The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Aor Supattraphorn, 2020-11-19 01:42:15

2020 state Quanrantine

2020 state Quanrantine

2020

State
Quarantine

สมาคมแพทยท์ หารแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถมั ภ์

สมาคมแพทยท์ หารแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถมั ภ์

The Association of Military Surgeons of Thailand
Under The Royal Patronage of His Majesty The King

2

สารบญั

3

สารจาก นายกสมาคม
สมาคมแพทยท์ หารแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์

สมาคมแพทย์ทหารแห่งประทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ เป็นองค์กรกลางของหน่วยสายแพทย์ทหารและตำ� รวจ ใน
บรบิ ทของกจิ การทหารและตำ� รวจ ซ่งึ เป็นกำ� ลงั สำ� คญั ในการปกครองบ้านเมอื ง งานอนุรกั ษก์ ำ� ลงั รบหรอื งานบรกิ ารสขุ ภาพสำ� หรบั
ทหาร ตำ� รวจและครอบครัว รวมท้งั ประชาชนท่วั ไป จึงเป็นงานสำ� คัญอกี ประการหน่ึง ท่ดี ำ� เนินการมานานกว่า 60 ปี บนพ้ืน
ฐานความรักสามคั คขี องบคุ ลากรสายแพทยข์ องส่เี หล่าทพั ภารกจิ ท่สี ำ� คญั คอื สง่ เสริมวทิ ยาการแพทยท์ หารและการแพทยท์ ว่ั ไป
ส่งเสริมการวิจัยและเผยแพร่ความรู้ทางการแพทย์ ส่งเสริมสามัคคีธรรม จรรยาแพทย์ และสวัสดิการ สมาชิก ส่งเสริมความ
สมั พันธก์ บั สถาบนั อ่นื ๆ และส่งเสริมการทำ� กจิ กรรมสาธารณะประโยชน์และสาธารณะกุศล

ทุกเหตกุ ารณส์ ำ� คญั ๆ ของประเทศ หน่วยสายแพทย์ทหารและตำ� รวจ มกั จะได้รับมอบหมายภารกจิ ร่วมกนั เพ่ือให้เกดิ
ประสทิ ธผิ ลเป็นรปู ธรรม ล้วนเกดิ จากการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ รวมถงึ การร่วมคดิ ร่วมฝึก สะสมความชำ� นาญ และความเช่ียวชาญ
ร่วมกนั ต้งั แต่ในยามปกติ

ในห้วงเวลาน้กี เ็ ช่นเดยี วกนั จากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ซ่งึ เป็นโรคตดิ ต่ออนั ตรายตามพระราช
บญั ญัตโิ รคตดิ ต่อ พ.ศ. 2558 และศนู ย์บริหารสถานการณโ์ ควิด-19 (ศบค.) กำ� หนดให้ผู้ท่เี ดนิ ทางมาจากต่างประเทศทุกคน
ต้องได้รับการตรวจคัดกรอง แยกกกั หรือ กกั กนั เพ่ือการเฝ้ าระวัง ป้ องกนั และควบคุมโรคซ่ึงมาจากท้องถ่นิ อ่นื หรือเมอื งทา่ น
อกราชอาณาจักร กรณโี รคโควิด-19 หน่วยงานรัฐจึงจำ� เป็นต้องจัดเตรียมและจัดหาสถานท่สี ำ� หรับเป็นท่กี กั ตัวผู้ท่เี ดินทางมา
จากต่างประเทศให้อยู่ในการกำ� กบั ดูแล เพ่ือการเฝ้ าระวังการแพร่ระบาดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ตามหลักเกณฑแ์ ละแนวทาง
การควบคุมป้ องกนั โรค โดยความร่วมมอื ระหว่างกระทรวงกลาโหม และกระทรวงสาธารณสขุ โดยหน่วยสายแพทย์ท้งั ส่เี หล่าจึง
ได้รับมอบหมายการปฏบิ ตั กิ ารด้าน State Quarantine เพ่ือการป้ องกนั การระบาดของโรคและจัดระเบยี บบุคคลผู้ท่เี ดนิ ทางเข้า
มาในราชอาณาจักร โดยมกี ารจัดสถานท่เี ฉพาะไว้แยกกกั กกั กนั หรือคุมไว้สงั เกต

สมาคมแพทย์ทหารแห่งประทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ จึงได้มอบหมาย คณะกรรมการวิสมาคมฯ จัดการประชุม
สมั มนาผู้บริหารหน่วยสายแพทย์ส่เี หล่าเร่ือง ทบทวนการปฏบิ ตั กิ ารดำ� เนินงานด้าน State Quarantine ณ อาคารมงกุฎเกล้าเวช
วิทยา วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า ในวันท่ี 8- 9 ตลุ าคม 2563 โดยมคี วามมุ่งหมาย เพ่ือรวบรวมความรู้ ความเข้าใจ
ความสำ� คัญ หลักการ และกระบวนการจัดต้งั State Quarantine จากเหตกุ ารณท์ ่เี กดิ ข้นึ จริง และนำ� เสนอแลกเปล่ียนปัญหา ข้อ
ขดั ข้องและอปุ สรรคด้านต่าง ๆ เช่น บุคลากร วัสดุอปุ กรณ์ สถานท่ี การดำ� เนินงาน และการประเมินผล นำ� มาแลกเปล่ียนเรียน
รู้ ถอดบทเรียนเพ่ือนำ� ไปสู่ การจัดทำ� แนวทางการดำ� เนินงานได้ตามความจำ� เป็นและความเหมาะสม ตลอดจนเป็นการนำ� ความ
คดิ ข้อเสนอแนะ จากการสมั มนาคร้ังน้ีไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ เพ่ือให้เกดิ ประโยชน์ต่อสมาชิกสมาคม สงั คมและประเทศชาตติ ่อไป

โดยกจิ กรรมวิชาการคร้ังน้ี จะมกี ารอภิปรายเป็นคณะ การสมั มนากลุ่มย่อย เพ่ือวิเคราะห์ปัญหา หาแนวทางแก้ไข และ
หาข้อสรุปถอดบทเรียน การแลกเปล่ียนประสบการณ์จากหน่วยงานต่างๆ เพ่ือให้ เกิดประโยชน์ต่อการด�ำเนินงาน
State Quarantine ของประเทศ ภายใต้กรอบแนวความคิดของสมาคมฯ ท่เี ปิ ดโอกาสหรือเปิ ดเวทใี ห้หน่วยสายแพทย์ทหาร
ตำ� รวจได้แสดงออกร่วมกนั เพราะการปฏบิ ัติการท่ดี ีน้ันต้องมีพ้ืนฐานจากความเข้าใจ ความร่วมมือท่ดี ีต่อกนั มาก่อน ดังน้ัน
การประชุมสมั มนาผู้บริหารหน่วยสายแพทย์ส่เี หล่า เร่ือง ทบทวนการปฏบิ ัติการดำ� เนินงานด้าน State Quarantine ในวันน้ี
ซ่ึงมุ่งหวังเพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความสมั พันธร์ ะหว่างหน่วยสายแพทย์ทหารตำ� รวจ และให้จัดทำ� หนังสอื ข้นึ เพ่ือบนั ทกึ
การสรปุ ความร้ตู ่าง ๆ จากการประชุมฯเป็นข้อคิดเหน็ สามารถนำ� ไปปรับใช้ได้อย่างสะดวกและเหมาะสมกบั บริบทของสถานท่ี
ท่รี ับผดิ ชอบ

4

สมาคมแพทย์ทหารแห่งประทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ขอขอบคุณคณะทำ� งานท่ไี ด้ร่วมจัดทำ� หนังสอื เล่มน้ี เพ่ือ
รวบรวม ความคิด ข้อเสนอแนะ ไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ ก่อให้เกดิ ประโยชน์ต่อวงการแพทย์ทหารตำ� รวจ รวมถงึ สมาชิกสมาคม สงั คม
และประเทศชาติต่อไป ทางสมาคมฯ และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสอื ฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรทางการแพทย์ และ
ผู้สนใจท่วั ไป

พลโท ชาญชัย ตกิ ขะปัญโญ
ชาญชัย ตกิ ขะปัญโญ

นายกสมาคมแพทย์ทหารแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถมั ภ์

5

คณะกรรมการอำ�นวยการ
สมาคมแพทยท์ หารแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

6

สารจาก เลขาธิการสมาคม
สมาคมแพทย์ทหารแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์

การดำ� เนินการประชุมสัมมนาผู้บริหารหน่วยสายแพทย์ส่ีเหล่าเร่ือง ทบทวนการปฏิบัติการดำ� เนินงานด้าน State
Quarantine ในคร้ังน้ี เป็นคร้ังท่ี 18 ของการสมั มนาผู้บริหารสายแพทย์ 4 เหล่า มวี ัตถุประสงค์เพ่ือหาแนวทางในการสรปุ บท
เรียนการปฏบิ ัติงานของแพทย์ทหารตำ� รวจในเร่ืองท่มี ีความสำ� คัญในห้วงปี 2563 คงไม่มีเร่ืองใดท่เี ป็นเร่ืองท้าทายต่อวงการ
แพทยไ์ ด้มากเทา่ เร่ือง การป้ องกนั เฝ้ าระวงั รักษาโรค Covid-19 ซ่ึงแพทยส์ งั กดั สำ� นกั งานแพทย์ สำ� นกั ปลัดกระทรวงกลาโหม,
สำ� นักงานแพทย์ทหาร, กรมแพทย์ทหารบก, กรมแพทย์ทหารเรือ, กรมแพทย์ทหารอากาศ และโรงพยาบาลตำ� รวจ ต่างกไ็ ด้รับ
ภารกจิ ในการดูแลสถานกกั กนั แห่งรัฐ (State quarantine) โดยท้งั 4 เหล่าทพั ได้มีการจัดต้ังศูนย์บริหารจัดการ ติดตาม
สถานการณข์ องโรคโควิด-19 อย่างใกล้ชิดและต่อเน่ือง เป็นเวลากว่า 6 เดอื น โดยทา่ นเจ้ากรมแพทย์และนายแพทย์ใหญ่เป็น
ผู้มสี ่วนเก่ยี วข้องสำ� คญั และมกี ารกล่าวถงึ ความสำ� เรจ็ ของภารกจิ น้ี และขณะเดยี วกนั กม็ ปี ัญหาอปุ สรรคอย่างมากมายตลอดช่วง
6 เดอื นท่ปี ฏบิ ตั งิ านน้ี

ท้งั น้ี ผู้บงั คับบญั ชาช้ันสงู ของเหล่าทพั โดยเฉพาะรัฐมนตรีว่าการะทรวงกลาโหม ประสงค์ให้บนั ทกึ เหตกุ ารณค์ ร้ังน้ีใน
รปู แบบจดหมายเหตเุ พ่ือเกบ็ ไว้เป็นประวัตศิ าสตร์ของแผ่นดนิ และให้จัดทำ� คู่มอื แนวทางการปฏบิ ตั งิ านท่เี หมาะสมของการจัด
ทำ� สถานกกั กนั แห่งรัฐ ได้มกี ารนำ� เร่ืองน้มี าหารือในท่ปี ระชุมคณะกรรมการอำ� นวยการของสมาคมแพทยท์ หาร ฯ ซ่งึ ทุกฝ่ ายเหน็
พ้องว่าควรจะบรรจุเร่ืองน้ีเป็นหัวข้อในการสมั มนาผู้บริหารสายแพทย์ 4 เหล่า

