๑
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนก่อนเรียน เรอ่ื ง หลกั การประพนั ธ์
เลม่ ที่ 1 ศึกษาหลกั การประพันธ์
กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5
เวลา 10 นาที คะแนนเต็ม 10 คะแนน
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเลอื กคาตอบทเ่ี หน็ วา่ ถกู ตอ้ งท่สี ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว แลว้ ทา
เครอ่ื งหมายกากบาท () ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดคอื ความหมายของบทประพนั ธ์รอ้ ยกรอง
ก. การแต่งหรอื เรียบเรียงขอ้ ความให้เป็นเร่อื งราว
ข. ถอ้ ยคาทเี่ รียบเรียงโดยไมต่ ้องคานงึ ถงึ สมั ผัสหรือจานวนคา
ค. ถอ้ ยคาทเี่ รียบเรยี งให้เปน็ ระเบียบตามบัญญตั ิแหง่ ฉนั ทลกั ษณ์
ง. ความเรยี งท่ีสละสลวยไพเราเหมาะเจาะดว้ ยเสียงและความหมาย
2. ข้อใดคือความหมายของคาว่า “คณะ”
ก. จานวนคาของแตล่ ะวรรคว่ามเี ทา่ ไร
ข. แบบบงั คบั ว่าด้วยเสยี งหนกั หรอื เบาของแต่ละวรรค
ค. ลักษณะบังคบั ใหม้ ตี าแหนง่ คาเปน็ คาตายในแตล่ ะบท
ง. การจัดหมวดหม่ถู อ้ ยคาในแตล่ ะวรรค แตล่ ะบาท แตล่ ะบท ของคาประพันธ์
แต่ละชนดิ
3. ในการแต่งคาประพนั ธ์ทุกชนดิ ขอ้ ใดทีจ่ ะขาดไมไ่ ด้เลย
ก. สัมผัสใน
ข. สัมผสั นอก
ค. คาครุ – คาลหุ
๒
ง. คาเอก – คาโท
4. ขอ้ ใดมคี าเป็นคาตายเหมอื นกบั ข้อความนี้
“มีสลงึ พึงบรรจบให้ครบบาท”
ก. เธอคิดจะทาอะไรกต็ ามใจ
ข. เธอจะไปดูหนังกบั ฉันหรือไม่
ค. น้อยจะไปท่บี ้านนิดตอนมืดนะ
ง. จงถนอมน้าใจกันอย่าหวนั่ หวาด
5. ขอ้ ใดมคี าครุ ลหุ ดังนี้ “ ”
ก. นาฬิกาขอ้ มือสดี า
ข. พระภกิ ษุนง่ั สมาธิ
ค. ปฏบิ ัติตามข้อบงั คับ
ง. สะดวกสบายเหมือนอยู่บา้ น
6. ข้อใดใชค้ าโทโทษ วชิ า
ก. ครสู อนใหศ้ ิษย์ได้ ความดี
ข. เปน็ คนควรหมนั่ สร้าง ถงึ พรหม
ค. เรยี มร่าน้าเนตรถ้วม เมอื งไทย
ง. สงกรานต์สขุ ท่วั หลา้
7. คาใดใช้เปน็ คาสรอ้ ยได้ทกุ คา วา่
ก. ฤๅ เฮย แล แฮ
ข. เทอญ นา เฮย
๓
ค. พอ่ แม่ พ่ี นอ้ ง
ง. ก็ดี บารมี แท้ หนา
8. ข้อใดมีสัมผัสในมากที่สดุ
ก. อนิจจาโอว้ า่ ความรกั เอย๋
ข. จะไปลามาไหว้นะศษิ ย์นะ
ค. ถึงมว้ ยดินสิ้นฟ้ามหาสมทุ ร
ง. ยามปดิ ภาคเรยี นคดิ ถงึ ตรึงใจย่ิง
9. ข้อใดใช้คาขนึ้ ตน้ ไดถ้ กู ตอ้ ง
ก. เม่ือนนั้ เสนาวานรน้อยใหญ่
ข. เม่ือนน้ั สุครพี อนชุ าเข้าขดั ขวาง
ค. เม่อื น้ันหนุมานชาญชัยไมถ่ อยหนี
ง. เมอ่ื นัน้ ทศกัณฑโ์ กรธาหนา้ หมน่ หมอง
10. ขอ้ ใดกล่าวผิด
ก. ก็ บ่ ฤ เป็นคาลหุ
ข. ตา ดู ไข่ ใน เลา้ เป็นคาครุ
ค. คาครุ คอื คาที่มีตวั สะกดทกุ มาตรา
ง. คาลหุ ประสมกับสระ อา ไอ ใอ เอา
หลงั จากทาแบบทดสอบก่อนเรียนแลว้
๔
เดี๋ยวเราไปเรยี นกันเลยนะคะ
กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
ข้อ ก ข ค ง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
๕
8.
9.
10.
กจิ กรรมสรา้ งความสนใจ
ให้เพ่อื นๆ หาคาจากคาทกี่ าหนดให้ด้านล่าง
ภายในเวลา ๑ นาที
พรอ้ มหรอื ยงั เริ่มกนั เลยค่ะ
ก ร ย ค ะ คณะ
๖
ค โทสร โทล
ปพขยคา เ งคห
8ค สร อยด
น ณา มกวา ง
ผ เ โทรยภยนค
ปบส มผ ส
ส8ค ง า อย รมต
รนอตยพ หา
พยา งค งกนย
แนวต้งั แนวนอน
1. คาเปน็ 2. คณะ
3. คาตาย 4. สัมผัส
5. ครุ 6. คาสรอ้ ย
7. ลหุ 8. พยางค์
9. คาเอก 10. คาโท
มาดคู าตอบกันคะ่
๗
ก ร ย ค ะ คณะ
ค โทสร โทล
ปพขยคา เ งคห
8ค สร อยด
น ณา มกวา ง
ผ เ โทรยภยนค
ปบส มผ ส
ส8ค ง า อย รมต
รนอตยพ หา
พยา งค งกนย
แนวตัง้ แนวนอน
1. คาเป็น 2. คณะ
3. คาตาย 4. สมั ผัส
5. ครุ 6. คาสร้อย
7. ลหุ 8. พยางค์
9. คาเอก 10. คาโท
เรอื่ ง
ศกึ ษาหลักการประพนั ธ์
๘
“กลอนไทยไพเราะ เสนาะภาษา
สอ่ื ความทรงคา่ ภาษากาพย์กลอน
นาคารอ้ ยรัด สมั ผัสวรรคตอน
คุณครพู าสอน แต่งกลอนไดด้ ี”
“กาพยไ์ ทยแสนไพเราะ เสียงเสนาะเพราะพาที
เราทราบกาพยย์ านี อ่านทีไรไพเราะจรงิ
