45
2.2.3 การจดั การเรยี นการสอน
เชิงคณุ ภาพ : ผลการประเมินการจัดการเรียนการสอน ร้อยละ 100 ตามเกณฑ์การประเมิน
อย่ใู นระดับคุณภาพยอดเยีย่ ม
ผลสะท้อน : สถานศึกษามีครูผู้สอนที่มีวุฒิการศึกษาท่ีตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน และมีการจัดทา
แผนการเรียนรู้ทุกรายวิชาท่ีจัดการเรียนการสอนตรงตามแผน การจัดการเรียนรู้
มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง รวมถึงเทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ ที่ครบถ้วน
เพ่ือเกดิ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นของนักเรียน นกั ศกึ ษา
2.2.4 การบรหิ ารจัดการช้ันเรยี น
เชิงปริมาณ : สถานศึกษามีจานวนครูทั้งหมด 157 คน โดยครูผู้สอนทุกท่านได้จัดทาข้อมูลผู้เรียน
เป็นรายบุคคลท้ังหมดมีข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจาชั้นเรียนและรายวิชา
เป็นปัจจุบนั ใช้เทคนิควธิ ีการบรหิ ารจัดการช้ันเรยี นให้มีบรรยากาศทเ่ี อ้อื ต่อการเรียนรู้
มีวิธีการเสริมแรงให้ผู้เรียนมีความมุ่งม่ันตั้งใจในการเรียน และดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
รายบุคคลดา้ นการเรียน และด้านอืน่ ๆ
เชงิ คณุ ภาพ : สถานศึกษามีครูผู้สอนท่ีจัดทาข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีข้อมูลสารสนเทศและ
เอกสารประจาช้ันเรียนและรายวิชาเป็นปัจจุบัน มีเทคนิควิธีการบริหารจัดการ
ชน้ั เรียนให้มีบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรูเ้ สริมแรงให้ผเู้ รยี น มีความมุ่งมั่นต้งั ใจใน
ก า ร เ รี ย น แ ล ะ ดู ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ เ รี ย น ร า ย บุ ค ค ล ด้ า น ก า ร เ รี ย น แ ล ะ ด้ า น อื่ น ๆ
อยู่ในระดับคณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม
ผลสะท้อน : ครูผู้สอนมีการจัดทาข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคลโดยใช้ระบบดูแลผู้เรียนมาบริหาร
จดั การชั้นเรยี น
2.2.5 การพัฒนาตนเองและพฒั นาวชิ าชีพ
เชงิ ปริมาณ : 1. จานวนครูผู้สอนท่ีทาแผนพัฒนาตนเอง และเข้าร่วมการพัฒนาวิชาชีพ จานวน
159 คน
: 2. จานวนครูผสู้ อนท่ีไดร้ ับการพฒั นาตนเอง อยา่ งน้อย 12 ช่ัวโมงตอ่ ปี จานวน 154 คน
: 3. จ า น ว น ค รู ผู้ ส อ น ที่ น า ผ ล จ า ก ก า ร พั ฒ น า ต น เ อ ง และพัฒนาวิชาชีพ
มาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน จานวน 159 คน
: 4. จานวนครูผู้สอนท่มี ีผลจากการพฒั นาตนเองและพัฒนาวชิ าชพี จานวน 159 คน
: 5. จานวนครูผู้สอนที่มีนวัตกรรมจากการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
ที่ไดร้ ับการยอมรบั หรอื เผยแพร่ จานวน 7 คน
เชงิ คุณภาพ : จานวนครผู ู้สอนทนี่ าผลจากการพฒั นาตนเองและพัฒนาวิชาชีพมาใช้ในการจัดการ
เรยี นการสอน คิดเป็นร้อยละ 100
ผลสะท้อน : ครูผู้สอนจัดทาแผนพัฒนาตนเองและเข้ารว่ มกระบวนการพัฒนาวชิ าชีพ ได้รบั การ
พัฒนาแผนพัฒนาตนเองและกระบวนการพัฒนาวิชาชีพมีการนาผลการพัฒนา
ตนเองมาใช้ในการเรียนการสอน
46
2.2.6 การเขา้ ถึงระบบอนิ เทอร์เนต็ ความเรว็ สูงเพอ่ื การจดั การเรยี นการสอนในชั้นเรยี น
เชิงปรมิ าณ : ห้องเรียนที่มีการพัฒนาระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงท่ีให้บริการอินเทอร์เน็ต
จานวน 137 ห้อง
เชิงคณุ ภาพ : ทางสถานศึกษาได้มีการพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้มีความพร้อม
ตอ่ การให้บริการ แก่บุคลากรและนกั เรียน นักศึกษา อย่างสม่าเสมอ และมีการพัฒนา
ให้มปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ
ผลสะทอ้ น : บุคลากรและนักเรียน นักศึกษา มีการยอมรับในหลักการของการเรียนการสอนใน
E-Learning และการสื่อสารแบบไรส้ าย
47
4.2.3 ด้านการบริหารจัดการ ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาด้าน
การบรหิ ารจัดการ ตามรายการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังนี้
ประเด็นท่ี 2.3 ด้านการบรหิ ารจดั การ
ผลสมั ฤทธ์ิ
2.3.1 การบรหิ ารจัดการระบบฐานขอ้ มลู สารสนเทศเพือ่ การบริหารจัดการสถานศึกษา
เชิงปริมาณ : มีระบบขอ้ มูลสารสนเทศท่ใี ชง้ าน จานวน 14 ระบบ ประกอบดว้ ย
1. เวบ็ ไซตว์ ทิ ยาลัย (www.loeitech.ac.th)
2. ระบบงานสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (AMS e-office)
3. ระบบขอ้ มูลศนู ยก์ าลงั คนอาชวี ศกึ ษา
4. ระบบ ศธ.02 ออนไลน์
5. ระบบซอฟตแ์ วรบ์ ริหารจดั การข้อมลู สารสนเทศ (EDR System)
6. ระบบจัดเก็บเอกสารราชการ การแจ้งเตือนผ่านแอพพลิเคช่ันไลน์ (ปัจจุบัน
ใชร้ ะบบ EDR)
7. e-Learning เพื่อพัฒนาอาชีพ ตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
8. e-Learning วิทยาลัยเทคนิคเลย
9. ระบบประเมนิ ความพง่ึ พอใจในการจดั การเรียนการสอนออนไลน์
10. ระบบติดตามดูแลผ้เู รยี น
11. ระบบการประเมนิ ผลปฏิบัติงานเพ่ือนร่วมงาน วิทยาลัยเทคนิคเลย
12. e-Mail ของสถานศึกษา([email protected])
13. Facebook ของสถานศกึ ษา
14. แอพพลิเคช่นั Line ประชาสมั พันธข์ ่าวสาร
เชิงคุณภาพ : การรับข้อมูลข่าวสาร ท้ังผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา สามารถนาไปใช้
ประโยชนไ์ ด้ในระดบั ปานกลาง
ผลสะท้อน : การนาระบบสารสนเทศ มาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสาร ทาให้ลดเวลา
มกี ารทางาน ลดปญั หาในการสบื คน้ และการจัดเกบ็ ได้ดี
2.3.2 อาคารสถานที่ ห้องเรียน หอ้ งปฏิบตั กิ าร โรงฝกึ งานหรืองานฟาร์ม
เชงิ ปรมิ าณ : ร้อยละของห้องปฏิบัติการ หรือโรงฝึกงานที่ได้รับการพัฒนาให้เอื้อต่อการจัดการ
เรียนรู้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
เชงิ คุณภาพ : 1. อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ โรงฝึกงาน
หรืองานฟาร์ม และส่ิงอานวยความสะดวกในการให้บริการผู้เรียนเพียงพอ
ต่อความตอ้ งการ
2. การพัฒนาดูแลสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้ โรงฝึกงาน หรืองานฟาร์ม และส่ิงอานวยความ
สะดวกตามแผนงาน โครงการที่กาหนด
48
2.3.2 อาคารสถานที่ ห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร โรงฝึกงานหรืองานฟาร์ม
เชงิ คณุ ภาพ 3. สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แหล่งการเรียนรู้
โรงฝกึ งาน หรืองานฟาร์ม และสิ่งอานวยความสะดวกท่ีเออื้ ต่อการจัดการเรยี นรู้
ผลสะท้อน : มีองค์กร หน่วยงานภายนอก หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามาใช้บริการ อาคารสถานที่
ห้องเรียน ห้องปฏบิ ตั กิ าร โรงฝึกงานหรอื งานฟารม์
2.3.3 ระบบสาธารณูปโภคพ้นื ฐาน
เชงิ ปริมาณ : ระบบสาธารณปู โภคพื้นฐาน ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ระบบประปา การคมนาคมภายใน
สถานศึกษา ระบบการส่ือการภายใน และระบบความปลอดภัยได้รับการ
บารงุ รกั ษาและพฒั นาอยา่ งเปน็ ระบบ รอ้ ยละ 100
เชิงคณุ ภาพ : ระบบสาธารณปู โภคพื้นฐาน ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ระบบประปา การคมนาคมภายใน
สถานศึกษา ระบบการสื่ อสารภายในและระบบรักษาความปลอดภัย
ไดร้ บั การบารงุ รกั ษาอยสู่ มา่ เสมอ
ผลสะทอ้ น : นักเรียน นักศึกษา ครูอาจารย์ บุคลากรทางการศึกษามีระบบสาธารณูปโภค
พื้นฐาน ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ระบบประปา การคมนาคมภายในสถานศึกษา
ระบบสารสื่อสารภายใน และระบบความปลอดภัยที่ดีและเพียงพอต่อความ
