ 11) และงานตาม
นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ (ตวั ชี้วดั ที่ 12-19) โดยเนน้ การวดั ผลลัพธท์ างสขุ ภาพและพฤตกิ รรมสขุ ภาพมากขนึ้
ผลการดำ�เนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ มีโรงเรียนเข้าร่วมดำ�เนินการอย่างทั่วถึงและมีการพัฒนา
การด�ำ เนนิ งานมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนเปน็ ทร่ี จู้ กั ของหนว่ ยงานตา่ งๆ ผลการด�ำ เนนิ งานมโี รงเรยี นเขา้ รว่ มโครงการโรงเรยี น
สง่ เสรมิ สุขภาพระดับทอง เงนิ ทองแดง รวมร้อยละ 90 และมโี รงเรียนส่งเสริมสขุ ภาพระดับเพชร ร้อยละ 3
แนวทางการพฒั นา
โรงเรียนรอบรู้ด้านสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS) 7

การดำ�เนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพสำ�หรับโรงเรียนที่ผ่านการประเมินรับรองแล้ว จำ�เป็นต้องมีการ
พัฒนาการดำ�เนินงานอย่างต่อเน่ืองเพื่อการคงสภาพและรักษามาตรฐานการดำ�เนินงานให้เกิดข้ึนอย่างย่ังยืน ด้วยการ
ประเมินเพื่อคงสภาพทุกๆ 3 ปี ซ่ึงโรงเรียนสามารถนำ�แนวทางตามมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพไปดำ�เนินการ
ได้อย่างต่อเน่ือง เพื่อการพัฒนาโรงเรียนให้ผ่านเกณฑ์การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพก้าวสู่ระดับที่สูงข้ึน และ
เพ่ือผลลัพธ์ทางสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน ทั้งน้ีการดำ�เนินงานส่งเสริมสุขภาพท่ีผ่านมาอาจยังไม่
ตอบโจทย์ปัญหาในยุค Destructive ที่เด็กวัยเรียนวัยรุ่นต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ รอบด้านมากข้ึน จำ�เป็นต้อง
เสรมิ สร้างทกั ษะเพือ่ ให้ความสามารถจดั การสขุ ภาพไดด้ ว้ ยตนเอง (Self Management)

2.2 โรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

โรงเรยี นรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS) หมายถงึ โรงเรยี นทม่ี กี ารจดั ระบบการบรหิ าร
จดั การใหท้ กุ คนในโรงเรยี นสอื่ สารดแู ลสขุ ภาพของตนเองและนกั เรยี น ท�ำ ใหน้ กั เรยี นรจู้ กั คน้ หาขอ้ มลู ไปใชป้ ระกอบการ
ตดั สนิ ใจ น�ำ ไปสกู่ ารปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสขุ ภาพท่เี หมาะสมและบอกตอ่ ส่ือสารผู้อ่นื ได้ (ส�ำ นักงานโครงการขบั เคลือ่ น
กรมอนามยั 4.0 เพอื่ ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพของประชาชน.คมู่ อื แนวทางทางการพฒั นาโรงเรยี นรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ 2561)
โดยน�ำ แนวทางการพัฒนาสโู่ รงเรยี นรอบรดู้ ้านสุขภาพ ภายใต้ 4 องค์ประกอบ 12 ตวั บง่ ชมี้ าด�ำ เนนิ การ

ความรอบรูด้ ้านสุขภาพ (Health Literacy)

WHO (1998) ได้ให้คําจํากัดความของความรอบรู้ด้านสุขภาพไว้ว่า เป็นกระบวนการทางปัญญา
และทักษะทางสังคมท่ีก่อเกิดแรงจูงใจและความสามารถของปัจเจกบุคคลท่ีจะเข้าถึง เข้าใจและใช้ข้อมูลข่าวสาร
เพื่อส่งเสริมและรักษาสุขภาพของตนเองให้ดีอยู่เสมอ นอกจากน้ันสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (2541) ได้อธิบาย
เสรมิ วา่ ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพเปน็ การบรรลถุ ึงระดับความรทู้ ักษะสว่ นบคุ คลและความ มน่ั ใจในการทีจ่ ะลงมือปฏิบตั ิ
เพ่ือช่วยให้สุขภาพของตนเองและชุมชนดีขึ้น โดยการปรับเปล่ียนวิถีชีวิต และสภาพความเป็นอยู่ และ Nutbeam
(2008) ได้อธิบาย ความรอบรู้ด้านสุขภาพว่าเป็นสมรรถนะของแต่ละบุคคล ท้ังทางด้านสังคมและการคิดวิเคราะห์
ที่กําหนดแรงจูงใจและความสามารถของบุคคลในการเข้าถึง ทําความเข้าใจ ประเมิน และใช้สารสนเทศด้านสุขภาพ
ตามความต้องการ เพ่ือส่งเสริมและรักษาสุขภาพของตนเองให้ดี รวมท้ังการเพ่ิมพูนความรู้และความเข้าใจปัจจัย

8 แนวทางการพฒั นา
โรงเรียนรอบร้ดู ้านสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

ท่ีกําหนดสุขภาพ การเปล่ียนทัศนคติและการจูงใจในการส่งเสริมพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ซ่ึงความรอบรู้
ด้านสุขภาพเป็นปัจจัยหน่ึงในการส่งเสริมและรักษาสุขภาพ ส่วน Rootman (2009) ให้ความหมายว่า
เป็นทักษะท่ีครอบคลุมถึงความจําเป็นเพื่อการค้นหา เพื่อประเมินและบูรณาการข้อมูลข่าวสารทางสุขภาพ
ท่ีมีความหลากหลายของบริบท และยังเป็นความต้องการ ในด้านการรู้คําศัพท์ทางสุขภาพและวัฒนธรรมของ
ระบบสุขภาพนั้นด้วย ซ่ึงต่อมา Chin et al. (2011) ให้ความหมายว่าเป็นประเด็นหนึ่งที่ต่างออกมา
ในการตีความถึงผลลัพธ์ทางสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพซ่ึงทั้ง 2 คํา
มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน โดยความรู้ด้านสุขภาพเป็นสิ่งจําเป็นท่ีสนับสนุนให้เกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ เช่น
หากมีความรูด้ ้านสุขภาพจะทาํ ใหม้ ีความรอบร้ดู า้ นสุขภาพ และล่าสุด Edwards, Wood, Davies & Edwards (2012)
ได้กล่าวว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพนั้นได้รับการถ่ายทอดหรือเป็นผู้มีส่วนร่วมสร้างให้ตนเองเกิดความสามารถ
จนกลายเป็นผู้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพในการจัดการภาวะเง่ือนไขทางสุขภาพของเขาให้สามารถเข้าถึงและ
เกาะติดกับข้อมูลข่าวสารและบริการ มีการปรึกษาหารือกับผู้เช่ียวชาญด้านสุขภาพและเจรจาต่อรองและ
เข้าถงึ การรกั ษาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และมกี ารเปล่ียนแปลงในความสามารถเหลา่ นรี้ ะหว่างสมาชิกในกล่มุ สขุ ภาพบางคน
มคี วามรแู้ ละทกั ษะในการจดั การตนเองดี แตบ่ างคนมกี ารแสวงหาขอ้ มลู นอ้ ย และมกี ารสอื่ สารเพอื่ ปรกึ ษาหารอื กนั นอ้ ย
สรุปได้ว่า ความรอบรู้ด้านสุขภาพ หมายถึง ความสามารถหรือทักษะในการเข้าถึงข้อมูลและบริการ
การทำ�ความเข้าใจเก่ียวกับข้อมูลและบริการ อันจะนําไปสู่การวิเคราะห์ประเมินการปฏิบัติและจัดการตนเอง
รวมทงั้ สามารถ ช้ีแนะเรอ่ื งสุขภาพส่วนบคุ คลและครอบครวั เพอ่ื ป้องกันและควบคุมความเสี่ยงตอ่ สขุ ภาพ

ระดับความรอบรู้ดา้ นสุขภาพแบง่ ออกเป็น 3 ระดบั คอื

ระดับ 1 ความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพพื้นฐาน (Functional Health Literacy)
ได้แก่ ความสามารถในการอ่าน และเขียน เพือ่ ให้สามารถเข้าใจถงึ เนือ้ หาสาระดา้ นสขุ ภาพ
ระดบั 2 ความรอบรู้ด้านสขุ ภาพขั้นการปฏสิ ัมพันธ์ (Communicative/Interactive Health Literacy)
ได้แก่ ความสามารถในการใช้ความรู้และการส่ือสารร่วมกับผู้อ่ืน เพ่ือให้สามารถมีส่วนร่วมใน
การดแู ลสขุ ภาพ เปน็ การรเู้ ทา่ ทนั ทางปญั ญา และทกั ษะทางสงั คมทท่ี าํ ใหส้ ามารถมสี ว่ นรว่ มในการดแู ลสขุ ภาพของตนเอง

แนวทางการพฒั นา 9
โรงเรียนรอบรดู้ า้ นสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

ระดบั 3 ความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพข้ันวจิ ารณญาณ (Critical Health Literacy)
ได้แก่ ความสามารถในการใช้ความรู้และทักษะการสื่อสาร มาประยุกต์ใช้ข้อมูลข่าวสาร
ในการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพที่มีอยู่ และสามารถจัดการสถานการณ์
ปัญหาแวดล้อมท่ีส่งผลกระทบต่อสุขภาพตนเอง เพ่ือให้สามารถตัดสินใจและเลือกปฏิบัติในการสร้างเสริม
และรักษาสขุ ภาพของตนเองใหค้ งดอี ยา่ งต่อเน่ือง

กระบวนการเปลยี่ นแปลงภายในตวั บคุ คลเพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ (V-shape)

โดย นพ.วชิระ เพง็ จันทร์
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ
25/01/60

10 แนวทางการพฒั นา
โรงเรยี นรอบรูด้ า้ นสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

1. การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ หมายถึง ความสามารถในการค้นหาข้อมูลสุขภาพจากแหล่งข้อมูลใด ๆ
ทม่ี คี วามนา่ เช่ือถอื โดยพิจารณาตรวจสอบความถกู ต้องและความนา่ เชื่อถือของขอ้ มลู สขุ ภาพที่ไดร้ บั
2. ความเขา้ ใจขอ้ มลู สขุ ภาพ หมายถึง ความสามารถในการอธิบาย ระบุ เปรียบเทียบ หรอื แปลความหมาย
เกย่ี วกบั ขอ้ มูลสขุ ภาพทไี่ ดร้ ับ รวมทง้ั สามารถวิเคราะห์พจิ ารณาข้อมลู สุขภาพที่ได้รับไปใช้
3. การโต้ตอบ ซักถาม แลกเปล่ียน หมายถึง ความสามารถในการต้ังคำ�ถาม โต้ตอบ อภิปราย
และแลกเปลย่ี นเรียนรขู้ ้อมูลสุขภาพได้
4. การตัดสินใจ หมายถึง ความสามารถในการนำ�ข้อมูลสุขภาพท่ีถูกต้องและเช่ือถือได้มาใช้เป็นทางเลือก
ทจ่ี ะลงมอื ปฏิบัติเพ่อื สุขภาพของตนเอง
5. การเปลย่ี นพฤตกิ รรม หมายถงึ ความสามารถในการประยกุ ตก์ ารเรยี นรเู้ พอื่ เปลยี่ นแปลงแกไ้ ขพฤตกิ รรม
ของตนเอง
6. การบอกต่อ หมายถึง ความสามารถในการส่ือสารข้อมูลหรือประสบการณ์จากการเปล่ียนแปลงแก้ไข
พฤตกิ รรมของตนเอง ผา่ นช่องทางต่าง ๆ เชน่ จัดเวทแี ลกเปลีย่ นเรยี นรู้ การบอกต่อผา่ นสังคมออนไลน์ (Social media)

แนวทางการพัฒนา 11
โรงเรยี นรอบร้ดู ้านสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

กรอบการพัฒนาโรงเรียนรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ (Health Literate School)

องคป์ ระกอบ ตัวบง่ ชี้
1. กระบวนการ
บรหิ ารจัดการ 1. นโยบาย โรงเรียนรอบรดู านสขุ ภาพ
2. Role Model
HPS ฤAssessment 2. การสื่อสาร 3. การนิเทศ & ประเมินผล การประเมนิ ผล นักเรียน
ความรอบรู้ 4. การถ่ายทอดนโยบาย มคี วามรอบรู้
โรงเรียน ดา้ นสุขภาพ 5. การพัฒนาตามขั้นตอน V-shape 1. ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ
ตน้ แบบ 6. การประเมินผล ดา้ นสขุ ภาพ และมี
นกั เรยี นไทย 3. การจัดการ 7. การจัดการส่ิงแวดล้อม และพฤตกิ รรม พฤติกรรม
สขุ ภาพดี สง่ิ เเวดลอ้ มในโรงเรียน ดา้ นกายภาพ สขุ ภาพ สขุ ภาพที่
8. การจัดสภาพแวดล้อมทางสังคม พงึ ประสงค์
HLO ท่เี อื้อตอ่ สุขภาพ 9. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อม 2. กระบวนการ
เเละการเรียนรู้ ทีน่ ่าอยู่ และปลอดภัย และผลลัพธ์
ด้านสขุ ภาพ
4. การมีสว่ นร่วม
ของภาคีเครือขา่ ย 10. การมสี ่วนรว่ มทุกขั้นตอน
11. มีเครือขา่ ยชุมชนนักปฏิบตั ิ

โรงเรยี นรอบร้ดู ้านสขุ ภาพ
12. เปน็ สังคมรอบรู้ด้านสุขภาพ

Health Literate Societies

โรงเรียนทกุ สงั กัดสามารถเขา้ ร่วมพฒั นาเปน็ HLS ขับเคล่ือนผา่ นกลไก คกก.ประเมิน HPS ระดบั จังหวัด

12 แนวทางการพัฒนา
โรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

ขัน้ ตอนและบทบาทการพฒั นาโรงเรยี นรอบรดู้ ้านสุขภาพ

ก�ำ หนดนโยบาย สำ�รวจ วเิ คราะห์สถานการณ์ ส่งเสรมิ เป็นท่ีปรกึ ษา ให้ความ
และแผน สุขภาพ ประเมินความตอ้ งการ สนบั สนุน ดา้ นวชิ าการ รว่ มมือ
การดำ�เนินงาน และมสี ่วนรว่ ม
สสนส่งเรบั สา้สรงนิมแนุรผงพจลูงัฒักใดจนันา วางแผนและก�ำ หนด อยา่ งเป็นระบบ
แนวทางการดำ�เนินงานร่วมกัน ตดิ ตาม
สร้างกลไกล ประเมินผล เขา้ ใจ สนับสนุน
การมีส่วนรว่ มทกุ ภาค ด�ำ เนนิ งานตามแผน สนับสนนุ แหล่งทนุ /
เพ่ือบรรลเุ ป้าหมาย Coaching ทรพั ยากร
ติดตาม ประเมินผล บรู ณาการกบั การจัดการเรยี น
เผยแพร่ การสอน Active Learning พฒั นาศักยภาพ
พฒั นาสภาพแวดล้อม แกผ่ เู้ กย่ี วข้อง
ประชาสัมพนั ธ์ แหลง่ เรยี นรู้และการสือ่ สารสุขภาพ
เป็นแบบอย่างทด่ี ี แลกเปลีย่ นเรียนรู้/ ทกุ ระดับ
(Role Model) ถอดบทเรยี น/สรปุ ประเมินผล

พัฒนาต่อเนือ่ ง

บทบาท บทบาทโรงเรียน บทบาท บทบาท ชุมชบนทบทา้อทงถิ่น
ผู้บริหาร คณะกรรมการ (ผู้บริหาร ครู นกั เรยี น) ส�ำ นกั งานเขตพ้นื ที่ หน่วยงาน ผปู้ กครอง
สาธารณสขุ
สถานศกึ ษา การศึกษา

Whole School Approach

แนวทางการพัฒนา 13
โรงเรยี นรอบรูด้ า้ นสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

ผลทคี่ าดวา่ จะได้รับ

1. นกั เรียนมีความรอบร้สู ุขภาพด้านสุขภาพเพิ่มข้ึนตามเป้าหมาย
2. นกั เรียนมีพฤตกิ รรมสุขภาพที่พงึ ประสงค์ (เชน่ ดา้ นการบริโภคอาหาร กจิ กรรมทางกาย และ
ทนั ตสุขภาพ เปน็ ตน้ )
3. โรงเรียนเป็นโรงเรียนรอบร้ดู ้านสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

2.3 การเรยี นรแู้ บบ Active Learning

เป็นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ หรือ การลงมือทำ� ซ่ึง “ความรู้” ท่ีเกิดขึ้นจะเป็นความรู้
ที่ได้จากประสบการณ์ กระบวนการในการจัดกิจกรรม ผู้เรียนต้องลงมือกระทำ�มากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว
จัดกิจกรรมเรียนรู้โดยการอ่าน การเขียน การโต้ตอบ และการวิเคราะห์ปัญหา อีกท้ังให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวน
การคดิ ข้นั สงู ไดแ้ ก่ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า

14 แนวทางการพัฒนา
โรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

รปู แบบวธิ ีการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้แู บบ Active Learning

กิจกรรม จุดเดน่ ตวั อย่างกจิ กรรม

1. การเรยี นรโู้ ดยใช้ เ น้ น ก า ร พั ฒ น า ก า ร เ รี ย น รู้ ผ่ า น กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ - การโต้วาที
กจิ กรรมเปน็ ฐาน การปฏิบัติ เน้นบทบาท และการมีส่วนร่วมของ - บทบาทสมมติ
(Activity-Based Learning) ผู้เรียน โดยเอากิจกรรมเป็นที่ตั้งเพ่ือที่จะฝึกหรือ - การเรียนรโู้ ดยใช้
พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ กดิ การเรยี นรใู้ หบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ สถานการณ์
หรือเป้าหมายที่กำ�หนด ทำ�ให้ผู้เรียนมีความต่ืนตัว
และกระตือรือร้นด้านการรู้คิด สามารถเรียนรู้
ได้ด้วยตัวเอง เน้นเรียนนอกห้อง มากกว่าในห้อง
หลังจากทำ�กิจกรรม สรุปความคิดและสิ่งท่ีได้
น�ำ กลับมาตอ่ ยอดในโรงเรียนและบา้ น

2. การเรยี นรู้ เป็นการเรียนรู้จากกิจกรรมหรือการปฏิบัติซ่ึง - กิ จ ก ร ร ม ก า ร ส่ื อ ส า ร
เชิงประสบการณ์ เป็นประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรมเพ่ือนำ�ไปสู่ความรู้ ทุกรูปแบบ เช่น การพูด
(Experiential Learning) ความเข้าใจเชิงนามธรรม โดยผ่านการสะท้อน การเขียน การวาดรูป
ประสบการณ์ การคิดวิเคราะห์ การสรปุ เปน็ หลักการ การแสดงบทบาทสมมุติ
ความคิดรวบยอด และการนำ�ความรู้ไปประยุกต์ใช้ การนำ�เสนอด้วยสื่อต่างๆ
ในสถานการณ์จริง อาศัยกิจกรรมการสื่อสาร ทำ�ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ทุกรูปแบบ เช่น การพูด การเขียน การวาดรูป ที่ผา่ นประสบการณ์
การแสดงบทบาทสมมุติ การนำ�เสนอด้วยส่ือต่างๆ
ทำ�ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ผ่านประสบการณ์
เชงิ ประจกั ษจ์ ากกจิ กรรม หรอื การปฏบิ ตั ขิ องผเู้ รยี น
เกดิ การเรยี นรู้ใหมๆ่ ทีท่ ้าทายอย่างตอ่ เน่ือง

แนวทางการพัฒนา 15
โรงเรยี นรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

กจิ กรรม จดุ เดน่ ตวั อย่างกิจกรรม

3. การเรยี นร้โู ดยใช้ เป็นกระบวนการเรียนรู้โดยต้ังต้นจาก “ปัญหา” - ครูให้โจทย์นักเรียน
ปัญหาเปน็ ฐาน เน้นในส่ิงที่เด็กอยากเรียนรู้ โดยเริ่มจากปัญหาท่ี ทำ�เป็นกลุ่มและนำ�เสนอ
(Problem-Based Learning) เด็กสนใจหรือพบในชีวิตประจำ�วัน มีจุดมุ่งหมาย เช่น “มาช่วยแก้ปัญหา
เพื่อฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลและ ขยะในโรงเรียนกันดีกว่า”
เป็นระบบ ซ่ึงกิจกรรมการเรียนรู้เน้นทักษะ “การแก้ปัญหาฟันแท้ผุ
กระบวนการคิดแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ ในโรงเรียน”
คิดวิจารณญาณ การสืบค้นและรวบรวมข้อมูล
กระบวนการกลุม่ การบนั ทึกและการอภิปราย