นาคามาคล้องจอง เกิดทานองไพเราะยิง่
ภาษามคี า่ จรงิ นามาเรยี งเสียงควรคา”
“คาประพันธ์ของไทยอา่ นไพเราะ เอ้อื นเสนาะเพราะเลิศล้า
ทั้งความหมายสมั ผัสจาลานา ผูแ้ ตง่ ทาสือ่ มาใหอ้ ่านกัน
ท้ังกาพย์กลอนโคลงฉันท์อ่านเพราะพรงิ้ มีค่ายงิ่ กลอนไทยใชส้ ร้างสรรค์
แตง่ ได้หลายแนวทางต่างตา่ งกัน สดุ แทแ้ ตผ่ ปู้ ระพนั ธ์จะสรรค์คา”
“ภาษาไทยค่าลว้ น ควรจา
คุณคา่ มากควรคา คา่ ไว้
เรียนรู้ค่าจงนา เตมิ ตอ่
รูห้ ลักและนาใช้ อย่าให้เส่ือมคณุ ”
(ทม่ี า : สาลี รักสุทธี, สอนอยา่ งไรใหน้ ักเรยี นเขียนบทรอ้ ยกรองเป็น)
เมอื่ ผู้เรียนแตง่ คาประพนั ธ์ประเภทร้อยกรอง ท้ังแต่งได้และแตง่ เป็น จาเปน็ ตอ้ ง
ศกึ ษาลกั ษณะข้อบังคับของคาประพันธ์ชนิดตา่ งๆ แนวคดิ ท่สี รา้ งสรรค์ เนอื้ หา รปู แบบและ
ความไพเราะ ความรตู้ า่ งๆ เหลา่ น้ีจะเปน็ พ้นื ฐานหรอื เป็นองคป์ ระกอบสาคัญท่ีจะทาให้เข้าใจ
เร่ืองการแต่งคาประพันธ์ไทยได้ดขี ึน้ ถกู ต้องตามหลักการแต่งคาประพันธ์ อนั เปน็ แนวทาง
นาไปสู่การอนุรกั ษแ์ ละพัฒนาตนเองในโอกาสตอ่ ไป
๙
ความหมายของคาประพันธ์
คาประพนั ธ์ หมายถึง ถ้อยคาท่ีเรยี บเรยี งให้เปน็ ระเบยี บตามบัญญตั แิ หง่ ฉนั ทลกั ษณ์
โดยมกี าหนดขอ้ บังคบั ตา่ งๆ เพ่อื ใหเ้ กิดความครึกครื้น และมีความไพเราะแตกต่างไปจาก
ถอ้ ยคาธรรมดา
ประเภทของบทประพันธ์
บทประพนั ธ์แบง่ เป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท คอื
1. รอ้ ยแก้ว
2. ร้อยกรอง
ดังมีรายละเอยี ด ดังนี้
1. ร้อยแกว้ หมายถึง ความเรียงที่สละสลวย ไพเราะเหมาะเจาะด้วยเสียงและ
ความหมาย ไมม่ กี ารบังคับสัมผสั หรือจานวนคา
2. ร้อยกรอง หมายถึง คาประพนั ธถ์ ้อยคาท่ีเรียบเรียงให้เป็นระเบียบตาม
บัญญตั ิแห่งฉันทลกั ษณ์ (ตาราวา่ ดว้ ยคาประพันธ์)
ประเภทของคาประพนั ธ์
คาประพนั ธจ์ าแนกออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 5 ประเภท ไดแ้ ก่
1. กาพย์
2. กลอน
3. โคลง
4. ฉนั ท์
๑๐
5. รา่ ย
ซงึ่ จะไดแ้ ยกกล่าวแตล่ ะประเภทอยา่ งละเอียดในเล่มต่อไป
คาประพนั ธ์ประสม จัดเปน็ คาประพนั ธ์พิเศษ คือ
1. กาพยเ์ หเ่ รือ เป็นคาประพันธท์ ีแ่ ต่งโดยใชโ้ คลงส่ีสุภาพนา 1 บท แล้วนา
ใจความเรื่องนน้ั มาขยายโดยใช้กาพย์ยานี 11 กบ่ี ทกไ็ ด้ แต่บทแรกของกาพย์ยานีต้องมี
เนอ้ื ความเหมอื นโคลงส่ีสุภาพในบทนา
2. กาพยห์ ่อโคลง เปน็ คาประพันธท์ ่แี ตง่ โดยขึ้นตน้ ดว้ ยกาพย์ยานี 11 1 บท
ตามด้วยโคลงสส่ี ภุ าพ 1 บท ความรับกนั เช่น กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดงของ เจ้า
ฟ้าธรรมธิเบศร เป็นต้น
3. ลลิ ิต เป็นคาประพันธ์ท่ีแตง่ ด้วยรา่ ยและโคลงปนกัน ร้อยสมั ผสั ติดต่อกนั เปน็
เร่อื ง เช่น ลิลติ ยวนพา่ ย ลลิ ิตพระลอ ลิลิตตะเลงพ่าย และลิลติ นทิ ราชาคริต เป็นตน้
ลักษณะบังคบั
ลกั ษณะบังคบั คือ ขอ้ บงั คับทีโ่ บราณไดว้ างเปน็ แบบในการแต่งบทรอ้ ยกรองชนดิ
ตา่ งๆ ในฉันทลกั ษณ์ มี 8 ชนิดคือ
1. คณะ 2. พยางค์
3. สมั ผัส 4. คาเอก – คาโท
5. คาครุ – คาลหุ 6. คาเป็น – คาตาย
7. คาขนึ้ ตน้ – คาลงท้าย 8. คาสร้อย
1. คณะ
๑๑
คณะ หมายถึง การจดั หมวดหมถู่ อ้ ยคาในแต่ละวรรค แตล่ ะบาท แตล่ ะบท
ของคาประพันธแ์ ต่ละชนิด
เชน่ กลอนสภุ าพ มีวรรคละแปดคา (พยางค)์ , สองวรรคเป็น 1 คากลอน
(หรอื 1 คา หรือ 1 บาท), 2 คา (หรือ 2 บาท) เป็น 1 บท โคลง
ส่ีสุภาพ 1 บท มี 4 บาท 1 บาท มี 2 วรรค วรรคแรก 5 คา วรรคหลงั
2 คา บาทท่ี 4 วรรคหน้า 5 คา วรรคหลัง 4 คา เป็นตน้
2. พยางค์
พยางค์ คอื หน่วยเสยี งที่ประสมด้วยสระตัวเดยี ว บางทีมีความหมาย เชน่
เมอื ง ไทย นี้ ดี บางทีไมม่ ีความหมายแต่เป็นส่วนหน่ึงของคา เชน่ ภิ ในคา อภินหิ าร,
กระ ในคา กระถาง ซึง่ ในฉันทลกั ษณ์นิยมเรียกพยางคว์ ่า “คา” เพราะฉะนนั้ “คา” ใน
ฉันทลกั ษณจ์ ึงมคี วามหมายได้ 2 อย่าง คอื