ในฐานะท่ีเคยเข้าร่วมการประชุม สัมมนาผู้บริหารน้ี มีความรู้สึกยินดีและประทับใจเป็นอย่างมาก ท่ีจะได้ เรียนรู้
ประสบการณท์ ่เี ป็นผลงานท่ปี ระสบความสำ� เรจ็ ของเหล่าแพทย์ทหารตำ� รวจ และได้เหน็ ความมุ่งม่ัน ต้ังใจของคณะกรรมการ
วทิ ยาการ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ทา่ นประธานคณะกรรมการวทิ ยาการ พลตำ� รวจตรี เกษม รัตนสมุ าวงศแ์ ล้ว ท้งั น้มี คี วามเหน็ ว่าการ
ประชุมดังกล่าวน่าจะได้รับความรู้ และประสบการณ์ท่สี ำ� คัญไม่ย่ิงหย่อนไปกว่า เร่ือง HA, การตรวจสขุ ภาพท่เี ป็นมาตรฐาน
เดยี วกนั , การปฏบิ ตั งิ านเวชศาสตร์ทหาร, การแพทย์ในภาวะวกิ ฤต, การตรวจโรคในทหารเกณฑ,์ การควบคุมค่าใช้จ่ายทางการ
แพทย์ และเร่ืองอ่นื ๆ ท่ไี ด้จัดสมั มนามาแล้ว และม่นั ใจว่าหนังสอื เล่มน้ีจะเป็นก้าวแรก เพ่ือพัฒนาไปส่คู ู่มอื แนวทางการปฏบิ ตั ิ
งานของแพทยใ์ นสถานกกั กนั แห่งรัฐในยามท่บี ้านเมอื งมโี รคระบาดร้ายแรง ซ่งึ เป็นภารกจิ ท่ที กุ ภาคสว่ นคาดหวงั ว่าจะเป็นภารกจิ
ของแพทย์ทหารตำ� รวจ เพ่ือให้การปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ในเร่ืองน้ีสำ� เรจ็ ลุล่วงได้ดยี ่ิงข้นึ ในอนาคต

การสมั มนาคร้ังน้ี บ่งบอกความเป็นเอกลักษณข์ องสมาคมแพทย์ทหารฯในเร่ืองส่งเสริมวิทยาการแพทย์ทหารและการ
แพทย์ท่วั ไป (วัตถุประสงคข์ ้อ 1) และ การส่งเสริมสามคั คีธรรม (วัตถุประสงค์ข้อ 3) ได้เป็นอย่างดี ขอขอบพระคุณกรรมการ
ทุกทา่ นท่ใี ห้ความร่วมมอื และ ขอบพระคุณ วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์พระมงกุฎเกล้าเอ้อื เฟ้ื อสถานท่แี ละขอบคุณทมี งานของกรม
แพทย์ทหารบกครับ

พลตรี วิเชษฐ์ รัตนจรัสโรจน์
วิเชษฐ์ รัตนจรัสโรจน์

เลขาธกิ ารสมาคมแพทย์ทหารแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถมั ภ์

7

สารจาก ประธานกรรมการวทิ ยาการ
สมาคมแพทยท์ หารแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ในการปฏบิ ตั กิ ารด้าน State Quarantine เพ่ือป้ องกนั การระบาดของโรคและจัดระเบยี บบุคคลผู้ท่เี ดนิ ทางเข้ามาในราช
อาณาจักร โดยมกี ารจัดสถานท่เี ฉพาะไว้แยกกกั กกั กนั หรือคุมไว้สงั เกตน้ัน หน่วยสายแพทย์ท้งั ส่เี หล่าล้วนมบี ทบาทอย่างมาก
ในปฏบิ ตั กิ ารดงั กล่าว กรรมการวิทยาการ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการสมาคมแพทย์ทหารแห่งประเทศไทย ในพระบรม
ราชูปถมั ภ์ ให้จัดการประชุมสมั มนาผู้บริหารหน่วยสายแพทย์ส่เี หล่าในคร้ังน้ี โดยเลือกหัวข้อสมั มนาเร่ือง ทบทวนการปฏบิ ัติ
การดำ� เนินงานด้าน State Quarantine โดยมีความมุ่งหมาย เพ่ือรวบรวมความรู้ ความเข้าใจ ความสาคัญ หลักการ และ
กระบวนการจัดต้งั State Quarantine จากเหตกุ ารณท์ ่เี กดิ ข้นึ จริง และนำ� เสนอแลกเปล่ียนปัญหา ข้อขดั ข้องและอปุ สรรคด้าน
ต่าง ๆ เช่น บุคลากร วัสดุอปุ กรณ์ สถานท่ี การดำ� เนินงาน และการประเมนิ ผล นำ� มาแลกเปล่ียนเรียนรู้ ถอดบทเรียนเพ่ือนำ� ไป
สู่ การจัดทำ� แนวทางการดำ� เนินงานได้ตามความจำ� เป็นและความเหมาะสม ตลอดจนเป็นการนำ� ความคิด ข้อเสนอแนะ จากการ
สมั มนาคร้ังน้ไี ปส่กู ารปฏบิ ตั ิ เพ่ือให้เกดิ ประโยชนต์ ่อวงการแพทยท์ หารตำ� รวจ รวมถงึ สมาชิกสมาคม สงั คมและประเทศชาตติ ่อ
ไปในอนาคต

กจิ กรรมวิชาการคร้ังน้ี จะมกี ารอภิปรายเป็นคณะโดยถ่ายทอด องคค์ วามรู้ แนวคดิ วิสยั ทศั น์จากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ
และผู้นาสงู สดุ ในสายแพทย์ของแต่ละเหล่าทพั รวมถงึ การสมั มนากลุ่มย่อย เพ่ือวิเคราะห์ปัญหา ข้อขัดข้องในการดำ� เนินงาน
การหาแนวทางแก้ไข และหาข้อสรปุ ถอดบทเรียน การแลกเปล่ียนเรียนร้ปู ระสบการณจ์ ริงท่ไี ด้จากการปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงาน
ต่างๆ เพ่ือให้เกดิ ประโยชน์ต่อการดำ� เนินงาน State Quarantine ของประเทศไทย

ขอขอบคุณ วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการสมาคมแพทย์ทหารแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ผู้ร่วม
อภิปราย ผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ ตลอดจนผู้เข้าร่วมประชุม และกรรมการวิทยาการจากหน่วยสายแพทย์ท้งั 4 เหล่าท่รี ่วม
กนั ทาให้งานสาเรจ็ ลุล่วงไปได้ด้วยดีรวมถงึ กองบรรณาธกิ ารท่ไี ด้รวบรวม เรียบเรียง แนวคิด หลักการ ประสบการณ์ อนั เป็น
ประโยชน์จากวิทยากรและผู้ร่วมอภิปรายทุกทา่ น นับเป็นเสมอื นจดหมายเหตทุ ่มี คี วามสาคญั และมคี ุณค่าทางประวัตศิ าสตร์แก่
คนร่นุ หลังและวงการแพทยท์ หารตำ� รวจไว้ใช้ศกึ ษา หวงั เป็นอย่างย่งิ ว่าสาระสาคญั ในหนงั สอื ท่ไี ด้จากการประชุมในคร้ังน้จี ะเป็น
ประโยชน์ให้กบั ผู้ท่มี สี ่วนในการดำ� เนินการและผู้สนใจงานด้าน State Quarantine เพ่ือนำ� ไปปรับใช้ตามบริบท ความเหมาะสม
ให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ ของแต่ละหน่วยงานต่อไป

พลตำ� รวจตรี เกษม รัตนสมุ าวงศ์
เกษม รัตนสมุ าวงศ์

ประธานกรรมการวิทยาการ
เลขาธกิ ารสมาคมแพทย์ทหารแห่งประเทศไทย

ในพระบรมราชูปถมั ภ์

8

Schedule Agenda

9

พธิ ีเปิ ดงานสมั มนาผูบ้ ริหารสายแพทยส์ ีเ่ หล่า คร้งั ที่ 18
เรือ่ ง ทบทวนการปฏิบตั ิงานดา้ น State Quarantine

วนั ที่ 8 ตุลาคม 2563 โดย พลโท ชาญชยั ติกขะปัญโญ

10

11

12

Part 1

การอภิปรายเป็ นคณะ (Panel Discussion) :
การบริหารจดั การพ้ืนทีค่ วบคมุ โรคแห่งรฐั

13

ประสบการณ์ Incident Command การบริหารจดั การ
พ้ นื ทีค่ วบคุมโรคแห่งรฐั (State Quarantine)

พลเอก ปรพิ ัฒน์ ผลาสนิ ธุ์ รองผบู้ ัญชาการทหารสงู สุด กองบัญชาการกองทพั ไทย
พลอากาศเอก สายศกั ด์ิ ครรภาฉาย ผทู้ รงคณุ วฒุ ิพิเศษ กองบญั ชาการกองทพั ไทย

“การเปิ ดรับนักทอ่ งเท่ยี ว เพ่ือแก้ปัญหา
ด้านเศรษฐกจิ ยังคงตดิ ปัญหาหลายด้าน
โดยเฉพาะการยอมรับของคนท้องถ่นิ ”

ศูนย์ปฏิบัติการแก้ไขสถานการณ์ด่านความม่ันคง
ประจ�ำท่าอากาศยาน (ศปม.ทย.) โดยมีเป้ าหมาย คือ
ปลอดภัย ไม่มีการแพร่กระจายเช้ือ ปฏิบัติถูกต้องตาม
กฎหมาย/ระเบยี บ/ข้อกำ� หนด และ อำ� นวยความสะดวก และ
สร้างความเข้าใจ โดยดำ� เนนิ งานภายใต้กฎหมาย 5 ฉบบั พระ
ราชกำ� หนดฉุกเฉิน ฉบับท่ี 13 ปี พ.ศ.2548 พระราช
บัญญัตติโรคติดต่อ ปี พ.ศ.2558 กฎหมายของสำ� นักงาน
ตรวจคนเข้าเมอื ง กฎหมายของกรมศลุ กากร เร่ืองการนำ� เข้า
สินค้า กฎหมายท้องถ่ินของสถานีต�ำรวจภูธรสุวรรณภูมิ
เป็นต้น โดย ประเภทบุคคล ตามข้อยกเว้นในมาตรการเดนิ
ทางเข้าส่ปู ระเทศไทย มี 11 กลุ่ม คอื ผู้มสี ญั ชาตไิ ทย ผู้มเี หตุ
ยกเว้น หรือได้รับอนุญาตด้วยความจำ� เป็น บคุ คลในคณะทูต
ผู้ขนส่งสินค้าตามความจ�ำเป็ น ผู้ควบคุมยานพาหนะเข้า
ประเทศ คู่สมรส บิดามารดาหรือบุตรของผู้มีสัญชาติไทย
ผู้มีถ่นิ ท่อี ยู่อาศัย ผู้มีใบอนุญาตทำ� งาน นักเรียน นักศึกษา
ของสถานศึกษาของรัฐ เอกชน นานาชาติ ตำ� รวจตระเวน
ชายแดน ชาวต่างชาตเิ ข้ามารักษาในประเทศไทย และผู้ไม่มี
สญั ชาตไิ ทย เข้ามาด้วยข้อตกลงพิเศษ