ตอ้ งการ
2.3.4 แหลง่ เรียนรู้และศูนยว์ ิทยบรกิ าร
เชิงปรมิ าณ : 1. จานวนผ้เู ขา้ ใชบ้ รกิ ารศูนยว์ ทิ ยบรกิ าร คดิ เป็นรอ้ ยละ 447.51 ในปีการศกึ ษา 2563
2. จานวนผ้เู ขา้ ใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมุด คดิ เป็น ร้อยละ 95.29
3. จานวนผเู้ ขา้ ใช้บรกิ ารหอ้ งอินเทอรเ์ น็ต คิดเป็นรอ้ ยละ 124.03
4. จานวนผเู้ ชา้ ใชบ้ ริการห้องคอมพิวเตอร์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 228.19
เชงิ คุณภาพ : แหล่งเรียนรู้จากศูนย์วิทยบริการ จะมีงานห้องสมุด ห้องอินเทอร์เน็ต และห้อง
คอมพวิ เตอร์ซ่ึงประเมินจากสถานที่จรงิ
ผลสะท้อน : ความพ่ึงพอใจของผู้ใช้บริการห้องสมุด ห้องอินเทอร์เน็ต และห้องคอมพิวเตอร์
ดูได้จากสถิติรายเดือนของแต่ละภาคเรียน และตรวจสอบจากการเข้าใช้บริการ
หอ้ งคอมพิวเตอร์
2.3.5 ระบบอินเทอร์เน็ตความเรว็ สูงเพ่ือการใช้งานดา้ นสารสนเทศภายในสถานศึกษา
เชงิ ปริมาณ : มเี ส้นทาง link สญั ญา 2 link รวมเป็น 1,700 Mbps ประกอบดว้ ย
1. เครอื่ ข่าย UniNet ความเรว็ 1000 Mbps
2. เครอื่ ข่าย TOT ความเร็ว 600/300 Mbps (เพมิ่ เตมิ ปี 2562) เพิ่ม Speed เปน็
700/400 Mbps
เชงิ คณุ ภาพ : ในเวลาปกติสามารถใช้ Band Width รวมเป็น 1,700 Mbps แต่หากเกิดปัญหา
เส้นทางใดเสน้ ทางหนง่ึ ระบบยงั สามารถใชง้ านได้ จากเสน้ ทางท่เี หลอื
ผลสะทอ้ น : การใช้งานจริงในปัจจุบันค่า Band Width จะอยู่ประมาณ 690 Mbps คิดเป็น
ประมาณ 43% ของ Band Width ทีใ่ ช้งานได้
49
4.2.4 ด้านการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการจัดการ
อาชีวศึกษาด้านการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ตามรายการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา
ดงั น้ี
ประเด็นที่ 2.4 ดา้ นการนานโยบายส่กู ารปฏบิ ัติ
ผลสัมฤทธ์ิ
2.4.1 การจัดการอาชีวศกึ ษาส่รู ะบบทวิภาคี
เชงิ ปรมิ าณ : 1. มีนักเรียน นักศึกษา เข้าฝึกอาชีพในสถานประกอบการ เต็ม 100% ตรงตาม
สาขาวิชาของนกั เรียน นักศึกษา
2. มคี รูแผนกวชิ าช่างก่อสร้างและแผนกวิชาช่างกลโรงงาน ที่เข้าร่วมโครงการการ
พัฒนาประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ จานวน 2 ท่าน ณ บริษัท
บ้านสเก็ตซ์อัพ จากัด และรา้ นไพบลู ยจ์ กั รกล
เชิงคุณภาพ : 1. นักเรียน นักศึกษา ได้ฝึกอาชีพในสถานประกอบการในลักษณะการทางานจริง
ได้พัฒนาทักษะดา้ นต่างๆ ในสถานประกอบการ โดยมีผ้เู ช่ียวชาญในการทางาน
2. ครูท่ีเข้าโครงการได้รับพัฒนาประสบการณ์วิชาชีพในการประกอบการและได้
ความรูด้ า้ นทักษะเพ่ิมเตมิ เพอื่ นามาประกอบการสอนในรายวิชา
ผลสะทอ้ น : ได้รับความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการ กับสถานศึกษาในการจัดการเรียน
การสอนในสถานประกอบการ ท้ังใน ระบบปกติ และระบบทวิภาคี ต่อเนื่องและ
ด้วยดเี สมอมา
2) จดุ เด่น
1. สถานศึกษามีการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่ได้จากการพัฒนา และมีหลักสูตรฐานสมรรถนะ
ท่ีสอดคล้องกับการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน
2. สถานศึกษามคี รูผู้สอนท่ีมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนตรงตามวิชาเอก สามารถ
จดั การเรยี นรู้แบบบรู ณาการกับทักษะการเรยี นรู้ที่หลากหลาย
3. สถานศึกษามีครูผู้สอนที่มีการวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา เพื่อกาหนดหน่วยการเรียนรู้มี่มุ่งเน้น
สมรรถนะอาชพี
4. สถานศึกษามีแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีการกาหนดแนวทางการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ด้วยรปู แบบวิธีการทหี่ ลากหลาย
5. สถานศกึ ษามคี รูผสู้ อนมวี ุฒิการศึกษาตรงตามสาขาวิชาที่สอน จัดทาแผนการเรยี นรูท้ ุกรายวชิ าท่ีสอน
6. สถานศึกษามีแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีการกาหนดการใช้ส่ือเครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยี
การจัดการเรียนรทู้ ีเ่ หมาะสมและนาไปใช้ในการจดั การเรียนการสอนท่หี ลากหลาย
7. สถานศกึ ษามแี ผนการจดั การเรยี นรู้ทม่ี กี ารกาหนดแนวทางการวัดประเมินผลตามสภาพจรงิ
50
8. สถานศึกษามีการจัดทาข้อมูลผู้เรียนเป็นราบบุคคล มีข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจาช้ันเรียน
และรายวิชาเป็นปัจจุบัน ใช้เทคนิควิธกี ารบริหารจดั การเรียนให้มีบรรยากาศทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้ มีวิธีการเสริมแรง
ให้ผ้เู รยี นมีความม่งุ มั่นตง้ั ใจในการเรยี นและดแู ลชว่ ยเหลอื ผูเ้ รียนรายบุคคลด้านการเรียนและดา้ นอืน่ ๆ
9. สถานศึกษาให้การสนับสนุนในด้านการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพมาใช้ในการเรียนการสอน
ได้อยา่ งดี รวมถงึ การจดั ทาผลงานการพฒั นาตนเองและพฒั นาวชิ าชีพ
10. สถานศึกษามีการใช้ E-Learning การเรียนการสอนออนไลน์ ด้วยวิธีต่างๆ ในหลักสูตรการศึกษา
และพฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาให้ทนั สมัย โดยให้แตล่ ะแผนกเป็นผูด้ าเนินการ
11. สถานศึกษามีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน และระบบบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศ ที่นามาใช้ใน
การพัฒนาเพอ่ื ให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสงู สดุ
12. สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการระบบไฟฟ้า ระบบประปา ระบบคมนมคม ระบบการส่ือสาร
รวมท้ังการจัดระบบ รักษาความปลอดภัยภายในสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ืออานวยประโยชน์สาหรับ
ใหบ้ ริการ
13. สถานศึกษามีแผนงานและโครงการส่งเสริมให้บุคลากร ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ทั้งด้านวิชาชีพ
ดา้ นจรรยาบรรณวิชาชพี อยา่ งต่อเน่อื ง และเปน็ ระบบ
14. สถานศึกษามีพ้ืนท่ี อาคารโครงฝึกงาน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ วัสดุ ครุภัณฑ์ ตลอดท้ังอุปกรณ์
ทางการศกึ ษาเพียงพอสาหรับการพัฒนาผเู้ รยี น
15. สถานศึกษามีนโยบายส่งเสริมและจัดบริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับบุคลากร ผู้เรียน
คน้ คว้าขอ้ มลู เพ่ือพัฒนาวิชาชีพและการเรียนการสอน
16. สถานศึกษามกี ารจดั ทาข้อมลู ผู้เรยี นเป็นรายบุคคล และมเี อกสารประจาชน้ั เรียนทุกรายวิชา
17. สถานศึกษาจัดให้มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง เพื่อการใช้งานด้านสารสนเทศให้เกิด
ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการภายในสถานศกึ ษา
3) จุดทีค่ วรพัฒนา
1. สถานศึกษาควรมีการตดิ ตาม ประเมินผล และปรบั ปรงุ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
2. สถานศึกษาควรทาการปรบั ปรุงรายวชิ า ยังขาดความเขา้ ใจในการจัดทาหลักฐานท่ี เกบ็ เอกสาร ตาม
ขั้นตอน PDCA และควรพัฒนาการปรบั ปรุงรายวิชาร่วมกับสถานประกอบการอยา่ งตอ่ เนื่อง
3. สถานศึกษาควรมีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้มีการกาหนดรูปแบบการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ
และกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย และมีการเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนรู้ออลไลน์ให้มีประสิทธิภาพ
ต่อนักเรียนมากขึ้น ให้เหตุการณ์มีโรคระบาดเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) เพื่อให้นักเรียนได้ต่ืนตัวการเรียน