ก. ถ้าเปน็ คาท่ีใชบ้ รรจุในแตล่ ะวรรคหรอื แต่ละบาท หมายถงึ “พยางค์”
ข. ถ้าใช้เรยี กกลอน (ซึ่งไมเ่ กี่ยวกบั พยางค์) หมายถึง “กลอน 2 วรรค”
เช่น พระสรุ ิยงลงลบั พยับฝน ดูมวั มนมดื มดิ ทุกทศิ า (1 คา)
ถึงทางลัดตดั ทางมาบางนา ทง้ั แฝกคาแขมกกข้ึนรกเรี้ยว (1 คา)
(ท่มี า : สนุ ทรภู่, นิราศภเู ขาทอง)
จะเหน็ ได้ว่าในการนบั พยางค์ (คา) นัน้ ตอ้ งแลว้ แต่ลักษณะบังคบั ของร้อย
กรองแต่ละประเภท ซ่งึ ผู้แตง่ คาประพนั ธ์จะต้องสังเกตให้ดี
3. สัมผัส
๑๒
สมั ผัส คอื ลกั ษณะที่บังคบั ให้ใช้คาคล้องจอง สัมผสั เปน็ ลกั ษณะที่สาคญั
ที่สดุ ในการแต่งคาประพันธ์ของไทย คาประพนั ธ์ทุกชนดิ จาเป็นต้องมีสมั ผัส สัมผสั ในรอ้ ย
กรองไทยแบ่งไดเ้ ป็น 2 ลักษณะ คอื
3.1 แบ่งตามตัวอกั ษร มี 2 ชนดิ คือ สมั ผัสสระ และสัมผสั พยญั ชนะ
แบ่งตามตัวอักษร แบ่งได้ 2 อย่าง คือ
1) สัมผสั สระ คอื การจัดคาใหค้ ล้องจองกัน โดยใชส้ ระตวั เดียวกัน
หรือเสยี งเดียวกนั ส้ันยาวเท่ากนั และถ้ามตี ัวสะกดต้องอยใู่ นมาตราเดียวกนั ด้วย เชน่
ป่า สัมผัสกับ นา ตา มา กลา้ จ๋า
สวย สัมผสั กับ รวย ด้วย ป่วย ช่วย หวย
ใช้รูปวรรณยกุ ต์ การ สมั ผสั กบั สาน ดาร ขาร จาน ทาน ระวังอยา่ ใช้
ต่างกันก็ถือวา่ สระเสียงสั้น
สัมผสั กันได้ สมั ผสั กับเสียงยาว
กนิ – ปีน
2) สมั ผัสอักษร คือ คาทีใ่ ชพ้ ยัญชนะต้นเสียงเดียวกัน อาจเป็น
ตวั อักษรทเ่ี ปน็ พยัญชนะเดียวกัน หรอื พยัญชนะทม่ี ีเสียงสูงตา่ เข้าคกู่ นั กไ็ ด้ หรือพยัญชนะ
ควบชดุ เดียวกนั กไ็ ด้ เช่น
เขยี น สัมผสั อักษรกบั เฆยี่ น คุม ขาด คดั ขีด
เสือ สัมผัสอกั ษรกบั ซาบ ศึก สบู โซ่ เสา
ครู สัมผสั อักษรกับ ครั้ง โครม เครยี ด คราม ครีม
3.2 แบ่งตามตาแหน่ง มี 2 ชนิด คือ สัมผสั นอก และสัมผสั ใน
๑) สัมผสั นอก เป็นสัมผสั บงั คับ ทจ่ี ะตอ้ งมีในบทประพันธ์ต่างๆ
ไดแ้ ก่ สมั ผสั ทสี่ ง่ และรับกนั ระหวา่ งวรรค ระหวา่ งบาทและระหว่างบท และตอ้ งเปน็
สัมผสั สระ เท่านนั้ เชน่
สมั ผัสนอกเป็นการ
เชอื่ มโยงทีร่ ้อยรัด
ต่อเนือ่ งเหมอื น
ลูกโซ่ หากขาดไป
กลอนจะไม่ไพเราะ
๑๓
โอด้ กึ ดกึ นกึ เงยี บยะเยียบอก เห็นแต่กกกอปรงเป็นพงไสว
ลดาวลั ยพ์ ันพ่มุ ชอุ่มใบ เรไรไพเราะรอ้ งซอ้ งสาเนยี ง
(ท่มี า : สุนทรภู,่ นิราศเมืองเพชร)
๒) สมั ผสั ใน เปน็ สัมผัสไมบ่ ังคบั ไดแ้ ก่ คาสัมผัสทค่ี ลอ้ งจองกนั อยู่
ภายในวรรคเดียวกัน อาจเป็นสมั ผัสสระหรอื สมั ผสั อักษรกไ็ ด้
ตัวอย่าง คาประพันธ์ท่ีใชท้ ้ังสมั ผัสสระและสัมผสั อกั ษร สัมผัสในช่วยให้
บทประพันธ์
สัมผสั สระ
สัมผัสอักษร มีความไพเราะ
พทิ ยพุ ยบั เมฆครึ้ม ครวญหาว ย่งิ ขนึ้
พิรณุ ร่วงรนิ โรยฉาว ชมุ่ ฟา้
โพยมมาศมืดมัวดาว เดอื นดับ ไปแม่
โหยละหอ้ ยขวญั อรอา้ สวาดนิ อ้ งใครโลม
(ทม่ี า : โคลงกวโี บราณ)
คอื หาว – ฉาว – ดาว, ฟ้า – อา้
คือ ยุ – ยบั , คร้มึ – ครวญ, รุณ – รว่ ง – ริน – โรย, ฉาว – ชุ่ม,
มาศ – มืด – มัว, ดาว – เดอื น – ดบั , โหย – ห้อย, อร – อา้
4. คาเอก คาโท คาเอก – คาโท
บงั คับใช้ในโคลง
คาเอก คือ คาทม่ี ีรูปวรรณยกุ ตเ์ อก และร่ายเทา่ นั้น
กากบั เชน่ พ่อ ปา่ ทอ่ ง กลอ่ ง และอนโุ ลมให้ใช้
คาตาย แทนคาเอกได้ เช่น กราบ จติ รัก ขวด นะจ๊ะ
๑๔
คาเอกโทษ คอื คาท่ไี มเ่ คยใชไ้ มเ้ อก แตเ่ อามาแปลงโดยเปลี่ยนวรรณยกุ ต์
เป็นเอก เพือ่ ให้ได้เสียงเอกตามบงั คบั เชน่ เส้ียม เปลี่ยนเปน็ เซ่ยี ม, สร้าง เปลย่ี นเป็น
ซ่าง, หน้า เปลี่ยนเป็น น่า คาเชน่ นีอ้ นโุ ลมให้เป็นคาเอกได้
คาโท คอื คาทม่ี รี ูปวรรณยกุ ตโ์ ทกากบั เช่น นอ้ ง คา้ เฝ้า สรอ้ ย
คาโทโทษ คือ คาทไ่ี ม่เคยใชไ้ มโ้ ท แต่เอามาแปลงใชโ้ ดยเปลี่ยนวรรณยกุ ต์
เป็นโท เพ่อื ให้ไดเ้ สียงโทตามบงั คับ เชน่ เล่น เปลี่ยนเป็น เหลน้ , วา่ ย เปลี่ยนเปน็ หว้าย
คาเชน่ นี้อนุโลมให้เปน็ คาโทได้
5. คาครุ คาลหุ