14

การเปิ ดรับนักท่องเท่ียวต่างชาติประเภทพิเศษ
Special Tourist VISA (STV)
การเปิ ดรับนักทอ่ งเท่ยี ว เพ่ือแก้ปัญหาด้านเศรษฐกจิ
ยังคงตดิ ปัญหาหลายด้าน เช่น การยอมรับของคนท้องถ่นิ
จึงอยู่ระหว่าง การพิจารณาสถานท่กี ารกกั ตวั state quarantine

มาตรการท่กี ำ� หนดในการรับนักท่องเท่ยี วกลุ่มพิเศษ
1. เป็นเมอื งท่ไี ม่มกี ารตดิ เช้ือโควดิ -19 ในประเทศหรือ
ปลอดเช้ือมานานหลายเดอื นแล้ว
2 .ต้องได้รับการตรวจว่าไม่มเี ช้ือโควิด-19 จากต้นทาง
72 ชม. ก่อนเดนิ ทางเข้าประเทศไทย
3. มกี ารจองสถานท่ี ASQ (Alternative state quarantine)
ไว้เรียบร้อยแล้ว เป็นเวลา 14 วัน
4. มกี ารทำ� บตั รประกนั สขุ ภาพ กรมธรรมค์ ้มุ ครอง 100,000
เหรียญดอลลาห์สหรัฐ
5. ทำ� วีซ่าเข้าประเทศ กำ� หนดไว้เบ้อื งต้น 90 วันก่อน
จะต่อวีซ่าให้อกี 2 คร้ัง คร้ังละ 90 วัน รวมท้งั ส้นิ ไม่เกนิ
270 วัน
6. ต้องทำ� ตามมาตรการสาธารณสขุ ของไทยอยา่ งเคร่งครดั

15

สรุปยอด จำ� นวนผู้เดินทางเข้าประเทศไทย รวม Process
ท้งั ส้นิ 85,606 คน เป็นคนไทย 69,833 คน ต่างชาติ กระบวนการท่ีสนามบิน (สนามบินสุวรรณภูมิ
15,773 คน รวม 744 เท่ยี วบนิ 64 ประเทศ ยอดผู้ตดิ ดำ� เนินการบริเวณอาคารผู้โดยสาร สนามบินดอนเมือง
เช้ือรวมท้งั ส้ิน 3,615 คน ยอดผู้ติดเช้ือท่เี ดินทางผ่าน ดำ� เนนิ การในลานจอด 6 โดยด่านควบคมุ โรคโดยกระทรวง
สนามบนิ ท้งั 2 แห่ง รวม 469 คน สาธารณสขุ ตรวจความเรียบร้อยใบ ต.8 สำ� นักงานตำ� รวจ
ตรวจคนเข้าเมอื ง อนุมตั ใิ ห้เข้าประเทศ กรมศลุ กากร ตรวจ
ข้นั ตอนการรับผู้โดยสาร สนิ ค้าลกั ลอบนำ� เข้าประเทศ สถานตี ำ� รวจภธู รตรวจดคู วาม
Input (การเตรียมการ) เรียบร้อยในภาพรวม
กระทรวงการต่างประเทศ โดยสถานทตู ไทย ดำ� เนนิ Output (การเดินทางสู่สถานกักกันโรค
การจัดลำ� ดบั การกลับประเทศไทย มนี โยบาย ปริมาณคน แห่งรัฐ)
ไทย และคนต่างประเทศ เป็นอตั ราส่วน 600 : 200 โดย กระทรวงคมนาคมจัดเตรียมยานพาหนะส่ง
การออก Certificate of Entry (COE) คอื การออกใบรับ ผู้โดยสารสู่ state quarantine โดยมี รถสารวัตรทหาร
รองผู้ดำ� เนินการเดินอากาศ (AOC) โดยสำ� นักการบิน นำ� ทางเพ่อื อำ� นวยความสะดวกในการเดนิ ทางเข้าทพ่ี กั และ
พลเรือนแห่งประเทศไทย (กพท. หรือ CAAT) ทำ� การ เพ่ือความปลอดภัย โดย ASQ (Alternative state
ออกสลอ็ ตแต่ละสายการบิน เป็นหน่วยสำ� คัญในการปิ ด quarantine) ให้เป็นความรับผิดชอบของผู้ประกอบการ
เปิ ดน่านฟ้ า โรงแรม

16

บทบาทของ ส�ำนกั งานตรวจคนเขา้ เมือง
(IMMIGRATION BUREAU)

พนั ต�ำรวจโท ปนตั ถ์ มโนมยั วบิ ลู ย์ รอง ผกู้ ำ� กบั ฝ่ ายพิธีการเขา้ เมือง ท่าอากาศยานสวุ รรณภมู ิ

“เกดิ ปัญหาหลายด้านทำ� ให้ใช้เวลานานในการแก้ปัญหา หรือ
ตดิ ต่อหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้องล่าช้า แต่เม่อื มกี ารจัดต้งั EOC

ทำ� ให้แก้ไขปัญหาได้อย่ารวดเรว็ ”

ช่วงแรกในการปฏบิ ตั งิ านกอ่ นจดั ต้งั EOC มปี ัญหา ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า / ก า ร ด�ำ เ นิ น ก า ร เ พ่ื อ ล ด
ในการตรวจคดั กรองซ่งึ ไม่มคี วามเป็นระบบ กำ� ลงั ของสว่ น ผลกระทบ
คดั กรองโรคไม่เพียงพอ การเข้าประเทศแบบผดิ กฎหมาย
ผู้ร้ายข้ามแดน เกดิ ปัญหาหลายด้านทำ� ให้ใช้เวลานานใน จัดทำ� มาตรการ ผ่อนผนั ค่าปรับ overstay
การแก้ปัญหาหรือตดิ ต่อหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้องล่าช้าแต่เม่อื แกช่ าวต่างชาติ โดยประชาสมั พนั ธแ์ กส่ ายการบนิ และผ้โู ดย
มกี ารจัดต้งั EOC ทำ� ให้แก้ไขปัญหาได้อย่ารวดเรว็ มกี าร สายในการขอรบั การตรวจลงตรา ชาวต่างชาติ และต้องผา่ น
ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการแนวทางประกาศ คำ� สง่ั ของรฐั บาล และ มาตรการตามมาตรฐานท่รี ัฐบาลกำ� หนด โดยเน้นยำ้� และ
ศบค.ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา กำ� ชับให้เจ้าหน้าท่ใี นสงั กดั ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางท่กี ำ� หนด
2019 ได้กำ� หนดแนวทางและมาตรการรองรบั ในการปฏบิ ตั ิ
หน้าท่ี อกี ท้งั สามารถจัดทำ� แผนบริหารสถานการณเ์ พ่ือ ข้อควรระวงั มกี ารหลบเล่ยี ง state quarantine โดย
เฝ้ าระวังและป้ องกนั การแพร่ระบาดในอนาคต หลายวิธกี าร เช่น Charter flight การเช่าเหมาลำ� เพ่ือมา
ลงสนามบินภายในประเทศท่ีไม่ใช่สนามบินดอนเมือง,
ปัญหาและอปุ สรรคในการดำ� เนินงาน/ผลกระทบ สวุ รรณภมู ิ (ซง่ึ มมี าตรฐานการตรวจรบั ผ้โู ดยสารจากภายนอก
ท่ไี ด้รับ ประเทศ) โดยอ้างว่าเข้าเตมิ เช้ือเพลิง ให้ ตม.ตรวจเป็น
first arrival และไปลงอกี สนามบนิ อ่นื ซ่ึงจะการเป็นการ
1. การเปิ ดการเดนิ ทางเข้า – ออก ส่งผลให้คน บนิ ภายในประเทศ โดยไม่ผ่าน state quarantine
ต่างชาตไิ ม่สามารถเดนิ ทางกลบั ได้ มปี ัญหา visa หมดอายุ

2. ผ้โู ดยสารชาวต่างชาตเิ ดนิ ทางเข้ามาไม่ตรงตาม
วัตถุประสงค์

3. คำ� ส่งั รมต.มหาดไทย ท่ี 1/63 ระงบั เดนิ ทาง
ช่ัวคราวส่งผลให้งานตรวจลงตรา ต้องระงบั การปฏบิ ตั งิ าน
(visa on ARRIVAL)

4. เจ้าหน้าทม่ี คี วามเสย่ี งตอ่ การตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา
2019 สงู

17

การบริหารจดั การ (State Quarantine)

พลตรี เลิศฤทธ์ิ ชอ่ งวารินทร์ ผอู้ �ำนวยการสำ� นกั งานนโยบายและยุทธศาสตร์
สำ� นกั นโยบายและแผนกลาโหม

“อยู่ในห้อง หยุดเช้ือ เพ่ือชาติ การบริการ นำ� การควบคุม”

ภารกจิ จัดโรงแรม เพ่ือทำ� เป็น State Quarantine “อยู่ในห้อง หยุดเช้ือ เพ่ือชาติ การบริการ นำ� การ
โดยทำ� การจดั หาผ้ดู แู ลรบั ผดิ ชอบของโรงแรมเพยี งคนเดยี ว ควบคุม” โดยมีนโยบายว่า เราจะดูแลผู้เข้าพักเหมือน
ท่ีควบคุ มโรงแรมทุ กส่ วนได้ เพ่ื อการส่ังการท่ีสะดวก สมาชิกในครอบครัวหัวใจสำ� คัญ คอื ความปลอดภยั
(Single Command) และร่วมกนั กำ� หนดระเบยี บปฏบิ ตั ิ
ประจำ� วันเพ่ือความเป็นระเบยี บของผู้เข้าพัก
การจดั SQ-OPS (State Quarantine Operation System)
มฝี ่ ายท่สี ำ� คญั ท้งั หมด 4 ฝ่ ายคือ
1. โรงแรม มบี ทบาทหน้าท่สี ำ� คัญ โดยเป็นท้งั
สถานท่ี กำ� ลังหลักจากเจ้าหน้าท่โี รงแรมและการบริการ
2. กรมควบคุมโรค, ทมี แพทยพ์ ยาบาล รพ.พระ
มงกฎุ บทบาทหน้าทส่ี ำ� คญั ในการทำ� swab การให้คำ� แนะนำ�
เก่ยี วกบั ในการป้ องกนั โรค และดแู ลโรคประจำ� ตวั ของผ้ถู กู
กกั กนั
3. เจ้าหน้าทร่ี กั ษาความปลอดภยั , เจ้าหน้าทต่ี ำ� รวจ
มบี ทบาทหน้าทส่ี ำ� คญั ในการรกั ษาความปลอดภยั และความ
สะดวกเรียบร้อย
4. ฝ่ายอำ� นวยการ, ฝ่ายเสนาธกิ าร มบี ทบาทหน้าท่ี
สำ� คัญในการควบคุมดูแลทุกฝ่ ายให้ปฏบิ ัติงานร่วมกนั ได้
อย่างสอดคล้อง และแก้ปัญหาในทุกด้าน