ออลไลน์เพ่มิ มากข้ึน
4. สถานศึกษาควรมกี ารจดั ทาแผนพฒั นาตนเองและเข้าร่วมพฒั นาวชิ าชีพให้ครบทุกคนในสถานศึกษา
5. สถานศึกษาควรพัฒนา ปรบั ปรุง จุดให้บริการการเข้าถึงสัญญาณ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง
ให้ครอบคลมุ พ้ืนท่ี
6. สถานศกึ ษาควรเพิ่มประสทิ ธภิ าพระบบภายในเชื่อมโยงระหวา่ งอาคารต่างๆ กบั ศนู ย์ควบคุม
7. สถานศึกษาควรเพ่ิมจุดบริการเครือข่ายไร้สายให้ครอบคลุมพ้ืนท่ีที่ใช้งานให้ท่ัวถึง ระบบที่ควบคุม
จากส่วนกลางได้
51
8. สถานศกึ ษาควรพฒั นาครูฝกึ อาชีพในสถานประกอบการ ตามหลกั สูตร
9. สถานศกึ ษาควรพฒั นาครูฝึกในสถานประกอบการ ตามหลักสตู ร
10. สถานศึกษาควรมกี ารพฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะหรอื ปรับปรุงรายวิชา หรือปรับปรุงรายวชิ าเดิม
หรอื กาหนดรายวชิ าเพ่มิ เตมิ น้อยกวา่ ความต้องการของตลาดแรงงาน ทง้ั น้คี วรมีการจัดทาแผนงาน โครงการรองรับ
เพื่อใหม้ ีคณุ ภาพสูงข้นึ
11. สถานศึกษาควรเพ่ิมจานวนห้องเรียนที่มีการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงและจุดบริการสัญญา
อินเทอร์เนต็ ไร้สาย (wifi) ใหค้ รอบคลุมทกุ พ้ืนท่ภี ายในสถานศกึ ษาเพ่ือการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนใหม้ าขึ้น
ท้งั นค้ี วรจัดทาแผนงาน โครงการรองรบั เพอื่ ให้มีระดับคุณภาพสงู ข้ึน
12. สถานศึกษาควรเพ่ิมงบประมาณเพ่ือสนับสนุน และพัฒนาด้านโครงสร้างพ้ืนฐานของเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่อื สาร (ICT) ให้มคี วามสมบูรณ์ยิง่ ขนึ้
4) ข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
1. สถานศึกษาควรมีการส่งเสริม สนับสนุน กากับ ติดตามให้สาขางานต่างๆ มีการพัฒนาหลักสูตรฐาน
สมรรถนะ ปรับปรงุ รายวิชา หรือปรบั ปรุงรายวิชาเดิม หรือปรับปรุงรายวิชาเพิ่มเติม
2. สถานศึกษาควรมีการพัฒนาปรับปรุงวิชาอย่างต่อเน่ือง และควรมีการจัดประชุมแต่ละแผนกวิชา
เกี่ยวกบั เรอ่ื งการจัดทาเอกสาร ขนั้ ตอน PDCA และควรพัฒนาการปรับปรุงวิชาร่วมกบั สถานประกอบการอยา่ งต่อเน่ือง
3. ครูผู้สอนควรจัดทาแผนการเรียนรู้ที่มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง
เหมาะสมกับความสามารถความถนัดและความสนใจของผู้เรียน สามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันหรือเป็น
ทางเลือกให้นักเรียนได้รู้จักความสามารถและความถนัดของตนเองไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคต
สรา้ งรายได้ให้กบั ตนเองและนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์สูงสดุ
4. ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริงเหมาะสมกับความสามารถ
หรอื ความถนัดของนักเรยี น นักศกึ ษาไปใช้ในการประกอบอาชีพไดใ้ นอนาคตสรา้ งรายได้ใหก้ ับตนเองและครอบครัวได้
5. ระบบข้อมูลสารสนเทศที่มีใช้งาน ในระบบงานต่างๆ ควรได้รับการพัฒนาให้เป็นระบบงานเดียวกัน
ใชฐ้ านขอ้ มลู ร่วมกันได้ เพือ่ ลดเวลาในการนาเข้าข้อมูล ลดเวลาในการประมวลผล
6. ส่งเสริม สนับสนุนบุคลกร ในการใช้งานทางด้านเทคโนโลยี เพื่อนามาใช้ประโยชน์ ในการเรียนการสอน
และสะดวกต่อการใช้งานในหลายด้าน
7. ครูผู้สอนควรนานักเรียน นักศึกษา มาศึกษาค้นคว้าข้อมูลและการใช้บริการในศูนย์วิทยบริการ
โดยมบี รรณารักษ์ และเจ้าหน้าท่ีหอ้ งอนิ เทอร์เนต็ คอยให้คาแนะนาและชว่ ยเหลอื
52
4.3 มาตรฐานท่ี 3 การสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้
4.3.1 ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธ์ิในการ
พัฒนาการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ตามรายการประเมิน
คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา ดังน้ี
ประเดน็ ที่ 3.1 ด้านความรว่ มมอื ในการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้
ผลสมั ฤทธิ์
3.1.1 การบรหิ ารสถานศกึ ษาแบบมีสว่ นร่วม
เชิงปรมิ าณ : 1. มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา
และมีการประกันคุณภาพ ในสถานศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร
สถานศึกษาที่ดาเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยมีการกาหนดการ จักทาและจัดส่งรายงาน
การประเมนิ ใหห้ น่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากบั ดูแลสถานศึกษาเปน็ ประจาทุก
ปกี ารศึกษา
2. ผู้บรหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารการจดั ทา
แผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ.2561-2567) และแผนปฏิบัติราชการประจาปี 2563
จานวน 214 คน
3. มกี ารประชมุ ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา วทิ ยาลยั เทคนิคเลย จานวน 1 คร้ัง
4. มกี ารประชมุ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา วทิ ยาลยั เทคนิคเลย จานวน 3 ครง้ั
5. มีระบบข้อมูลสารสนเทศทีใ่ ช้งาน จานวน 14 ระบบ ประกอบดว้ ย
1) เวบ็ ไซต์วิทยาลัย (www.loeitech.ac.th)
2) ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (AMS e-office)
3) ระบบขอ้ มูลศนู ยก์ าลังคนอาชวี ศึกษา
4) ระบบ ศธ.02 ออนไลน์
5) ระบบซอฟตแ์ วร์บรหิ ารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศ (EDR System)
6) ระบบจัดเก็บเอกสารราชการ การแจ้งเตือนผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ (ปัจจุบันใช้
ระบบ EDR)
7) e-Learning เพือ่ พัฒนาอาชพี ตามพระราชดาริสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า
8) e-Learning วิทยาลยั เทคนคิ เลย
เชงิ ปริมาณ 9) ระบบประเมินความพ่งึ พอใจในการจดั การเรียนการสอนออนไลน์
10) ระบบตดิ ตามดแู ลผู้เรียน
11) ระบบการประเมนิ ผลปฏบิ ตั งิ านเพ่อื นร่วมงาน วทิ ยาลัยเทคนิคเลย
12) e-Mail ของสถานศึกษา ([email protected])
13) Facebook ของสถานศึกษา
14) แอพพลิเคชัน่ Line ประชาสัมพันธ์ขา่ วสาร
53
3.1.1 การบริหารสถานศึกษาแบบมีสว่ นรว่ ม
เชิงคุณภาพ 1. ประสานงานกับฝา่ ยต่างๆ ในสถานศกึ ษา สถานประกอบการ และหน่วยงานภายนอก
สานักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
ในการดาเนินงานตามระบบการประกนั คุณภาพทางการศกึ ษา
2. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา ในสถานศึกษา
มีความรู้และความเข้าใจในรายละเอียดการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ.2561-
2567) และแผนปฏิบัติราชการประจาปีการศึกษา 2563 ร่วมกันในการบริหาร
จัดการสถานศกึ ษา
3. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิคเลย
ตามเกณฑก์ ารประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา ด้านท่ี 3 ดา้ น
ครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษา 3.2 ผู้บริหารสถานศึกษา 3.2.1 การบริหาร
สถานศกึ ษาแบบมีสว่ นร่วม ผลการประเมินระดับสถานศกึ ษา ยอดเย่ียม
4. การรับรู้ข้อมูลสารสนเทศ ท้ังผู้บริการ ครู บุคลากรทางการศึกษา สามารถนาไปใช้
ประโยชนไ์ ดใ้ นระดบั ปานกลาง
ผลสะทอ้ น : 1. สถานศึกษาได้รับความร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึงส่วนหนึ่งเป็น
บุคลากรภายนอก และไดร้ บั การยอมรับจากผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน ภายนอก
และสถานประกอบการในการบริหารสถานศึกษา ทาให้สถานศึกษาเป็นที่ยอมรับ
จากบุคคลภาบนอกเพมิ่ ขนึ้
2. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา มีส่วนร่วมในการ
บริหารจดั การสถานศึกษาและร่วมกันจัดทาร่างแผนยุทธศาสตร์ (พ.ศ.2561-2567)
และแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ให้คณะกรรมการบรหิ าร
3.1.1 การบรหิ ารสถานศกึ ษาแบบมสี ่วนร่วม
ผลสะทอ้ น สถานศึกษาพิจารณา เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา การบริหารจัดการ การ
เรียน การสอน การจัดกิจกรรม และการปฏิบัติราชการของวิทยาลัยให้เกิด
ผลสมั ฤทธิ์ และบรู ณาการไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรม
3. การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาหรือคณะกรรมการบริหาร
สถานศึกษาในการบริหาร จัดการสถานศึกษา มีการใช้นวัตกรรมในการบริหาร
จัดการสถานศึกษา
4. การนาระบบสารสนเทศ มาใช้ในการบรหิ ารจดั การข้อมูลข่าวสาร ทาให้ลดเวลา
ในการทางาน ลดปัญหาในการสืบค้นและการจดั เก็บไดด้ ี
3.1.2 การระดมทรพั ยากรเพื่อการจัดการเรียนการสอน
เชิงปรมิ าณ : 1. สถานศึกษามีแผนงาน โครงการในการระดมทรัพยากรท่ีหลากหลาย
ในการจัดการอาชีวศึกษาทง้ั ในประเทศและหรือตา่ งประเทศ เน่ืองจากสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา COVID – 19 มีการแพร่ระบาด
ในวงกว้างและยกระดบั ความรนุ แรงขึน้ ดงั นนั้ จึงเลือ่ นการจัดกิจกรรมต่าง ๆ
54
3.1.2 การระดมทรัพยากรเพ่อื การจดั การเรียนการสอน
เชิงปริมาณ 2. สถานศึกษามีเครือข่ายความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานอื่น ๆ
เพือ่ พฒั นาศักยภาพครูและครฝู ึกในสถานประกอบการ 2 สถานประกอบการ
3. สถานศึกษามีการประเมินผลการดาเนินงานตามแผนงาน โครงการในการระดม
ทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่าย เพอ่ื การปรับปรุงและพัฒนาอยา่ ง
ตอ่ เน่อื ง
เชงิ คณุ ภาพ : การบริหารแบบมสี ่วนร่วมเปน็ การจงู ใจให้ผมู้ สี ่วนร่วมปฏบิ ัติงานในองค์กรไดม้ ีสว่ น
รว่ มในการตัดสินใจร่วมรับผดิ ชอบและร่วมมือในการพัฒนาองค์กรทปี่ ฏิบัติอยดู่ ้วย
ความเต็มใจ การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานขององค์การ ทาให้เกิดผลดีกับ
สถานศึกษา ผู้สาเร็จการศกึ ษามีความรู้ความสามารถทางด้านวชิ าการวิชาชพี และ
ทันต่อเทคโนโลยีท่ีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา องค์กร หน่วยงานภายนอก หรือ
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากรเพ่ือการจัดการเรียนการสอน
และมีเครอื ข่ายความรว่ มมอื กบั
3.1.2 การระดมทรพั ยากรเพอ่ื การจัดการเรียนการสอน
เชิงคณุ ภาพ สถานประกอบการหรือหน่วยงานอ่ืน ๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพครูและครูฝึกในสถาน
ประกอบการ
ผลสะทอ้ น : 1. องค์กร หน่วยงาน หรือ ผู้มีส่วนร่วมเกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากร
เพื่อจัดการเรียนการสอนและมีเครือข่ายความร่วมมือกับสถานประกอบการหรือ
หนว่ ยงานอ่นื ๆ เพ่ือพฒั นาศักยภาพครู และครฝู ึกในสถานประกอบการ
2. หน่วยงาน บุคลากร และสถานประกอบการณ์ต่างๆ ได้บริจาคทุนการศึกษา
แกผ่ ู้เรียน ทม่ี ีผลการเรียนดคี วามประพฤติเรยี บร้อย ต้ังใจเรยี น และมจี ิตอาสา แต่
ขาดแคลนทนุ ทรัพย์ ให้ไดร้ บั ทนุ การศกึ ษาเพือ่ ประโยชน์ในการศึกษาเล่าเรยี น
3. ผูเ้ รียน มีความรู้ ความสามารถและทักษะปฏิบัตจิ รงิ ดา้ นวชิ าชพี ท่สี ามารถนาไป
ต่อยอดประกอบอาชพี ได้
3.1.3 การบริการชมุ ชนและจิตอาสา
เชิงปริมาณ : กจิ กรรมในการบริหารจดั การและจิตอาสามที ัง้ หมด 4 กิจกรรม
เชงิ คณุ ภาพ : 1. โครงการศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน Fix it center จานวน 2 ศูนย์ ศูนย์ท่ี 1
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลทา่ สรรค์ ศนู ย์ที่ 2 องค์การบริหารส่วนตาบลนา้ สวย
2. โครงการศูนย์ซอ่ มสรา้ งเพอ่ื ชมุ ชนฯแบบถาวรประจาจังหวัดเลย
3. โครงการ DL TV R Service
4. โครงการการสอนหลักสตู รระยะสั้น ETOE
ผลสะทอ้ น : หน่วยงานองค์กรท้องถิ่นและประชาชนท่ัวไปให้การสนับสนุนและให้ความร่วมมือ
เปน็ อยา่ งดี
55
4.3.2 ด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ให้สถานศึกษารายงานผลสัมฤทธ์ิใน
การพัฒนาการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ด้านนวัตกรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย ตามรายการประเมิน
คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา ดังน้ี
ประเด็นที่ 3.2 ดา้ นนวตั กรรม ส่ิงประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจัย
ผลสัมฤทธิ์
3.2.1 ผลงานของผู้เรยี นด้านนวัตกรรม สง่ิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรอื งานวิจัย
เชิงปริมาณ : วิทยาลัยเทคนิคเลยได้มีการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนจัดทาส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่น
ใหม่จานวน 28 ผลงาน การทาหุ่นยนต์ ABU การประกวดการสร้างสะพานจากไม้
ไอศกรมี เพือ่ ทดสอบความแข็งแรงของโครงสร้าง จานวน 1 ชิน้ งาน
2. มีผลงานด้านนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย เข้าร่วมการ
ประกวดแข่งขนั ระดับอาชีวศกึ ษา จานวน 3 ช้ิน
3. งานวิจัยครูเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 1 จานวน 141 เล่ม
ภาคเรยี นที่ 2 จานวน149 เลม่
4. งานวจิ ัยของผเู้ รียน ปวช. จานวน 105 เลม่ และปวส. จานวน 163 เลม่
เชงิ คุณภาพ : 1. ผู้เรียนมีทักษะและประสบการณ์ในการจัดทาและการเข้าร่วมประกวดในระดับ
ตา่ งๆ และยังสามารถใช้ความรูท้ ี่เรียนมา ประยุกตส์ ร้างสรรค์ผลงานที่จัดทาขึน้
2. ผลงานด้านนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย และผลงาน
สิง่ ประดษิ ฐ์สามารถนามาใช้ประโยชนก์ ับชมุ ชนไดจ้ ริง
3. ผลงานด้านนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย ส่ิงประดิษฐ์สร้าง
ช่อื เสยี งให้แก่วิทยาลัย
4. ผลงานวิจัยครูเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและงานวิจัยของผู้เรียน ปวช. และ
ปวส. เกดิ ขึน้ จากการเรียนการสอนและการแก้ปัญหาในชมุ ชน
ผลสะทอ้ น : 1. ผ้เู รยี นสามารถทางานรว่ มกนั ได้ดี
2. สามารถชว่ ยเหลือชุมชนในการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งย่ังยนื
3. ผลงานด้านนวัตกรรม สง่ิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรืองานวิจัย เป็นที่ยอมรับของ
สังคม ชุมชน และตอบโจทย์ความตอ้ งการของผ้บู ริโภคในพน้ื ท่ี
ผลสะทอ้ น 4. ผลงานวิจัยครูเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและงานวิจัยของผู้เรียน ปวช. และ
ปวส. ตอบโจทย์ในชน้ั เรียนและชุมชน
56
2) จุดเด่น
1. สถานศึกษาดาเนินการบริหารจัดการสถานศึกษาตามนะโยบายสาคัญ ที่หน่วยงานท่ีกากับดูแล
สถานศึกษามอบหมายโดยร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เรียน รวมท้ังการช่วยเหลือ
ส่งเสรมิ สนับสนุนจากผปู้ กครอง ชมุ ชน สถานประกอบการ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งทง้ั ภาครฐั และเอกชน
2. สถานศึกษามีการพัฒนายุทธศาสตร์ (พ.ศ.2561-2567) และแผนปฏิบัติราชการประจาปี 2563
ได้มีการประชุมหัวหน้าแผนกวิชา หัวหน้างานต่างๆ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อนาเสนอแผนงาน/โครงการ
และครภุ ณั ฑ์ ใหส้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานการประกันคณุ ภาพทงั้ สอศ. และ สมศ.