คาครุ คาลหุ คาครุ ใช้สัญลกั ษณ์ แทน หมายถึงคาทุกคาที่มี
บังคบั ใช้เฉพาะ ตวั สะกด เชน่ ควร ตาม วรรค และคาทปี่ ระสมกับสระ
บทประพนั ธ์ เสียงยาว ในแม่ ก กา เชน่ ดี นา ถู รวมท้ัง สระอา ไอ
ประเภทฉนั ท์เท่านนั้ ใอ เอา เชน่ คา ไข่ ใน เล้า เปน็ ตน้
คาลหุ ใช้สัญลักษณ์ แทน หมายถงึ คาท่ปี ระสมกับสระเสยี งสัน้ ในแม่
ก กา ยกเวน้ สระ อา ไอ ใอ เอา เช่น เพราะ ศิวะ กะปิ ดุ และคาทีใ่ ช้พยญั ชนะคา
เดียว เช่น ก็ บ่ ณ ธ บ
๑๕
6. คาเป็น – คาตาย
เคล็ดการจา คาเปน็ คอื คาทีม่ ีเสียงตัวสะกดในแม่ กน กม เกย
นมยวง – ยาวเป็น เกอว กง เชน่ กาล ขม สาย ข้าว ก้าง และคาทปี่ ระสม
กบด – สัน้ ตาย กับสระเสียงยาวในแม่ ก กา เชน่ อา มี หนู รวมท้ังท่ี
ประสมกับสระอา ไอ ใอ เอา เชน่ นา ไป ใจ เฝ้า
คาตาย คอื คาท่มี ีเสยี งตัวสะกดในแม่ กก
กบ กด เช่น นกั รบ ปวด และคาทีป่ ระสมกับ
สระเสียงสน้ั ไมม่ ีตัวสะกดในแม่ ก กา เช่น เอะอะ ระวัง
เถอะ ซิ นะจ๊ะ บวั สลวั
คาตายนใี้ ชแ้ ทนคาเอกในโคลงได้ ว คอื สระอัว
ไม่ใชแ่ ม่เกอว
7. คาข้ึนตน้ – คาลงท้าย นะจะ๊
คาประพนั ธ์บางชนิดมีคาข้ึนตน้ เทา่ นัน้ คอื กลอนบทละคร กลอนเสภา
คาประพนั ธบ์ างชนดิ มีท้งั คาขึ้นต้นและคาลงทา้ ย คอื กลอนสักวา กลอนดอกสร้อยและ
กลอนนริ าศ
7.1 กลอนบทละคร นิยมใชค้ าข้ึนต้นดงั น้ี
- เมื่อน้นั ใช้กับ ตัวละครสงู ศกั ด์ิ
- บัดนัน้ ใช้กับ ตัวละครรองลงมา
- มาจะกลา่ วบทไป ใช้ขนึ้ ต้นตอนใหม่
ตัวอยา่ ง
เมื่อนนั้ พระยาไมยราพยักษา
ไดฟ้ ังจึงตอบวาจา อนั คาเราวา่ นโี้ ดยธรรม์
(ที่มา : พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช, รามเกยี รต์ิ)
บัดนนั้ สุครพี หนุมานกระบศี่ รี
ทั้งสบิ แปดมงกฎุ เสนี ก็โศกรี ่ารักพระจกั รา
๑๖
(ทีม่ า : พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช, รามเกียรติ์)
มาจะกลา่ วบทไป ถึงเทพไทเรืองศรี
อันสถิตถา้ ธารครี ี มที พิ ยโสตนยั นา
(ท่ีมา : พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช, รามเกยี รติ์)
7.2 กลอนเสภา ข้นึ ตน้ ด้วย “คราน้ัน” “จะกลา่ วถงึ ”
ตวั อยา่ ง
ครานั้นวันทองผอ่ งโสภา ไดฟ้ ังผัวว่าน้าตาไหล
อุตส่าหก์ ลัน้ โศกาแล้วว่าไป น้องไดใ้ ครค่ รวญทุกส่ิงมา
(ที่มา : สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมน่ื ศกั ดพิ ลเสพ, เสภาขุนช้าง ขุนแผน ตอนลแุ กโ่ ทษ)
7.3 กลอนสกั วา ขึ้นตน้ ดว้ ยคาว่า “สักวา” ลงทา้ ยดว้ ยคาวา่ “เอย”
ตวั อย่าง
สกั วาหวานอน่ื มีหม่นื แสน ไม่เหมอื นแมน้ พจมานท่หี วานหอม
กลน่ิ ประเทยี บเปรียบดวงพวงพะยอม อาจจะนอ้ มจิตโน้มด้วยโลมลม
แมน้ ล้อลามหยามหยาบไมป่ ลาบปลมื้ ดงั ดดู ด่ืมบอระเพ็ดทเี่ ขด็ ขม
ผู้ดไี พรไ่ มป่ ระกอบชอบอารมณ์ ใครฟงั ลมเมนิ หน้าระอาเอย
(ท่มี า : พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ)
7.4 กลอนดอกสร้อย วรรคข้นึ ตน้ ใช้ 4 คา คือ นาคา 2 คา เป็นตวั ตง้ั
แลว้ เขียนคาหนา้ ซ้า 2 หน เอาคา “เอย๋ ” แทรกลงในระหวา่ งกลาง เช่น
๑๗
ตวั อย่าง
วังเอ๋ยวงั เวง หง่างเหงง่ ย่าคา่ ระฆังขาน
ฝงู วัวควายผา้ ยลาทิวากาล ค่อยคอ่ ยผา่ นท้องทุ่งมงุ่ ถน่ิ ตน
ชาวนาเหน่ือยออ่ นต่างจรกลบั ตะวันลบั อบั แสงทุกแห่งหน
ทิ้งท่งุ ใหม้ ดื มวั ทวั่ มณฑล และท้ิงตนตูเปลี่ยวอยเู่ ดยี วเอย
(ที่มา : พระยาอุปกิตศลิ ปะสาร, กลอนดอกสรอ้ ยราพงึ ในป่าชา้ )
7.5 กลอนนิราศ ขึน้ ตน้ ด้วยวรรครบั ลงท้ายดว้ ย “เอย”
ตัวอยา่ ง
ตอ้ งหา่ งเหินเดนิ ทางไปตา่ งแดน นริ าศร้างห่างไทยอาลัยแสน
.................................................. เหมือนจากแควน้ แมนฟ้าไปหาภัย
.................................................. .....................................................
นิราศเรือ่ งเมืองเกาหลีนไ้ี ม่จบ .....................................................