Commander Intent คอื คำ� ขวญั ท่เี น้นยำ�้ เพ่ือให้ท้งั
ผู้เข้าพักหรือเข้ากกั กนั โรค มคี วามเข้าใจ ความร่วมมอื และ
ความร้สู กึ เสยี สละ รวมถงึ มคี วามสำ� คัญอย่างมากในการ
ป้ องกนั การระบาดของโรคโควิด-19

18

แบ่งระดบั อปุ กรณป์ ้ องกนั สว่ นบคุ คลตามระยะห่างในการ
สมั ผสั กบั ผู้ถูกกกั ตวั เป็น 4 ระดบั ดงั น้ี

ระดับท่ี 1 คือ ระยะห่างมากกว่า 2 เมตร (โซนเขยี ว)
ใช้เฉพาะหน้ากากอนามยั

ระดบั ท่ี 2 คอื ระยะห่างน้อยกว่า 2 เมตร (โซนเหลือง)
ใช้หน้ากากอนามยั Face shield และถุงมอื

ระดบั ท่ี 3 คอื ระยะประชดิ (โซนแดง) ใช้หน้ากากอนามยั
เฟสชิลด์ ถุงมอื และชุดคลุมแบบบาง

ระดับท่ี 4 คือ มีการสัมผัส (ปฏิบัติงานในห้องพัก)
ใช้หน้ากากอนามยั N95 เฟสชิลด์ ถุงมอื ชุด PPE และรองเท้า
บูท

ท้ังน้ ีข้ ึนกับผ้ ูปฏิบัติงานหากเห็นควรต้ องการใส่ชุดใน
ระดับท่สี งู ข้นึ สามารถทำ� ได้เพ่ือความปลอดภัยของบุคลากรเป็น
หลัก

19

แผนภาพแสดงกระบวนการกกั ตวั ในแตล่ ะวนั แสดง วันท่ี 3 ส่งคลิปวิดโี อให้กำ� ลังใจ “อยู่ในห้อง หยุดเช้ือ
ความเป็นระเบยี บและมเี ป้ าประสงคท์ ่ชี ัดเจน (time line) เพ่ือชาต”ิ ทำ� การ swab รอบแรก
ดงั น้ี
วันท่ี 7 สำ� รวจข้อมูลเดนิ ทางกลับ
วันท่รี ับตวั รับตวั ผู้เข้าพักตามแผนท่เี ตรียมการ, วันท่ี 8 ยืนยันข้อมูลการเดนิ ทางกลับ
ต้งั กลุ่มไลน์, ส่งข้อมูลสำ� คัญเร่ืองส่งิ ท่ตี ้องทำ� และห้ามทำ� วันท่ี 10 ส่งข้อมูลการเดนิ ทางและจัดทำ� ใบรับรอง
ระหว่างการเข้าพัก, การวัดอณุ หภมู ิ วันท่ี 11 ส่งคลิปวิดีโอให้ก�ำลังใจ, ทำ� การ swab
รอบสอง
วนั ท่ี1 ลง AOT application ในโทรศพั ท์Smartphone วันท่ี 14 เตรียมการกลับบ้าน
ของตน, เจ้าหน้าทพ่ี ยาบาลเร่มิ การโทรสอบถามอาการหรอื วันท่ี 15 ส่งกลับบ้านตามข้นั ตอนการส่งกลับ
ข้อขดั ข้องต้งั แต่การเข้าพักวันแรก (ก่อนการรับผู้ถูกกกั กนั มีการวิเคราะห์ผู้ท่เี ข้าพักและ
สรุป ข้อมูลพ้ืนฐานส่วนบุคคล โรคประจ�ำตัว การแพ้ยา
วันท่ี 2 ส่งข้อมูลอธบิ ายการทำ� swab รอบแรกและ แพ้อาหาร มีการจัดชุดแพทย์เพ่ือตรวจโรคเพ่ือดูความเพียง
กรอกเอกสารสำ� คญั , ทำ� แบบสอบถามของกรมสขุ ภาพจติ , พอของยาต่อโรคประจำ� ตวั มจี ุดรับฝากบุหร่ีและเหล้า)
ส่งตาราง Count down, ส่งคลิปวิดโี อหมอแลบ็ Pinky/
infographic

20

ข้นั ตอนการรับเข้า ปัญหาการประสานส่งผู้ป่ วยต่อ ท่พี บบ่อย คอื เร่ือง
1. รถจอดต้องจอดในจุดท่กี ำ� หนด ความล่าช้า และปัญหาการจัดรถพยาบาลส่งตวั ผู้ป่ วย
2. เจ้าหน้าท่ถี อื ป้ ายสญั ญาณ “กรณุ ารอสกั คร่”ู
เพ่ือให้ผู้โดยสารยังอยู่ในรถ - การดูแลเคสต้งั ครรภ์ ส่งตวั เม่อื มกี ารเจบ็ ครรภ์
3. เจ้าหน้าท่ปี ระจำ� รถ และเจ้าหน้าท่ยี กกระเป๋ า (contraction) หรอื นำ�้ คร่ำ� ไหล แตม่ กี ารเตรยี มเซต็ ทำ� คลอด
ของ SQ ลำ� เลียงสมั ภาระของผู้เข้าพักจัดเรียงไว้เป็นแถว เผ่อื กรณคี ลอดฉกุ เฉนิ และมกี ารซกั ซ้อมเผ่อื การปฏบิ ตั จิ รงิ
ด้านข้างรถ
4. หยิบสมั ภาระเข้าฟังบรรยายสรปุ กฎระเบยี บใน - การดูแลเคสตดิ สรุ า พิจารณาตามอาการโดยมี
การเข้าพักจากเจ้าหน้าท่โี รงแรม แพทย์ให้คำ� ปรึกษา โดยผู้ป่ วยมีความเช่ือม่นั
5. เจ้าหน้าท่วี ัดไข้
6.น�ำเอกสารแสดงตัววางคู่กับกุญแจห้ องพัก - การดแู ลผ้ปู ่ วยทางจติ การไมป่ ฏบิ ตั ติ ามคำ� สง่ั ของ
เพ่ือถ่ายรปู เป็นหลักฐาน ผู้ป่ วย มีปัญหาการตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ าร การจัดการ
7. ลงนามในเอกสารการเข้าพัก เม่อื ผู้ป่ วยอาละวาด ใช้งานเจ้าหน้าท่ตี ำ� รวจในการควบคุม
8. รับเอกสารแสดงตวั และกุญแจห้องพัก สถานการณ์ การล่าช้าของการประสานงานรับผู้ป่ วย
9. ผู้เข้าพักข้นึ ลิฟตท์ ลี ะคนเพ่ือเข้าห้องพัก
การดูแลเฉพาะในกลุ่มโรคประจำ� ตวั ให้ Nasal - การดูแลผู้ป่ วยโรคไต ระยะ 5 ประสานส่งตวั
swab test เพ่ือให้ทมี ท่เี ข้าไปดูแลมคี วามปลอดภยั ให้รับ ต่อ รพ.
โทรศัพทเ์ พ่ือสอบถามอาการประจำ� วันจากทมี แพทย์และ
พยาบาล 0800, 1200 และ 1700 หรือหากมอี าการเจบ็
ป่ วย สามารถตดิ ต่อทแี พทย์ท่เี บอร์ 218 ระหว่าง 0700-
1800 และกรณฉี ุกเฉิน 1800-0700 เบอร์ 3 หรือ 5
และยาประจำ� ตวั จัดส่งพร้อมม้อื อาหาร
ในการเข้าพักไม่ให้ผู้กกั กนั เปิ ดเคร่ืองปรับอากาศ
เพ่ือป้ องกนั การแพร่ระบาดของโรค และจัดให้มกี จิ กรรม
เล่นเกมสช์ ิงของรางวัล เพ่ือลดความเครียดของผู้กกั กนั

21

ข้นั ตอนการส่งกลับ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
1. รถโดยสารท่รี าชการจัดให้
2. รถรับจ้าง
3. รถส่วนบุคคล
โดยจดั ลำ� ดบั ควิ ในการกลบั เพ่อื การเว้นระยะห่างอยา่ ง
ต่อเน่ือง
ข้อพิจารณาและเสนอแนะเพ่ิมเตมิ
ปัญหาหลกั คอื การรบั ผ้ถู กู กกั กนั โดยไมม่ กี ารคดั กรอง
โรคประจำ� ตวั ก่อนเข้ามาถงึ โรงแรม State quarantine เม่อื
ทมี แพทยพ์ ิจารณาสง่ ตวั ผู้ป่ วย เกดิ ปัญหาในการหารพ.ท่รี ับ
ตวั ผ้ปู ่ วยโดยเฉพาะรพ.ในกรงุ เทพฯ แม้จะจดั ต้งั รพ.ค่ขู นาน
แล้ว ปัญหา เช่น เตยี งเตม็ ผู้รับปฏบิ ตั งิ านไม่ทราบเน่อื งจาก
เป็นนโยบายผ้บู งั คบั บญั ชา นโยบายของโรงพยาบาล criteria
ในการรับผู้ป่ วย เป็นต้น

22

23

Part 2

แถลงผลการสมั มนา

24

แถลงผลการสัมมนา

กรมแพทย์ทหารบก

พันเอก ทองแดง อาฒยะพนั ธ์ รองผู้อำ�นวยการ กองยทุ ธการและการข่าว กรมแพทยท์ หารบก

“แพทย์มกี ารเฝ้ าระวัง 24 ช่ัวโมง และสามารถทำ� งาน
ได้แบบ General Practitioner สามารถรับมอื กบั โรค

ท่หี ลากหลายได้ดกี ว่า”

