The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wannaphorn Phonperm, 2020-03-03 23:50:00

จุดเริ่มต้นคนพลังงาน

จุดเริ่มต้นคนพลังงาน



ณอคุณ สิทธิพงศ์









เรื่องราวเกียรติประวัติและผู้บุกเบิกการอนุรักษ์พลังงานไทย







จุดเริ่มต้นคนพลังงาน



ณอคุณ สิทธิพงศ์



สารบัญ

























บทที่ 1 จุดเริ่มต้นคนพลังงาน “ณอคุณ สิทธิพงศ์” 2







บทที่ 2 ดาวรุ่งดวงแรกกับเส้นทางผู้บุกเบิก 8


การอนุรักษ์พลังงาน







บทที่ 3 ก้าวแรกของการมีบทบาทในกระทรวง 14



พลังงาน







บทที่ 4 ยุคทองและมาสเตอร์พีซที่น่าจดจ�า 22







บทที่ 5 ก�าลังใจส�าคัญ 34







บทส่งท้าย ERDI ที่สร้างสรรค์กับท่านณอคุณ 40



จุดเริ่มต้นคนพลังงาน



“ณอคุณ สิทธิพงศ์”




หากเอ่ยถึงข้าราชการช้นผู้ใหญ่ในแวดวงพลังงานท่ทุ่มเท

รับใช้ประเทศชาติแล้ว เชื่อว่าชื่อแรกๆ ที่คนในวงการพลังงาน
หรือแม้กระทั่งผู้ที่เกี่ยวข้องนึกถึง คงไม่พ้นชายร่างสูงใหญ่ ท่าทาง
ดุ แต่ใจดีอย่าง ดร.ณอคุณ สิทธิพงศ์ อดีตปลัดกระทรวงพลังงาน

อย่างแน่นอน
หากมองจากภายนอก แบบคนที่ไม่เคยได้ใกล้ชิดกับท่าน
หลายคนที่ได้พบเจออาจคิดว่าท่านเป็นคนดุ เสียงดัง พูดจาห้วนๆ

และดูจริงจังตลอดเวลา โดยเฉพาะกับเรื่องการท�างาน และการ
ประชุมภายในแต่ละครั้ง ที่แม้ท่านจะนั่งอยู่หัวโต๊ะที่ดูไกลตา แต่

ด้วยนาเสียงและแววตาของท่านก็ทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเสียวสัน



หลังได้ตลอดเวลา ซึ่งนั่นคือภาพภายนอกของท่านที่มาจากการ
ทุ่มเท มุ่งมั่น เพื่อพัฒนาวงการพลังงานบ้านเรา



ในช่วงท่ท่านปฏิบัติหน้าท่บนเก้าอ้สูงสุดของฝ่าย
ข้าราชการประจ�ากระทรวงพลังงาน ซึ่งจะต้องแบกความรับผิด

ชอบด้านพลังงานของประเทศท่เป็นปัจจัยท่สาคญในการขับ



เคลื่อนเศรษฐกิจ ถือได้ว่าเป็นช่วงที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง
หลายเรื่องไปในทางที่ดี จนแทบระบุว่า ยุคที่ ดร.ณอคุณ เป็นปลัด
กระทรวงพลังงาน คือยุคทองของวงการพลังงาน ที่ได้พัฒนาอย่าง


ก้าวกระโดดจนทาให้หลายๆประเทศในแถบอาเซยนตาม
ประเทศไทยไม่ทัน โดยเฉพาะความก้าวหน้าด้านพลังงานทดแทน
การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน และการพัฒนาเพื่อสร้างความ
มั่นคงด้านพลังงานของประเทศ เพื่อเสริมความแข็งแกร่งให้

เศรษฐกิจในระยะยาว

คงต้องถือเป็นเร่องโชคดีอย่างยิ่งของกระทรวงพลังงาน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ได้ ดร.ณอคุรเข้ามาบริหารงานจนประสบ
ความส�าเร็จในแวดวงพลังงาน และท�าให้เรื่องของพลังงาน คือ
วาระแห่งชาติที่ประชาชนทุกคนต้องให้ความส�าคัญ ดังนั้นในฐานะ

ที่ท่านได้สร้างให้เกิดคุณูปกี่หลายด้านให้แก่ประเทศไทย จึงเกิด
การรวบรวมอัตชีวประวัติของท่านในหลายๆด้าน

ตั้งแต่ด้านชีวิตวัยเยาว์ การศึกษา ประวัติการท�างาน
เรื่อยไปจนถึงเรื่องวิสัยทัศน์การท�างาน และการขึ้นสู่ต�าแหน่ง ปลัด
กระทรวงพลังงาน ว่าต้องผ่านร้อนผ่านหนาว ผ่านเรื่องราวที่น่า

สนใจอย่างไรบ้าง ถือเป็นบันทึกเรื่องราวของบุคคลส�าคัญ ที่ควร
อย่างย่งท่จะต้องจดจาจารึกเร่องราวของเขาไว้ให้คนรุ่นต่อไปได้




ศึกษาเรียนรู้ ตลอดจนเป็นแบบอย่างในการท�างาน
และเรื่องราวที่ท่านจะได้อ่านต่อไปนี้ คือ จุดเริ่มต้นของ
คนพลังงานอย่าง “ดร.ณอคุณ สิทธิพงศ์”




จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 4

ทั้งที่ไม่รู้ว่าเกี่ยวกับอะไร แม้ไม่ได้เรียนสิ่งที่ใจรัก แต่ชีวิต

นิสิตรั้วจามจุรีของท่านก็ไม่ธรรมดา ด้วยความที่เป็นคน
ชอบการท�ากิจกรรม ท�าให้เขาได้ประสบการณ์ชีวิตตั้งแต่
เรียนมากมาย

อาทิ ด�ารงต�าแหน่งหัวหน้านิสิตคณะ
วิศวกรรมศาสตร์ ตอนปี 3, ประธานสภาซีเนียร์ ตอนปี 4,

นักกีฬารักบี้, กรีฑา รวมทั้งเป็นหัวหน้าค่ายกิจกรรม “ยุว
วิศวกรบพิธ” ออกไปบ�าเพ็ญประโยชน์โดยดูแลการ
ก่อสร้างอาคารเรียนและสะพานข้ามห้วยล�าวง ที่

อ.ค�าชะอี จ.นครพนม (ปัจจุบัน อ.ค�าชะอี จ.มุกดาหาร)
ที่โรงพยาบาลราชวิถี กรุงเทพมหานคร คืนวันที่ และ อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

19 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 มีเด็กชายคนหนึ่งลืมตาขึ้นมาดู การชอบท�ากิจกรรมได้ติดตัวท่านมา แม้จะมี


โลกใบนี้ พร้อมกับบรรยากาศที่เต็มไปความปิติยินดีของ ตาแหน่งทางราชการใหญ่โตแล้วก็ยังทากิจกรรมช่วย
ร.อ. ทองแขม และ จุไร สิทธิพงศ์ เหลือสังคม และวงการกีฬา เช่น อาสารับเป็นนายก
อาศัยอยู่ที่กรุงเทพฯ ได้ไม่นาน ผู้เป็นพ่อซึ่งรับ สมาคมว่ายน�้า แห่งประเทศไทย เป็นต้น



ราชการทหาร สังกัดกองทัพบก ได้ย้ายไปประจ�าการที่ ถามถึงส่งทได้จากการทากจกรรมท่านบอกว่า


จังหวัดเชียงใหม่ และต่อมาได้ก่อตั้งโรงเรียนสิริมังคลานุ ได้รู้จักการเสียสละ ได้เห็นชีวิตความเป็นอยู่ในชนบท ที่
สรณ์ขึ้น ซึ่งเป็นโรงเรียนเอกชนที่สอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร ความแตกต่างของความร�่ารวย
ถึงมัธยมศึกษาตอนต้น และยากจน ส่วนกีฬาสอนให้รู้จักการแพ้ ชนะ ความเสีย
หลังจากที่ใช้ชีวิตอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ จนถึง สละ อดทน และมีน�้าใจเป็นนักกีฬา
เวลาเข้าโรงเรียน ด.ช. ณอคุณ ได้เข้าเรียนที่โรงเรียนมง นอกจากเป็นนักกิจกรรมตัวยง เขายังเป็นที่พึ่ง

ฟอร์ตวิทยาลัย ตั้งแต่ ป.1 จนถึง ม.ศ.1 ก่อนย้ายไปเรียน ด้านการเรียน โดยเปิดบ้านติวให้เพื่อนร่วมรุ่นต่างสาขา
ที่โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัยช่วง ม.ศ.2-3 และที่ ด้วย
นี่เองเขาได้คว้า “รางวัลนักเรียนดียอดเยี่ยมในทุกด้าน หลังจากปิดค่ายกิจกรรมในช่วงปี 4 ว่าที่บัณฑิต

(Best all around of the year)” ของโรงเรียน ณอคุณได้เดินทางกลับไปเยี่ยมบ้านที่ จ.เชียงใหม่ เพื่อไป
ท่ท่านไม่ได้เรียนโรงเรียนท่ครอบครัวเป็น ขอเงินแม่ น�ามาปิดบัญชีค่ายที่ใช้จ่ายเกินไป เนื่องจาก