ภายภาคหนา้ ถ้ามีกาลงั ใจ ขอสงบพลางก่อนรอตอนใหม่
จะเขียนไวใ้ หท้ ่านอ่านกันเอย
(ท่ีมา : พล.รท.จวบ หงสกลุ , นิราศเกาหล)ี
8. คาสร้อย
คาสรอ้ ย คือ คาที่ใชเ้ ติมลงท้ายวรรค ท้ายบาท หรอื ท้ายบทในโคลงและ
คาสร้อยปรากฏใช้ รา่ ย และมักจะเปน็ คาเป็น เชน่ พ่ีเอย ฤๅพ่ี แมแ่ ล เพ่ือ
ในโคลงและรา่ ยนะ ความไพเราะ หรอื เพอื่ ให้ครบจานวนคาตามลกั ษณะบังคบั
บางแห่งก็ใช้เปน็ คาถาม หรือใชย้ า้ ความ
จ๊ะ
๑๘
สรอ้ ยของโคลง
- โคลงส่ีสภุ าพ คาสร้อยอย่ทู ้ายบาทที่ 1 หรอื บาทท่ี 3
- โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ คาสรอ้ ยอยู่ทา้ ยบท
ตัวอย่าง คาสรอ้ ย โคลงสี่สุภาพ
เอยี งอกเทออกอ้าง อวดองค์ อรเอย
เมรชุ ุบสมุทรดนิ ลง เลขแตม้
อากาศจกั จารผจง จารกึ พอฤๅ
โฉมแมห่ ยาดฟ้าแย้ม อยู่รอ้ นฤๅเหน็
(ที่มา : นายนรนิ ทร์ธิเบศร์ (อิน), นิราศนรนิ ทร)์
คาสรอ้ ย ร่าย
ธ ไคลพลคลา่ คลา้ ย แลนา ย้ายมา โดยรถั ยา แลนา คลาทางบ้าน
สระแกว้ แลนา แคลว้ ทางบ้านสระเหล้า แลนา... คอยจกั ผจญศึกกลา้
อย่กู ระช้ันคา่ ยหน้า ซึ่งต้งั ขดั พล อยู่นา
(ทม่ี า : กรมพระปรมานุชติ ชโิ นรส, ลิลิตตะเลงพ่าย)
คาสรอ้ ยน้ี โบราณนยิ มใช้อยู่โดยท่ัวไป 17 คา คอื เทอญ นา นอ พอ่
แม่ พ่ี กด็ ี บารนี รา ฤา เลย แล อา เอย ฮา เฮย แฮ
ลักษณะของคาประพันธ์ท่ีดี
1. แตง่ ถกู ต้องตามลักษณะบงั คบั ของคาประพนั ธ์แต่ละชนิด
2. ใชถ้ ้อยคาประณีตดีทัง้ รูปคาและเสยี งของคา
3. มีสัมผสั ในไพเราะ เหมาะสม
๑๙
4. มีเน้ือความดีเด่น ลาดับความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย ไมส่ ลับสับสนวกไป
เวียนมา ไมใ่ ช้ถอ้ ยคาซ้าๆ ซากๆ
5. ก่อใหเ้ กิดอารมณ์ในลกั ษณะต่างๆ
ประโยชนข์ องการประพันธ์
1. ทาใหเ้ กดิ ภาษาที่ประณีต ไพเราะ เพลิดเพลินในรสสาเนียงและเนอ้ื ความ
2. ฝึกให้สนใจและรอบรู้ในการใช้ภาษา และเขา้ ใจภาษาอย่างประณีตลกึ ซ้ึง
3. ช่วยให้เกิดความจาแม่นยา เพราะมีความไพเราะจูงใจใหน้ ิยมชมชอบ และมี
สัมผัสคลอ้ งจอง ทาใหจ้ าง่ายไม่ผดิ พลาด
4. ทาให้ภาษามีวิวฒั นาการ เพราะต้องคิดกลนั่ กรองเลอื กสรรหาถอ้ ยคามาใช้ ให้
เหมาะเจาะ และตอ้ งเรยี บเรียงให้เปน็ ระเบยี บเรียบร้อย
5. ทาให้เกิดวรรณคดี
6. ทาใหเ้ กิดความคดิ ริเริ่มในการสร้างแบบการประพันธ์ชนิดต่างๆ จนกลายเป็น
มรดกตกทอดมาถงึ คนรุ่นหลัง
7. ทาให้รักษาถ้อยคาสานวนและขนบธรรมเนยี มประเพณีเก่าๆ ไวม้ ิใหส้ ูญหาย
วิธแี ตง่ บทร้อยกรองโดยทวั่ ๆ ไป
การแตง่ บทร้อยกรองทด่ี ีควรมีข้ันตอน ดังนี้
1. ศึกษาฉนั ทลักษณ์ จะต้องศกึ ษาฉันทลกั ษณ์ หรือลกั ษณะบงั คับของ
บทร้อยกรองชนิดน้ันๆ ให้เข้าใจ และจดจาได้อย่างแมน่ ยา
2. กาหนดจุดมุ่งหมายในการแต่ง เชน่ เพื่อให้กาลังใจ ยกย่องคุณงามความดี
3. เขียนโครงรา่ งเพื่อเปน็ แนวทาง เช่น จะเกร่ินนาอย่างไร เนือ้ เรื่อง ควร
เปน็ ประเด็นไหนบา้ ง จะสรุปจบอย่างไรให้ประทับใจ และใชก้ ลวธิ กี ารเขยี นอะไรบา้ ง
๒๐
4. ลงมอื แตง่ พยายามนาความคดิ หรอื ข้อความที่เขยี นไว้ในโครงร่างมาใช้
ใหม้ ากทส่ี ุด คาทุกคาท่แี ต่งลงในบทรอ้ ยกรอง ตอ้ งสอ่ื ความหมายไดช้ ดั เจน โดยสื่อ
ความหมายหรือกินใจความเป็นสาคญั
เพื่อนๆ พอจะเรม่ิ เข้าใจ
ฉันทลกั ษณ์ ทางการประพนั ธ์
กนั บา้ งแล้วใชไ่ หมคะ
เดี๋ยวเรามาสรุปความรกู้ ันตอ่ เลยคะ่
กจิ กรรมเขยี นแผนภาพความคิดสรปุ ความรู้
เพ่อื นๆศกึ ษาใบความรู้ เร่ือง ศึกษาหลักการประพันธ์ กันเสร็จแลว้
ใช่ไหมคะ เรามาเขียนแผนภาพความคิด สรุปความร้กู นั ดีกวา่ นะคะ
๒๑
ประเภทของ ประเภทของ
บทประพนั ธ์ บทประพันธร์ อ้ ยกรอง
หลักการประพันธ์
ฉนั ทลกั ษณ์
๒๒
เฉลย
แนวทางการสร้างแผนภาพความคดิ
กาหนด เสียง คาเอก
จานวนคา วรรณยกุ ต์ท้าย คาโท
วรรค