การเตรียมความพร้อมของชุดรักษาพยาบาล มจี ัด ควรจัดท�ำคู่มือกลุ่มเส่ียงของผู้ป่ วย และให้ มี
แพทยเ์ ฝ้ าระวงั 24 ชม. และสามารถทำ� งานได้แบบ general สญั ลักษณท์ ่ชี ัดเจน เพ่ือติดตาม Monitor หรือให้มีคู่มือ
practitioner รับมือกบั โรคท่หี ลากหลายได้ดีกว่า ในส่วน Manual ในการปฏบิ ตั ติ วั ให้พยาบาล จนท.เพ่ือส่งต่อเวร
job description ท่ไี ม่ชัดเจนและถูกใช้ทำ� เกนิ หน้าท่รี ักษา
พยาบาล เช่น การรับของและตรวจของท่ญี าตินำ� มาฝาก สป.ส้ินเปลืองทางการแพทย์ และทางธุรการ
(ของผดิ กฎหมาย, ยารักษาโรคท่อี าจเป็นอนั ตราย) การ ปัจจุบันได้รับการสนับสนุนจากกรมควบคุมโรค ในส่วน
แฝงตวั เข้ากลุ่มไลน์ของผู้ถูกกกั ตวั เป็นต้น อกี ท้งั ช่วงเวลา ของ หมวก Mask เส้อื คลุมสเี ขียว แว่นตา face shield
ทำ� งานของชุดแพทย์ไม่สัมพันธ์กับเจ้าหน้าท่ีทางโรงแรม มใี ห้อย่างจำ� กดั ไม่มกี ารสนับสนุนอปุ กรณส์ ำ� นักงาน
และมีการเปล่ียนแปลงเวลาท่จี ะต้องปฏิบัติงานในแต่ละ
ผลัดไม่แน่นอน โดยท่ีแบบฟอร์มการรายงาน มีการ ยาและเวชภณั ฑ์ ซ่งึ ในปัจจุบนั ใช้รายการยาพ้ืนฐาน
เปล่ียนแปลงบ่อยคร้ัง แต่ละหน่วยต้องการข้อมูลท่ตี ่างกนั 40 รายการของ ทบ. หากมีความจำ� เป็นต้องใช้ยาท่นี อก
เพ่ิมภาระงานมากข้นึ เหนือจากรายการ จะดำ� เนินการโดย รพ.ต้นสงั กดั จัดหา
ญาตนิ ำ� มาให้ หรอื ให้ผ้ปู ่ วยซ้อื เอง อกี ท้งั มคี วามจำ� เป็นต้อง
ใช้ยากลุ่มจิตเวช หรือยาในกลุ่มอ่ืนๆ เน่ืองจากยาท่ีจัด
เตรียมให้ไม่พอ

25

ควรระบุและจัดหา เวชภัณฑ์พ้ืนฐาน ให้กับพ้ืนท่ี - เวชภณั ฑป์ ้ องกนั ตนเอง สามารถเบกิ คนื ได้ แต่มกั ได้
กกั กนั โรคทุกแห่งต้องมปี ระจำ� ได้แก่ Oxygen Sat Mobile รับน้อยกว่าปริมาณท่ใี ช้จริง เพราะชุดรักษาพยาบาลจะใช้เม่อื
Measure เคร่ืองวัด DTX Oxygen Tank Set พ่นยา และ พิจารณาว่ามคี วามเส่ยี ง แต่เจ้าหน้าท่กี รมควบคุมโรค มคี วาม
ยาขยายหลอดลม Oxygen Facemask with bag, Cannula เหน็ ไม่ตรงกนั
และ AmbuBag
- ปรอทวัดไข้ ท่เี สยี หายระหว่างการใช้งาน มีปัญหา
แนวทางปฏบิ ตั ดิ ้านการรักษา ในส่วนการตรวจสอบ เร่ืองการเบิกคืน เน่ืองจากหน่วยนับเป็นหลักหน่วย แต่กรม
อณุ หภมู ปิ ระจำ� วัน เทอร์โมมเิ ตอร์แบบปรอท แตกหักง่าย ควบคุมโรคจะสนับสนุนหลักร้อยข้นึ ไป
มาก (อาจมีการจัดหา ปรอท digital ) สำ� หรับการ Refer
การประสานรพ.ค่ขู นานในพ้นื ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบการสง่ ต่อผ้ปู ่ วย อ่นื ๆ
ควรมแี พทย์เฉพาะทางให้คำ� ปรึกษาตลอด 24 ชม. - การประสานการส่งตวั รักษาต่อ ในกรณพี ิเศษ เช่น ผู้
กกั ตวั 2 ทา่ นอยู่ด้วยกนั เป็น ยายกบั หลาน หากยายท่เี ป็น PUI
การส่งกำ� ลังบำ� รงุ ต้องย้ายไปท่ี รพ.คู่ขนาน จะดำ� เนนิ การอย่างไรกบั หลาน (อาจ
- ปัจจุบัน ไม่ได้รับการสนับสนุนยา และเวชภัณฑ์ จำ� เป็นต้องรับตวั หลานไปด้วย)
จาก กห. ควรกำ� หนดให้ รพ.ต้นสงั กดั ของชุดรักษาพยาบาล - ควรมที ่ปี รึกษาด้านการแพทย์ในทมี IC เพ่ือช่วยใน
หรือ รพ.คู่ขนาน เป็นหน่วยส่งกำ� ลัง ท้งั ยาและเวชภณั ฑส์ ้นิ การตกลงใจ
เปลอื ง ขอให้กรมควบคมุ โรค เป็นหน่วยสนบั สนุน เวชภณั ฑ์ - ยอดการใช้ห้องพักเฉล่ียอยู่ท่ี ร้อยละ 60 ถงึ 65
สำ� คญั

26

กรมแพทยท์ หารเรือ

นาวาเอก สเุ ชษฐ ตรรกธาดา ร.น. หวั หนา้ ฝ่ ายอ�ำนวยการ
กองบงั คบั การกรมแพทยท์ หารเรือ

“การท�ำงานของนกั ข่าวมีการรบกวนเจา้ หนา้ ที่
และอาจเกิดการแพร่เช้ ือ”

ต้งั แต่มกี ารเร่ิมการระบาดท่จี นี ทหารเรือเดมิ มกี าร
วางแผนใช้ รพ.สกี นั เป็น State quarantine และมเี คร่ือง
บินพิเศษไปรับคนไทยจากอู่ฮ่ัน รับคนไทยจากอู่ฮ่ันกลับ
ประเทศ โดยการเจรจาของกงสุลกาการ รมต.ว่าการ
กระทรวงต่างประเทศ เน่ืองจากจีนปิ ดประเทศ ใช้เคร่ือง
บิน thai air asia ลงท่ีสนามบินอู่ตะเภา กรมแพทย์
ทหารเรือ ได้เร่ิมการทำ� State quarantine

เรามีการจัดทีมสุขภาพจิตเพ่ือตรวจเย่ียมทุกวัน
ซักซ้อมเหตกุ ารณร์ ับผู้ป่ วยหนัก เช่น การใส่ทอ่ ช่วยหายใจ
การเอก็ ซเรย์ การป้ัมหัวใจ การจดั ทำ� ARI Clinic, negative
pressure ward, AIIR

การจัดต้ังรพ.สนามเป็ น Cohort ward 3 แห่ง
1. ค่ายพระมหาเจษฎาราชเจ้า อ.สัตหีบ 240 เตียง
2. สนามฝึก 16 บ.จันทเขลม จว.จันทบุรี 320 เตียง
3. ศฝ.สอ.รฝ. อ.สตั หีบ 480 เตยี ง

27

ปัญหาต่างๆ
- มปี ัญหาเร่ืองขยะตดิ เช้ือ เน่อื งจากในพ้ืนท่ไี ม่มที ่ี
กำ� จัดขยะ
- การทำ� งานของนักข่าวรบกวนเจ้าหน้าท่แี ละอาจ
เกดิ การแพร่เช้ือ
- ปัญหาการข้นึ ตรงบงั คับบญั ชา เช่น รพ.ข้นึ ตรง
ต่อเขตสขุ ภาพ ต่างจังหวัดหรือข้นึ ตรงต่อกทม. ทำ� ให้การ
ประสานงานมปี ัญหา
- Incident command ไม่ใช่แพทย์ เป็ นนัก
วิทยาศาสตร์ กรมวิทยาศาสตร์กลาโหม มีปัญหาด้านการ
เบกิ จ่าย และการประสานงาน
- ปัญหาการซ้อมใส่ชุด PPE ส้นิ เปลืองทรัพยากร
ค่อนข้างมาก

28

กรมแพทยท์ หารอากาศ

นาวาอากาศเอก กฤษฎา ศาสตรวาหา ร
องผูอ้ �ำนวยการศูนยป์ ฏิบตั ิการแพทยท์ หารอากาศ กรมแพทยท์ หารอากาศ

“ปัญหาความเครียดส่วนใหญ่ ไม่ข้ ึนกบั การถูกกกั กนั ตวั
แต่ข้ ึนกบั อาชีพ และงานในอนาคต”

StateQuarantineท่ีกรมแพทยท์ หารอากาศดำ� เนนิ การด�ำเนนิ งาน
การให้การสนับสนุน มดี งั น้ี จัดกำ� ลังเหล่าแพทย์ตามท่ี กห. กำ� หนด
- Cinnamon Resident และ Bazaar Hotel
1. อาคารรับรอง รร.การบิน อ.ก�ำแพงแสน จัดจาก ศปพ.พอ.
จ.นครปฐม จำ� นวน 36 ห้อง - Citrus Grade จัดจาก รพ.ทหารอากาศ
(สกี นั ) พอ.
2. รร.CinnamonResidentถ.วิภาวด-ี รังสติ กทม. - Divalux จัดจาก รพ.ภมู พิ ลอดุลยเดช พอ.
จำ� นวน 192 ห้อง ส่วนรักษาความปลอดภัย จัดสารวัตรทหาร
จากสำ� นักงานผู้บังคับการทหารอากาศ ดอนเมือง
3. รร. Bazaar ถ.รัชดาภเิ ษก กทม. จำ� นวน 470 มปี ัญหาเร่ืองกำ� ลังไม่เพียงพอ
ห้อง กรมกจิ การพลเรือนทหารอากาศเป็นผู้อำ� นวย
การรับผดิ ชอบ ช่วยสนับสนุนกำ� ลัง
4. รร. Divalux Resort จ.สมุทรปราการ จำ� นวน ศปก.ทอ. ควบคุมการปฏบิ ตั กิ ารท้งั หมด เป็น
242 ห้อง ส่วนหน่ึงของ key success factor

5. รร. Citrus Grande เมืองพัทยา จ.ชลบุรี จำ� นวน
440 ห้อง

ความเครียดของผู้เข้ากกั กนั ตวั ปัญหาความเครียด
ส่วนใหญ่ ไม่ข้นึ กบั การถูกกกั กนั ตวั แต่ข้นึ กบั อาชีพ และ
งานในอนาคต