3. สถานศึกษามีการจัดทาร่างแผนปฏิบัติราชการ ให้คณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณา
เพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการพัฒนา การบรหิ ารจดั การการเรยี น การสอน การจัดกจิ กรรม และการปฏิบัตริ าชการของ
วิทยาลัยให้เกดิ ผลสมั ฤทธแ์ิ ละบูรณาการไดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรม
4. ผบู้ ริหารและบุคลากรทางการศึกษา มีส่วนร่วมในการกาหนดมาตรฐานทางการศึกษาและจัดทา
แผนพัฒนาและปฏิบตั ิการประจาปี โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา
5. สถานศกึ ษามรี ะบบงานพ้ืนฐานรองรับการพฒั นาเพ่อื ให้เกดิ ประสิทธภิ าพสูงสุด
6.สถานศึกษาประสานความร่วมมือและดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษา ประสานงานความ
ร่วมมือกับต่างประเทศและความช่วยเหลือภายนอกในการร่วมลงทุนเพื่อการศึกษา ประสานและให้ความร่วมมือ
ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา จัดทาปฏิทินการการปฏิบัติงานการเสนอโครงการและรายงานการ
ปฏิบัติ ดูแล บารุงรักษาและรับผิดชอบทรัพย์สินของสถานศึกษาท่ีได้รับมอบหมาย มีสภาพทางสังคม บรรยากาศ
และส่ิงแวดล้อมรอบ ๆ ตัวผู้เรียนท่ีเอื้ออานวยต่อการเรียนอย่าเหมาะสมมีความพร้อมใน ด้านวิชาการ
และด้านเทคโนโลยีใฝเ่ รียนรู้ในสง่ิ ใหม่ ๆ
7. ประชาชนที่เขา้ รับบรกิ าร มีทัศนคตทิ ่ีดีตอ่ สถานศกึ ษา
8. สถานศึกษาได้รบั การชน่ื ชมในการช่วยเหลือแกไ้ ขปัญหาใหแ้ ก่ชุมชน
9. ผู้ปกครองมคี วามไวว้ างใจท่จี ะส่งบุตรหลานมาเรียนกบั วิทยาลัย
10. สถานศึกษา มแี ผนงาน โครงการ กิจกรรม ในการระดมทรัพยากรเพ่ือจัดการเรยี นการสอนท้ัง
ในภายในและภายนอกประเทศ
11. สถานศึกษา มีความพร้อมทางด้านวิชาการ วิชาชีพ เทคโนโลยี และมีความร่วมมือกับบุคคล
ชุมชน องคก์ รตา่ งๆ ทเ่ี ออื้ อานวยตอ่ การเรียนอยา่ งเหมาะสม
3) จดุ ทีค่ วรพฒั นา
1. สถานศึกษาควรมีการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียน นักศึกษา สร้างนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์
งานสร้างสรรค์ ใหไ้ ด้ผลงานที่เปน็ เลศิ เพือ่ เขา้ รว่ มประกวดในระดับจงั หวดั ระดับภาค และระดับชาติ
2. ผลงานของผู้เรยี นด้านนวตั กรรม สงิ่ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ หรอื งานวจิ ยั
3. สถานศึกษาควรเพ่ิมแหลง่ การศึกษาค้นคว้าให้หลากหลาย เปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วม
ทง้ั ในด้านการบริหารงานวิชาการการบรหิ ารงานบคุ คล การบริหารงบประมาณและการบรหิ ารงานทั่วไป
4. สถานศึกษาควรมีการประชาสัมพนั ธ์ให้ประชาชนที่มารับบรกิ ารใหท้ ่ัวถึง
5. ผู้เรยี นยังขาดทักษะในการนาเสนอผลงาน ทั้งด้านภาพและบุคลิกภาพ
57
4) ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา
1. การดาเนินโครงการนอกแผนปฏิบัติราชการประจาปี ควรพิจารณาดาเนินการเฉพาะโครงการ
ท่ีไม่ส่งผลกระทบต่อโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีที่กาหนดไว้ และต้องมีการว่างแผนช่วงระยะเวลา
การจัดโครงการ เพือ่ ใหส้ ามารถจัดโครงการได้
2. สถานศึกษาควรมกี ารจัดทาแผนการพฒั นาตามลาดบั ความสาคัญ
3. สถานศึกษาควรมีการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียน นักศึกษา สร้างนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์
งานสรา้ งสรรค์ ให้ได้ผลงานเปน็ เลศิ เพ่ือเขา้ ร่วมประกวด ในระดับจงั หวดั ระดับภาคและระดับชาติ
4. สถานศึกษาควรจดั หาวัสดุ อปุ กรณ์ ครุภัณฑ์ให้เพียงพอเหมาะสมตอ่ การบริหารงานสถานศกึ ษา
สว่ นที่ 5
ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561
ให้สถานศกึ ษารายงานผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการ
อาชวี ศึกษา พ.ศ. 2561 จานวน 3 มาตรฐาน ตามระดบั การจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา ดงั นี้
5.1 มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้สาเรจ็ การศึกษาอาชวี ศึกษาท่ีพงึ ประสงค์
ตารางท่ี 1 ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานที่ 1 ในแตล่ ะประเดน็ การ
ประเมนิ
ประเดน็ การประเมนิ ที่ 1 ด้านความรู้
ขอ้ การประเมนิ ค่า ค่าคะแนน คะแนนทไ่ี ด้
นาหนัก (คา่ นาหนกั xคา่
คะแนน)
1.1 ผลการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพ 20 5 100
1.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตดิ า้ น 0 0 0
อาชวี ศกึ ษา (V-NET)
ผลรวมคะแนนที่ได้ 100
ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 1 = (ผลรวมคะแนนท่ไี ด้ X 100) / 115 100
ระดับคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ประเดน็ การประเมินท่ี 1 ดา้ นความรู้
ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ขึน้ ไป) ดีเลศิ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลังพัฒนา (น้อยกว่ารอ้ ยละ 50.00)
59
ประเด็นการประเมนิ ท่ี 2 ดา้ นทักษะและการประยกุ ตใ์ ช้
ข้อการประเมิน ค่า คา่ คะแนน คะแนนทไ่ี ด้
นาหนัก (คา่ นาหนกั xคา่
คะแนน)
2.1 ผู้เรียนมสี มรรถนะในการเปน็ ผู้ประกอบการ 3 3 9
หรือการประกอบอาชพี อสิ ระ
2.2 ผลการแขง่ ขนั ทักษะวชิ าชีพ 24 6
ผลรวมคะแนนท่ีได้ 15
ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมนิ ที่ 2 = (ผลรวมคะแนนทีไ่ ด้ X 100) / 25 60.00
ระดบั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ประเด็นการประเมินที่ 2 ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้
ยอดเยย่ี ม (ร้อยละ 80 ข้ึนไป) ดเี ลศิ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พฒั นา (น้อยกว่ารอ้ ยละ 50.00)
60
ประเดน็ การประเมนิ ที่ 3 ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์
ขอ้ การประเมิน ค่า คา่ คะแนน คะแนนทไี่ ด้
นาหนกั (ค่านาหนกั x
คา่ คะแนน)
3.1 การดูแลและแนะแนวผเู้ รยี น 22 4
3.2 ผูเ้ รียนมีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 25 10
3.3 การมีงานทาและศกึ ษาตอ่ ของผูส้ าเรจ็ การศกึ ษา 15 3 45
ผลรวมคะแนนท่ีได้ 59
รอ้ ยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 3 = (ผลรวมคะแนนท่ไี ด้ X 100) / 95 62.11
ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินท่ี 3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม
และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
ยอดเย่ยี ม (ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป) ดเี ลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลังพฒั นา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)
61
5.2 มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา
ตารางที่ 2 ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานท่ี 2 ในแต่ละประเดน็ การ
ประเมิน
ประเดน็ การประเมินท่ี 1 ด้านหลกั สูตรอาชีวศกึ ษา
ข้อการประเมนิ คา่ ค่าคะแนน คะแนนทไ่ี ด้
นาหนัก (คา่ นาหนกั x
ค่าคะแนน)
1.1 การพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะอย่างเป็นระบบ 2 5 10
1.2 การพัฒนาหลักสตู รฐานสมรรถนะ หรือ
ปรบั ปรงุ รายวชิ า หรอื ปรับปรุงรายวชิ าเดิม หรือ 3 1 13
กาหนดรายวชิ าเพิ่มเติม
ผลรวมคะแนนที่ได้ 13
ร้อยละของคะแนน ประเดน็ การประเมนิ ที่ 1 = (ผลรวมคะแนนทไ่ี ด้ X 100) / 25 52
ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ประเด็นการประเมินที่ 1 ด้านหลักสตู รอาชวี ศึกษา
ยอดเย่ียม (ร้อยละ 80 ข้ึนไป) ดเี ลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พฒั นา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)
62
ประเด็นการประเมนิ ที่ 2 ดา้ นการจัดการเรียนการสอนอาชวี ศกึ ษา
ขอ้ การประเมิน ค่า ค่าคะแนน คะแนนท่ไี ด้
นาหนัก (ค่านาหนักx
ค่าคะแนน)
2.1 คุณภาพของแผนการจัดการเรยี นรสู้ กู่ ารปฏบิ ัติ 2 5 10
2.2 การจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้สกู่ ารปฏบิ ัตทิ ่ี
เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ และนาไปใชใ้ นการจดั การ 3 5 15
เรยี นการสอน
2.3 การจดั การเรยี นการสอน 55 25
2.4 การบรหิ ารจัดการช้ันเรยี น 35 15
2.5 การพัฒนาตนเองและพฒั นาวชิ าชีพ 25 10
2.6 การเข้าถึงระบบอนิ เทอรเ์ นต็ ความเร็วสงู เพ่ือ 2 1 2
การจดั การเรยี นการสอนในชั้นเรียน
ผลรวมคะแนนที่ได้ 77
ร้อยละของคะแนน ประเดน็ การประเมินที่ 2 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 85 90.59
ระดบั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินท่ี 2 ด้านการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ข้ึนไป) ดเี ลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลังพฒั นา (น้อยกว่ารอ้ ยละ 50.00)
63
ประเด็นการประเมนิ ท่ี 3 ด้านการบริหารจดั การ
ขอ้ การประเมิน ค่า คา่ คะแนน คะแนนทไ่ี ด้
นาหนัก (คา่ นาหนักx
ค่าคะแนน)
3.1 การบริหารจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือ 5 5 25
การบริหารจัดการสถานศึกษา
3.2 อาคารสถานท่ี หอ้ งเรยี น ห้องปฏบิ ัตกิ าร 2 5 10
โรงฝกึ งาน หรืองานฟาร์ม
3.3 ระบบสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน 25 10
3.4 แหล่งเรียนรู้และศูนย์วทิ ยบรกิ าร 25 10
3.5 ระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเพ่อื การใชง้ าน 2 5 10
ด้านสารสนเทศภายในสถานศึกษา
ผลรวมคะแนนที่ได้ 65
รอ้ ยละของคะแนน ประเด็นการประเมนิ ท่ี 3 = (ผลรวมคะแนนทไ่ี ด้ X 100) / 65 100.00
ระดบั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมนิ ท่ี 3 ด้านการบรหิ ารจัดการ
ยอดเย่ยี ม (ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป) ดีเลศิ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)
64
ประเดน็ การประเมนิ ที่ 4 ด้านการนานโยบายส่กู ารปฏิบัติ
ขอ้ การประเมนิ ค่า คา่ คะแนน คะแนนทไ่ี ด้
นาหนกั (ค่านาหนกั x
คา่ คะแนน)
4.1 การจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 65 30
ผลรวมคะแนนท่ีได้ 30
ร้อยละของคะแนน ประเดน็ การประเมินที่ 4 = (ผลรวมคะแนนทีไ่ ด้ X 100) / 30 100.00
ระดับคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินท่ี 4 ด้านการนานโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
ยอดเย่ยี ม (ร้อยละ 80 ข้ึนไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (ร้อยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พฒั นา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)
65
5.3 มาตรฐานท่ี 3 การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้
ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานท่ี 3 ในแต่ละประเด็น
การประเมิน
ประเด็นการประเมินที่ 1 ด้านความรว่ มมือในการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้
ข้อประเมนิ ค่า ค่าคะแนน คะแนนทไ่ี ด้
นาหนัก (คา่ นาหนกั xคา่
คะแนน)
1.1 การบรหิ ารสถานศึกษาแบบมสี ว่ นร่วม 5 5 25
1.2 การระดมทรัพยากรเพอ่ื การจดั การเรียนการ 2 5 10
สอน
1.3 การบรกิ ารชมุ ชนและจติ อาสา 25 10
ผลรวมคะแนนท่ีได้ 45
ร้อยละของคะแนน ประเด็นการประเมินที่ 1 = (ผลรวมคะแนนที่ได้ X 100) / 45 100.00
ระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ประเด็นการประเมนิ ที่ 1 ด้านความร่วมมอื ในการสรา้ งสงั คม
แห่งการเรียนรู้
ยอดเยย่ี ม (ร้อยละ 80 ข้นึ ไป) ดีเลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พัฒนา (น้อยกว่ารอ้ ยละ 50.00)
66
ประเด็นการประเมนิ ที่ 2 ด้านนวัตกรรม สงิ่ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจยั
ขอ้ การประเมิน ค่า ค่าคะแนน คะแนนทไ่ี ด้
นาหนกั (ค่านาหนักx
ค่าคะแนน)
2.1 ผลงานของผู้เรยี นด้านนวัตกรรม ส่งิ ประดิษฐ์ 3 2 6
งานสรา้ งสรรค์ หรืองานวิจัย
ผลรวมคะแนนท่ีได้ 6
ร้อยละของคะแนน ประเดน็ การประเมนิ ที่ 2 = (ผลรวมคะแนนทไ่ี ด้ X 100) / 15 40.00
ระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นการประเมินท่ี 2 ด้านนวัตกรรม
สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย
ยอดเยี่ยม (ร้อยละ 80 ข้ึนไป) ดเี ลิศ (รอ้ ยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (ร้อยละ 50.00 – 59.99) กาลงั พฒั นา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)
67
5.4 สรปุ ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาโดยภาพรวม
ตารางที่ 4 สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาโดยภาพรวม
ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ร้อยละ
ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561
มาตรฐานที่ 1 คณุ ลักษณะของผ้สู าเรจ็ การศกึ ษาอาชีวศึกษาทพี่ ึงประสงค์ 79.09
ประเด็นที่ 1.1 ด้านความรู้ 100
ประเด็นท่ี 1.2 ดา้ นทักษะและการประยุกต์ใช้ 60
ประเดน็ ท่ี 1.3 ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ 62.11
มาตรฐานท่ี 2 การจดั การอาชีวศึกษา 90.24
ประเด็นที่ 2.1 ดา้ นหลักสตู รอาชีวศกึ ษา 52
ประเดน็ ท่ี 2.2 ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนอาชีวศกึ ษา 90.59
ประเด็นที่ 2.3 ด้านการบรหิ ารจดั การ 100
ประเด็นท่ี 2.4 ด้านการนานโยบายสูก่ ารปฏบิ ตั ิ 100
มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ 85
ประเด็นท่ี 3.1 ด้านความร่วมมอื ในการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 100
ประเด็นท่ี 3.2 ด้านนวัตกรรม สิง่ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจยั 40
สรุปผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา 84.52
ระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
ยอดเยีย่ ม (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ดเี ลิศ (ร้อยละ 70.00 – 79.99) ดี (รอ้ ยละ 60.00 – 69.99)
ปานกลาง (รอ้ ยละ 50.00 – 59.99) กาลังพัฒนา (น้อยกว่าร้อยละ 50.00)
ส่วนท่ี 6
ผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามบรบิ ทของสถานศึกษาทก่ี าหนดเพ่มิ เตมิ
สถานศกึ ษารายงานการประเมนิ ผลและการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษาท่ีกาหนดเพิ่มเติม ในแตล่ ะมาตรฐานและประเด็นการประเมนิ ดงั นี้
- ไม่มขี ้อกาหนดเพ่ิมเตมิ -
ส่วนที่ 7
แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา
ให้สถานศึกษานาผลการประเมินและการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
มาศึกษา วิเคราะห์เพ่ือกาหนดแผนพัฒนายกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้เพิ่มขึ้น
โดยมีเปา้ หมายในการพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษาให้อยใู่ นระดบั คุณภาพ “ยอดเยย่ี ม” รายละเอียดดงั นี้