เจ้าของ เนื่องจากพ่อกลัวว่าเรียนโรงเรียนของที่บ้านจะ ของบางอย่างหาใบเสร็จมาเบิกไม่ได้ พร้อมกับข้อเสนอ
สบาย อีกอย่างท่านอยากให้มีเพื่อนฝูงเยอะ ของแม่ที่ว่าให้สอนหนังสือที่บ้านเป็นการแลกเปลี่ยน
และจากความที่ “ยอดเยี่ยมในทุกด้าน” นี่เอง

ท�าให้ช่วง ม.ศ.4-5 สามารถสอบเข้า โรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษาได้ส�าเร็จ ก่อนที่ต่อมาจะสอบเข้ามหาวิทยาลัย

อันดับหนึ่งของประเทศ อย่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(วศ.14) และเป็นบัณฑิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา
วิศวกรรมเครื่องกล เข้ารับพระราชทานปริญญา ในปี

พ.ศ.2518
ความจริงนั้นท่านอยากเรียนวิศวะโยธา เพราะ

ท่านรู้จักแค่โยธา แต่ช่วงนั้นราวปี พ.ศ.2515 เศรษฐกิจไม่
ดี คนที่เรียนโยธามักตกงาน จึงเรียนเครื่องกลตามเพื่อน




จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 5

ดร.ณอคุณ ยืนที่สองจากซ้ายในทีมรักบี้ของคณะวิศวฯ จุฬาฯ ซึ่งต่อมาท่าน
ได้รับความไว้วางใจให้เป็นหัวหน้าทีมและประธานชมรมรักบี้ของคณะ



ดาวรุ่งดวงแรก






กับ




เส้นทางผู้บุกเบิก





การอนุรักษ์พลังงาน






ช่วงท่ท่านกลับมาท่เชียงใหม่เพ่อขอเงินแม่ไปปิดงบค่าย
พอดีกับที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เปิดรับ
สมัครบัณฑิตวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อเป็นอาจารย์สอนภาควิชา
เครื่องกลเป็นรุ่นแรก ท่านซึ่งไม่อยากท�างานกับที่บ้าน จึงตัดสินใจ



ไปย่นใบสมัครและต่อมาก็ได้ทางานเป็นอาจารย์สอนภาควิชา
เครื่องกล
ท่านสอนวิชา Drawing อยู่หนึ่งปี ก่อนที่จะเดินทางไป

ศึกษาต่อปริญญาโท และปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ณ
มหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอเรกอน (Oregon State University)

ประเทศสหรัฐอเมริกา ใช้เวลา 4 ปี และคว้าปริญญาเอกด้วยวัย
เพียง 27 ปี
จากน้นได้กลับมาสอนท่คณะวิศวกรรมศาสตร์


ม.เชียงใหม่ อีกครั้ง ได้รับแต่งตั้งเป็นหัวหน้าภาควิชา 2 ปี รอง
คณบดี 2 ปี กระทั่งอายุ 32 ปี ได้รับแต่งตั้งเป็นคณบดี อยู่ใน

ต�าแหน่ง 12 ปี พออายุ 44 ปี ก็ได้รับแต่งตั้งเป็นรองอธิการบดีฝ่าย
วิจัยนาน 6 ปี ช่วง พ.ศ.2540-2546 กระทั่ง อายุ 50 ปี
ย้อนกลับไปช่วงปี พ.ศ.2533 ขณะที่ท่านด�ารงต�าแหน่ง

รองคณบดีฝ่ายวิจัย ม.เชียงใหม่ ได้รับมอบหมายจากกระทรวง วิ
ทยาศาสตร์ฯจาก ประพัทธ์ เปรมมณี เลขาธิการการพลังงานแห่ง

ชาติ ในขณะนั้นให้เป็นหัวหน้า โครงการท�า “สมุดปกขาว (White
paper)”


ซ่งเป็นเอกสารท่บอกเล่านโยบายของประเทศด้าน

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยในอนาคตหรือในช่อ
ภาษาอังกฤษว่า “Frontier Technology” เป็นการคาดการณ์ว่า

หากประเทศไทยจะแข่งขันกับชาติอื่นๆ ภายใน 10 ปีข้างหน้า
ต้องมีการพัฒนาหรือเกิด เทคโนโลยีอะไรบ้าง
บทสรุปที่ออกมามีหลายเรื่อง แต่สิ่งที่เกิดขึ้นจริงในวันนี้

แล้วคือ การจัดตั้งสถาบันวิจัยแสงซินโคร ตรอน (องค์การมหาชน)
ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จ.นครราชสีมา



การเกิดข้นของสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูม ิ
สารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA รวมถึงศูนย์นาโน
เทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค)




จากผลงานท่ส่งสมตลอดการทางานท่คณะ

วิศวกรรมศาสตร์ ม.เชียงใหม่ นี้เอง ส่งผลให้ท่านได้รับรางวัล
วิศวกรดาวรุ่งแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากสมาคมนิสิตเก่า
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคนแรกในปี
พ.ศ.2534




จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 10


ปรัชญาการท�างานของท่านคือ คนรุ่นหลังต้อง กระท่งรวมตัวกับสถาบันเทคโนโลยีก๊าซชีวภาพ


เป็นตัวขับเคล่อนงานภายใต้การช้แนะของผู้บังคับบัญชา ซึ่งท�าหน้าที่วิจัย พัฒนา และประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีด้าน
ถ้าคลื่นลูกหลังดีกว่าคลื่นลูกแรก มีไฟ มีความคิดความ การย่อยสลายสารอินทรีย์แบบไร้ออกซิเจน เพื่อจัดการ
อ่านมากกว่าเรา หน่วยงานนั้นๆ ก็เดินหน้าไปด้วยดี ของเสียควบคู่กับการ ผลิตและใช้ประโยชน์จากก๊าซ
เส้นทางชีวิตสายนักบริหารด้านพลังงานของ ชีวภาพเป็นพลังงานทดแทน เป็น “สถาบันวิจัยและ
ดร.ณอคุณ มีจุดเริ่มต้นจากการเป็นตัวแทนประเทศไทย พัฒนาพลังงาน ม.เชียงใหม่”

เข้าอบรมกับ “องค์กรเพิ่มผลผลิตแห่งเอเชีย (Asian Pro- ต่อมา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ductivity Organization: APO” ซึ่งเป็นทุนฝึกอบรมให้ ราชกุมารี พระราชทานชื่อใหม่ว่า “สถาบันวิจัยและ

อาจารย์มหาวิทยาลัยในอาเซียนประเทศละ 1 ทุน ไปฝึก พัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่”

อบรมเร่องการอนุรักษ์พลังงานท่อินเดียและญ่ปุ่น กลายเป็นศูนย์ความเป็นเลิศทางพลังงาน ท�า


ประเทศละ 2 สัปดาห์ หน้าที่สนับสนุนงานวิจัยและงานบริการ ของ
ส่งท่ได้เรียนรู้จากการเข้ารับการฝึกอบรมน้เอง มหาวิทยาลัย เป็นแหล่งวิจัย ค้นคว้า และให้บริการ



ท�าให้ท่านสนใจ เรื่องการอนุรักษ์พลังงานอย่างจริงจัง เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านพลังงาน เพื่อประโยชน์ของ
ด้วยเชื่อมั่นว่า... ประเทศ
“การอนุรักษ์พลังงาน คือ อนาคตเรื่องพลังงาน นอกจากนี้ ดร.ณอคุณ ยังเป็นหัวเรี่ยวหัวแรง
ของประเทศ” ส�าคัญของ ม.เชียงใหม่ ท�างานด้านการ อนุรักษ์พลังงาน

หลังจากที่ผ่านการฝึกอบรม เดินทางกลับมา ตลอดช่วงเวลากว่า 20 ปี ของการเป็นบุคลากรทาง
ปฏิบัติหน้าที่ที่ ม.เชียงใหม่ จึงเริ่มต้น การอนุรักษ์พลังงาน วิชาการ ที่ ม.เชียงใหม่ และที่ส�าคัญคือได้สร้างเครือข่าย

ขึ้น โดยการก่อตั้งสถานจัดการและอนุรักษ์พลังงานหรือ บุคลากรที่ท�างานด้านการอนุรักษ์พลังงานขึ้นด้วย
EMC ซึ่งเป็นหน่วยงาน ในก�ากับของคณะ ไม่เพียงที่ ม.เชียงใหม่เท่านั้น ที่มีบุคลากรให้
วิศวกรรมศาสตร์ ด�าเนินงานด้านวิจัย พัฒนา และจัดการ ความส�าคัญในเรื่องการอนุรักษ์พลังงาน ยังมีเครือข่าย

ด้านการอนุรักษ์พลังงาน โดยอาศัยความร่วมมือจาก บุคลากรที่ ดร.ณอคุณ สร้างไว้เพื่อด�าเนินการในเรื่องนี้
บุคลากรในมหาวิทยาลัย



จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 11

(จากซ้าย) ดร.อาชว์ เตาลานนท์, นายศิววงศ์ จังคศิริ, ศ.ดร.อรุณ สรเทศน์, ดร.อาณัติ อาภาภิรม (นายกสมาคมนิสิตเก่าวิศวฯ
จุฬาฯ ขณะนั้น) ฯพณฯ พล.อ.อ.ก�าธน สินธวานนท์ และ รศ.ดร.ณอคุณ สิทธิพงศ์ ในพิธีมอบรางวัล “วิศวกีดีเด่นและวิศวกร
ดาวรุ่ง” แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจ�าปี พ.ศ.2534 เป็นการมอบรางวัลอันทรงเกียตินี้เป็นปีแรก



ก้าวแรกของการมีบทบาทใน




กระทรวงพลังงาน



ชายผู้บุกเบิกเร่องการอนุรักษ์พลังงานของประเทศไทย

เมื่อรู้ว่าจะมีการจัดตั้งกระทรวงพลังงานขึ้นก็ดีใจ เป็นความรู้สึก
แรกของท่านที่ก�าลังด�ารงต�าแหน่งรองอธิการบดี ม.เชียงใหม่ ใน

ขณะนั้น เมื่อทราบว่ารัฐบาลมีแนวคิดในการตั้งกระทรวงที่จะมา
ดูแลเรื่องพลังงานเป็นการเฉพาะ
ในฐานะคนท�างานเรื่อง “พลังงาน” มาอย่างยาวนาน

ด้วยความรู้ ความสามารถ และจากประสบการณ์ที่สั่งสมมาอย่าง
ต่อเนื่องยาวนาน เมื่อทราบข่าวเรื่องการจัดตั้งกระทรวงใหม่

ดร.ณอคุณ จึงตัดสินใจยื่นใบสมัครขอโอนย้ายไปรับราชการร่วม
งานด้วย ซึ่งในช่วงก่อตั้งนั้นได้รวบรวมคนที่เรียกว่าเป็น “ยอด
ฝีมือ” ด้านพลังงานจากหลากหลายแห่งมารวมกัน

แต่ปรากฏว่า ดร.ณอคุณ ไม่ได้รับคัดเลือก แม้จะไม่ได้ร่วม
งานกับกระทรวงที่เขาต้องการเห็นตั้งแต่แรกก่อตั้ง แต่ต่อมาเมื่อ

ปราโมทย์ เอี่ยมศิริ รองปลัดกระทรวงพลังงานในขณะนั้น เกษียณ
อายุราชการ ใบสมัครขอโอนย้ายของ ดร.ณอคุณ ตั้งแต่เมื่อครั้งนั้น
ก็ถูกน�ามาพิจารณาอีกรอบ


และในท่สุดเขาก็ถูกเรียกตัวให้มาร่วมงานชนิดที่ค่อนข้าง
จะกะทันหัน โดยทราบข่าวไม่เกิน 1 สัปดาห์ ก็ต้องเก็บข้าวของ

จากเชียงใหม่
ลงมาท�างานที่กรุงเทพฯ เข้ารับต�าแหน่ง รองปลัด
กระทรวงพลังงาน ในปี พ.ศ.2546 นับเป็นก้าวแรกที่ได้ร่วมงานกับ

กระทรวงพลังงาน และเป็นก้าวแรกที่จะเปลี่ยนโฉมงานด้าน
“พลังงาน” ของประเทศ ในเวลาต่อมา


สาเหตุท่ทาให้ท่านสนใจมาร่วมงานกับกระทรวงพลังงาน

คือ อยากท�าเรื่องการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน เพราะ
เป็นผู้ริเริ่ม และท�ามาตลอดหลายสิบปีตั้งแต่สมัยเมื่อครั้งยังเรียน

หนังสือ ต่อเนื่องมาจนเรียนจบเป็นอาจารย์อยู่ที่ ม.เชียงใหม่
คุณสมบัติพ่วงท้ายเรื่องการอนุรักษ์พลังงานที่ ดร.ณอคุณ

มีส่วนร่วม นั้นมีมากมาย
อาทิ เป็นคณะกรรมการก�ากับดูแลและติดตามการด�าเนิน
การตามนโยบายประหยัดพลังงานของประเทศ ส�านักนายก

รัฐมนตรี, เป็นคณะอนุกรรมการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานใน
โรงงานอาคารควบคุมและอาคารของรัฐ, คณะกรรมการพิจารณา



การข้นทะเบียนท่ปรึกษาดาเนินการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร

ควบคุมและโรงงานควบคุมของกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสิ่งแวดล้อม




จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 16

เป็นอนุกรรมการพิจารณาเครื่องจักร วัสดุ และ พ.ศ.2549

อุปกรณ์ที่ประหยัด พลังงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์ ขณะนั้นชื่อ ดร.ณอคุณ ถูกเสนอเข้าสู่การ
เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม, เป็นผู้จัดการโครงการวิจัย พิจารณาของคณะรัฐมนตรี เตรียมรับต�าแหน่ง “ปลัด
เกี่ยวกับด้านพลังงาน, เป็นผู้จัดการโครงการเกี่ยวกับการ กระทรวงพลังงาน” ต่อจาก เชิดพงษ์ สิริวิชช์ ที่เกษียณ

ประหยัดพลังงานในอาคารพาณิชย์ อาคารส่วนราชการ อายุราชการลงในเดือนกันยายน พ.ศ.2549 พอดี
และโรงงานอุตสาหกรรม (17 โครงการ) ฯลฯ แต่ทว่าทุกอย่างกลับสะดุด รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ

และที่เป็นผลงานประจักษ์อยู่ที่ ม.เชียงใหม่ ชินวัตร ยุติลง รัฐบาลชุดใหม่เข้ามาบริหารประเทศ
จนถึงปัจจุบันคือ เป็นผู้ก่อตั้งสถานจัดการ และอนุรักษ์ ดร.ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ขึ้นด�ารงต�าแหน่งรัฐมนตรี
พลังงาน ม.เชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ.2538 ว่าการกระทรวงพลังงาน ส่วน ดร.ณอคุณ สิทธิพงศ์ ยังคง

ดังนั้น การท�างานในต�าแหน่งรองปลัดกระทรวง เป็นรองปลัดกระทรวงพลังงาน ดังเดิม



พลังงาน ซึ่งแม้จะเป็นบทบาทหน้าที่ใหม่ จึงไม่ใช่เรื่อง ถึงแม้จะพลาดตาแหน่งก็ยังคงมุ่งม่นทางานต่อ
ยากเกินความสามารถ ไปโดยไม่ได้สนใจสิ่งที่เกิดขึ้น แม้รัฐบาลจะมีการ
และอีกเรื่องหนึ่ง ซึ่งต่อมาจะกลายเป็นความ เปลี่ยนแปลง แต่งานในส่วนของกระทรวงพลังงานที่ดูแล
ภาคภูมิใจของชายชื่อ “ณอคุณ” รับผิดชอบยังไม่เปลี่ยนแปลง

คือเรื่อง การได้รับมอบหมายให้ดูแลการจัดท�า รวมถึงงานส�าคัญที่ ดร.ณอคุณ ดูแลมาตั้งแต่ต้น
“ร่างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน เรื่อง “พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน”

พ.ศ...” เพื่อให้ผู้ประกอบการเอกชนแข่งขันในเรื่องการ 14 ธันวาคม พ.ศ.2550 นับเป็นอีกหนึ่งวันส�าคัญ
ประกอบกิจการพลังงานอย่างเสรี และมีการแยกอ�านาจ ที่คนในแวดวง “พลังงาน” เฝ้าคอยและติดตามบทสรุปที่
ของผู้ประกอบการกับผู้ก�าหนดนโยบายให้ชัดเจน จะออกมาอย่างใกล้ชิด เนื่องจากในเช้าวันนี้ ศาลปกครอง


แต่ทว่ายังไม่ทันท่จะได้เริ่มงานอย่างเป็นช้นเป็น สงสดจะมการอ่านคาพพากษาคดความเกยวกับการ









อัน ก็เกิดเหตุการณ์ “รัฐประหาร” เมื่อวันที่ 19 กันยายน แปรรูป บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน)


































จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 17

ดร.ณอคุณ สิทธิพงศ์ น�าคณะติดตามนายแพทย์วรรณรัตน์ ชาญนุกูล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน (ขณะนั้น) ดูงานการ
ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ Daya Bay มณฑลกวางตุ้ง ซึ่งด�าเนินการโดยบริษัท CGNPC และ CLP แห่งประเทศจีน



พูดให้เข้าใจง่ายคือ เป็นการฟ้องร้องต่อศาล ขอ คลอดสดๆ ร้อนๆ อย่าง พระราชบัญญัติการประกอบ
ให้ยกเลิกการแปรรูป ปตท. และให้ กลับไปเป็น กิจการพลังงาน พ.ศ.2550

รัฐวิสาหกิจดังเดิม กฎหมายหลายฉบับท่ต้องแก้ไขอาจใช้ระยะ

แล้วก็ถึงช่วงเวลาที่ทุกคนรอคอย เมื่อมีค�า เวลาไม่นาน แต่ที่เป็นโจทย์หิน คือ พ.ร.บ.การประกอบ