ร้อยแก้ว รอ้ ยกรอง กาพย์ กลอน โคลง
ประเภทของ ประเภทของ ฉนั ท์
บทประพนั ธ์ บทประพนั ธ์รอ้ ยกรอง
หลกั การประพันธ์ คาครุ
ร่าย คาลหุ
คณะ ฉนั ทลกั ษณ์ คาสร้อย
คารบั สัมผัส
คาสร้อย
พยางค์
คาขึน้ ต้น – คาลงทา้ ย
๒๓
สมั ผสั คาเป็น – คาตาย
คาเอก – คาโท คาครุ – คาลหุ
แบบฝกึ ท่ี 1.1
ฉันทลักษณร์ แู้ น่ชัด
คาชี้แจง จับคขู่ อ้ ความท่มี ีความสมั พนั ธ์กัน
(คะแนนเต็ม 10 คะแนน, ขอ้ ละ ๑ คะแนน)
.......... 1. คา ก. สมั ผสั นอก
.......... 2. คาครุ – คาลหุ ข. ใช้เฉพาะบทประพันธ์ประเภทโคลงและรา่ ย
.......... 3. สัมผสั สระ ค. ขนึ้ ตน้ ด้วย “ครานน้ั ” หรือ “จะกล่าวถงึ ”
.......... 4. คาเอกโทษ ฆ. จานวนคา วรรค บาท บท
.......... 5. สัมผสั อกั ษร ง. ใช้แทนคาเอกในโคลงได้
.......... 6. กลอนเสภา จ. คาท่ีไม่เคยใช้ไม้เอกแตเ่ อามาเปลี่ยนวรรณยกุ ต์
.......... 7. คณะ
.......... 8. คาตาย เป็นเอกเพื่อใหไ้ ดเ้ สยี งเอกตามบังคบั
.......... 9. คาเอก – คาโท ฉ. ใช้เฉพาะบทประพนั ธ์ประเภทฉันท์
ช. กลอนแปด 2 วรรค
.......... 10. คาสร้อย ๒๔
ซ. คาทีใ่ ช้เติมลงทา้ ยวรรค ท้ายบาท หรอื ทา้ ย
บท ในโคลงและรา่ ย
ฌ. สมั ผสั ใน
คิดกอ่ นทา
นะจ๊ะ
คะแนนเตม็ 10 คะแนน ได้ ................. คะแนน
เกณฑ์การใหค้ ะแนน
จบั คูข่ อ้ ความได้ถูกตอ้ งไดข้ อ้ ละ 1 คะแนน
ผ่านเกณฑ์ ไดค้ ะแนนร้อยละ 70 ข้นึ ไป
หรือได้คะแนนต้งั แต่ 7 คะแนน ขึ้นไป
๒๕
แบบฝกึ ท่ี 1.2
โยงสมั ผัสใหแ้ มน่ ยา
คาช้แี จง โยงคาคล้องจองสมั ผสั สระจากบทรอ้ ยกรองทกี่ าหนดให้
(คะแนนเต็ม ๑๒ คะแนน, ตาแหนง่ ละ ๑ คะแนน)
เปน็ เดก็ ควรทาดี รูห้ นา้ ที่ทาดีไว้
แมว่ อนสอนวนั ใด นาไปใช้ให้เกนิ การ
๒๖
ขยันการอา่ นเขยี น งานเล่าเรียนเพียรอย่าครา้ น
ร้หู ดั ดัดสนั ดาน ประหยดั ใช้ไวส้ ร้างตน
ร้กู ่อพอประมาณ รกู้ อบการด้วยเหตุผล
รู้ทางการสร้างตน รู้ครอบคลุมภูมคิ มุ้ กนั
แบง่ ใชแ้ บ่งเกบ็ ออม ตอ้ งเตรียมพรอ้ มทกุ ทุกวนั
คุณธรรมนาสร้างสรรค์ จะพบสุขไมท่ กุ ข์เอย
(ทม่ี า : สาลี รักสุทธ,ี สอนอย่างไรให้นกั เรยี นเขียนบทร้อยกรองเปน็ )
๒๗
คะแนนเตม็ ๑๒ คะแนน ได้ ................. คะแนน
เกณฑ์การใหค้ ะแนน
โยงคาคล้องจองคาคู่สัมผัสสระไดถ้ ูกตอ้ ง ค่ลู ะ 1 คะแนน
ผ่านเกณฑ์ ไดค้ ะแนนร้อยละ 70 ข้นึ ไป
หรอื ไดค้ ะแนนตงั้ แต่ ๘ คะแนน ขน้ึ ไป
แบบฝกึ ที่ 1.3
๒๘
เลอื กเติมคาทส่ี ัมผสั
คาชีแ้ จง คดิ คามาต่อในตวั งูใหเ้ ปน็ คาคล้องจองทีถ่ กู ต้อง
(คะแนนเต็ม 10 คะแนน, ตาแหนง่ ละ ๑ คะแนน)
๒๙
คะแนนเตม็ 10 คะแนน ได้ ................. คะแนน
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
เตมิ คาคลอ้ งจองถูกต้อง ไดต้ าแหนง่ ละ 1 คะแนน
ผา่ นเกณฑ์ ไดค้ ะแนนร้อยละ 70 ขนึ้ ไป
หรือได้คะแนนต้ังแต่ 7 คะแนน ขน้ึ ไป
๓๐
แบบฝึกที่ 1.4
นามาจดั เรยี งวรรคใหม่
คาชแ้ี จง จงเรยี งกล่มุ คาใหม่ใหเ้ ป็นคาคล้องจองทถี่ ูกตอ้ ง
(คะแนนเตม็ 10 คะแนน, ขอ้ ละ ๑ คะแนน)
ตัวอยา่ ง ทุ่งนา กางมุง้ รกรา้ ง ฝนตก คา้ ขาย
= ฝนตก รกร้าง กางมงุ้ ทุ่งนา คา้ ขาย
ก. คาคลอ้ งจอง 2 พยางค์
1. มีโชค จดจา เป้าหมาย ทาดี โศกเศร้า
= ..............................................................................................................................
2. ไกลบ้าน ใหม่เอ่ียม แกงไก่ สนใจ เปย่ี มลน้
= ..............................................................................................................................
3. บา้ นเรา เขียนอ่าน สดใส เหมาหมด นักเรียน
= ..............................................................................................................................