4. การเรียนรู้ เ ป็ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ ผู้ เ รี ย น - ครูให้โจทย์นักเรียน
โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ได้ศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตาม ทำ�เป็นกลุ่มและนำ�เสนอ
(Project-Based Learning) ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศยั โดยการค้นหาปัญหาใน
กระบวนการ 6 ขั้นตอน (การเตรียมความพร้อม โรงเรียนหรือชุมชนเพื่อ
การกำ�หนดและเลือกหัวข้อ การเขียนเค้าโครงของ ม า จั ด ทำ � เ ป็ น โ ค ร ง ง า น
โครงงาน การปฏบิ ตั งิ านโครงงานการน�ำ เสนอผลงาน เช่น นักเรียนสำ�รวจแล้ว
และการประเมินโครงงาน ในโรงเรียนพบว่ามีการ
เป็นเหาในนักเรียนหญิง
จึงเสนอโครงงาน “แชมพู
ใบน้อยหน่ากำ�จัดเหา”
โดยใชว้ ัสด ุ ที่มใี นท้องถิน่

5. การเรียนรู้โดยเน้น เป็นกระบวนการท่ีผู้สอนใช้เทคนิค วิธีการกระตุ้น - การสอนทเ่ี น้นการ
ทกั ษะกระบวนการคิด ให้ผู้เรียนคิดเป็นลำ�ดับขั้นแล้วขยายความคิด คดิ คำ�นวณ
(Thinking Based Learning) ต่อเนื่องจากความคิดเดิม พิจารณาแยกแยะ - การสอนท่ีเน้นการ
อย่างรอบด้าน ให้เหตุผลและเช่ือมโยงกับความรู้เดิมที่มี คดิ วิเคราะห/์ คดิ อยา่ งมี
จนสามารถสร้างส่ิงใหม่หรือ ตัดสินประเมิน วิจารณญาณ

หาขอ้ สรปุ แล้วนำ�ไปแก้ปญั หาอย่างมีหลกั การ

16 แนวทางการพัฒนา
โรงเรียนรอบรดู้ ้านสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

กิจกรรม จดุ เด่น ตัวอยา่ งกิจกรรม

6. การเรยี นรผู้ า่ นการบรกิ าร เป็นการเชื่อมโยงหรือนำ�การเรียนรู้ (Learning) - มีการจัดการศึกษา
(Service Learning) ในรายวิชาหรือทักษะท่ีต้องการให้เกิดกับผู้เรียน โดย ให้นักเรียนเข้าไป
7. การเรยี นรู้โดยการ ผสานเข้ากับการ “บริการชุมชน” (Community เรียนรู้สภาพปัญหาท่ีเกิด
สบื คน้ (Inquiry-Based Service) โดยเช่ือมโยงเน้ือหาวิชาการเข้ากับ ขึน้ จรงิ ในชุมชน โดยคำ�นงึ
Learning) ประสบการณ์การบริการ (Service Experience) ถงึ ความตอ้ งการของชมุ ชน
โดยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านทางประสบการณ์ตรง โดยนักเรียนดำ�เนินการ
ในการให้บริการกับชุมชน เป็นการเรียนโดยชุมชน แก้ไขปัญหาโดยรูปแบบ
แห่งการเรียนรู้ในลักษณะของ Service Learning โครงการและให้ชุมชนเข้า
ดำ�เนินการในรูปโครงการ (Project) ท่ีเช่ือมโยง มามสี ว่ นรว่ มในการด�ำ เนนิ
ผู้เรียนกับชุมชนเข้าด้วยกัน เพื่อให้ทั้งผู้เรียนและ โครงการ
ชุมชนได้เกิดความตระหนักร่วมกันในการช่วยเหลือ - ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้
แกไ้ ขปญั หาของชมุ ชน วิชาวิทยาศาสตร์ โดย
เป็นการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นว่าการเรียนรู้ ให้นักเรียนเป็นผู้ค้นคว้า
เกิดข้ึนด้วยตัวของผู้เรียนรู้เอง และการเรียนรู้ ห า ค ว า ม รู้ ด้ ว ย ต น เ อ ง
เรื่องใหม่ จะมีพ้ืนฐานมาจากความรู้เดิม ดังนั้น โดยใช้กระบวนการทาง
ประสบการณ์เดิมของผู้เรียนจึงเป็นปัจจัยสำ�คัญ วิทยาศาสตร์ กระตุ้นให้
ต่อการเรียนรู้เป็นอย่างย่ิง การเรียนรู้แบบน้ีมุ่งเน้น นักเรียนมีความอยากรู้
กิจกรรมที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การถาม อยากเห็น เสาะแสวงหา
คำ�ถาม การสำ�รวจตรวจสอบ จากเอกสารและ ความรโู้ ดยการถามคำ�ถาม
แหลง่ ความรอู้ นื่ ๆ การวางแผนการส�ำ รวจ ตรวจสอบ และพยายามคน้ หาค�ำ ตอบ
การทดสอบตรวจสอบหลักฐานเพ่ือเป็นการยืนยัน ให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน
ความรู้ท่ีได้ค้นพบมาแล้ว การใช้เคร่ืองมือใน กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ลอดเวลา
การรวบรวม การวิเคราะห์และการแปลความ
หมายข้อมูล การนำ�เสนอผลงาน การอธิบายและ

แนวทางการพฒั นา 17
โรงเรยี นรอบร้ดู ้านสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

กจิ กรรม จุดเด่น ตัวอย่างกิจกรรม

7. การเรยี นรู้โดยการ การคาดคะเน และการอภปิ รายแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ - ใหโ้ อกาสแกน่ กั เรยี นได้
สบื คน้ (Inquiry-Based เก่ียวกับผลงานท่ีได้ เป็นการกระตุ้นผู้เรียนให้ตื่นเต้น ฝกึ คดิ ฝกึ สงั เกต ฝกึ น�ำ เสนอ
Learning) (ตอ่ ) สงสยั ใครร่ ู้ใหผ้ เู้ รยี นตงั้ ใจรวบรวมขอ้ มลู และหลกั ฐาน ฝกึ วเิ คราะหว์ จิ ารณ์ ฝกึ สรา้ ง
8. การเรียนรู้ ผู้สอนเตรียมข้อมูลเอกสารความรู้ต่าง ๆ ที่มีคน องค์ความรู้ โดยที่ครูเป็น
แบบการคน้ พบ ศึกษาค้นคว้ามาแล้ว เพ่ือให้ผู้เรียนเชื่อมโยง ผู้กำ�กับควบคุมดำ�เนินการ
(Discovery Learning) กับความรู้ใหม่ หรือเพ่ือให้มองเห็นภาพได้ชัดเจน ใหค้ �ำ ปรกึ ษา เปน็ ผสู้ นบั สนนุ
ลึกซ้ึงขึ้น ให้ผู้เรียนอธิบายให้ชัดเจน ไม่เน้น ชี้แนะ ชว่ ยเหลอื
ความจำ�เน้ือหา และใช้กระบวนการกลุ่มในการ - การแนะให้ผู้เรียนพบ
แสวงหาคำ�ตอบ หลักการทางคณิตศาสตร์
เปน็ กระบวนการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ใหผ้ เู้ รยี นคน้ หาค�ำ ตอบ ด้ ว ย ต น เ อ ง โ ด ย วิ ธี อุ ป นั ย
หรอื ความรดู้ ว้ ยตนเอง โดยผสู้ อนจะเปน็ ผสู้ รา้ งสถานการณ์ การท่ีผู้เรียนใช้กระบวนการ
ในลักษณะท่ีผู้เรียนจะเผชิญกับปัญหา ซึ่งในการ แก้ปัญหาแล้วนำ�ไปสู่การ
แก้ปัญหาน้ัน ผู้เรียนจะใช้กระบวนการที่ตรงกับ ค้นพบ มีการกำ�หนดปัญหา
ธรรมชาตขิ องวชิ าหรอื ปญั หานนั้ เชน่ ผเู้ รยี นจะศกึ ษา ต้ังสมมติฐานและรวบรวม
ปญั หาทางชวี วทิ ยา กจ็ ะใชว้ ธิ เี ดยี วกนั กบั นกั ชวี วทิ ยา ข้อมูล ทดสอบสมมติฐาน
ศึกษา เป็นวิธีจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ และสรุปข้อค้นพบ ซึ่งอาจ
เหมาะสำ�หรับวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากการ
แต่ก็สามารถใชก้ บั วิธอี น่ื ๆ ได้ ในการแกป้ ญั หานั้น ทดลองด้วย การที่ผู้สอน
ผู้เรียนจะต้องนำ�ข้อมูลทำ�การวิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดโปรแกรมไว้ให้ผู้เรียนใช้
และสรุปเพ่ือให้ได้ข้อค้นพบใหม่หรือเกิดความคิด การคิดแบบอุปนัยและนิรนัย
รวบยอดในเรื่องนนั้ ในเรือ่ งตา่ งๆ ก็สามารถได้ขอ้
ค้นพบด้วยตนเอง ผู้สอนจะ
เป็นผู้ให้คำ�ปรึกษา แนะนำ�
หรือกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้วิธี
หรอื กระบวนการทีเ่ หมาะสม

18 แนวทางการพัฒนา
โรงเรยี นรอบรูด้ ้านสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

กิจกรรม จดุ เด่น ตวั อย่างกจิ กรรม

9. การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื การเรียนที่เน้นการทำ�งานเป็นกลุ่ม ที่สมาชิก - ทีมการรว่ มมือแข่งขัน
(Collaborative - ในกลมุ่ ท�ำ งานรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั การยอมรบั บทบาท (Team - Games -
Based Learning) หน้าที่ของกันและกัน และสามารถแลกเปล่ียน Tournament)
ความรแู้ ละประสบการณ์ระหว่างสมาชกิ ดว้ ยกันได้ - ร่วมทมี ผลสัมฤทธิ์
(Student Teams and
10. การเรยี นรผู้ า่ นเกม Achievement Division
(Game-Based Learning) STAD)