พิพากษาให้ “ยกฟ้อง” และให้บริษัท ปตท. จ�ากัด กิจการพลังงาน ซึ่งเป็นกฎหมายที่ต้องร่างใหม่ทั้งฉบับ
(มหาชน) ยังคงสภาพ บริษัทในตลาดหลักทรัพย์ไว้ได้ เป็นกฎหมายที่ต้องท�างานกันอย่างเร่งด่วน ต้องทุ่มเทให้


ผลจากคาพิพากษาในคร้งน้ได้ทาให้หน่วยงาน ทั้งแรงกายและแรงใจ ซึ่ง ดร.ณอคุณ ได้มอบให้อย่างเต็ม


ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นของรัฐ สามารถแปรรูปไปอยู่ใน ที่
ตลาดหลักทรัพย์ ท�าให้มีความคล่องตัวในการท�างาน พ.ร.บ.การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ.2550
ตลอดจนแยกออกไปเป็น “ผู้ประกอบกิจการพลังงาน” ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.
อย่างชัดเจน และไม่มีอ�านาจครอบคลุมมากมายดังแต่ 2550 มีผลบังคับใช้วันรุ่งขึ้น จากนั้นวันที่ 14 ธันวาคม
ก่อน พ.ศ.2550 ศาลปกครอง สูงสุดก็มีค�าพิพากษา

ส่วนหนึ่งที่ท�าให้บริษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) แล้วก็ชัดเจนจากค�าพิพากษาว่า พ.ร.บ.การ
ยังคงด�ารงสถานะในตลาดหลักทรัพย์ ได้ตามค�าพิพากษา ประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ.2550 คือ สาเหตุที่ส�าคัญ

ของศาลปกครองสูงสุด มาจากกฎหมายฉบับหนึ่งซึ่งเพิ่ง สาเหตุหนึ่งที่ท�าให้การแปรรูป ปตท.ไม่ถูกเพิกถอน




จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 18

สิ่งหนึ่งที่ไม่ถามคงไม่ได้ คือหลังจากเหตุการณ์ เลิกงาน 4 โมงเย็น เพราะบางครั้งต้องมีการประชุมจน
รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ.2549 ดร.ปิยสวัสดิ์ ขึ้นมา ดึกดื่นมืดค�่า
เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานแล้ว ท�าไมถึงเลือก และด้วยความที่เป็นคนตั้งใจ มุ่งมั่น ต้องการให้

ดร.พรชัย รุจิประภา เป็นปลัดกระทรวงพลังงาน ทั้งที่ งานชิ้นนี้ส�าเร็จให้ทันก�าหนด แทบทุกครั้ง ดร.ณอคุณ ใน
ก่อนหน้านี้มีการเสนอชื่อของ ดร.ณอคุณ เข้าสู่การ ฐานะประธานอนุกรรมการยกร่าง ไม่เคยหลบหายไปไหน

พิจารณา คณะรัฐมนตรีแล้ว อยู่ร่วมประชุมทุกครั้ง ลูกน้องท�างานดึกๆ ดื่นๆ ก็ซื้อข้าว
ดร.ปิยสวัสดิ์ กล่าวว่า “ผมได้บอกกับท่านณอ ซื้อขนมมาเลี้ยง


คุณว่า ขอเลือกท่านพรชัย เป็นปลัดก่อน เพราะเป็นคนที่ ในการลงพ้นท่รับฟังความคิดเห็นจากประชาชน
มีความรู้มีความสามารถในเรื่องพลังงาน อีกทั้งในแง่ ทั่วประเทศ ก็เดินทางไปชี้แจงด้วยตัวเอง
อาวุโส เข้ามาท�างานก่อน ท่านณอคุณ ซึ่งท่านณอคุณก็ นี่คือความเป็นมืออาชีพ ที่บอกว่าท่านเตรียมได้

บอกว่าไม่มีปัญหา และท่านท�างานได้อยู่แล้ว” รับการแต่งตั้งเป็นปลัด แต่เกิดรัฐประหารก่อน แต่ท่านยัง
โดยคณะท�างานยกร่าง ถูกตั้งขึ้นในช่วงเดือน คงตั้งใจท�างานอย่างเต็มที่


พฤศจิกายน พ.ศ.2549 โดยประมาณเดือนกุมภาพันธ์ และน่เป็นอีกหน่งความภาคภูมิใจในชีวิตของ
พ.ศ.2550 การยกร่างต้องแล้วเสร็จ จากนั้นต้องออกเดิน ดร.ณอคุณ ที่มอบให้กับแวดวงพลังงานที่เขารัก ตลอดจน
สายรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนทั่วประเทศ พลิกโฉมเรื่อง “พลังงาน” ของประเทศชาติครั้งใหญ่

การท�างานจึงไม่ใช่เวลาราชการแบบเข้างาน 8 โมงเช้า










จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 19

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี พระราชทานพระราชานุญาตให้คณะผู้บริหารกระทรวง
พลังงาน ร่วมในการฉายพระรูปในคราวเสด็จฯ ไปทรงเปิดแท่นผลิตปิโตรเลียมจากแหล่งบงกชใต้ เมื่อวันที่
24 กันยายน 2555



ยุคทอง







และ



มาสเตอร์พีซที่น่าจดจ�า



ในที่สุดชื่อ ณอคุณ สิทธิพงศ์ ก็ได้รับการแต่งตั้งให้ เป็น
ปลัดกระทรวงพลังงาน ในปี พ.ศ.2553

แรกต้งกระทรวงพลังงานมีการพูดถึงยุทธศาสตร์ด้าน

ความมั่นคงทางด้านพลังงานของประเทศ เพราะเราน�าเข้า

พลังงานมาใช้ ไม่ได้ผลิตขึ้นเอง และยังไม่มีแผนรับมืออย่างเป็นรูป
ธรรม
จนกระทั่งปี พ.ศ.2551 กระทรวงพลังงานได้รับเชิญจาก

ทบวงพลังงานโลก หรือ International Energy Agency (IEA) ทั้ง
ที่ไม่ได้เป็นสมาชิก ให้มีโอกาสเข้าร่วมประชุมเพื่อ เตรียมความ

พร้อมรับมือวิกฤตพลังงาน
เรื่องนี้ต่างชาติที่น�าเข้าพลังงานเช่นกันให้ความส�าคัญมาก
มีการซักซ้อมหากเกิดเหตุการณ์ขึ้นจริง แต่ไทยกลับไม่มีแผนรับมือ

เลย
เรียกได้ว่า การร่วมประชุมและแลกเปลี่ยนประสบการณ์

กับหน่วยงานพลังงานระดับโลก อย่าง IEA คือแรงบันดาลใจส�าคัญ
ให้ ดร.ณอคุณ รองปลัดกระทรวงพลังงานในขณะนั้น จ�าเป็น ต้อง
กลับมาปรับแก้แผนที่ใช้กับประเทศให้รอบคอบ รัดกุมมากกว่าจะ

แค่ความกังวลใจว่าจะเกิดวิกฤต
ก่อนหน้านั้น ประมาณ พ.ศ.2550 ประเทศไทยเริ่มมีการ

พูดถึงวิกฤตไฟฟ้า กันบ้างแล้ว เพราะทราบดีว่าในแผนการผลิต
ไฟฟ้าของประเทศได้ก�าหนดสัดส่วนของการใช้ เชื้อเพลิงเพื่อผลิต
ไฟฟ้าในอัตราไม่เหมาะสม คือ พึ่งพาพลังงานก๊าซธรรมชาติใน

สัดส่วนที่มาก เกินไป แต่ไม่มีใครสนใจที่จะแก้ปัญหาดังกล่าวอย่าง
จริงจัง

กระทั่งปี พ.ศ.2551 เกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันหลายอย่าง
ภาพรวมเรื่องพลังงานไฟฟ้าของไทยน่าเป็นห่วง ซึ่งกระทรวง
พลังงานได้ติดตามเรื่องนี้อย่างใกล้ชิด

เท่านั้นไม่พอ เมื่อเข้าสู่ช่วงเดือนเมษายน เนื่องจากอากาศ
ร้อน ท�าให้มีปริมาณการใช้ไฟฟ้าสูง นอกจากนั้น เนื่องจากจะเข้าสู่

วันหยุดเทศกาลสงกรานต์ ภาคอุตสาหกรรมเร่งผลิตสินค้าเพื่อ
รองรับความต้องการ และผลิตล่วงหน้าเพื่อให้พนักงานได้ลากลับ
บ้าน เป็นช่วงที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดของปี

เท่านั้นยังไม่พอ เหตุการณ์ไม่คาดฝันก็เกิดขึ้น เมื่อวันที่
2-3 เมษายน แหล่งก๊าซธรรมชาติพม่าเกิดปัญหาทางเทคนิค ท�าให้

การส่งก๊าซธรรมชาติจาก 2 แหล่ง คือ ยาดานา และ เยตากุน ที่
ไทยซื้อจากพม่ารวมกว่า 1,000 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน เข้าระบบ
ในการผลิตไฟฟ้าไม่ได้




จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 24



สถานการณ์เวลาน้นเรียกได้ว่าไทยกาลังเข้าสู่ ในปีเดียวกัน หลังวิกฤตผ่านพ้น ท่านได้เดินทาง


ภาวะขาดแคลนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ไปประเทศฝร่งเศสเพ่อร่วมประชุมกับทบววงพลังงาน
แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อให้เชื้อเพลิงที่จ�าเป็นต้องใช้ โลก (IEA)
มีเพียงพอ ดร.ณอคุณ ได้ก�าชับให้ ปตท. น�าเข้าน�้ามันเตา องค์กร IEA ตั้งขึ้นเพื่อถ่วงอ�านาจประเทศผู้ผลิต
จากต่างประเทศเพิ่ม ขณะที่ได้ขอให้บริษัท บางจาก น�้ามัน (โอเปค) มีประเทศผู้ใช้น�้ามัน รายใหญ่เป็นสมาชิก
ปิโตรเลียม จ�ากัด (มหาชน) ห้ามส่งออกน�้ามันเตา ให้ไว้ใช้ มีเป้าหมายเดียวกันคือ ให้สมาชิกมีความพร้อมในการ

ในประเทศเท่านั้น วางแผนรับมือวิกฤต น�้ามันขาดแคลน

สิ่งที่คณะท�างานกลัวมากที่สุดคือ ไฟฟ้าดับหรือ ขณะน้นไทยยังไม่เป็นสมาชิกแต่มีโอกาสเข้าร่วม
แบล็กเอาต์ จะเกิดขึ้นไม่ได้เด็ดขาด ถือว่าเป็นเรื่องที่ดีมาก ในการประชุมร่วมกับ IEA ดร.ณอ


ขณะเดยวช่วงสงกรานต์ยงเกดฝนตกหนกตดต่อ คุณ ได้เล่าประสบการณ์เผชิญวิกฤตก๊าซธรรมชาติของ



กันหลายวันท�าให้อุณหภูมิไม่ร้อนจัด ดั่งที่คาดการณ์ไว้ ไทยที่เพิ่งประสบมาให้กับที่ประชุมฟัง ซึ่งได้รับเสียงปรบ
ท�าให้ความกังวลเรื่องไฟพีคหมดลง ถือว่ารอดมาได้อย่าง มือชื่นชมนานมาก
หวุดหวิด เมื่อกลับจากการประชุม IEA คราวนั้น ดร.ณอ
แต่สิ่งที่ส�าคัญที่เห็นได้ชัด นั่นก็คือ ความร่วมมือ คุณ จึงได้น�าแนวทางรับมือวิกฤตน�้ามันเข้ามาด้วย
ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายใต้ชื่อ ไทยแลนด์ทีม เพราะ ต่อมาปลายปี พ.ศ.2552 ได้เชิญตัวแทน IEA เข้า



เป็น “วิกฤตพลังงาน” ครั้งแรกของประเทศไทย การ มาในไทยเพอขอให้ช่วยแนะนาคนไทยในการจดทาแผน


ท�างานในสภาวะวิกฤต เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ฉายภาพให้เห็น ซักซ้อมกรณีเกิดวิกฤตพลังงาน
ตัวตนคนชื่อ “ณอคุณ” ได้อย่าง ชัดเจนที่สุด

จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 25

การช่วยเหลือของ IEA ครั้งนั้น ถือเป็นครั้งแรกที่ ท�าให้กระทรวงพลังงาน ตั้งต�าแหน่ง “Chief Change

หน่วยงานดังกล่าวยอมออกมาจัดการซ้อมแผนรับมือ Office (CCO)” หรือ “ผู้น�าการเปลี่ยนแปลงกระทรวง
วิกฤตนอกกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส สถานที่เดียวที่จัด พลังงาน”
ซ้อมแผนของ IEA และเป็นครั้งแรกอีกเช่นกันที่ IEA ในฐานะรองปลัดกระทรวง ดร.ณอคุณ ได้เข้ามา

แนะน�าให้กับประเทศที่ไม่ใช่สมาชิกอย่างไทย รับต�าแหน่งนี้เป็นคนแรก ท่านได้เปลี่ยนแปลงด้านการ

กลายเป็นจุดเร่มต้นของประเทศไทยในการ ท�างาน โดยก�าหนด ค่านิยมให้ข้าราชการร่วมมือปฏิบัติ
รับมือวิกฤตพลังงานอย่างเป็นระบบ และท�าให้ต่อมา อย่างเคร่งครัด นั่นคือ ค่านิยมที่เรียกว่า “ดับเบิลซีที
ทุกๆ ปี กระทรวงพลังงานจะจัดให้มีการซักซ้อมแผน (Double C-T)”
รับมือเหตุการณ์ วิกฤตในหลากหลายสถานการณ์ มีการ ประกอบด้วย C ตัวแรกคือ Citizen Centered

ก�าหนดเหตุการณ์จ�าลอง เพื่อให้การเผชิญเหตุการณ์จริง มุ่งเน้นประชา และ C ตัวที่สองคือ Can do Attitude
ไม่มีปัญหา เชื่อมั่นท�าได้ ส่วน T ตัวแรกคือ Think out of the box








อกทงใช้โอกาสทประชาชนกาลงตนตวให้ความ กล้าคิดสร้างสรรค์และ I ตัวที่สองคือ Teamwork ร่วมใจ



สนใจต่อสถานการณ์พลังงานประเทศ ออกแคมเปญ เป็นทีม
รณรงค์ประหยัดพลังงาน และได้ผลดีมีการลดการใช้ เป็นค่านิยมเพ่อใช้ปฏิบัติราชการของเหล่า

ไฟฟ้าได้มาก ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างของกระทรวง
ต่อมาในปี พ.ศ.2547 ส�านักงานคณะกรรมการ พลังงานทุกคน เน้นเรื่องการปฏิบัติตาม ยุทธศาสตร์
พัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ได้เป็น คณะกรรมการที่ กระทรวงพลังงานที่ก�าหนดไว้ตามกรอบปี พ.ศ.2555-

เข้ามาวางทิศทางการเปล่ยนแปลงขององค์กรภาครัฐ 2559














































จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 26


ปัจจัยหลักมาจากการพัฒนาองค์กรตามตัวช้วัด ตามแผนในช่วงกลางปี พ.ศ.2554


ของ ก.พ.ร.ที่ก�าหนดให้ทุกกระทรวง ด�าเนินการด้านการ นอกจากน้นท่านยังต้องทาหน้าท่ติดตามงาน

พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) คณะอนุกรรมการที่เหลืออีก 2 คณะ ได้แก่ คณะ
ประกอบด้วย 7 หมวด คือ อนุกรรมการด้านการมีส่วนร่วมทรัพยากรมนุษย์ และ

1.การน�าองค์กรและความรับผิดชอบต่อสังคม ภาคอุตสาหกรรม และคณะอนุกรรมการ ด้านการมีส่วน
2.การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ร่วมของภาคประชาชนอีกด้วย


3.การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและมีผู้ส่วน นอกจากการรับหน้าท่ในการเป็นประธานคณะ
ได้ส่วนเสีย อนุกรรมการต่างๆ แล้วการติดต่อประสาน งานยังแสดง
4.การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการ ความรู้ ให้เห็นถึงสปิริตในการท�างานของ ดร.ณอคุณ อีกด้วย


5.การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล แม้ว่าตอนน้ผลงานท่ออกมาพร้อมท่จะเสนอ


6.การจัดการกระบวนการ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) และ
7.ผลลัพธ์การด�าเนินการ ครม.อนุมัติโครงการ แต่ถูกชะลอออกไปถึงปี พ.ศ.2573
โดย ก.พ.ร.จัดให้มีการประกวดในแต่ละหมวด หากพิจารณาการใช้พลังงานของนานาประเทศ
ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2555 และกระทรวงพลังงานเป็นกระ ทั่วโลก จะพบว่าอีก 20 ปีข้างหน้า พลังงานพื้นฐานที่จะ

ทรวงที่ได้รางวัลหมวด 1 พอมีแหล่งทรัพยากรเหลืออยู่มากพอ จะเหลือแค่ถ่านหิน
หนึ่งในบทบาทส�าคัญของ ดร.ณอคุณ ที่ได้รับ กับพลังงาน นิวเคลียร์
มอบหมาย ซึ่งเป็นเรื่องละเอียดอ่อน ต้องการ ท�าความ เรียกได้ว่าเรื่องราวเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ ได้

เข้าใจ ให้ความรู้กับประชาชน คือ ต�าแหน่ง “ผู้อ�านวย เข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�าวัน มนุษย์หลายเรื่องแล้ว
การส�านักงานพัฒนาโครงการ โรงไฟฟ้าพลังงาน เพียงแต่ว่าเราไม่รู้ตัวเท่านั้นเอง ขณะเดียวกัน เรื่อง

นิวเคลียร์ (สพน.)” พลังงานสะอาด ต้นทุนถูก ก็ยังเป็นสิ่งที่หลายคนถามหา
โดย ดร.ณอคุณ นับเป็น ผอ.สพน. คนแรกของ “พลังงานนิวเคลียร์” แม้จะตอบโจทย์นี้ได้ แต่ก็
ประเทศไทย เป็นสิ่งที่หลายคนกังวล แต่อย่างไรก็ตาม ดร.ณอคุณ ก็ยัง