ข. คาคลอ้ งจอง 3 พยางค์
๓๑
4. สาวสดุ สวย บนภเู ขา หาความรู้ เสาไฟฟ้า ดแู วววาว
= ..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
5. เวียนศรี ษะ ทาการบ้าน คนไมด่ ี มารผจญ หนีโรงเรยี น
= ..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
6. ชอบค้าขาย ส่องโลกกวา้ ง ทายปัญหา ถนิ่ แหลมทอง มาทากิน
= ..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
ค. คาคลอ้ งจอง 4 พยางค์
7. จิตใจเบกิ บาน น่งั มองดูดาว กลา่ วขานความดี สกาวสุกใส เปรมปรดี ์ิสุขสันต์
= ..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
8. ขยันทากนิ พอ่ แม่พีน่ ้อง หวงแหนผกู พัน พวกพ้องของฉนั รักกันแน่นแฟ้น
= ..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
9. รม่ รน่ื หวั ใจ ไปเท่ียวทะเล เก็บเกี่ยวความสุข เมืองไทยน่าเทยี่ ว นอนเปลชมคลน่ื
= ..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
10. ตนื่ กลวั บาปกรรม วัดวาอาราม เกาะเกี่ยวหัวใจ เขตหา้ มทาชั่ว
ศลี ธรรมยึดเหน่ียว
= ..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๓๒
คะแนนเตม็ 10 คะแนน ได้ ................. คะแนน
เกณฑก์ ารให้คะแนน
เรียงกล่มุ คาไดส้ มั ผสั คลอ้ งจอง ถูกตอ้ งทุกคา ได้ขอ้ ละ 1 คะแนน
ผ่านเกณฑ์ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป
หรือได้คะแนนตงั้ แต่ 7 คะแนน ข้นึ ไป
แบบฝกึ ที่ 1.5
กาหนดใหเ้ ลือกไปเตมิ
คาชีแ้ จง นาคาในผลไม้ขา้ งบนมารวมกบั ผลไมข้ า้ งลา่ งใหเ้ ปน็ คาคลอ้ งจองทถี่ กู ตอ้ ง
จงึ จะได้ผลไม้ไปรับประทาน (คะแนนเตม็ 10 คะแนน, ข้อละ ๑ คะแนน)
๓๓
๓๔
คะแนนเต็ม 10 คะแนน ได้ ................. คะแนน
เกณฑ์การใหค้ ะแนน
จับคูค่ าคลอ้ งจองไดถ้ ูกตอ้ ง ได้ขอ้ ละ 1 คะแนน
ผ่านเกณฑ์ ได้คะแนนรอ้ ยละ 70 ขึน้ ไป
หรอื ได้คะแนนต้ังแต่ 7 คะแนน ขึ้นไป
๓๕
แบบฝกึ ที่ 1.6
หาคาเสรมิ ใหเ้ หมาะความ
คาชีแ้ จง จงหาคาทีม่ ีวรรณยกุ ตเ์ อกและวรรณยุกต์โทมาตอ่ คาที่กาหนดให้ไดใ้ จความ
(คะแนนเต็ม 10 คะแนน, ข้อละ ๑ คะแนน)
ตวั อย่าง คนจรงิ ไม่ ยอ่ ท้อ
1. แวว่ เสียงสัตว์ 1
2. นกเขาขัน 1
3. เกดิ เปน็ คน
4. เป็นนกั เรียน 1
5. มคี วามรู้ 1
6. คนดีอย่า 1
7. ไก่ขนั ยาม 1
8. ฉันอยากเปน็ 1
9. คนจรงิ ยอ่ ม 1
10. ฝนตกไม่ 1
1
คะแนนเตม็ 10 คะแนน ได้ ................. คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
เติมคาทมี่ ีวรรณยุกตเ์ อก โท ได้ถูกตอ้ ง ได้ขอ้ ละ 1 คะแนน
๓๖
ผ่านเกณฑ์ ได้คะแนนร้อยละ 70 ขึน้ ไป
หรือไดค้ ะแนนต้งั แต่ 7 คะแนน ขน้ึ ไป
แบบฝกึ ท่ี 1.7
แตง่ ตอ่ ตามวรรคที่ให้
คาชแี้ จง คิดคา กล่มุ คา หรอื ประโยค โดยให้มคี าครุ ( ) ลหุ ( ) ตามท่ี
กาหนดให้
ตัวอย่าง = ปฏิบตั ิ
1. =
2. =
3. =
4. =
5. =
6. =
7. =
๓๗
8. =
9. =
10. =
คะแนนเต็ม 10 คะแนน ได้ ................. คะแนน
เกณฑก์ ารให้คะแนน
เตมิ คาตามตาแหน่งครุ – ลหุ ได้ถกู ตอ้ ง ได้ขอ้ ละ 1 คะแนน
ผา่ นเกณฑ์ ไดค้ ะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป
หรือไดค้ ะแนนต้ังแต่ 7 คะแนน ข้ึนไป
๓๘
แบบฝึกท่ี 1.8
แต่งเตมิ ไปเป็นหลายวรรค
คาชี้แจง คิดหาคามาเตมิ ในช่องวา่ งให้คล้องจองกับคาสุดท้ายของกลมุ่ หน้าตาม
ตัวอยา่ ง (คะแนนเต็ม 10 คะแนน, ขอ้ ละ ๑ คะแนน)
ตวั อย่าง พวกเรานักเรยี น อ่านเขยี นหนงั สือ
1. นกน้อยจากรงั 1
2. รว่ มทาความดี 1
3. ประหยัดไฟฟ้า 1
4. เราตง้ั ใจจรงิ 1
5. ตน้ ข้าวเขยี วขจี ๓๙
6. อ่านเขยี นหนังสอื
7. เราเกดิ เปน็ คน 1
8. ครูสอนวอนจา 1
9. โรงเรียนของหนู 1
10. เราตอ้ งสรรค์สรา้ ง 1
1
คะแนนเตม็ 10 คะแนน ได้ ................. คะแนน 1
เกณฑก์ ารให้คะแนน
เติมคาคลอ้ งจองกบั กลมุ่ หนา้ ไดถ้ ูกตอ้ ง ไดข้ ้อละ 1 คะแนน
ผา่ นเกณฑ์ ไดค้ ะแนนร้อยละ 70 ข้นึ ไป
หรอื ไดค้ ะแนนต้งั แต่ 7 คะแนน ข้ึนไป
แบบฝึกที่ 1.9
แจ้งประจักษใ์ นผลงาน
คาชีแ้ จง หาคามาเติมลงในช่องวา่ งให้เปน็ กลอนและได้ความหมายสมบูรณ์
(คะแนนเตม็ 10 คะแนน, ตาแหนง่ ละ ๑ คะแนน)
ลมแล้งแรกเรม่ิ มา (1) สัญญาบอกเตอื นเตรยี ม (2)
๔๐
อสี านทีย่ ่านดา่ นไหน มีภัยแล้งน้เี หมอื น (3)
หมอลาเริ่มออกขอข้าว คนหนุ่มคน (4)เหหนั
คนแกน่ ่งั นบั คืน (5) เม่อื ไรฝนมนั จะมา