29

ขอ้ ขดั ขอ้ งและขอ้ เสนอแนะ Key Success Factors
- สถานท่ปี ฏบิ ตั งิ าน อปุ กรณไ์ ม่ครบถ้วน - Leadership and Unity of Command โดย
- ปริมาณงาน จำ� นวนเจ้าหน้าท่เี ทา่ กนั แต่ผู้เข้าพักไม่ มีพล.อ.อ.สฤษด์ิพงษ์ วัฒนวรางกูร ฝ่ ายเสนาธกิ าร เป็น
เทา่ กนั incident command เป็นผู้ส่งั การเพียงคนเดยี ว
- การประสานงาน มปี ัญหาการสง่ ต่อผ้ปู ่ วยช่วงแรก ใช้ - Team working despite lack of experience ได้
เวลามากกว่า ๒ ช่ัวโมง รับการร่วมมือจากหลายหน่วยงานสาธารณสขุ เช่น นาย
- บรบิ ทของหน่วยแพทยเ์ หล่าทพั บคุ ลากรไม่เพยี งพอ แพทยส์ าธารณสขุ จงั หวดั เขตสขุ ภาพท่ี 5 จ.นครปฐม กรม
จำ� เป็นต้องใช้แพทย์ท่ีประจำ� รพ.ภูมิพล หรือรพ.สีกัน ซ่ึงมี สขุ ภาพจิต กรมอนามยั
ปัญหาการเดนิ ทางและตดิ หน้าท่ปี ระจำ� - Communication มกี ารช้แี จงให้ประชาชนในท้อง
ถ่ิน และผู้ท่ีเก่ียวข้องท้ังหมด เพ่ือให้เข้าใจในแนวทาง
เดยี วกนั จึงไม่มปี ฏกิ ริ ิยาต่อต้านของชุมชน
- Contingency Plan and practice มกี ารซักซ้อม
โดยการจำ� ลองเหตกุ ารณ์ เช่น ผู้ป่ วยล้มขาหัก พบปัญหา
เร่ืองความคบั แคบของลิฟต์

30

สรุปจ�ำนวนผูเ้ ขา้ พกั สะสม และอตั ราการใชห้ อ้ ง
อตั ราการใหบ้ ริการทางการแพทย์

31

โรงพยาบาลต�ำ รวจ

พลตำ�รวจตรี สามารถ ม่วงศิริ นายแพทย์ สบ 6 โรงพยาบาลตำ�รวจ

“ปญั หาสว่ นใหญ่ เกดิ ช่วงเวลากลางคนื อาจมาจากการ
คดั ผู้เข้าพกั ไม่เหมาะสม”

State Quarantine ท่ี โรงพยาบาลตำ� รวจ สำ� นกั งาน
ตำ� รวจแห่งชาติ ให้การสนับสนุน

1. The Palazzo and Hip Hotel เร่ิมปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
21 เม.ย. 2563

จำ� นวนผู้เข้าพักสะสมท้งั หมด 2926 คนพบผู้ตดิ
เช้ือโควิด-19 จำ� นวน 23 คน ปัจจุบนั เหลือ 168 คน

2. Bay Beach Resort Pattaya เร่ิมปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
11 พ.ค. 2563

จำ� นวนผู้เข้าพักท้งั หมด 2466 คน พบผู้ติดเช้ือ
โควิด-19 จำ� นวน 37 คน ปัจจุบนั เหลือ 254 คน

มีระบบการบรรยาย add line เพ่ือวัดอุณหภูมิ
ร่างกาย ก่อนรับตวั เข้า SQ

ปัญหาสว่ นใหญ่ เกดิ ช่วงเวลากลางคนื การคดั ผ้เู ข้า
พักไม่เหมาะสม เช่น ผู้เข้ากกั กนั ไม่สามารถช่วยเหลือตัว
เองได้ น่ังรถเขน็ ทารก เป็นต้น

ระบบสาธารณสุขในเขตกรุงเทพฯมีปัญหาใน
การประสานงานมากกว่าต่างจงั หวดั เม่อื มคี วามจำ� เป็นต้อง
ส่งตวั ผู้ป่ วย การดูแลผู้กกั กนั จะต้องลด contact time โดย
การใช้การส่อื สารทางสารสนเทศ Smartphone หลังเข้าพัก
แล้ว

การดูแลผู้กักกันโดยใช้ Telemedicine มีปัญหา
เร่ือง software และ maintenance มีระบบ CCTV ท้งั น้ี
รพ.ตำ� รวจกม็ กี ารใช้เสยี งตามสายทุกวัน 1400 น.

มาตรฐานการทำ� swab test ไม่เหมือนกนั ท้งั วิธี
และการแต่งอปุ การณป์ ้ องกนั ส่วนบุคคล

มีปัญหาผู้เข้ากกั กนั เช่น แท้ง และคลอดใน SQ
ปัญหาท่สี ำ� คัญ คอื Suicidal attempt: ผู้ป่ วยจิตเวชพบมี
ปัญหาด้านการประสานส่งตวั ผู้ป่ วย

และพบปัญหาญาตขิ องผู้ถูกกกั กนั เสยี ชีวิต

32

ส�ำนกั งานแพทยท์ หาร กองบญั ชาการกองทพั ไทย

นาวาอากาศเอกหญิง ลลิดา อิสีประดิฐ ร.น. ผอู้ �ำนวยการกองเวชกรรมป้ องกนั สำ� นกั งานแพทยท์ หาร
กองบญั ชาการกองทพั ไทย

“การส่งต่อ ขอใหศ้ ูนยร์ บั การส่งต่อฯรบั ทนั ที เพราะแพทย์
SQ ไดป้ ระเมินอาการแลว้ ควรปฏิบตั ิตาม Guideline”

หน่วยสายแพทย์ บก.ทท. ประกอบไปด้วย การส่งกำ� ลังบำ� รงุ
1. สนพ.ยบ.ทหาร - ยา และเวชภัณฑ์ ได้ รับการสนับสนุนจาก
2. กองแพทย์ สสน.นทพ. สนพ.ยบ.ทหาร
3. แผนกพยาบาล กอง 11 ศรภ. - อปุ กรณป์ ้ องกนั PPE, Mask, Alcohol gel, Face
4. กพบ.ผท.ทหาร Shield สนับสนุนจาก กรมควบคุมโรค กระทรวง
5. กพท.รร.ตท.สปท. สาธารณสขุ
6. กองแพทย์ รร.ชท.สปท. - ยาจิตเวช รับจากกรมสขุ ภาพจิต
7. แผนกการแพทย์ กบก.สส.ทหาร มกี ารทำ� แบบฟอร์ม เพ่ือรับส่งเวร เพ่ือใช้เป็นการ
ชุดปฐมพยาบาลสนับสนุน State Quarantine ณ ภายใน โดยกรมสุขภาพจิต จะเป็ นผู้รับผิดชอบในการ
รร.บางกอกพาเลส ประกอบด้วย แพทย์ 1 นาย พยาบาล 1 สอบถามผู้ท่มี แี นวโน้มมปี ัญหา และผู้ท่มี ปี ัญหาสขุ ภาพจติ
นาย เจ้าหน้าท่พี ยาบาล 3 นาย ปฏบิ ตั งิ านชุดละ 24 ช่ัวโมง การส่งต่อ โดยชุดแพทย์และกรมควบคุมโรค
(0800-0800 ของวันถดั ไป) เร่ิม 26 เม.ย.63 - ปัจจุบนั ประสานการส่งต่อไปยัง ศูนย์ราชวิถี ซ่ึงมีปัญหาในการ
ขณะน้ีมจี ำ� นวนผู้กกั ตวั ประมาณ 600 คน ปฏบิ ตั งิ านร่วมกนั สง่ ต่อค่อนข้างมากเพราะทางศนู ยร์ าชวถิ เี ข้าใจว่าชุดแพทย์
โดยอยู่ในห้องประชุมเดยี วกนั ทุกหน่วยงาน ประกอบด้วย น่าจะดูแลผู้กกั ตวั ได้เทา่ รพ.
1. IC พลอากาศตรี ภรู ิทตั จันทร์แก้ว : สนผ.กห.
2. ฝ่ ายอำ� นวยการ (ศปข.สนผ.กห.)
3. ชุดแพทย์ ประกอบไปด้วย 7 หน่วยสายแพทย์

บก.ทท.
4. กรมควบคุมโรค (สธ.)
5. กรมสขุ ภาพจิต (สธ.)
6. รปภ. จาก พัน.รวป.สน.บก.บก.ทท. :

พ.อ. ชยพณฐั วิริรัตน์ (กร.ทหาร)

33

Swab test ผู้รับใหม่ ดำ� เนินการโดย กรมควบคุม ค. ผู้ป่ วย Admit
โรค มลี ำ� ดบั ข้นั ตอนดงั น้ี ง. ผู้ตดิ เช้ือโควิด- 19 Admit
2. ควรมี SQ สำ� หรับผ้มู อี าการทางจติ เวชโดยเฉพาะ และ
1. แจ้งกำ� หนดการ เพ่ือลดการสมั ผสั ผู้ถูกกกั ตัว รับการส่งต่อทนั ที
ขณะลงมาจากห้อง 3. SQ ปัจจุบนั มหี ลากหลาย ควรจะมขี นาด 600 เตยี ง
เพ่ือคุ้มค่างบประมาณ
2. จัดลำ� ดบั ในการเชิญ ผู้ถูกกกั ตวั 4. การส่งต่อ ขอให้ศูนย์รับการส่งต่อ รับทนั ที เพราะ
3. แจ้งผลให้ทมี ทราบ แพทย์ SQ ได้ประเมินอาการแล้ว ควรปฏบิ ตั ติ าม Guideline
4. ดำ� เนนิ การประสานศนู ยร์ าชวถิ เี พ่ือสง่ ต่อ รพ.ท่ี 5. การส่งต่อผู้ป่ วย ต้องแจ้งชัดเจนว่า Refer หรือ
พร้อมรับ Consult เพ่ือตรวจเพ่ิม เกดิ ความสะดวกในการดูแล
ข้อเสนอแนะ 6. Case ต้องดูแลพิเศษ หรือมคี วามเส่ยี งควรพักห้องท่ี
1. การกักตัว ควรมีการแยกประเภทผู้ป่ วยท่ี ชุดแพทย์ สามารถเข้าถงึ ได้ง่าย
เหมาะสมเพ่อื การดแู ลทส่ี ะดวกรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ
ก. ปกติ SQ
ข.มีอาการเจ็บป่ วย ต้ องได้ รับการดูแลใน
โรงพยาบาล

34

ส�ำนกั งานแพทย์ ส�ำนกั งานสนบั สนุน
ส�ำนกั งานปลดั กระทรวงกลาโหม

พนั เอก สธุ ี อินทรชาติ สำ�นักงานแพทย์ สำ�นกั งานสนับสนุน สำ�นักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

“โรคหลากหลายเกนิ กว่าเวชภณั ฑท์ ่มี ี
ผู้ป่ วยไม่แจ้งโรคประจำ� ตวั ”

ภารกิจหลักรับผิดชอบดูแลสถานกักกันแห่งรัฐ
(Stat Quarantine) 2 แห่ง Bangkok Center Hotel
หัวลำ� โพงและ NY City Resort and Spa อำ� เภอบางเสาธง
จังหวัดสมุทรปราการ มีการแบ่งการความรับผดิ ชอบเป็น
หน้าท่ดี ้งต่อไปน้ี

1. ส่วนอำ� นวยการประสานงาน
2. ส่วนธุรการ
3. ส่วนการจัดการส่งิ แวดล้อม
4. ส่วนรักษาความปลอดภยั
5. ส่วนการควบคุมโรคและป้ องกนั โรค
6. ส่วนการปฐมพยาบาลและการส่งต่อ