มาตรฐานและประเด็น แผนพฒั นาเพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
การประเมนิ (แผนงาน โครงการ กิจกรรม)
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผ้สู าเร็จการศกึ ษาอาชีวศึกษาท่พี งึ ประสงค์
1.1 ดา้ นความรู้ 1. โครงการทดสอบฝมี ือมาตรฐานวชิ าชพี
2. โครงการจดั สอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ
ดา้ นอาชีวศึกษา V-NET และ PV-NET
3. โครงการพัฒนาข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพร่วมกับองค์กรภายนอกและ
ประชาคมเครอื ข่าย
4. โครงการสอนตวิ เตอร(์ Tutor) เพอ่ื เตรียมความพร้อมก่อนการสอบจรงิ (V-NET)
5. โครงการวิเคราะห์ข้อสอบ/จัดทาธนาคารข้อสอบ
6. โครงการปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาก่อนออกฝึกอาชพี 7. โครงการสมั มนาการฝึกอาชพี
8. โครงการนิเทศฝึกอาชีพภาคฤดรู อ้ น
9. โครงการแขง่ ขนั ทกั ษะวชิ าชพี และวิชาสามญั
10. โครงการ English Spenking Day
11. โครงการASEAN Day
12. โครงการจา้ งครตู ่างประเทศ
13. โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาเพื่อการประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อได้กับ
นักเรยี น นกั ศกึ ษา ปวช.3/ปวส.2
14. โครงการ English Day Camp ไดก้ ับนกั เรยี น นักศึกษา
15. โครงการติวความร้ภู าษาอังกฤษก่อนสอบ V-NET ให้กบั นักศึกษา ปวช.3/ปวส.2
16. โครงการเปดิ หลักสตู รการเรยี นการสอนระบบทวิศกึ ษา
17. โครงการเปิดหลกั สูตรการเรยี นการสอนระบบทวิภาคี
18. โครงการเปดิ หลักสูตรการเรยี นการสอนระดับปริญญาตรี
1.2 ดา้ นทกั ษะและการ 1. โครงการสง่ เสริมสวสั ดิการนักเรยี น นกั ศกึ ษา (อนิ เตอร์เนต็ )
ประยุกต์ใช้ 2. โครงการส่งเสริมห้องเรียนพิเศษด้านวชิ าการ
70
มาตรฐานและประเดน็ แผนพฒั นาเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
การประเมิน (แผนงาน โครงการ กจิ กรรม)
1.3 ดา้ นคณุ ธรรม 1. โครงการลดปัญหาการออกกลางคันของผู้เรียนอาชีวศึกษาผ่านระบบ
จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะ ออนไลน์ (SMS)
ทพ่ี ึงประสงค์ 2. โครงการปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาใหม่ (ป.ตรี)
3. โครงการแลกเปลย่ี นเรยี นรูแ้ ละปัจฉมิ นเิ ทศของสถานประกอบการ (ป.ตรี)
4. โครงการปัจฉิมนเิ ทศ มอบใบประกาศนียบัตรและอาลาพระวษิ ณุกรรม
5. โครงการส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมนักเรยี น นกั ศึกษา
6. โครงการส่งเสรมิ ดนตรี กฬี า นนั ทนาการ
7. โครงการอบรมจรยิ ธรรมนาชวี ิต (นกั เรยี น ระดับ ปวช.๒)
8. โครงการมอบประกาศนียบตั รสอบธรรมะ
9. โครงการสอบธรรมศกึ ษาชั้นนกั ธรรมตรี
10. โครงการอบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม(ป.ตร)ี
11. โครงการเข้าคา่ ยปฐมนิเทศนักเรียนนกั ศึกษาใหม่
12. โครงการแข่งขนั ทกั ษะวิชาชพี และวิชาสามัญ
13. โครงการฝึกอบรมผชู้ ่วยเจ้าหน้าท่ีตารวจงานจราจร
14. โครงการคา่ ยอาสาสามัญสัมพันธ์
มาตรฐานท่ี 2 การจดั การอาชีวศึกษา
2.1 ด้านหลกั สตู ร 1. โครงการแขง่ ขนั ทักษะวิชาชีพและวชิ าสามัญ
อาชวี ศกึ ษา 2. โครงการทดสอบฝมี อื มาตรฐานวิชาชีพ
3. โครงการพัฒนาข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพร่วมกับองค์กรภายนอกและประชาคม
เครือข่าย
4. โครงการเสรมิ ทกั ษะทางคณติ ศาสตร์
5. โครงการปรบั พ้ืนฐานกอ่ นเรยี นของนักศกึ ษา ป.ตรี ปี 1
6. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาหลักสูตรและการเขียนแผนการจัดการ
เรยี นรฐู้ านสมรรถนะอาชพี ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
7. โครงการวิจัยรูปแบบการจัดการเรยี นการสอน อาชพี STEM Education การศึกษา
เพื่อพฒั นาทกั ษะ
2.2 ดา้ นการจัดการเรยี น 1. โครงการจา้ งครหู รือผ้เู ชย่ี วชาญในสาขาเฉพาะ
การสอนอาชวี ศึกษา 2. โครงการจัดซือ้ ส่อื การเรยี นรหู้ นังสืออา่ นประกอบการเรยี นการสอน
3. โครงการเชิญผู้เชี่ยวชาญ ผูม้ ีประสบการณ์เฉพาะสาขาร่วมในการสอบมาตรฐาน
วชิ าชพี
4. โครงการ English Spenking Day
2.3 ด้านการบริหาร 1. โครงการทดสอบฝมี อื มาตรฐานวชิ าชีพ
จดั การ 2. โครงการจัดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติดา้ นอาชวี ศกึ ษา V-NET และ PV-NET
71
มาตรฐานและประเดน็ แผนพฒั นาเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
การประเมิน (แผนงาน โครงการ กิจกรรม)
2.3 ด้านการบริหารจดั การ 3. โครงการพัฒนาข้อสอบมาตรฐานวิชาชีพร่วมกับองค์กรภายนอกและ
ประชาคมเครือขา่ ย
4. โครงการสอนติวเตอร์(Tutor) เพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนการสอบจริง(V-NET)
5. โครงการวเิ คราะหข์ อ้ สอบ/จดั ทาธนาคารขอ้ สอบ
6. โครงการปฐมนเิ ทศนักศึกษากอ่ นออกฝกึ อาชีพ 7. โครงการสมั มนาการฝกึ อาชพี
8. โครงการนเิ ทศฝึกอาชีพภาคฤดรู ้อน
9. โครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพและวิชาสามัญ 10. โครงการ English
Spenking Day
11. โครงการASEAN Day
12. โครงการจา้ งครูตา่ งประเทศ
13. โครงการพัฒนาทักษะทางภาษาเพื่อการประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อได้กับ
นักเรยี น นักศึกษา ปวช.3/ปวส.2
14. โครงการ English Day Camp ไดก้ บั นักเรียน นกั ศึกษา
15. โครงการตวิ ความรู้ภาษาองั กฤษกอ่ นสอบ V-NET ใหก้ บั นักศึกษา ปวช.3/ปวส.2
16. โครงการเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนระบบทวศิ กึ ษา
17. โครงการเปิดหลกั สูตรการเรยี นการสอน ระบบทวภิ าคี
18. โครงการเปดิ หลักสตู รการเรียนการสอนระดับปรญิ ญาตรี เปน็ ต้น
19. โครงการลดปัญหาการออกกลางคันของผู้เรียนอาชีวศึกษาผ่านระบบ
ออนไลน์ (SMS)
20. โครงการปฐมนเิ ทศนกั ศึกษาใหม่ (ป.ตรี)
21. โครงการแลกเปลีย่ นเรียนร้แู ละปัจฉมิ นิเทศของสถานประกอบการ (ป.ตรี)
22. โครงการปัจฉิมนเิ ทศ มอบใบประกาศนยี บัตรและอาลาพระวิษณกุ รรม
23. โครงการสง่ เสริมการจดั กจิ กรรมนกั เรยี น นักศึกษา
24. โครงการสง่ เสรมิ ดนตรี กฬี า นันทนาการ
25. โครงการอบรมจริยธรรมนาชีวติ (นกั เรียน ระดับ ปวช.๒)
26. โครงการมอบประกาศนยี บัตรสอบธรรมะ
27. โครงการสอบธรรมศกึ ษาชั้นนกั ธรรมตรี
28. โครงการอบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม(ป.ตรี)
29. โครงการเขา้ ค่ายปฐมนิเทศนักเรียนนักศึกษาใหม่ เป็นตน้
30. โครงการส่งเสริมสวัสดิการนักเรยี น นักศกึ ษา (อนิ เตอร์เน็ต)
31. โครงการสง่ เสริมหอ้ งเรียนพิเศษด้านวิชาการ
32. โครงการศนู ยซ์ อ่ มสรา้ งชมุ ชน (Fix it center) 33. โครงการอาชีวะอาสา
34. โครงการสอนหลักสตู รระยะส้ัน
72
มาตรฐานและประเดน็ แผนพฒั นาเพือ่ ยกระดับคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
การประเมิน (แผนงาน โครงการ กิจกรรม)
2.3 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ 35. โครงการพระราชดาริฯ สมเด็จพระเทพฯ
36. โครงการช่วยเหลือประชาชน จากภยั พบิ ตั ิธรรมชาตฯิ เปน็ ตน้
37. โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาศักยภาพศูนยบ์ ม่ เพาะผปู้ ระกอบการอาชีวศกึ ษา
38. โครงการศนู ยซ์ ่อมสร้างชุมชน (Fix it center) 39. โครงการอาชีวะอาสา
40. โครงการสอนหลกั สตู รระยะสั้น
41. โครงการพระราชดาริฯ สมเด็จพระเทพฯ