ส่ือในการเรียนรู้แบบหน่ึง ซึ่งถูกออกแบบมา - เกมตา่ งๆ ทใ่ี ช้ใน
เพ่ือให้มีความสนกุ สนานไปพร้อม ๆ กับการไดร้ ับความรู้ การเรียนการสอน
โดยสอดแทรกเน้ือหาท้ังหมดของหลักสูตรน้ัน ๆ
เอาไว้ในเกมและให้ผู้เรียนลงมือเล่นเกมโดย
ทผี่ ู้เรยี นจะไดร้ ับความรู้ต่าง ๆ ของหลกั สูตรนนั้ ผา่ น
การเล่นเกมน้ันด้วย

11. การเรยี นโดยใช้ การใช้ ICT ในการจัดการเรียนรู้ ความหมาย - การใชเ้ ทคโนโลยใี นการสอื่
ICT เป็นฐาน โดยรวม หมายถงึ เทคโนโลยีท่ีใช้จดั การสารสนเทศ เชน่ Line Facebook เปน็ ตน้
(ICT for Learning) การสื่อสาร เป็นเทคโนโลยีที่เก่ียวข้องต้ังแต่
การรวบรวม การจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล
การพมิ พ์ การสรา้ งงาน การส่อื สารขอ้ มลู ฯลฯ

12. กระบวนการเรียนรู้ เป็นการจัดการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ดังน้ัน - การสอนโดยใชส้ ถานการณ์
โดยใช้สถานการณ์ ก า ร อ อ ก แ บ บ ส ถ า น ก า ร ณ์ แ ล ะ ก า ร ส รุ ป ผ ล จ�ำ ลอง
จำ�ลองเสมือนจรงิ การเรียนรู้จึงเป็นองค์ประกอบที่สำ�คัญท่ีผู้สอนต้อง
(Simulation Based วางแผนการจดั การเรียนรูเ้ ป็นอยา่ งดี
Learning)

แนวทางการพฒั นา 19
โรงเรียนรอบรู้ดา้ นสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

กจิ กรรม จุดเด่น ตัวอยา่ งกิจกรรม

13. การจดั การเรยี นรู้ กิจกรรมหรือชิ้นงานที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติด้วย 1. การจดั ทำ�รายการ (Listing)
โดยผ่านกิจกรรม ความเข้าใจ มีการเชอ่ื มโยงข้อมูล หรือมปี ฏสิ มั พนั ธ์ 2. การเรยี งลำ�ดับและการแยก
(Task - Based ในการใช้ภาษา ซ่ึงเน้นการส่ือความหมายมากกว่า ประเภท (Ordering and sorting)
Learning) รูปแบบทางภาษา นอกจากน้ี เป็นกิจกรรม 3. การเปรียบเทยี บ (Comparing)
ที่มเี ปา้ หมาย ขน้ั ตอนชัดเจนและต่อเนอ่ื ง 4. การแก้ปัญหา
(Problem solving)
5. การแลกเปล่ยี นประสบการณ์
(Sharing personal
experience)
6. งานที่สร้างสรรค์
(Creative task)

14. การจดั การเรยี นรู้ เปน็ การจดั การเรยี นที่ เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสำ�คัญ จัดการ - การแบ่งทีมใหร้ ับผดิ ชอบ
โดยใช้ทีมเป็นฐาน เรยี นรใู้ ห้เกดิ การร่วมมอื กัน โดยให้ผเู้ รยี นได้ท�ำ งาน การท�ำ งาน หรอื เรียน
(Team - Based ด้วยกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ มีการกำ�หนดเป้าหมาย
Learning) ท่ีชัดเจน ผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบผลงาน
ของกลุ่ม มกี ารสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ในการท�ำ งาน
รว่ มกนั ภายในกลมุ่ รว่ มกนั ระดมความคดิ ความเหน็
และผลงานท่ีได้เป็นผลลัพธ์ร่วมกันของทุกคน
ภายในกลมุ่

20 แนวทางการพัฒนา
โรงเรียนรอบร้ดู ้านสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

23บบทททที่ ี่

กระบวนการพฒั นาสโู่ รงเรียนรอบรดู้ า้ นสุขภาพ

กระบวนการเขา้ สูก่ ารพัฒนาเปน็ โรงเรยี นรอบรู้ดา้ นสุขภาพ มีดงั นี้
1. โรงเรียนเข้ารว่ มโครงการ วธิ ีรบั เขา้ ร่วมโครงการมี 2 วิธี ดังน้ี
1.1 โรงเรียนสมัครเข้าร่วมโครงการโดยแจ้งความจำ�นงไปยังหน่วยงานต้นสังกัดในพื้นที่ (เขตพื้นท่ี
การศกึ ษา/ส�ำ นักงานสาธารณสุขจังหวัด ศนู ยอ์ นามยั สถาบันพฒั นาสขุ ภาวะเขตเมือง)
1.2 ศนู ย์อนามยั /สถาบนั พฒั นาสขุ ภาวะเขตเมอื ง คดั เลือกโรงเรียนเป้าหมายเข้ารว่ มโครงการ
2. โรงเรียนประเมนิ ตนเอง (Self Assessment) เพื่อกำ�หนดปัญหาสุขภาพทีต่ ้องการพฒั นาในโรงเรยี น
3. โรงเรยี นใชแ้ นวทางการด�ำ เนนิ งานโรงเรยี นรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ หรอื องคค์ วามรดู้ า้ นสขุ ภาพเปน็ แนวทาง
ในการดำ�เนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชนแบบองค์รวมทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว
และชุมชน โดยมบี ุคลากรสาธารณสขุ ในระดับพ้นื ท่ีเป็นท่ีปรกึ ษาในการด�ำ เนินงาน
4. ประเมนิ ผลดา้ นกระบวนการ/ผลลพั ธท์ างสขุ ภาพ (Process & Outcome) ประเมนิ ผลทงั้ ระบบโรงเรยี น
และระดับบุคคลของนักเรยี น โดย
4.1 โรงเรียนประเมินด้านกระบวนการและผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
4.2 นกั เรียนประเมินความรอบร้ดู า้ นสุขภาพและพฤตกิ รรมสขุ ภาพ
5. ศูนย์อนามยั รายงานผลการด�ำ เนนิ งานของโรงเรยี นที่พัฒนาเป็นโรงเรียนรอบรู้ด้านสขุ ภาพ
6. กรมอนามัยประกาศเกยี รตคิ ณุ ให้เปน็ โรงเรียนรอบรูด้ ้านสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

แนวทางการพฒั นา 21
โรงเรยี นรอบรูด้ า้ นสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

กระบวนการพฒั นาสู่โรงเรยี นรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ

โรงเรยี นเขา้ ร่วมโครงการ วิธีการรับเข้า

โรงเรียนประเมินตนเอง 1. โรงเรียนสมคั รเขา้ รว่ มโครงการโดยแจง้
(Self Assessment) ความจ�ำ นงไปยงั หน่วยงานต้นสังกัดในพืน้ ท่ี
เพ่อื กำ�หนดปัญหาสุขภาพ (สพป./สพม.>สสจ.> ศอ.
ที่ต้องการพัฒนาในโรงเรยี น 2. ศนู ยอ์ นามัยคดั เลอื กโรงเรียนเปา้ หมาย
เขา้ ร่วมโครงการ
ดา้ นโรสงโุขเรรภงยี าเนรพยีนไนำ�ปแรดอนำ�บวเนรทู้ินางการ ขบั เคล่ือนผ่านกลไก คกก.ประเมิน HPS
ระดบั จงั หวดั /อ�ำ เภอ, คกก HPS เพชร ฯลฯ
องคป์ ระกอบที่ 1 โดยมหี น่วยงานสาธารณสขุ สว่ นกลาง/
กระบวนการบริหารจดั การ ภูมภิ าคเปน็ ท่ีปรกึ ษาด้านวชิ าการ

องคป์ ระกอบท่ี 2 องค์ประกอบท่ี 3 องค์ประกอบที่ 4
การสอื่ สาร การจดั การสง่ิ แวดล้อม การมีส่วนร่วมของ
ในโรงเรยี นทเี่ อื้อตอ่
ความรอบร้ดู ้านสขุ ภาพ สุขภาพ และการเรียนรู้ ภาคีเครือข่าย

ไมผ่ ่าน ประเมินผลด้านกระบวนการ/ ผา่ น
ผลลพั ธ์ทางสขุ ภาพ

(Process & Outcome)

2 1 .. นแโแรักลลงเะะเรรพผียยี ลนฤนลตปปพัิกรรธระกะร์ดเเามม้ามรนินสินปคขุสดรวภุขา้ ะาภานมเพากมรพรอินะบผบรลวดู้ นา้ กนาสรขุ ภาพ กรมอนามยั ประกาศเกียรติคุณ
โรงเรยี นรอบรดู้ า้ นสุขภาพ

22 แนวทางการพัฒนา

โรงเรียนรอบรูด้ ้านสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

24บบทททที่ ี่

การพฒั นาโรงเรียนรอบรดู้ ้านสุขภาพ
(Health Literate School)

องคป์ ระกอบท่ี 1 กระบวนการบรหิ ารจดั การ

ความหมาย

กระบวนการบรหิ ารจดั การ หมายถึง การจัดองค์กร การวางแผนการดำ�เนนิ งานตามนโยบาย และระบบ
บรหิ ารงานในโรงเรยี น ดว้ ยการมสี ว่ นรว่ ม เพอื่ ใหก้ ารด�ำ เนนิ งานโรงเรยี นรอบรสู้ ขุ ภาพ เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

วตั ถปุ ระสงค์

เพื่อให้โรงเรียนมีกระบวนการบริหารจัดการโรงเรียน ต้ังแต่การกำ�หนดนโยบายโรงเรียนรอบรู้
ดา้ นสขุ ภาพ น�ำ ไปสกู่ ารถา่ ยทอดนโยบายในแตล่ ะระดบั รวมไปถงึ การนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการด�ำ เนนิ งาน
อย่างเปน็ ระบบ และเกดิ การมสี ่วนร่วมในทุกภาคส่วนทเี่ กยี่ วขอ้ ง