แม้จะเป็นงานยาก แต่เรื่องนี้จ�าเป็นต้องจุด คงคิดว่า โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ยังคงมีความจ�าเป็น
ประกายให้สังคมไทยตื่นตัวในการรับรู้ จึงเต็มใจที่จะเข้า อยู่ส�าหรับประเทศไทย

มารับหน้าที่ดังกล่าว แม้ว่าตอนนี้ สพน.จะถูกยกเลิกไปแล้ว ตามข้อ
รวมทั้งร่างแบบพิมพ์เขียวโครงการทั้งหมด และ ก�าหนดของ ครม. แต่ ดร.ณอคุณ ยังได้ริเริ่มหน่วยงาน
ต้องจัดท�ารายงานของประเทศ เพื่อเตรียมเสนอให้กับ เพื่อมาสานเจตนารมณ์ในเรื่องดังกล่าวภายใน กระทรวง

รัฐบาล ตามกรอบที่ทบวง การพลังงานปรมาณูระหว่าง พลังงาน นั่นคือการจัดตั้ง “ส�านักศึกษาและประสานงาน
ประเทศ หรือ IAEA (International Atomic Energy พลังงานนิวเคลียร์” ซึ่งเป็นหน่วยงาน ภายในส�านักงาน

Agency) วาง ไกด์ไลน์ให้เราว่า จะสร้างโรงไฟฟ้าใน ปลัดกระทรวงพลังงาน
ประเทศต้องมีความพร้อมประมาณ 19 ด้าน หน้าท่ของสานักศึกษาและประสานงานพลังงาน


แต่ด้วยความตั้งใจที่จะบรรลุให้ได้ตามแผน PDP นิวเคลียร์ หลักใหญ่ๆ จากนี้คือ การให้ ความรู้ความ
จึงท�าให้การประเมินทั้ง 19 ข้อ ในขั้นตอนสุดท้ายผ่าน เข้าใจประชาชน โรงฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ไม่ควรจะเป็น
เกณฑ์ทั้งหมด ภายใต้กรอบระยะเวลาด�าเนินงานของ เพียงความฝัน แต่ควรน�ามาปฏิบัติได้จริง เพราะ จะเป็น

สพน. ที่ก�าหนด กรอบเวลาศึกษาก่อตั้งส�านักงานเป็น ทางเลือกส�าคัญต่อความมั่นคงทางพลังงานของประเทศ
เวลา 3 ปี (พ.ศ.2551-2553) โดยขั้นตอนจากนั้นจะต้อง เป็นเรื่องหนึ่งที่ ดร.ณอคุณ อยากให้เกิดขึ้นใน
น�ารายงานความพร้อม เพื่อเตรียมเสนอรัฐบาลพิจารณา แวดวงพลังงานไทย




จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 27

มีโอกาสต้อนรับ Bill Clinton อดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาในคราวที่เดินทางมาแสดงปาฐกถาที่ท�าเนียบรัฐบาล
ซึ่งเป็นกิจกรรมหนึ่งในการรณรงค์ “ลดโลกร้อน ถวายพ่อ” ของกระทรวงพลังงาน

จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 28

หากจะถาม ถึงผลงานที่เป็นระดับ “มาสเตอร์ โดยแผนAEDP ดังกล่าวได้เข้าสู่การเห็นชอบจาก
พีซ” หรือผลงานที่ทรงคุณค่า และถือเป็นการเปลี่ยน คณะรัฐมนตรี และจะเป็น Road map ที่ส�าคัญในการ

โฉมหน้า วงการพลังงานให้ก้าวกระโดดอย่างที่ได้เกริ่นไว้ พัฒนาพลังงานทดแทนของไทย ซึ่งต้องยกเป็นความตั้งใจ
ซึ่งก็มีหลายผลงาน และหลากหลายโครงการ ของ ดร.ณอคุณ ที่ได้ ผลักดันแผนดังกล่าวแบบสุดก�าลัง


แต่หากจะกล่าวถึงผลงานเด่นท่สุดสาหรับ จนเป็นท่ยอมรับในคณะรัฐมนตรีฝ่ายบริหารบ้านเมือง

กระทรวงพลังงาน คงหนีไม่พ้นการวางนโยบาย ด้าน และ ถูกก�าหนดไว้ให้เป็นวาระแห่งชาติ ที่ทุกรัฐบาลจากนี้
พลังงานเพื่ออนาคต ส�าหรับลูกหลานไทยให้ได้มีพลังงาน ต้องปฏิบัติตาม



ใช้อย่างยั่งยืน ซึ่งน่าจะเป็นผลงานระดับมาสเตอร์พีซ โดย ด้านผลงานทโดดเด่นอกด้านในการทางานของ


แท้ ซึ่งในช่วงที่ ดร.ณอคุณ ได้ก้าวมาสู่ต�าแหน่งปลัด ดร.ณอคุณ ได้แก่ การผลักดันให้เกิด แผนอนุรักษ์พลังงาน
กระทรวงพลังงาน ระหว่างปี พ.ศ.2553-2556 ได้เกิด 20 ปี (พ.ศ.2554-2573) ซึ่งได้ก�าหนดให้มีกลยุทธ์ 5 ด้าน
นโยบายการผลักดันการสร้างความม่นคงด้านพลังงาน 34 มาตรการ ซึ่งจะท�าให้ประเทศไทยของเราสามารถใช้

ส�าหรับอนาคตไทย โดยมีนโยบายเด่นๆ ที่จะเป็นการท�า พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเมื่อถึงสิ้นปี

พิมพ์เขียวด้านพลังงาน ซึ่งถือว่าเป็น พันธสัญญาให้ พ.ศ.2573 จะสามารถช่วยให้ประเทศประหยัดงบ

บุคลากรทุกคนในกระทรวงพลังงานต้องมีหน้าท่ดาเนิน ประมาณและลดดัชนีด้านการประหยัดพลังงาน หรือ En-

การให้ได้ตามแผน และต้องท�าให้สัมฤทธิผล ได้แก่ ergy Intensity ได้มากถึงร้อยละ 25 ตามเป้าหมายของ
1.การผลักดันแผนการส่งเสริมการใช้พลังงาน แผน ทั้งนี้กลยุทธ์ 5 ด้าน ประกอบด้วย
ทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP) ร้อยละ 25 ใน 10 1.กลยุทธ์ด้านการบังคับด้วยกฎระเบียบและ

ปี (พ.ศ.2555-2564) มาตรฐาน
2.การผลักดันแผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี (พ.ศ. 2.กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการ
2554-2573) อนุรักษ์พลังงาน

3.การจัดทาแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของ 3.กลยทธ์ด้านการสร้างความตระหนกและ




ประเทศ (PDP) เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม


4.การเสาะหาพลงงานจากต่างประเทศมาเตม 4.กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลย ี
เต็มพลังงานไทย และ นวัตกรรม
5.การปรับราคาพลังงานเพ่อสะท้อนต้นทุนท่แท้ 5.กลยุทธ์ด้านการพัฒนากาลังคนและความ



จริง สามารถเชิงสถาบัน

จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 29

นอกจากทั้ง 2 นโยบายดังกล่าว นโยบายที่ส�าคัญ เพื่อดูความเป็นไปได้ของโครงการ ใน 4 ประเด็น
อีกประการที่ ดร.ณอคุณ ได้วางทิศทาง ไว้ให้คนพลังงาน คือ 1.มีเทคโนโลยีที่แน่นอน 2.มีจุดเชื่อมโยงไฟฟ้า 3.มี

คือ แผนพัฒนาก�าลังผลิตไฟฟ้า หรือ PDP ซึ่งปัจจุบันอยู่ ที่ดินก่อสร้างโครงการ และ 4. มีการสนับสนุนจาก
ในขั้นตอนการจัด ท�าแผน “ PDP 2013” คือ ต้องเป็น สถาบันการเงิน ซึ่งหากมีครบก็สามารถให้เดินหน้า
“PDP ยั่งยืน-มั่นคง” PDP เริ่มจากปัจจัย 3 ข้อ คือ ความ โครงการได้

มั่นคง สิ่งแวดล้อม และอัตราราคาค่าไฟฟ้า นอกจากเรื่องการส่งเสริมพลังงานทดแทน การ
หลักการคือ ต้องกระจายแหล่งเชื้อเพลิงให้มาก อนุรักษ์พลังงาน และแผนการพัฒนาก�าลัง ผลิตไฟฟ้า

ขึ้น เพราะในอนาคตการผลิตไฟฟ้า จะต้องเผชิญกับข้อ หรือ PDP ตามที่กล่าวไปแล้ว ภาพรวมการใช้พลังงานใน
จ�ากัดหลายเรื่อง ราคาเชื้อเพลิงที่ปรับตัวสูงขึ้น และความ ประเทศไทย ไม่ได้มี เฉพาะแต่การใช้ไฟฟ้าเท่านั้น หาก
มั่นคงทางด้าน ซัพพลาย ยังมีการใช้พลังงานในรูปแบบอื่นอีกด้วย เช่น การใช้

โดยเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ “กรีน” หรือ น�้ามัน
“สิ่งแวดล้อม” นั้น ดร.ณอคุณ เป็น ผู้ตั้งประเด็นมาว่า ก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็นส่วนส�าคัญในภาคการ

ต้องตั้งเป้าหมายลดการปล่อย CO เพื่อให้ประเทศไทยได้ ขนส่ง และครัวเรือน ดังนั้นการสร้างความมั่นคง ด้าน
เป็นส่วนหนึ่งของประชาคมโลก เพราะทั่วโลกเริ่มตื่นตัว พลังงานในระยะยาว จึงเป็นเรื่องส�าคัญ

ประเด็นสิ่งแวดล้อม เพราะในขณะท่ประเทศไทยไม่มีพลังงานเพียง
ฉะนั้นในแผน Green PDP นั้นจะเน้นในเรื่อง พอต่อการใช้ จึงจ�าเป็นต้องแสวงหา พลังงานเข้ามาเพิ่ม
ของพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน มีการ เติม เพื่อให้ประเทศไทยมีความมั่นคงทางพลังงาน

บริหารจัดการใน 2 ด้าน คือ ดีมานน์และซัพพลาย ในการแสวงหาน�้ามัน ก๊าซธรรมชาติ และไฟฟ้า
Green PDP ฉบับนี้ถือว่ามีความเป็นรูปธรรม จากภายนอกประเทศเพื่อสร้างความ มั่นคงด้านพลังงาน
มากขึ้นในแง่ของพลังงานทดแทน ก่อนหน้านี้มีอยู่แล้วแต่ ในระยะยาวนั้น ดร.ณอคุณ ได้ใช้ยุทธวิธี “การทูต” คือ

ไม่ได้ตั้งเป้าหมายและไม่มีเกณฑ์ที่ชัดเจน เป็นพัฒนาการ ให้กระทรวงการต่าง ประเทศช่วยเหลือ กระทรวง


ที่ ดร.ณอคุณ ในฐานะปลัดกระทรวงพลังงานได้ผลักดัน พลงงานออกหน้าติดต่อกับประเทศท่เป็นแหล่งพลังงาน
ให้เกิดขึ้น แล้วส่งต่อ ให้หน่วยงานพลังงานของไทยเข้าไปติดต่อเพื่อ


แต่การจะตดสนใจว่าโครงการใดมความเป็นไป ลงทุนด้านพลังงานร่วมกับประเทศเหล่านั้นมาเติม เต็ม

ได้หรือไม่ได้ จะมีคณะกรรมการบริหาร มาตรการส่งเสริม ส่วนที่ขาด และเก็บไว้เป็นพลังงานส�ารองของประเทศ
พลังงานการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ด้วย



จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 30

อย่างไรก็ตาม นอกจากการส่งเสริมพลังงาน การให้บริการก๊าซธรรมชาติ ผ่านการขยายสถานีบริการ

ทดแทน การอนุรักษ์พลังงาน การวางแผน ผลิตไฟฟ้าใน NGV เพื่ออ�านวยความสะดวกให้กับผู้ใช้บริการ

อนาคตให้กับประเทศไทยตามแผน PDP รวมไปถึงการ โดยผลประโยชน์ท่ได้รับจากการปรับโครงสร้าง
สร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ตามที่กล่าวมาแล้ว อีก ราคา พลังงานครั้งนี้ จะส่งผลท�าให้ราคาพลังงานค่อยๆ



หน่งผลงานท่น่าจะเป็นสุดยอดมาสเตอร์พีซอีกช้นของ สะท้อนต้นทุน ที่แท้จริง ภาครัฐลดภาระในการดูแล

ดร.ณอคุณ คือ อุดหนุนราคา ที่ท�าให้เสียระบบ การใช้งบประมาณ และ
การปรับโครงสร้างราคาพลังงานให้สะท้อน จะได้น�างบประมาณซึ่งแต่เดิมใช้อุดหนุน ราคาพลังงาน
ต้นทุนที่แท้จริง มาโดยตลอด มาใช้ในการพัฒนาประเทศด้านอื่นๆ ซึ่งจะ
งานของกระทรวงพลังงานในช่วงที่ ดร.ณอคุณ เป็นผลประโยชน์โดยรวมให้แก่คนไทยทั่วประเทศต่อไป

ทิ้งท้ายในช่วงที่ท่านเป็นผู้น�าสูงสุด คือการท�าให้กระทรวง จากผลงานทั้งหมดที่ได้กล่าวมา เป็นเพียงส่วน
พลังงานมีนโยบายที่ ชัดเจนในการปรับโครงสร้างราคา หนึ่งของมาสเตอร์พีซ ที่จะช่วยฉายภาพให้เห็นวิสัยทัศน์

พลังงานให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง โดยเฉพาะราคาก๊าซ ของผู้บริหาร ที่ได้เข้ามาเปลี่ยนโฉมด้านพลังงานของไทย
หุงต้ม (LPG) รวมถึงการเข้มงวดกวดขันไม่ให้มีการ และตอกย�้าถึงความส�าเร็จ ในการท�างานในฐานะปลัด
ลักลอบส่งออก และลักลอบบรรจุผิดประเภท ซึ่งเป็นการ กระทรวงพลังงานของ ดร.ณอคุณ

กระท�า ทีผิดกฎหมาย และสร้างความเสียหายให้กับ ถือเป็นมาสเตอร์พีซ “ณอคุณ” ที่คุณทุกคนจะ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม ตลอดจนการขยาย จดจ�า
















































ดร.ณอคุณ สิทธิพงศ์ ในงานแถลงข่าวการค้นพบแหล่งผลิต “บงกชใต้” ซึ่งถือเป็นแหล่งทรัพยากรก๊าซธรรมชาติแหล่งใหญ่
ที่สุดแหล่งหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งด�าเนินการโดยบริษัท ปตท. ส�ารวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ากัด (มหาชน)



จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 31

กีฬากอล์ฟ กิจกรรมสุดโปรด และไดีมีโอถ่ายรูปกับไทเกอร์ วู้ดส์



ก�าลังใจส�าคัญ



กว่าจะมาถึงจุดสูงสุดในชีวิตข้าราชการประจ�าอย่าง
ต�าแหน่งปลัดกระทรวง คงไม่ใช่เรื่องง่ายส�าหรับใครหลายคน ยิ่ง

ไปกว่าการด�ารงต�าแหน่ง คือการเป็นปลัดกระทรวงที่ดี มีผลงาน
เป็นที่ประจักษ์


จนเป็นบุคคลหน่งท่อาจเรียกว่าเป็นแบบฉบับให้คนรุ่น

หลังได้ คือ ดร.ณอคุณ ผู้มุ่งมั่น ทุ่มเท ท�างานเพื่อพัฒนาประเทศ
โดยเฉพาะในแวดวงพลังงานที่เขาเกี่ยวข้อง ต่อเนื่องยาวนานกว่า

40 ปี
และกว่าจะมาถึงวันนี้ได้ ต้องมีครอบครัวและคนใกล้ชิดที่

เข้าใจคอยเป็นก�าลังใจส�าคัญให้ท่าน ท่านได้เจอกับบุญญรัศมิ์
ภรรยาตอนได้ทุนไปเรียนต่อต่างประเทศ ที่มหาวิทยาลัยโอเรกอน
เจอกันไม่นานก็แต่งงานกัน

แต่ที่ตลกคือ การแต่งงานที่อเมริกานั้น เนื่องจากเราไม่ได้
เป็นคริสเตียน จึงต้องไปแต่งงานกันที่ศาล เราสองคนยังถือฤกษ์

จากเมืองไทย ท�าให้ต้องไปขึ้นศาลในช่วงบ่าย ของวันที่มีการสอบ
ตอนส่งข้อสอบอาจารย์ยังบอกว่า ขอแสดงความยินดีด้วย
นั่นคือ เรื่องราวชีวิตของ ดร.ณอคุณ สิทธิพงศ์ ในวันที่

ตัดสินใจจะใช้ชีวิตคู่กับ บุญณ์รัศมิ์ สิทธิพงศ์
ท่านทั้งสองเจอกันที่ต่างประเทศ เพราะได้ทุนไปเรียนต่อ

เหมือนกัน แต่คุณบุญณ์รัศมิ์ตอนนั้นเรียนหนังสือไปด้วย ท�างานไป
ด้วยสารพัดเพื่อหารายได้พิเศษ นี่คงเป็นเหตุผลที่ท�าให้ท่านณอ
คุณถูกใจ ที่คุณบุญญรัศมิ์เป็นผู้หญิงท�างาน เพราะท่านก็เป็นผู้ชาย

ท�างาน
ชีวิตคู่ของทั้งสองคนเริ่มต้นในต่างแดน หากแต่ปัญหา

ต่างๆ ที่แต่ละคนอาจเผชิญคือ หลังจากที่กลับมาท�างานที่เมือง
ไทย โดยเฉพาะท่านซึ่งกลับมาท�างานส�าคัญอย่างเรื่อง “พลังงาน”
ให้กับประเทศชาติ ต้องยอมรับว่าเป็นงานที่หนัก และสาหัส