35

ภาวะโรคประจ�ำตัวหรือปัญหาท่ีมีความ ส่วนการปฐมพยาบาลและการส่งกลับ เป็นภารกจิ ท่ดี ำ� เนิน
พิเศษ (Special Situations) การมายังต่อเน่ือง ต้งั แต่วันท่ี 4 เมษายน พ.ศ.2563

1. Death การจัดชุดปฏบิ ตั กิ าร ประกอบด้วย
2. Pregnancy (In labor or Abortion) หัวหน้าชุด 1 ราย (แพทย์) พยาบาล 1 ราย และเจ้าหน้าท่ี
3. Metal disorder (Stress) สนับสนุน 2 ราย
4. Cardiovascular disease (Arrhythmia ภารกจิ ท่ตี ้องปฏบิ ตั ิ มดี งั ต่อไปน้ี
or Myocardial infaction) 1. คดั กรองการตดิ เช้ือ COVID-19 ค้นหาโรคประจำ� ตวั
5. Drug withdrawal or intoxication และความเส่ยี งของผู้กกั กนั ท่เี ดินทางมาจากต่างประเทศ เม่ือเดิน
6. Newborn and child ทางมาถงึ ยังสถานกกั กนั แห่งรัฐ
2. ตดิ ตามอาการไข้ และอาการผดิ ปกตขิ องผู้กกั กนั ตลอด
ระยะเวลาการเข้าพัก การดำ� เนนิ การมกี ารเฝ้ าตดิ ตามอาการด้วยการ
พดู คยุ หรอื การแจ้งอาการป่ วยของผ้กู กั กนั มาในรปู แบบ online ผา่ น
ทางช่องทาง Line Application หรือ VDO call หรือระบบสายผ่าน
ทางการโทรศพั ท์ แต่เม่อื มอี าการป่ วยฉุกเฉินหรือไม่แน่ใจ ทางทมี
แพทย์จะดำ� เนินการสวมชุดป้ องก้นเตม็ รปู แบบ ไปตรวจรักษาและ
ประเมนิ การยังห้องพักผู้กกั กนั
3. ดำ� เนนิ การสง่ ต่อผ้กู กั กนั ทม่ี อี าการป่ วยและมคี วามจำ� เป็น
ต้องไปตรวจยังโรงพยาบาลท่มี ศี กั ยภาพเหมาะสมกบั อาการป่ วย
ปัญหาท่ีสังเกตตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงาน 6 เดือน
พบว่า ผู้ท่รี ับการกกั กนั ไม่แจ้งโรคประจำ� ตวั ก่อนการเดนิ ทาง เช่น
การต้งั ครรภ์ โรคหัวใจ เป็นต้น เม่อื มกี ารคดั กรองทส่ี ถานกกั กนั แห่ง
รฐั พบมโี รคทม่ี คี วามซบั ซ้อนหลากหลายเกนิ กว่าเวชภณั ฑท์ ม่ี อี ยู่และ
มจี ำ� นวนอย่างน้อย 6-10 % ของจำ� นวนผู้รับการกกั กนั
ภาวะหรืออาการท่พี บบ่อย (Common symptoms)
1. Fever
2. Headache
3. Abdominal pain (gastritis or appendicitis)
4. Diarrhea
5. Gout and muscle pain
6. Sleep disorder
7. HT and DM

36

37

Part3

การประชมุ แลกเปลีย่ นความคิดเห็น

38

การประชมุ แลกเปลีย่ นความคิดเห็น
กล่มุ ที่ 1

39

การประชมุ แลกเปลีย่ นความคิดเห็น
กล่มุ ที่ 2

40

Part4

การอภิปรายเป็ นคณะ (Panel Discussion)
นโยบาย แผน และการด�ำเนนิ งาน State Quarantine
วนั ที่ 9 ตุลาคม 2563

41

พลตรี เพชรรตั น์ ล้ ิมประเสริฐ

ผชู้ ว่ ยผอู้ �ำนวยการสำ� นกั นโยบายและแผนกลาโหม กระทรวงกลาโหม

“อยู่ห่างไว้ ใส่แมสกก์ นั หมนั่ ลา้ งมือ ถอื สะอาด ปราศจาก
แออดั เคร่งครดั ไทยชนะ”

หลังจากเกดิ การแพร่ระบาดของ COVID-19 มีคน และต้องมีผู้ติดตาม แต่ผู้บริหารเหล่าน้ีไม่ยอม
ไทยท่อี าศยั อยู่ท่เี มอื งอ่ฮู ่ัน 138 คน ต้องการกลับประเทศไทย ให้มผี ู้ตดิ ตาม ซ่ึงทำ� ให้เราไม่สามารถยอมรับได้เช่นกนั
ได้มกี ารประชุมเพ่อื เตรยี มการรบั กลบั โดยจำ� เป็นต้องหาสถาน
ท่รี องรับ โดยได้ท่อี าคารกจิ การสวัสดิการ ฐานทพั เรือสตั หีบ
เป็นจุดเร่ิมต้นคร้ังแรก เม่อื วนั ท่ี 4 กุมภาพันธ์ ซ่ึงเป็นคร้ังแรก
ท่มี ี State Quarantine

การจัดต้ังจุดคร้ังกรองคร้ังแรกเกิดข้ึนท่ีสนามบิน
สวุ รรณภมู ิ วนั ท่ี 7 มนี าคม 2563 ได้มกี ารคดั กรอง และกกั ตวั
ผู้ท่ีเดินทางมาจากประเทศเกาหลีใต้ เป็ นกลุ่มแรงงานผิด
กฎหมาย (ผีน้อย) และได้กักตัวท่ีสัตหีบเช่นกัน สุดท้ายมี
ปัญหาเน่ืองจากมีผู้ท่กี ลับมาเยอะมากข้ึน รัฐบาลประกาศปิ ด
น่านฟ้ า ฐานทพั เรือมพี ้ืนท่ไี ม่พอเพียงท่ใี ช้กกั กนั โรคต่อไปได้

26 มีนาคม 2563 มีการจัดต้ังศูนย์บริหารโควิด
เจตนารมณ์ของศูนย์บริหารโควิด (ศบค.) คือ ประชาชน
ปลอดภยั จากโรคโควดิ ซ่งึ ต้องคำ� นงึ ถงึ ด้านเศรษฐกจิ เน่อื งจาก
หากทำ� การปิ ดประเทศ ประชาชนปลอดภัย แต่เศรษฐกจิ ของ
ประเทศกแ็ ย่ไปด้วย มีการกำ� หนดมาตรการการป้ องกันการ
แพร่ระบาดภายในประเทศ คอื อยู่ห่างไว้ ใส่แมสกก์ นั หม่นั
ล้างมอื ถอื สะอาด ปราศจากแออดั เคร่งครัดไทยชนะ

การบริหารสถานการณ์วิกฤตในช่วงท่ีผ่านมา ได้
ประมาณการกบั สาธารณสขุ ปัจจุบนั อยู่ในช่วงท่ี 5 คาดการณ์
ว่าสถานการณ์จะค่ีคลายเม่ือมีวัคซีนป้ องกนั โรค และจะเข้าสู่
ช่วงท่ี 6

ปัจจุบนั รัฐบาลได้มกี ารผ่อนคลายให้เดนิ ทางเข้ามา
ในราชอาณาจักรไทยได้ มที ้งั หมด 11 กลุ่ม ซ่ึงมปี ัญหาอย่าง
หน่ึงคือ ทุกคนมองเหน็ ว่าเศรษฐกจิ ไม่ได้ ต้องการนำ� คณะผู้
บริหารเข้ามาโดยต้องมีการกกั กนั โรค

42

State Quarantine มหี ลายรปู แบบ เช่น Organization
Quarantine คอื การกกั กนั เป็นกลุ่มก้อน

ในช่วงแรกเรามี State Quarantine 2 แห่ง รับคน
ได้ประมาณ 400-500 คน แต่สดุ ท้ายไม่สามารถรับกกั กนั
ได้อย่างเพียงพอ ภายหลังจงึ ได้มกี ารกกั กนั ท่โี รงแรมเพ่ิมข้นึ
ในช่วงแรก นโยบายการกักกันโรคไม่มีความชัดเจน การ
บริหารจัดการไม่ชัดเจน ภายหลังปลัดกระทรวงกลาโหมจึง
ขอรับการสนับสนุน

สถานท่รี าชการท่ใี ช้ในการ State Quarantine คือ
อาคารกิจการสวัสดิการ ทร. สัตหีบ และ รร.การบิน
กำ� แพงแสน โดยเราจะใช้ State Quarantine ของสถานท่ี
ราชการก่อน หลังจากน้ันจึงค่อยเร่ิมใช้ State Quarantine
ของสถานท่เี อกชนอ่นื ๆ เช่น โรงแรม

43

เดมิ ท่เี รามี State Quarantine ของเอกชน 32 แห่ง ของ
รัฐ 2 แห่ง รวมแล้ว 34 แห่ง มหี ้องพักประมาณ 9,000 ห้อง
รองรับคนได้ประมาณ 6,000 คนต่อวัน ปัจจุบนั เรามี State
Quarantine ของเอกชน 27 แห่ง ของรัฐ 2 แห่ง รองรับคนได้
8,000 คน มปี ัญหาคอื ห้องท่ใี ช้กกั กนั โรคเหลือ เน่ืองจากผู้ท่ี
จะเดินมาเพ่ือกกั กนั โรค ยกเลิกการเดินทางทำ� ให้ปริมาณคน
เข้าห้องพักลดลง บางคร้ังคนท่จี ะมา State Quarantine กข็ อ
ยกเลิกเอง เน่ืองจาก State Quarantine ไม่ต้องเสยี ค่าใช้จ่าย
ส่วน Alternative State Quarantine ใช้รองรับชาวต่างชาติ
มี 84 แห่ง ปัจจุบนั ข้อมูล ณ วันท่ี 7 ต.ค. 63 มคี นเข้ารับการ
กกั ตวั สะสม 87,304 คน กลับบ้าน 77,139 คน ตรวจพบ
ผู้ป่ วย 470 คน

ปัญหาข้อขัดข้อง ควรมีมาตรการเชิงรุกมากข้ึน
เฝ้ าระวังการแพร่ระบาดจากประเทศข้างเคียง เม่ือยกเลิก
พรก. แล้วต้องมมี าตรการควบคุมโรคท่ดี ี งบประมาณท่ใี ช้ใน
การทำ� State Quarantine มจี ำ� กดั ควรมกี ารสนบั สนุนวจิ ยั และ
พัฒนาวัคซีน ถอดบทเรียนและร่วมกนั ทำ� เร่ืองจดหมายเหตุ

44

45

พลเรือโท วิชยั มนสั ศิริวิทยา

เจา้ กรมแพทยท์ หารเรือ

“ใชพ้ ้ นื ที่ รร.การบนิ เดิมเป็ นบา้ นพกั ทีใ่ ชพ้ กั ผ่อน ชาวบา้ น
มีความกลวั ว่าจะน�ำโรคมาแพร่ จึงตอ้ งอธิบายใหเ้ ขา้ ใจ”