แนวทางการพฒั นา 23
โรงเรียนรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

ตัวบง่ ชี้ แนวทาง/วิธกี ารดำ�เนนิ งาน

1. การกำ�หนดนโยบาย 1. ผู้บริหารโรงเรียนกำ�หนดนโยบาย วิสัยทัศน์และความมุ่งม่ังในการดำ�เนินงาน
โรงเรยี นรอบร้ดู ้านสขุ ภาพ โรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ มีการพัฒนาระบบการเรียนรู้ด้านสุขภาพ
1.1 มนี โยบายและ โดยการจดั กระบวนการจัดการเรียนการสอนเชิงรกุ (Active Learning)
คณะกรรมการรบั ผดิ ชอบ
2. โรงเรยี นแตง่ ตง้ั คณะกรรมการดา้ นการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ หรอื คณะท�ำ งานทที่ �ำ หนา้ ที่
เก่ียวกับการส่งเสริมสขุ ภาพในโรงเรียน เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ซึ่งประกอบด้วยครู
นกั เรียน ผปู้ กครอง เจา้ หนา้ ที่สาธารณสขุ และผ้แู ทนองคก์ รในชุมชน

3. ก�ำ หนดโครงสรา้ งของคณะกรรมการและก�ำ หนดบทบาทหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการ
หรอื คณะทำ�งานฝ่ายต่าง ๆ อย่างชัดเจน

4. ประชุมหารือผู้เก่ียวข้องหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการวิเคราะห์สถานการณ์
ปัญหาสุขภาพเพ่อื รว่ มกนั ก�ำ หนดนโยบาย และแกไ้ ขปญั หาดา้ นสขุ ภาพ

1.2 มแี ผนการดำ�เนนิ งาน 5. ศึกษา วิเคราะห์ สภาพปัญหา ของพ้ืนทใ่ี นโรงเรียนและชุมชน
ตามนโยบาย 6. จัดประชุมผู้บริหารโรงเรียน ครู ผู้ปกครอง และนักเรียน ในการจัดทำ�แผน

เพอื่ วางแผนก�ำ หนดทศิ ทางการด�ำ เนนิ งานและจดั หางบประมาณในการด�ำ เนนิ การ
7. มีโครงการและกิจกรรม เกี่ยวกับความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในประเด็นต่าง ๆ

เช่น กิจกรรมทางกาย การส่งเสริม เฝ้าระวัง แก้ไขปัญหาทันตสุขภาพ
การส่งเสริมด้านโภชนาการและอาหารปลอดภัยในโรงเรียน การส่งเสริม
สุขภาพจิตและเฝ้าระวัง พฤติกรรมเสี่ยง การพัฒนาการเรียนการสอน
เพศวถิ ศี กึ ษาและทักษะชวี ิต การสง่ เสริมสขุ ภาพบคุ ลากรในโรงเรียน

24 แนวทางการพฒั นา
โรงเรียนรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

ตวั บ่งช้ี แนวทาง/วิธีการด�ำ เนนิ งาน

2. มีครูและบุคคลต้นแบบ การเตรียมครูและบุคลากรในโรงเรียน เพื่อเป็นต้นแบบ (Role Model)
(Role Model) ความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ โดยมีแนวทางการด�ำ เนินงาน ดงั นี้
1. สนับสนุนให้ครูและบุคลากรทุกคนในโรงเรียนได้รับการประเมินสุขภาพตนเอง

และตรวจสขุ ภาพประจำ�ป ี อยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครั้ง
2. มกี ารส่อื สาร/บอกต่อ บคุ คลตน้ แบบ (Role Model)
3. ครูและบคุ ลากรเขา้ ร่วมกจิ กรรมด้านสุขภาพ โดย
- ส่งเสรมิ สุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. (อาหาร อารมณ์ ออกกำ�ลังกาย ไม่สบู บหุ ร่ี
ไม่ดมื่ สุรา)
- การเฝ้าระวังสุขภาพตนเอง โดยการวัด BMI และเสน้ รอบเอว

3. การนิเทศ ตดิ ตาม และ
ประเมนิ ผล
3.1 มีการนิเทศติดตาม - มีการนเิ ทศตดิ ตามภายใน และมกี ารเย่ยี มเสริมพลัง

3.2 มีการประเมินผลการ 1. โรงเรยี นมกี ารประเมินผลการด�ำ เนินงานพฒั นาโรงเรยี นรอบรดู้ า้ นสุขภาพ ดังนี้
ด�ำ เนนิ งานพฒั นาโรงเรยี น 1.1 กำ�หนดวิธีการประเมินผลไว้ในโครงการ รวมถึงผู้รับผิดชอบในการประเมิน
รอบรดู้ ้านสุขภาพ อยา่ งชดั เจน
1.2 จัดทำ�เคร่ืองมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีคุณภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูล
โดยเคร่ืองมือต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และชนิดของข้อมูลท่ีต้องการ
จัดเกบ็
1.3 รวบรวมขอ้ มลู ตามระยะเวลาทก่ี �ำ หนดในโครงการโดยใชเ้ ครอ่ื งมอื ทเ่ี หมาะสม

แนวทางการพัฒนา 25
โรงเรยี นรอบรดู้ ้านสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

ตัวบ่งชี้ แนวทาง/วธิ ีการดำ�เนินงาน

1.4 นำ�ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการดำ�เนินงาน กับวัตถุประสงค์
เป้าหมายโครงการ เช่น ระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ
ภาวะสขุ ภาพ เปน็ ตน้

1.5 จัดท�ำ รายงานผลการประเมินโครงการเพือ่ เผยแพร่
1.6 น�ำ ผลประเมินท่ไี ด้มาปรบั ปรุงพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่อื ง

ผลที่ไดร้ ับ

1. โรงเรียนมนี โยบายโรงเรยี นรอบรู้ด้านสุขภาพที่ชัดเจน
2. ผูเ้ กย่ี วข้องรับทราบนโยบาย มีความเขา้ ใจและให้ความรว่ มมือในการด�ำ เนินงาน
3. โรงเรียนมีแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับนโยบายโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ สอดคล้องกับปัญหา

ดา้ นสขุ ภาพ

26 แนวทางการพัฒนา
โรงเรยี นรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

องคป์ ระกอบท่ี 2 การสอ่ื สารความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ

ความหมาย

การส่ือสารความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ หมายถงึ การส่อื สารประเภทต่างๆ รวมทงั้ เทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ
ในการเผยแพร่ข้อมูล เพื่อให้โรงเรียนสร้างโอกาสให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ส่ือสารด้านสุขภาพ และให้เกิดการ
แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ โดยผ่านกระบวนการสอ่ื สารทุกระดับ ท้งั ระดบั นโยบายและระดบั ปฏบิ ตั ิ ในประเด็นปญั หาสขุ ภาพ
ของนักเรยี นเพอ่ื ใหท้ กุ ฝา่ ยที่เกี่ยวขอ้ งเกิดความตระหนกั สนใจ และกระตุ้นใหเ้ กิดการเรียนรจู้ นเข้าใจ น�ำไปปฏิบตั ิได้
ในระดับปัจเจกบุคคลและสังคมโดยรวมหรือเป็นแรงเสริมสนับสนุนให้คนในสังคมที่มีข้อจ�ำกัดในการค้นหาและ
เรียนรู้ข้อมูลสุขภาพได้ด้วยตนเอง สามารถน�ำไปปฏิบัติเพื่อการพัฒนาวิถีชีวิตสุขภาพที่ดีให้กับตนเอง ครอบครัว และ
ชมุ ชนได้

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่อื สง่ เสริมใหม้ กี ารสือ่ สารข้อมลู ด้านสขุ ภาพในโรงเรียน ท�ำให้นักเรยี น บคุ ลากรในโรงเรียน ครอบครวั
และชุมชน มีการเข้าถึงข้อมูลบริการ เข้าใจโรคและปัญหาการจัดบริการ ตรวจสอบ ซักถามได้ ตัดสินใจเลือกใช้ตาม
บรบิ ทและเงื่อนไข ของตนเอง เพื่อการมสี ขุ ภาพ และคุณภาพชีวิตทดี่ ี
2. เพอื่ สง่ เสรมิ แกนน�ำนกั เรยี นใหม้ กี ารจดั กจิ กรรม แลกเปลยี่ นเรยี นรใู้ นรปู แบบทหี่ ลากหลาย ระหวา่ งบคุ คล
ชมรม เป็นการรวมตัวเพ่ือให้เกิดกิจกรรมทีด่ ตี อ่ สขุ ภาพ มกี ารดแู ลตนเอง เพื่อนนกั เรียน รวมไปถงึ ครอบครัวและชมุ ชน
ตอ่ ไป

แนวทางการพัฒนา 27
โรงเรียนรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

ตัวบ่งชี้ แนวทาง/วธิ ีการด�ำ เนินงาน

1. มีการถ่ายทอด โรงเรียนมีการถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติและผู้เก่ียวข้องได้แก่ ครู บุคลากร
นโยบายสกู่ ารปฏบิ ัติทุกระดับ ผู้ปกครอง ชุมชน และนักเรียนได้รับทราบเพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติรอบรู้ด้านสุขภาพ
1.1 ระดบั บคุ ลากร แตล่ ะระดบั สามารถด�ำเนนิ การได้หลายวิธี ผา่ นทกุ ชอ่ งทางการสอ่ื สาร เช่น
1.2 ระดบั ผู้ปกครองและชมุ ชน - ท�ำป้ายประกาศ พิมพใ์ นวารสารของโรงเรยี น คมู่ ือโรงเรียน
1.3 ระดบั นกั เรยี น Facebook โรงเรียน YouTube ไลนก์ ล่มุ ฯลฯ
- ประกาศนโยบายในการประชุมต่างๆ เช่น ประชุมครู ประชุมนักเรียน หรือ
ประชมุ ผปู้ กครอง ให้ทุกคนรับทราบนโยบาย
- ผู้บริหารก�ำกับติดตามให้มีการจัดท�ำแผนงานโครงการตามประเด็นการรอบรู้
ดา้ นสขุ ภาพทก่ี �ำหนดไว้