เอาการที่เดียว ถ้าคู่ชีวิตไม่เข้าใจ ชีวิตคู่ก็คงจะไม่ราบรื่นเท่าไหร่
นัก

และเพราะความเข้าใจนี่เอง ท�าให้บุญณ์รัศมิ์นอกจากจะ
ท�าหน้าที่อาจารย์ประจ�าคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงใหม่แล้ว ยังรับหน้าที่ดูแลกิจการโรงเรียนสิริมังคลานุสรณ์ ที่

จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็นมรดกตกทอดของ ดร.ณอคุณ ด้วย เพื่อให้
สามีได้ท�างานอย่างเต็มที่

และอีกหนึ่งก�าลังใจก็มาลูกสาวของท่านทั้งสองคน นั่นคือ
“หน่อย” พนิตพิมพ์ สิทธิพงศ์ พี่สาวคนสวยและ “นุก” ณ นุต
สิทธิพงศ์ น้องสาวคนเล็ก




จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 36

“หน่อย” พนิตพิมพ์ สิทธิพงศ์ นางสาวไทย ลูกสาวทั้งสองคนว่าต้องเป็นเหมือนตัวเอง หรือต้องเรียน
ประจ�าปี พ.ศ.2545 ลูกสาวคนโต เปิดเผย ถึงความเป็น อะไร



คนเจ้าระเบียบของผู้เป็นพ่อ เธอบอกว่าตอนเด็กๆ ไม่ จึงทาให้ลูกสาวท้งคู่เลือกเส้นทางท่ไกลสุดกู่จาก

อยากให้พ่อไปรับ เพราะถ้า สายท่านจะไม่รอ แต่ก็บอก ตัวผู้เป็นพ่อ โดยคนพี่เลือกเรียน คณะเศรษฐศาสตร์ที่
ว่านี่เหมือนจะเป็นวิธีที่พ่อฝึกให้ลูกๆ มีวินัยไปในตัว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อนจะไปคว้าปริญญาโททาง
ลูกสาวคนสวยเผยอีกว่า พ่อเป็นคนที่มีระเบียบ ด้านเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยบอสตัน มาครอบ
มากกับการใช้ชีวิต ต่อให้กลับบ้านดึกดื่น แค่ไหนก็ต้อง ครองอีกใบ ด้านน้องสาวคนเล็กเลือกเรียนปริญญาตรี

ตื่นเช้าไปท�างานให้ได้ คณะการสื่อสารมวลชน ม.เชียงใหม่




ด้านลูกสาวคนเล็กอย่าง “นุก” ณ นุต สิทธิพงศ์ เหนเป็นอย่างนกใช่ว่าครอบครวสทธพงศ์จะไม่ม ี



กล่าวเกี่ยวกับเรื่องการเป็นก�าลังใจให้ กับผู้เป็นพ่อว่า มุมกุ๊กกิ๊ก อบอุ่น เหมือนครอบครัวอื่นๆ โดยไม่ว่าจะ
ปกติจะดูแลให้ความใส่ใจเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ภายในบ้าน เหนื่อยแค่ไหน ใน 1 สัปดาห์ ดร.ณอคุณ จะต้องมารวม
ท�าให้คุณพ่อในสิ่งที่ท่าน ไม่มีเวลาท�า เช่น งานบ้าน หรือ ตัวกินข้าวกับครอบครัว และ หากมีเวลา ครอบครัวนี้จะ
บางครั้งก็เฝ้าบ้านให้เวลาที่มีช่างมาท�างานที่บ้าน ต้องรวมตัวกันไปท่องเที่ยว ไม่ใช่แค่กิจกรรมใหญ่ๆ ที่ต้อง
และแม้จะดุ เฉียบ เนี้ยบ หรือเจ้าระเบียบแค่ เป็นไปตามแผนที่นัดเท่านั้น มุมอบอุ่นที่ใครหลายคนอาจ

ไหนก็ตาม สิ่งหนึ่งที่ ดร.ณอคุณ ไม่เคยเข้าไปก้าวก่ายการ ไม่รู้


ตัดสินใจต่างๆ หากตั้งอยู่บนหลักเหตุผลแล้ว ก็พร้อมที่จะ เป็นเร่องราวของคนใกล้ชิดท่มีต่อตัวชายช่อ

ให้แต่ละคนได้เดิน ไปบนเส้นทางที่ชอบ “ณอคุณ สิทธิพงศ์” ต่อเรื่องราวของ “ก�าลังใจ” ที่มีให้
เช่นเรื่องการเรียน ดร.ณอคุณ ไม่เคยบังคับ กลายเป็นก�าลังส�าคัญในชีวิต ช่วยให้ผ่านช่วงวิกฤตไปได้



จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 37

“หน่อย“ พนิตพิพม์, “นุก“ ณ นุต และอาจารย์บุญณ์รัศมิ์ สิทธิพงศ์
สามสาวผู้เป็นก�าลังใจที่ส�าคัญของท่านปลัดณอคุณ



ERDI ที่สร้างสรรค์






กับ



ท่านณอคุณ



หลังจากที่ ดร.ณอคุณ ก่อตั้งสถานจัดการและอนุรักษ์
พลังงานหรือ EMC จนกระทั่งรวมตัวกับสถาบันเทคโนโลยีก๊าซ

ชีวภาพ และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน
ม.เชียงใหม่”
สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ (สวพ.)

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Energy Research and Development
Institute - Nakornping, Chiang Mai University) เป็นองค์กร




ในกากับมหาวิทยาลัยท่ดาเนินงานสนับสนุนการวิจัยและงาน
บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับอนุมัติจากสภา
มหาวิทยาลัยให้เป็นสถาบัน ตามมติการประชุมของสภา
มหาวิทยาลัยครั้งที่ 1/2550 โดยมีผลตั้งแต่ 6 มีนาคม 2550
(ปัจจุบันถือว่าวันที่ 6 มีนาคม เป็นวันสถาปณาสถาบัน)

ต่อมา สถาบันฯได้รับพระราชทานชื่อใหม่จาก สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็น “สถาบันวิจัย
และพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่” โดยมีเป้า

หมายในการพัฒนาองค์การให้เป็นศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางด้าน
พลังงาน มีระบบการบริหารจัดการที่เป็นอิสระจากระบบราชการ

สามารถพึ่งพาตนเองได้ เป็นแหล่งวิจัย ค้นคว้า และให้บริการ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านพลังงาน เพื่อสร้างประโยชน์ต่อ
ประเทศ โดยมีวิสัยทัศน์และพันธกิจ ดังนี้

วิสัยทัศน์

“เป็นสถาบันช้นนาด้านพลังงานทดแทนในภูมิภาค

อาเซียน”
พันธกิจ
• ผลิตผลงานวิจัยและสร้างนวัตกรรมด้านพลังงาน

ทดแทน ที่ตอบสนองความต้องการในภูมิภาคอาเซียน
• ให้บริการวิชาการด้านพลังงานและส่งแวดล้อมท ่ ี

ได้มาตรฐานสากล

• พัฒนาระบบบริหารจัดการท่ดีและม ี
ประสิทธิภาพ












จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 42

วิสัยทัศน์ถูกน�ามาก�าหนดเป็นภารกิจหลัก ในการด�าเนินงานของสถาบัน พร้อมทั้งมีการตรวจสอบภายในและ

ภายนอกองค์กร ทั้งนี้มีความมุ่งมั่นที่จะท�าให้องค์กรก้าวไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้ในระยะ สั้นที่ชัดเจนและระยะยาวตามที่
ได้วางแผนไว้ และยึดถือหลักการด�าเนินงานตามภารกิจอย่างเคร่งครัด ภารกิจที่ส�าคัญขององค์กรประกอบไปด้วย
• มุ่งเน้นการพัฒนา วิจัย และส่งเสริมด้านก๊าซชีวภาพ

• สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาด้านพลังงานที่มีคุณภาพ ทั้งด้านพลังงานทดแทน ด้านอนุรักษ์พลังงาน
หรือ ประสิทธิภาพพลังงาน การจัดหาพลังงาน รวมถึงด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือเป็นผลกระทบจากพลังงาน

• ส่งเสริมให้มีการเชื่อมโยงงานวิจัยของสถาบันกับการศึกษาในทุกระดับที่ สอดคล้องกับทาง
มหาวิทยาลัย รวมถึงการเชื่อมโยงงานวิจัยกับภาคอุตสาหกรรมทั้งระดับท้องถิ่น ระดับชาติ จนถึงระดับนานาชาติ
• ให้บริการทางวิชาการด้านพลังงาน และด้านที่เกี่ยวข้องหรือเป็นผลกระทบจากพลังงาน รวมถึงให้

บริการแหล่งข้อมูลและองค์ความรู้ทางด้านพลังงานในทุกด้านที่สามารถ เผยแพร่สู่สังคม
• มุ่งเน้นส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรของสถาบัน เพื่อให้เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญอย่างแท้จริงในด้าน

พลังงาน
































































จุดเริ่มต้นคนพลังงาน | 43


Click to View FlipBook Version