42. โครงการประกวดส่ือนวัตกรรม งานวิจยั สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหมแ่ ละโครงงาน
43. โครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์สมาคมวิทยาศาสตร์ฯอาชีวศึกษา-เอสโซ่
ระดบั อาชีวศกึ ษาจงั หวัดเลย
44. โครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์สมาคมวิทยาศาสตร์ฯอาชีวศึกษา-เอสโซ่
ระดับอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
45. โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับ ปวช. และ ปวส. 46. โครงการแข่งขันทักษะ
วิชาชีพและวชิ าสามญั 47. โครงการเสรมิ ทกั ษะทางคณิตศาสตร์
48. โครงการปรบั พนื้ ฐานกอ่ นเรยี นของนกั ศกึ ษาป.ตรี ปี 1
49. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาหลักสูตรและการเขียนแผนการ
จดั การเรียนรฐู้ านสมรรถนะอาชพี ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
50. โครงการวิจัยรูปแบบการจัดการเรียนการสอน อาชีพ STEM Education
การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะ เปน็ ต้น
51. โครงการจา้ งครหู รอื ผู้เชีย่ วชาญในสาขาเฉพาะ
52. โครงการจดั ซ้อื สอื่ การเรียนรู้หนงั สืออ่านประกอบการเรยี นการสอน
53. โครงการเชิญผู้เช่ียวชาญ ผู้มีประสบการณ์เฉพาะสาขาร่วมในการสอบ
มาตรฐานวชิ าชีพ
54. โครงการ English Spenking Day
55. โครงการฝกึ อบรมผชู้ ว่ ยเจ้าหนา้ ทีต่ ารวจงานจราจร
56. โครงการคา่ ยอาสาสามญั สมั พนั ธ์
57. โครงการมอบประกาศนียบัตรสอบธรรมะ
58. โครงการสอบธรรมศกึ ษาช้นั นกั ธรรมตรี
59. โครงการอย่คู ่ายพกั แรมและเดินทางไกลลูกเสือ(กจิ กรรมลูกเสือ)
60. โครงการตรวจสุขภาพประจาปีสุขภาพดีมีความสุข และป้องกันปราบปราม
สารเสพติดในสถานศึกษา
61. โครงการตรวจเยย่ี มหอพักด้วยความรกั ศิษย์
62. โครงการตรวจสารเสพติดนกั เรียน นกั ศึกษา
63. โครงการเยี่ยมบา้ นนกั เรียน นกั ศกึ ษา ท่ีมปี ญั หาดา้ นการเรียน
73
มาตรฐานและประเด็น แผนพฒั นาเพ่ือยกระดับคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
การประเมิน (แผนงาน โครงการ กจิ กรรม)
2.3 ด้านการบรหิ ารจัดการ 64. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการช่วยเหลือนักเรียน
นักศึกษาในการปรับปรุงพฤติกรรมเบ่ียงเบนโดย
65.กระบวนการใหค้ าปรึกษา
66. โครงการสานสัมพนั ธ์ของนกั ศกึ ษา ป.ตรี วทิ ยาลัยเทคนคิ เลย
67. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพการวัดผลและประเมินผล
ผเู้ รยี นแบบอิงฐานสมรรถนะ
68. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา
ในการปรับปรุงพฤติกรรมเบยี่ งเบนโดยกระบวนการใหค้ าปรึกษา
69. โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาสถานศึกษาตามแนวทาง
นโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
70. โครงการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี 2561 ตามแนวทางนโยบาย
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยง
71. โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอน
วทิ ยาลยั เทคนคิ และวิชาชพี แบบประสม สปป.ลาว
72. โครงการพฒั นาทกั ษะทางภาษาให้กับเจา้ หน้าท่ีงานและบุคลากรของวท.เลย
73. โครงการพัฒนาศักยภาพทางภาษาให้กบั กับครผู ู้สอนแผนกตา่ งๆ ของ วท.เลย
74. โครงการจัดอบรมบุคลากรเกย่ี วกบั งานพัสดุ วิทยาลยั เทคนคิ เลย
75. โครงการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร
2.4 ด้านการนานโยบาย 1. โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการพฒั นาศกั ยภาพการวัดผลและประเมินผลผ้เู รยี นแบบ
ส่กู ารปฏบิ ัติ องิ ฐานสมรรถนะ
2. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา
ในการปรบั ปรงุ พฤติกรรมเบ่ยี งเบนโดยกระบวนการให้คาปรกึ ษา
3. โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์เพอื่ พัฒนาสถานศึกษาตามแนวทางนโยบาย
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาภายใต้หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. โครงการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี 2563 ตามแนวทางนโยบายสานกั งาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาภายใตห้ ลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
5. โครงการฝึกอบรมผชู้ ว่ ยเจ้าหน้าทต่ี ารวจงานจราจร
6. โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาลยั เทคนิคและวชิ าชีพแบบประสม สปป.ลาว
7. โครงการพฒั นาทกั ษะทางภาษาใหก้ บั เจ้าหนา้ ท่งี านและบคุ ลากรของ วท.เลย
8. โครงการพัฒนาศกั ยภาพทางภาษาให้กับกบั ครผู ู้สอนแผนกต่างๆ ของ วท.เลย
9. โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร
74
มาตรฐานและประเด็น แผนพฒั นาเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
การประเมิน (แผนงาน โครงการ กิจกรรม)
2.4 ด้านการนานโยบาย 10. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาหลักสูตรและการเขียนแผนการจัดการ
สกู่ ารปฏบิ ัติ เรยี นรู้ฐานสมรรถนะอาชีพตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
11. โครงการวิจัยรูปแบบการจัดการเรียนการสอน อาชีพ STEM Education
การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะ
12. โครงการจัดอบรมบุคลากรเกย่ี วกับงานพัสดุ วิทยาลัยเทคนิคเลย
มาตรฐานที่ 3 การสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้
3.1 ด้านความร่วมมือใน 1. โครงการสง่ เสรมิ การจดั กิจกรรมนกั เรยี น นักศึกษา
การสร้างสังคมแห่งการ 2. โครงการสง่ เสริมดนตรี กีฬา นนั ทนาการ
เรยี นรู้ 3. โครงการอยู่ค่ายพกั แรมและเดนิ ทางไกลลกู เสอื (กจิ กรรมลูกเสอื )
4. โครงการตรวจสุขภาพประจาปีสุขภาพดีมีความสุข และป้องกันปราบปรามสาร
เสพตดิ ในสถานศึกษา
5. โครงการตรวจเย่ยี มหอพักดว้ ยความรกั ศิษย์
6. โครงการตรวจสารเสพติดนักเรียน นักศึกษา
7. โครงการเยย่ี มบ้านนกั เรยี นนักศกึ ษาทมี่ ปี ญั หาด้านการเรียน
8. โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาทักษะการช่วยเหลือนักเรียน
นักศกึ ษาในการปรับปรุงพฤติกรรมเบีย่ งเบนโดยกระบวนการให้คาปรึกษา
9. โครงการสานสมั พันธข์ องนักศกึ ษา ป.ตรี วิทยาลยั เทคนิคเลย
3.2 ด้านนวัตกรรม 1. โครงการนาผลงานส่ิงประดษิ ฐไ์ ปใชป้ ระโยชน์และเผยแพรส่ ู่ชมุ ชน
สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ 2. โครงการประกวดสื่อนวัตกรรม งานวิจัย ส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และ
งานวจิ ัย โครงงาน ระดบั สถานศึกษา
3. โครงการประกวดส่ือนวัตกรรม งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และ
โครงงาน ระดบั อาชวี ศกึ ษาจังหวดั
4. โครงการประกวดสื่อนวัตกรรม งานวิจัย ส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และ
โครงงาน ระดับอาชวี ศึกษาภาค
5. โครงการประกวดส่ือนวัตกรรม งานวิจัย ส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และ
โครงงาน ระดบั อาชวี ศึกษาชาติ
6. โครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์สมาคมวิทยาศาสตร์ฯอาชีวศึกษา-เอสโซ่
ระดบั อาชวี ศึกษาจงั หวดั เลย
7. โครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์สมาคมวิทยาศาสตร์ฯอาชีวศึกษา-เอสโซ่
ระดับอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
8. โครงงานวิทยาศาสตรร์ ะดับ ปวช. และ ปวส.