หมายเหตุ : การถ่ายทอดนโยบายสู่การปฏิบัติและผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ การถ่ายทอด
ระหว่างผู้บริหารกับครู ครูกับครู ครูกับนักเรียน นักเรียนกับนักเรียน
นักเรียนกบั ผู้ปกครอง และโรงเรียนกับชมุ ชน

2. มกี ารพัฒนาตามข้นั ตอนวเี ชฟ ข้ันท่ี 1 สรา้ งการเข้าถึงขอ้ มลู สขุ ภาพของโรงเรยี น (โภชนาการ เคลอ่ื นไหวทางกาย
(V-Shape) ทนั ตสุขภาพ ส่ิงแวดล้อม ฯลฯ)
1.1 ครูมีการบูรณาการแผนการเรียนการสอนด้านสุขภาพกับหลักสูตรแกนกลาง
ตามสาระการเรียนรู้ สู่การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ เช่น สอนความรอบรู้
ด้านสุขภาพในวิชาสุขศึกษา พละศึกษา การงานอาชีพ หรือสอนในกิจกรรม
เสริมหลักสูตร เช่น ท�ำกิจกรรมความรอบรู้ด้านสุขภาพในกิจกรรมลดเวลาเรียน
เพ่ิมเวลารู้ กิจกรรมลูกเสือเนตรนารี กิจกรรมชมรม/ชุมนุม ท�ำโครงงาน
ดา้ นสุขภาพ หรอื กจิ กรรมรณรงค์ต่างๆ

28 แนวทางการพัฒนา
โรงเรียนรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

ตัวบง่ ชี้ แนวทาง/วิธีการด�ำ เนนิ งาน

2. มีการพัฒนาตามขั้นตอนวีเชฟ 1.2 มแี หล่งเรยี นรู้และช่องทางการสอ่ื สารความรอบรดู้ ้านสุขภาพของโรงเรยี น
(V-Shape) (ตอ่ ) 1.3 ฝึกการสืบค้นขอ้ มลู สุขภาพ และการเลอื กสอ่ื จากแหลง่ ท่เี ช่ือถือได้
1.4 แกนน�ำนักเรียน/นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มาอภิปรายแลกเปล่ียน

โดยมีครูเปน็ ผ้ชู ้แี นะ
ขนั้ ท่ี 2 สรา้ งกระบวนการการเขา้ ใจ (อธิบาย เล่าเรอื่ ง) 29
ครูมีการตั้งค�ำถามในประเด็นการเรียนรู้โดยให้เด็กคิดและตอบค�ำถาม ผ่านกระบวนการ
Active Learning และตรวจสอบผลความเข้าใจของนักเรียนด้วย teach back
(ถามกลับ) และ ask me 3 เชน่
- ปัญหาสุขภาพหรือภาวะสขุ ภาพของนักเรียนคอื อะไร
- จ�ำเปน็ ตอ้ งท�ำอะไรบ้างเกยี่ วกบั ปญั หาดังกลา่ ว
- สิ่งทีต่ ้องท�ำนั้นส�ำคัญอยา่ งไร
ข้นั ที่ 3 มีการแลกเปล่ยี นซกั ถามประเด็นการสื่อสารสขุ ภาพ
3.1 มีการจัดการแลกเปล่ยี นระดับกลมุ่ กับกลมุ่ หรือระดบั ชน้ั เรยี นกบั ชั้นเรยี น
เชน่ การจดั กิจกรรมใหน้ ักเรยี นได้แลกเปลยี่ นในระดับช้นั เรยี นหรือ ระดับเวที
3.2 สร้างบรรยากาศในหอ้ งเรียนให้เกิดการโตต้ อบซักถามอย่างสรา้ งสรรค์ และอสิ ระ
ขั้นที่ 4 การตดั สนิ ใจ
4.1 ฝึกทักษะการรเู้ ท่าทันสอ่ื (Media Literacy)
4.2 กระตุ้นให้เด็กวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ คิดอย่างมีเหตุผล ในการได้รับข้อมูล

ด้านสุขภาพและสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม เด็กสามารถเปรียบเทียบ
ข้อมลู มีแนวทางในการตัดสนิ ใจ
ข้ันท่ี 5 ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
5.1 ฝึกการต้งั เปา้ หมายในการปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมในระยะสนั้ และระยะยาว
เชน่ มปี ัญหาเร่อื งอว้ น

แนวทางการพฒั นา
โรงเรียนรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

ตัวบ่งช้ี แนวทาง/วิธีการดำ�เนินงาน

2. มีการพัฒนาตามขนั้ ตอนวีเชฟ เป้าหมายในระยะสนั้ คอื ใน 1 สปั ดาห์จะไมซ่ อ้ื ขนมกรบุ กรอบ และจะออกก�ำลงั กาย
(V-Shape) (ต่อ) ทุกวนั

เปา้ หมายในระยะยาว คือ ลดน�ำ้ หนกั ได้ 2 กโิ ลกรมั ใน 1 เดอื น
5.2 มกี ารวางแผนและก�ำกับพฤติกรรม เช่น จดั ท�ำตารางการออกก�ำลังกาย
3. การประเมนิ ผล การบริโภคอาหาร
5.3 ลงมือปฏิบัติ
5.4 มีการประเมินตนเองเป็นระยะและการเสริมแรง เช่น ถ้าลดน้�ำหนักได้

ตามเปา้ จะซือ้ ชุดใหม่ใส่
ข้ันท่ี 6 บอกต่อ
6.1 มีเวทีแลกเปล่ียน การจัดนิทรรศการ มี (Role Model) ในแต่ละระดับ

แต่ละด้าน เช่น การจัดเวที มีการชักชวนเพ่ือเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ
การประกาศชยั ชนะ
6.2 โรงเรียนมีกิจกรรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ นักเรียนมีส่วนร่วม
ในกิจกรรมเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ เช่น เสียงตามสาย กิจกรรม
รณรงค์ ชมรม
1. โรงเรยี นจัดท�ำสรุปรายงานผลการส่อื สารความรอบรู้ดา้ นสุขภาพ
2. โรงเรียนรายงานประเมินตนเองถึงความสำ�เร็จ ปัญหาอุปสรรคและส่ิงท่ีต้องพัฒนา
ตอ่ ไป

ผลที่ได้รับ

1. นักเรยี น ครู บุคลากรในโรงเรยี น ผูป้ กครอง และชมุ ชน มีความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ มพี ฤติกรรมสขุ ภาพที่พงึ ประสงค์ และ
ผลลพั ธ์สขุ ภาพเพ่มิ ขนึ้

30 แนวทางการพฒั นา
โรงเรียนรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

องคป์ ระกอบท่ี 3 การจดั การส่ิงเเวดล้อมในโรงเรยี นทีเ่ ออ้ื ตอ่ สุขภาพ เเละการเรยี นรู้

ความหมาย

การจัดการส่งิ แวดล้อมในโรงเรียนท่เี ออ้ื ตอ่ สขุ ภาพ และการเรยี นรู้ หมายถงึ การจดั สภาพแวดล้อมท้ัง
ดา้ นกายภาพและสงั คม ในโรงเรยี นเพอื่ ใหน้ กั เรยี นและบคุ ลากรในโรงเรยี นเกดิ การเรยี นรดู้ า้ นสขุ ภาพ และการจดั การ
ควบคุม ดูแล ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะน่าอยู่ มีบรรยากาศท่ีดี มีความปลอดภัยต่อ
สุขภาวะนกั เรียนและบคุ ลากรในโรงเรียน

วตั ถุประสงค์

1. เพื่อให้โรงเรียนมีการจัดการสิ่งแวดล้อมด้านกายภาพและสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอ้ือต่อการเป็น
โรงเรียนรอบรดู้ า้ นสุขภาพ
2. โรงเรียนเป็นแหล่งเรยี นรดู้ ้านสขุ ภาพให้กบั ชมุ ชน/ภาคีเครอื ขา่ ย/หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง

แนวทางการพฒั นา 31
โรงเรียนรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

ตัวบ่งชี้ แนวทาง/วธิ ีการดำ�เนินงาน

1. มกี ารจดั การส่งิ แวดลอ้ ม 1. มีการน�ำเกณฑ์มาตรฐานสง่ิ แวดลอ้ มในโรงเรียนมาจดั ท�ำ Key Message ดว้ ยการ
ด้านกายภาพ จัดกิจกรรม เช่น QR CODE สุขภาพ ป้ายประชาสัมพันธ์ ต้นไม้พูดได้ บันได
นับแคลอร่ี ฉลากโภชนาการ ตารางอาหารหลกั 5 หมู่ จ�ำนวนน�้ำตาลในเครอื่ งดม่ื
2. มีการจดั สภาพแวดล้อม สวนสมนุ ไพร แปลงผกั สวนคณิตศาสตร์ เปน็ ต้น
ทางสงั คม
2. มกี ารพฒั นาหอ้ งเรยี นรอบรสู้ ขุ ภาพ ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นสขุ ภาพส�ำหรบั นกั เรยี น
ในชนั้ เรยี น

3. จัดหาอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้านสุขภาพ เช่น มีพ้ืนที่ ใช้ Internet
ห้องคอมพิวเตอร์ หอ้ งสขุ ภาพ ห้องพยาบาล

1. การสร้างแหลง่ เรียนรใู้ นโรงเรียน
2. โรงเรยี นเปน็ แหลง่ เรียนรูด้ า้ นสุขภาพใหช้ ุมชน เช่น ธนาคารขยะแบบครบวงจร
3. มสี ถานทเี่ ปิดให้ชมุ ชนมาออกก�ำลงั กาย รวมถงึ อ�ำนวยความสะดวกดา้ นกฬี า
4. สร้างบุคลากรและนักเรียนจิตอาสาด้านส่ิงแวดล้อม การพัฒนาส่ิงแวดล้อมใน

โรงเรียนและชมุ ชน
5. โรงเรียนมกี ารจดั กจิ กรรมดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม ตาม Key Message
6. มีการจัดต้ังชุมนุม/ชมรม/แกนน�ำ/ต้นแบบ Environment Health Model

สร้างเครือข่ายส่งเสริมสขุ ภาพและสิ่งแวดลอ้ ม เช่น
• มกี ารศกึ ษาดงู าน
• มีการอบรม/แลกเปลยี่ นเรยี นรู้
• การพฒั นาศักยภาพแกนน�ำ

32 แนวทางการพฒั นา
โรงเรียนรอบรูด้ ้านสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