ช่วงต้นเดือนกุมพาพันธ์ ได้รับการประสานจาก
อาจารยพ์ จน์ เอมพันธุ์ เพ่ือให้รับทราบว่ากรมแพทยท์ หารเรือ
เตรียมรับ State Quarantine และภายหลัง ผบ.ทร. ให้อำ� นาจ
ในการดูแลกบั เจ้ากรมแพทย์ทหารเรือได้อย่างเตม็ ท่ี และได้
เรือนรับรองเป็นสถานท่จี ัด State Quarantine มกี ารประสาน
งานจากหน่วยต่างๆ เช่น ยก.ทร. พร. พลาธิการ กรม
วิทยาศาสตร์ เพ่ือจัดต้งั พ้ืนท่ี State Quarantine โดยใช้ระบบ
ICS

การจัด State Quarantine กรมแพทย์ทหารเรือไม่
สามารถทำ� เองได้หน่วยเดียว จึงมีการประสานงานไปหน่วย
อ่นื ๆ เช่น กระทรวงสาธารณสขุ มปี ัญหาระหว่างการจดั State
Quarantine เช่น บุคลากรในโรงแรมมีไม่เพียงพอ ไม่มีคน
ต้อนรับ State Quarantine ท่โี รงแรม ไม่มคี นดูแลท่โี รงแรม
เน่อื งจากทุกคนกลัว ไม่อยากเข้าใกล้ผู้กกั ตวั ทำ� ให้เกดิ ปัญหา
ผู้เข้ารับการกกั ตวั ไม่พอใจ ผู้เข้ารับการกกั ตวั บางรายต้องการ
สูบบุหร่ี มีการหนีออกไปซ้ือบุหร่ี บางคร้ังผู้บริหารกไ็ ม่ให้
ความร่วมมือ เช่นไม่ยอมตรวจวัดอณุ หภมู ิ สดุ ท้ายจึงต้องมี
การผ่อนปรนให้สบู บุหร่ี ยอมให้ออกมานอกห้องเล่นกฬี า

ส่งิ ท่ตี ้องการได้จาก State Quarantine คือ ผู้ท่เี ข้ารับ
การกกั ตวั ปลอดภยั เจ้าหน้าท่ปี ลอดภัย ชุมชนปลอดภยั

สรุปภาพรวม เม่ือเกดิ ภัยพิบัติข้ึน มาตรการท่เี ขียน
อาจใช้จริงไม่ได้ ต้องมกี ารแก้ไขปัญหาหน้างาน

46

47

พลอากาศโท ธนวิตต สกลุ แสงประภา

เจา้ กรมแพทยท์ หารอากาศ

“ใชพ้ ้ นื ที่ รร.การบนิ เดิมเป็ นบา้ นพกั ทีใ่ ชพ้ กั ผ่อน
ชาวบา้ นมีความกลวั ว่าจะน�ำโรคมาแพร่
จึงตอ้ งอธิบายใหเ้ ขา้ ใจ”

ช่วงแรกหาพ้ืนท่ี State Quarantine และได้ใช้พ้ืนท่ี
รร.การบนิ เดมิ เป็นบ้านพักท่ใี ช้พักผ่อน ชาวบ้านมคี วามกลัว
ว่าจะนำ� โรคมาแพร่ จึงต้องอธบิ ายให้เข้าใจ

ส่วนใหญ่ได้ประสบการณ์มาจากกรมแพทย์ทหาร
เรือเน่ืองจากมีการจัดมาก่อน ทำ� ให้ได้ความรู้ท้ังเร่ืองการ
กกั กนั โรค และการรักษา ชุดแรกท่มี าคือ อนิ โดนิเซีย เร่ิมต้น
จัดห้องละ 3 เตยี ง

การจัดการมีความชัดเจนมากข้ึน เน่ืองจากมี
ประสบการณจ์ ากกรมแพทย์ทหารเรือแล้ว มีการจัดพ้ืนท่สี บู
บุหร่ี อำ� นวยความสะดวกต่างๆ เพ่ือลดความเครียดให้กบั ผู้ท่ี
เข้ารับการกกั กนั โรค

ภายหลังมีการถ่ายถอดความรู้ให้หน่วยงานต่างๆ
เช่นราชบุรี แต่ล้มเลิกไป เพราะว่ารัฐบาลเปล่ียนนโยบายใช้
Alternative State Quarantine

48

พลโท ชาญชัย ตกิ ขะปัญโญ

เจา้ กรมแพทยท์ หารบก

“การบริหารการจดั การควรเป็ น Single command ระบบ
การส่งต่อทีร่ าบรืน่ ใหก้ ระทรวงสาธารณสุข และ รพ.

มหาวิทยาลยั มีส่วนร่วมจดั การ
State Quarantine มากข้ ึน”

กรมแพทย์ทหารบกได้รับมอบหมายช่วง มีนาคม สภาพการจดั สถานท่ี ปัจจุบนั กองทพั บก ได้ดูแล
โดยช่วงแรกผู้ป่ วยท่ีโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้ายังมี ผู้กกั ตวั ประมาณ 20,773 ราย กลับแล้ว 19,380 ราย ยัง
ปริมาณมากอยู่ จึงได้ใช้กำ� ลังพลจาก พัน.สร. ในการทำ� มผี ู้กกั ตวั อยู่ 1,393 ราย มตี รวจพบ COVID-19 จำ� นวน
State Quarantine และภายหลังจึงใช้กำ� ลังพลจากโรง ท้งั ส้นิ 191 คน ผู้กกั ตวั เข้ามาใช้บริการมากสดุ ช่วง กรกฏ
พยาบาลพระมงกุฎเกล้า าคม ถงึ สงิ หาคม

กรมแพทย์ทหารบกดูแล State Quarantine ท้งั ประสบการณ์ State Quarantine มคี นหลายจำ� พวก
ส้นิ 8 โรงแรม โดยมี 2 โรงแรมอยู่ใน กทม. คือ โรงแรม ท่กี ลับมา เช่น มีต้ังแต่เดก็ ทารกจนถงึ คนชรา เดินเองได้
ภทั รา และแอมบาสซาเดอร์ สขุ มุ วิท 11 โดยภายหลังได้ เดนิ เพ่นพ่าน คนไทยทพ่ี ดู ไทยไม่ได้ มโี รคต่างๆเช่น มะเรง็
ปรับแยกออกเป็น Alternative State Quarantine และมโี รง โรคจติ โรคหัวใจ เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู ลมชัก สมอง
แรมอ่นื ๆ ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดชลบุรี เส่อื ม โดยสว่ นใหญ่สง่ ต่อโรงพยาบาลพระมงกฎุ เกล้าผ้ปู ่ วย
มะเรง็ กส็ ่งไปสถาบนั มะเรง็ มมี าจากหลายพ้ืนเพ เช่น คน
งาน คนท้อง แม่ลกู อ่อน เดก็ อ่อน เดก็ ซน คนเมา ตดิ เหล้า
ตดิ บุหร่ี มหี ลายรปู แบ

49

การบริหารจัดการโรคประจำ� ตวั -กระบวนการจัดการกบั ผู้ฝ่ าฝืนกฎต่างๆ ท้งั การ
- ท่ี SQ พบผู้ป่ วยโรคประจำ� ตวั จำ� นวนมาก ท้งั ใน ออกมานอกห้อง, การม่ัวส่มุ , การออกมาทะเลาะกนั เอง
คนสงู อายุ คนวยั หนุ่มสาว คนต้งั ครรภ์ เดก็ จงึ ต้องวางแผน การรวมกลุ่มเพ่ือต่อรองการผ่อนคลายระเบยี บ
การดแู ลผ้ปู ่ วยแบบท่ไี ม่สามารถมองเหน็ ตวั ให้อย่างเหมาะ
สม ได้แก่ -กระบวนการดูแลคนไข้คดี, คนไข้ส่ือสารไม่ได้
- การเสนอให้มี รพ.คู่ กบั รร.ท่กี กั ตวั เพ่ือ ท้งั กลุ่มใช้ไลน์ไม่เป็น, พูดไทยไม่ได้ เป็นต้น
ความสะดวกในการปรึกษาและส่งต่อ
- การสร้างระบบ แจ้งโรคประจำ� ตวั ก่อนเดนิ การดูแลภาวะจิตใจแบบองค์รวม เช่น มีคุณยาย
ทาง ให้มกี ารคัดกรองต้งั แต่ลงเคร่ือง และคัดกรองเม่อื ถงึ อายุ 70 ปี ต้องการเย่ียมสามีท่ปี ่ วยระยะสดุ ท้ายใกล้เสยี
โรงแรม ระบบรายงาน ตดิ ตามอาการทางโทรศพั ท์ ชีวิต แต่กลับไปไม่ได้เน่ืองจากต้องกักตัว ให้เจ้าหน้าท่ี
VDO call ไป ทำ� ให้ได้มโี อกาสอโหสกิ รรม ได้ร่ำ� ลากนั ใน
- พบผู้ป่ วยทางจิตเวชจำ� นวนมาก ท้งั ท่ปี ่ วยมา วาระสดุ ท้าย หลักจากน้ันสามกี เ็ สยี ชีวิต
ก่อนด้วยโรคจิต และโรคซ้ึมเศร้า ตลอดจดผู้ป่ วยท่เี ครียด
ภายหลัง ทำ� ใหเกดิ ระบบคดั กรองจิตเวช โดยกรมสขุ ภาพ ดูแลให้คำ� แนะนำ� ทางโทรศพั ท์ ดูแลแม่และเดก็ ซ้อื
จิต ส่งให้ชุ่ด MCATT มาช่วยประเมนิ และตดิ ตามพูดคุย ของเล่นให้เดก็ ร่วมกบั ทมี งานจิตเวชเดก็
เม่อื พบความเครียด
กระบวนการดแู ลผ้ปู ่ วยเร้ือรัง ท่จี ำ� เป็นต้องดแู ลต่อ
การดแู ลรักษาพยาบาล โดยใช้ระบบ Telemedicine เน่อื ง การได้จดั ให้มกี ารประสานการดแู ล ต่อเน่อื งเม่อื ต้อง
ใช้โทรศพั ท์ VDO call ให้ยารปู แบบ Telepharmacy โทร กลับไปอยู่บ้านในรปู แบบ Discharge plan
หาร้านขายยาเพ่ือให้ได้ยาท่ผี ้เู ข้ารับการกกั กนั ต้องการ เช่น
ยา Original made มากข้นึ เน่อื งจากตดิ ต่อขอสง่ ต่อผ้ปู ่ วยค่อนข้างยาก
เพ่ือให้เกดิ ความเข้าใจในการดแู ลคนไข้ในโรงแรมลกั ษณะ
มีการพัฒนากระบบการจัดการผู้ป่ วยเป็ นการ น้ี
เฉพาะอกี หลายรปู แบบ เช่น

-กระบวนการคัดกรอง และดูแลผู้ป่ วยติดยา
เสพติด ผู้ป่ วยอยากสรุ า บุหร่ี รวมท้งั ต้องประสานความ
ร่วมมอื อยา่งใกล้ชิดกบั กรมสขุ ภาพจิต

50


Click to View FlipBook Version