(ทมี่ า : สาลี รกั สุทธี, สอนอย่างไรให้นักเรียนเขยี นบทร้อยกรองเป็น)
สวัสดนี กั เรยี นที่ (6) พวกเธอประจกั ษใ์ ช่ (7)
ว่าครูรกั เธอเพียงใด ครใู ห้ไมเ่ อาผ่านมา
ใหร้ กั และใชค้ วาม (8) ใหค้ วามเอน็ ดูรู้ (9)
สืบวนั ที่ให้ผ่าน (10) บอกให้รูว้ ่าครูรัก
(ทีม่ า : สาลี รักสุทธี, สอนอย่างไรให้นักเรยี นเขียนบทรอ้ ยกรองเป็น)
คะแนนเตม็ 10 คะแนน ได้ ................. คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
เติมคาในชอ่ งว่างได้ถูกต้อง ไดข้ ้อละ 1 คะแนน
ผ่านเกณฑ์ ไดค้ ะแนนร้อยละ 70 ข้นึ ไป
หรือได้คะแนนต้งั แต่ 7 คะแนน ข้ึนไป
แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นหลังเรยี น เรอื่ ง หลักการประพนั ธ์
เลม่ ที่ 1 ศกึ ษาหลกั การประพนั ธ์
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5
๔๑
เวลา 10 นาที คะแนนเตม็ 10 คะแนน
คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนเลอื กคาตอบทีเ่ ห็นวา่ ถกู ตอ้ งทส่ี ุดเพียงขอ้ เดยี ว แล้วทาเคร่อื งหมาย
กากบาท () ลงในกระดาษคาตอบ
1. ขอ้ ใดใชค้ าขึ้นตน้ ไดถ้ ูกต้อง
ก. เม่ือน้ันหนมุ านชาญชัยไม่ถอยหนี
ข. เมื่อน้ันทศกณั ฑโ์ กรธาหน้าหม่นหมอง
ค. เมอ่ื นน้ั เสนาวานรนอ้ ยใหญ่
ง. เมอ่ื นัน้ สคุ รพี อนชุ าเขา้ ขัดขวาง
2. คาใดใชเ้ ป็นคาสร้อยไดท้ กุ คา หนา
ก. ก็ดี บารมี แท้ แฮ
ข. เทอญ นา เฮย นอ้ ง
ค. พอ่ แม่ พ่ี วา่
ง. ฤๅ เฮย แล
3. ในการแต่งคาประพนั ธ์ทกุ ชนดิ ขอ้ ใดที่จะขาดไม่ได้เลย
ก. คาครุ – คาลหุ
ข. สมั ผัสนอก
ค. สัมผัสใน
ง. คาเอก – คาโท
๔๒
4. ข้อใดมสี ัมผัสในมากที่สุด
ก. ยามปิดภาคเรียนคิดถึงตรงึ ใจยิง่
ข. จะไปลามาไหวน้ ะศิษย์นะ
ค. ถึงม้วยดินสิน้ ฟ้ามหาสมทุ ร
ง. อนจิ จาโอว้ า่ ความรักเอ๋ย
5. ขอ้ ใดใชค้ าโทโทษ เมืองไทย
ก. สงกรานตส์ ุขทั่วหล้า ความดี
ข. เป็นคนควรหม่ันสร้าง วิชา
ค. ครสู อนให้ศิษย์ได้ ถึงพรหม
ง. เรยี มรา่ น้าเนตรถ้วม
6. ขอ้ ใดมีคาเปน็ คาตายเหมอื นกบั ข้อความนี้
“มีสลงึ พึงบรรจบให้ครบบาท”
ก. เธอจะไปดูหนงั กบั ฉนั หรือไม่
ข. จงถนอมน้าใจกนั อย่าหว่ันหวาด
ค. น้อยจะไปทบี่ ้านนดิ ตอนมืดนะ
ง. เธอคดิ จะทาอะไรกต็ ามใจ
7. ข้อใดคอื ความหมายของบทประพันธ์ร้อยกรอง
ก. ความเรียงทส่ี ละสลวยไพเราเหมาะเจาะด้วยเสยี งและความหมาย
ข. การแตง่ หรอื เรยี บเรยี งข้อความใหเ้ ปน็ เรื่องราว
ค. ถ้อยคาที่เรยี บเรียงให้เป็นระเบยี บตามบัญญตั แิ ห่งฉันทลักษณ์
ง. ถ้อยคาท่ีเรียบเรียงโดยไม่ต้องคานงึ ถงึ สมั ผสั หรอื จานวนคา
8. ขอ้ ใดคือความหมายของคาวา่ “คณะ”
ก. การจดั หมวดหม่ถู อ้ ยคาในแตล่ ะวรรค แต่ละบาท แตล่ ะบท ของคาประพันธ์
๔๓
แต่ละชนิด
ข. ลักษณะบงั คบั ให้มีตาแหนง่ คาเป็น คาตายในแต่ละบท
ค. แบบบงั คับว่าด้วยเสียงหนกั หรอื เบาของแตล่ ะวรรค
ง. จานวนคาของแตล่ ะวรรควา่ มเี ทา่ ไร
9. ขอ้ ใดกล่าวผิด ”
ก. ตา ดู ไข่ ใน เล้า เป็นคาครุ
ข. ก็ บ่ ฤ เป็นคาลหุ
ค. คาครุ คอื คาที่มตี ัวสะกดทุกมาตรา
ง. คาลหุ ประสมกับสระ อา ไอ ใอ เอา
10. ขอ้ ใดมคี าครุ ลหุ ดังนี้ “
ก. พระภิกษนุ ั่งสมาธิ
ข. นาฬิกาขอ้ มอื สีดา
ค. สะดวกสบายเหมือนอยบู่ ้าน
ง. ปฏิบัตติ ามข้อบังคบั
ทาแบบทดสอบหลังเรียนแลว้
คงเขา้ ใจเรอื่ งหลักการประพนั ธ์
มากขึน้ แล้วนะคะ
๔๔
กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบหลงั เรยี น
ข้อ ก ข ค ง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
๔๕
เพื่อนๆ คงรูฉ้ ันทลักษณใ์ นการแต่งคาประพันธ์ชนิด
ตา่ งๆ กันดแี ล้วนะคะ ในเล่มต่อไปเราจะฝึกแต่ง
คาประพนั ธ์แต่ละประเภทกัน กอ่ นอนื่ เพ่อื นๆ
บอกขึ้นตอนการแต่งบทรอ้ ยกรองทดี่ กี นั กอ่ นนะคะ
๔๖
แบบบนั ทกึ คะแนนการพัฒนา
แบบฝกึ ทักษะการแต่งคาประพันธ์
เลม่ ที่ 1 ศึกษาหลกั การประพนั ธ์
แบบฝกึ ที่ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้
1.1 10
1.2 ๑๒
๔๗
1.3 10
1.4 10
1.5 10
1.6 10
1.7 10
1.8 10
1.9 10
รวม ๙๒
ร้อยละ 100
๔๘
ภาคผนวก
๔๙
เฉลย
แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนก่อนเรยี น
ขอ้ เฉลย ขอ้ เฉลย
1. ค. 6. ค.
2. ง. 7. ข.
3. ข. 8. ค.
4. ค. 9. ง.
5. ข. 10. ง.
๕๐
เฉลย
แบบฝกึ ทักษะ
เลม่ ท่ี 1
ศกึ ษาหลักการประพนั ธ์