ตวั บ่งชี้ แนวทาง/วธิ ีการดำ�เนินงาน

2. มกี ารจดั สภาพแวดลอ้ ม • มีการประกวด เชน่ ประกวด/นกั เรียนตน้ แบบด้านส่งิ แวดลอ้ ม
ทางสงั คม (ต่อ) Mr. Clean Miss Clean
• มกี ารขบั เคล่ือนการด�ำเนินงานอยา่ งต่อเน่ือง
3. โรงเรียนมีสภาพแวดลอ้ ม • มีการท�ำท�ำเนียบ ปราชญส์ ุขภาพ ปราชญช์ าวบ้าน
ทีน่ ่าอยู่ และปลอดภยั • มกี ารประชุมอยา่ งนอ้ ย ภาคเรียนละ 1 ครง้ั

1. มกี ารดูแลตรวจสอบสภาพแวดล้อมท่สี ง่ ผลกระทบต่อสุขภาพอยา่ งตอ่ เนื่อง
• ส�ำรวจโดยนกั เรียนแกนน�ำ/ ชมรม อย่างน้อยภาคเรียนละ 2 คร้ัง
2. มีการแกไ้ ขปัญหาสภาพแวดล้อมท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ สุขภาพ
3. มกี ลอ้ งวงจรปิดทุกจดุ เสี่ยงหรือมีการตรวจตราบรเิ วณท่ีเป็นจดุ เสย่ี ง
ด้านความปลอดภัยของนักเรียน
4. มีชอ่ งทางการแสดงความคดิ เหน็ ทป่ี ลอดภยั ตอ่ เด็ก เกบ็ เปน็ ความลับได้
5. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมท่ีเอื้อต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพ

(ห้องเรียน สนามเด็กเลน่ หอ้ งสว้ ม โรงอาหาร สถานท่แี ปรงฟัน การจัดการขยะ
แหลง่ น�ำ้ บริโภค/อปุ โภค ฯลฯ)

ผลที่ไดร้ บั

1. นักเรยี นมีความปลอดภยั ลดความเส่ยี ง พึงพอใจตอ่ สภาพแวดลอ้ มของโรงเรยี น
2. ชุมชน/ภาคเครอื ขา่ ย/มีสว่ นรว่ มในการจดั ส่ิงแวดลอ้ มท้ังกายภาพและสังคม

แนวทางการพฒั นา 33
โรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

องคป์ ระกอบท่ี 4 การมสี ว่ นรว่ มของภาคีเครือขา่ ย

ความหมาย

การมีส่วนร่วม หมายถึง การมีส่วนร่วมทุกขั้นตอนต้ังแต่การก�ำหนดปัญหา ด�ำเนินการ
ประเมนิ ผล
ภาคีเครือข่าย หมายถึง หน่วยงานภาครัฐ เช่น รพ.สต. รพช. อบต. อบจ. เทศบาลท้องถิ่น
สถาบนั ทางศาสนา ภาคประชาชน เช่น คณะกรรมการสถานศึกษาชมรมผู้ปกครอง ศษิ ยเ์ กา่
การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย หมายถึง การท่ีกลุ่มบุคคล องค์กรและภาคีเครือข่ายต่างๆ
รวมถึงผูท้ ม่ี สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี มสี ว่ นร่วมในกระบวนการด�ำเนนิ งานครบทกุ องคป์ ระกอบ

วัตถุประสงค์

เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาด�ำเนินงานโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ
4 องค์ประกอบ เพื่อสง่ เสริมและสนบั สนุนให้เกดิ ความรอบรู้ด้านสุขภาพของเด็กนกั เรยี น

HLS

34 แนวทางการพฒั นา
โรงเรยี นรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

ตวั บ่งช้ี แนวทาง/วธิ กี ารด�ำ เนินงาน

1. การมสี ่วนรว่ มในการกำ�หนด 1.1 รว่ มกันคดิ วเิ คราะห์ จัดท�ำแผนงานโครงการและออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้อง
นโยบาย วางแผนและ กับสถานการณแ์ ละบรบิ ทของพืน้ ที่
ทำ�กจิ กรรม
1.2 มีการจัดท�ำกิจกรรมอย่างสม่�ำเสมอ และต่อเน่ืองตามสถานการณ์ปัญหาและ
2. มีเครอื ขา่ ยชมุ ชนนักปฏิบตั ิ บริบทของพ้นื ท่ี
โรงเรยี นรอบร้ดู ้านสขุ ภาพ
1.3 มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ว่ มกนั ระหวา่ งภาคเี ครอื ขา่ ยในการด�ำเนนิ งานทผี่ า่ นมา
และเพือ่ หาประเด็นไปพฒั นาตอ่

1.4 มีการถ่ายทอดแนวทางและความรู้ด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
สูช่ ุมชนอยา่ งต่อเน่ืองตามบริบทของชุมชน

1.5 สนบั สนนุ ใหเ้ ครอื ขา่ ยไดน้ �ำองคค์ วามรจู้ ากการด�ำเนนิ งานไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นชวี ติ
ประจ�ำวนั

2. มีเครือข่ายความรอบรู้ด้านสุขภาพระหว่างโรงเรียน กลุ่มโรงเรียน และ
ภาคเี ครือข่าย

1.1 ภาคีเครือข่ายมีบันทึกความร่วมมือในการด�ำเนินงานพัฒนาโรงเรียนรอบรู้
ด้านสขุ ภาพ

1.2 ภาคีเครือข่ายมีการก�ำหนดบทบาทในการด�ำเนินงาน เช่น จัดหางบประมาณ
จัดซื้อจดั จ้าง

1.3 มีทีมที่ปรึกษาและให้การสนับสนุน ท่ีประกอบด้วยผู้แทนด้านการศึกษา
เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท่ีให้ค�ำปรึกษาใน
เร่อื งสขุ ภาพของนักเรียน

แนวทางการพัฒนา 35
โรงเรียนรอบรดู้ ้านสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

ตัวบง่ ช้ี แนวทาง/วิธกี ารด�ำ เนินงาน

3. เป็นสังคมรอบรู้ด้านสขุ ภาพ 1.4 มผี ทู้ รงคุณวุฒแิ ก่โรงเรียน มาช่วยจัดกจิ กรรม/โครงการ
(Health Literate Societies) 1.5 มีการถ่ายทอดความรู้ ภูมิปัญญา
1.6 มกี ารสง่ เสรมิ สนบั สนนุ สรา้ งแรงจงู ใจภาคเี ครอื ขา่ ย เชน่ มอบประกาศเกยี รตคิ ณุ

เข็มท่ีระลกึ

1.1 ชุมชนนักปฏิบัติขยายผล โรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ แก่โรงเรียนอื่นๆ และ
หน่วยงานอื่นๆ

1.2 มีการก�ำหนดเป้าหมาย อย่างน้อย 1 องค์กรที่เป็นเครือข่ายองค์กรรอบรู้
ดา้ นสขุ ภาพ

1.3 มกี ารด�ำเนนิ การพฒั นายกระดบั เพอื่ เออ้ื ใหท้ กุ คนสามารถเขา้ ถงึ เขา้ ใจ ประเมนิ
ตัดสินใจเลือกใช้และปรับใช้ข้อมูลความรู้และบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
กบั ตนเอง

1.4 แลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ ารด�ำเนนิ งานกบั โรงเรยี นหรอื หนว่ ยงานอนื่ ๆ เชน่ ตลาดรอบรู้
ดา้ นสขุ ภาพชุมชน

ผลที่ได้รับ

1. ภาคีเครอื ขา่ ยมสี ่วนร่วมทุกขั้นตอนของการพัฒนาโรงเรยี นรอบร้ดู า้ นสุขภาพ
2. มโี รงเรยี นหรือหน่วยงานอ่ืนๆ ทไ่ี ดร้ ับการขยายผล
3. เกิดสงั คมรอบรูด้ ้านสุขภาพ (Health Literate Societies)

36 แนวทางการพัฒนา
โรงเรียนรอบร้ดู ้านสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

บรรณานกุ รม

โครงการพัฒนาศักยภาพประชากรไทย คณะแพทย์ศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี มหาวทิ ยาลยั มหิดล และส�ำนกั สง่ เสรมิ
สุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2555) : คู่มือการตรวจคัดกรองสุขภาพและการดูแลปัญหา
ทพี่ บบ่อยในเด็กวยั เรยี น ส�ำหรับครแู ละพยาบาลอนามัยโรงเรียน. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1.
ส�ำนกั งานโครงการขับเคลอ่ื นกรมอนามัย 4.0 เพ่ือความรอบร้ดู ้านสขุ ภาพของประชาชน. (2561) : แนวคดิ หลกั การของ
องค์กรรอบรดู้ า้ นสุขภาพ. กรงุ เทพฯ : กรมอนามยั
ส�ำนักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 40 เพื่อความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน. (2561) : คู่มือแนวทาง
การพัฒนาโรงเรยี นรอบร้ดู า้ นสุขภาพ. กรุงเทพฯ : กรมอนามัย
ส�ำนกั พฒั นากจิ กรรมนักเรยี น ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2556) : คูม่ อื สรา้ ง
ความเข้มแข็งโรงเรียนต้นแบบนักเรียนไทยสุขภาพดี. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพนื้ ฐาน
ส�ำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (2555) : แนวทางการจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา ระดบั ประถมศึกษา. พิมพ์ครงั้ ที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นุม
สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด.
ส�ำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2558) : คู่มือการด�ำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ฉบบั ปี 2558. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ส�ำนกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาต
ส�ำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2556) : คู่มือการท�ำโครงงานสุขภาพส�ำหรับชมรม
เด็กไทยท�ำได้. พมิ พค์ รั้งท่ี 4. กรุงเทพฯ : ศูนย์สอื่ และสิ่งพิมพ์แก้วเจ้าจอม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา.
ส�ำนกั ส่งเสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2561) : คู่มอื เสริมสร้างศักยภาพนกั เรยี น STRONG SMART
SMILE. พิมพ์คร้งั ที่ 2. กรุงเทพฯ : ส�ำนักงานกจิ การโรงพมิ พ์องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
ส�ำนักส่งเสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (2557) : แนวทางการสง่ เสริมสขุ ภาพ ป้องกนั โรคเด็กวยั เรยี น
และเยาวชน. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 6. กรงุ เทพฯ : ส�ำนกั งานกจิ การโรงพิมพ์องค์การสงเคราะหท์ หารผ่านศึก.
อังศนิ ันท์ อินทรก�ำแหง. (2560). ความรอบรูด้ า้ นสุขภาพ : การวัดและการพฒั นา. กรุงเทพฯ : บริษัทสุขมุ วิทการพมิ พ์
จ�ำกัด.
แนวทางการพัฒนา 37
โรงเรียนรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

รายชอ่ื ผรู้ ว่ มพฒั นา

แนวทางการพฒั นาโรงเรียนรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ (Health Literate School: HLS)

ผเู้ ช่ยี วชาญ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ
ผเู้ ชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมความรอบร้ดู า้ นสุขภาพ
รศ.ดร.อังศนิ นั ท์ อนิ ทรก�ำแหง ผเู้ ช่ยี วชาญดา้ นการสง่ เสรมิ สขุ ภาพเด็กวยั เรียนวัยรุ่น
นางสาวเบญจมาศ สุรมิตรไมตรี ผเู้ ชย่ี วชาญด้านการส่งเสริมสุขภาพเดก็ วัยเรียนวัยรุ่น
นางสุคนธ์ สุวรรณบันดิษฐ์ ผู้เชีย่ วชาญดา้ นการส่งเสรมิ สขุ ภาพเด็กวัยเรียนวัยรุ่น
นายบญุ ธรรม เตชะจนิ ดารตั น ์
นางสุวิมล ภู่ทรงชัย

กรมอนามัย

กองกิจกรรมทางกายเพอื่ สุขภาพ
นางสาวรักษ์ณทั ฤดี ศรีประภาธนาเลิศ
นางสาวกญั ญามาศ จิรดี

ส�ำนกั งานโครงการขบั เคลื่อนกรมอนามยั 4.0 เพื่อความรอบรดู้ ้านสุขภาพของประชาชน
นางสาวกมลวรรณ สขุ ประเสรฐิ

ส�ำนักโภชนาการ บรรหารศภุ วาท
ดาวดวง
แพทยห์ ญิงพรเลขา
นางสาวพรวิภา
นางสาวนฤมล ธนเจรญิ วชั ร
ส�ำนกั ทนั ตสาธารณสุข

ทนั ตแพทย์หญิงกันยา บญุ ธรรม
ทนั ตแพทย์หญิงภัทราภรณ์ หสั ดิเสวี
นางอังศณา ฤทธอ์ิ ยู่
แนวทางการพัฒนา
38 โรงเรียนรอบรู้ด้านสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

ส�ำนักสุขาภิบาลอาหารและน�ำ้ นายศารายุทธ อุ่นแกว้
นางสาวชณญั ณศิ า เลศิ สโุ ภชวณชิ ย ์ นางสาวปารชิ าติ จ�ำนงการ
นางสาวทพิพย์สุดา แววดี นายปรญิ ญา ดาระสุวรรณ์
ส�ำนกั อนามัยการเจริญพันธุ์
นางสาวจริ ะนันท ์ สมบรู ณ์
ส�ำนักอนามยั สิ่งแวดลอ้ ม
นายปราโมทย์ เสพสขุ
นางสาวพรรนิกาญจน วงั กุ่ม

กรมควบคมุ โรค

ส�ำนักควบคุมการบรโิ ภคยาสูบ

นางสาวสทุ ธาสนิ ี บญุ ธรรม

ส�ำนกั คณะกรรมการควบคมุ เครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์

นางสาวณฐั วรรณ ขุนบญุ

กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ
กองสุขศกึ ษา
นางสาวธัญชนก ขมุ ทอง นางพณิ ญาดา อ�ำภัยฤทธ์ิ
กระทรวงศึกษาธิการ
ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
ดร.วรรณา ชอ่ งดารากุล นางพนอ อ้ีรักษา
นางอจั ฉราภรณ์ ต้ังอุทัยสุข นางสาวณัฐธาภรณ ์ สวุ รรณศรี
หนว่ ยงานสว่ นภมู ิภาค
ศูนยอ์ นามัยท่ี 1 เชยี งใหม่
นางอโนชา วปิ ุลากร นางสาวอรพนิ พศิ ไหว
นางสาวผกาสนิ ี กาวี

แนวทางการพัฒนา 39
โรงเรยี นรอบรูด้ ้านสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

โรงเรยี นเทศบาลต�ำบลงมิ (คือเวียงจ�ำ่ ) จังหวัดพะเยา
นายนเรศ อภยั ลนุ

โรงเรยี นปางมะผา้ พทิ ยาสรรพ์ จงั หวดั แม่ฮ่องสอน
นางกญั ญา สมบรู ณ์

โรงเรียนอนบุ าลแม่ฮอ่ งสอน จังหวดั แมฮ่ ่องสอน
นางสาวชฎาภรณ์ ไชยยา

โรงเรียนวทิ ยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวทิ ยาลัยเชียงราย จังหวดั เชยี งราย
นายปฏิพล ด�ำรงศุภปัญญา

ศนู ยอ์ นามัยที่ 2 พิษณโุ ลก ยนต์เจรญิ ล�้ำ นางนภาพร เหมาะเหมง็
นางประทุม
นางรัตนาภรณ์ เหมือนจนั ทร ์ นางชนดั ดา เกดิ แพร

โรงเรียนบา้ นแม่ปะ จงั หวดั ตาก
นางกุหลาบ แกมเงนิ

ศูนย์อนามัยท่ี 3 นครสวรรค์
นางสาวเบ็ญจา ยมสาร นางล�ำพึง อภิรมานนท์
นางสาวณฎั ฐิกา นวลเติม

ส�ำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต 1
ดร.ยมนพร เอกปัชชา

โรงเรยี นวดั หนองตางู จงั หวดั นครสวรรค์
ดร.สุชาต ิ เอกปชั ชา นางสาวชตุ ิมา กันสุ่ม
นางสาวลดาวลั ย์ ทิพยว์ งค ์

40 แนวทางการพฒั นา
โรงเรยี นรอบรดู้ ้านสุขภาพ (Health Literate School : HLS)

ศูนย์อนามยั ที่ 4 สระบรุ ี
นางทรรศนีย์ ธรรมาธนวฒั น์ นางสาวกอบแก้ว ขนั ตี
นางสาววมิ ล สายสมุ่

ศูนยอ์ นามยั ท่ี 5 ราชบรุ ี นางสาวจุติพร ศรแี กว้
นางสาวนฤมล แก้วโมรา
นางสาวขนษิ ฐา ดีสม
ศนู ย์อนามัยท่ี 6 ชลบรุ ี
ดร. ศรัชฌา กาญจนสงิ ห ์
นางสาวกนิษฐ ฟมุ่ เฟือย
โรงเรียนบ้านตาเรือง (ต�ำรวจชายแดนสงเคราะห)์ จังหวัดจันทบรุ ี
นายคมกรชิ อันทรง
โรงเรยี นหนองไม้แกน่ วิทยา จงั หวัดฉะเชิงเทรา
นายวรรณรัตน ์ เหลอื ศิริ
ศูนย์อนามยั ที่ 7 ขอนแกน่
นางบังอร กล�่ำสุวรรณ นางสาวสนุ ษิ า เขยี วกาศ
นางสาวชนิดาภา วงศ์รกั ษา นางจารรุ ัตน์ จิณะมลู
โรงเรียนบา้ นวงั ยาววิทยายน จังหวัดมหาสารคาม ไวบรรเทา
นายนคิ ม ไวบรรเทา นางยอดขวัญ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
นางสาวสุนษิ า เขียวกาศ นางสาวสุกัญญา คณะวาปี
นางสาวกัลยาณี ค�ำมงุ

ศูนยอ์ นามัยที่ 9 นครราชสมี า
นางแนง่ น้อย ธปู แชม่ นางทรงคณู ศรีดวงโชติ
นางศภุ รัตน์ เลศิ นธิ ิฑรรมกลุ นางสาววาสนา แนมขนุ ทด
นางสาวกลั ยาณี ค�ำมงุ

แนวทางการพฒั นา 41
โรงเรียนรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ (Health Literate School : HLS)

โรงเรยี นบ้านดอนชมพู (สังฆประชานุเคราะห์) จังหวัดนครราชสีมา
นางสุรีรตั น ์ จงกลาง

ศนู ยอ์ นามยั ที่ 10 อุบลราชธานี นางสรสั วดี
นางประไพ เจริญผล ธานี
นางสาวอัญชลี ปลาทอง นางสาวร่งุ นภา มุลตรภี ักดิ์
โรงเรยี นบา้ นขามนอ้ ย จงั หวดั อุบลราชธานี
นายณฐั พงษ์ ดาขวา
โรงเรียนเทศบาล 3 สามัคควี ทิ ยาคาร จงั หวดั อบุ ลราชธานี
นางจารนิ ี รัชมาศ
ศูนยอ์ นามยั ที่ 11 นครศรีธรรมราช
นายวันชัย เย่ยี งกุลเชาว ์ นางสาวเสาวนีย์ สะรุโณ
ส�ำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราชเขต 2
วา่ ที่ร.ท.ดร.สเุ วศ กลับศรี
โรงเรยี นชมุ ชนมาบอ�ำมฤต จงั หวัดชมุ พร
นางสาววรณุ กาญจน ์ นอ้ ยผล
ศนู ย์อนามยั ท่ี 12 ยะลา
นางรุสนานยี ์ ช�ำนุรกั ษ์ นางสาวศิริลักษณ ์ เชีย่ วชาญ
โรงเรยี นบ้านลพิ ัง จงั หวัดตรัง
นายด�ำรง วรรณแรก
โรงเรียนบ้านบาโงย จังหวดั ยะลา
นายหาแว นริ ะ
สถาบันพฒั นาสขุ ภาวะเขตเมือง
นางวิไล รตั นพงษ์ นางณิชนนั ทน์ ไพรวิจารณ์
นางศรสี ดุ า สว่างสาลี นางสาวจุไรรตั น ์ ทนเสถียร
นางสาววีรฉัตร จรสั ฉิมพลีกลุ
แน วทางการพฒั นา
42
โรงเรียนรอบรู้ดา้ นสุขภาพ (Health Literate School : HLS)


Click to View FlipBook Version