The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ดอนด่านใน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wijan sirigate, 2021-04-16 00:56:17

SAR 63

ดอนด่านใน

รายงานประจาปีของสถานศึกษา
(Self Assessment Report : SAR)

ปกี ารศึกษา 2563

โรงเรยี น บ้านดอนดา่ นใน
อาเภอดา่ นขุนทด จงั หวัดนครราชสมี า

สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานกระทรวงศกึ ษาธิการ



คานา

การประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษามีความสาคัญเป็นอย่างยง่ิ ของสถานศึกษา
ซ่งึ สถานศึกษาควรต้องปฏบิ ัติใหเ้ ป็นงานปกติ เปน็ การสร้างความม่นั ใจให้แกผ่ ้ปู กครองในการส่งบตุ รหลานมา
เรยี นที่สถานศึกษา เปน็ การสร้างความม่ันใจให้แกช่ มุ ชน และสังคมว่าจะได้เยาวชนที่เปน็ คนท่มี ีคณุ ภาพตาม
นโยบายของรฐั บาล

กฎกระทรวงว่าดว้ ยการประกันคณุ ภาพการศึกษา 2561 ระบุว่า ขอ้ 3 ใหส้ ถานศึกษาแต่ละแหง่ จดั ให้
มรี ะบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษาโดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้
เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศกึ ษาที่รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ
ประกาศกาหนด พรอ้ มทงั้ จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาและดาเนนิ การตามแผนท่ีกาหนดไวจ้ ัดให้มีการประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน
สถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินการเพื่อพฒั นาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และจัดสง่
รายงานผลการประเมินตนเองให้แกห่ น่วยงานตน้ สังกัดหรอื หนว่ ยงานท่ีกากบั ดูแลสถานศึกษาเปน็ ประจาทุกปี
และใหห้ น่วยงานตน้ สังกัดหรือหน่วยงานท่กี ากับดแู ลสถานศกึ ษามหี นา้ ที่ในการให้คาปรึกษา ชว่ ยเหลอื และ
แนะนาสถานศึกษา เพื่อให้การประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพฒั นาอยา่ งต่อเนอื่ ง

รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) รายโรงเรียน เป็นการประเมนิ การปฏบิ ัติ
หน้าที่ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2545 รวมทัง้
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ขา้ พเจา้ ได้จัดทาข้ึนเพ่ือรายงานผลการจัดการเรียน การสอนและการปฏบิ ัติ
หนา้ ท่ีของขา้ พเจา้ ตามฝา่ ย/กลุ่มงาน ตลอดจนกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีได้สง่ เสริมให้นักเรยี นมีคณุ ลักษณะและคุณภาพ
ตามระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษา โรงเรียนบ้านดอนด่านใน สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา
นครราชสมี า เขต 5 สานักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ประจาปกี ารศึกษา
2563

รายงานนี้ โรงเรียนสามารถนาผลการดาเนินงานไปจัดทาการประเมินคุณภาพภายในและสรุป
รายงานให้ผู้บังคับบัญชาตามลาดับสายงาน ตลอดจนเผยแพร่ให้กับผู้ปกครอง นักเรียน ชุมชนในสังคมได้
ทราบผลการปฏิบัติงานของบุคลากร โรงเรียนบ้านดอนด่านใน สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
นครราชสมี า เขต 5 สานกั งานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ข้อมูลท่ีได้จากการประเมินในการประเมินตนเอง (SAR) รายโรงเรียน ในคร้ังน้ี ข้าพเจ้าจะได้นาไปใช้
เป็นแนวทางในการปรับปรุงเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของ
ผู้เรยี นใหส้ ูงข้นึ ในทกุ ๆ ด้านต่อไป

ลงชอื่ …………..………………………………………..
( นายวุฒิพงษ์ พงษ์ประดิษฐ์ )

ตาแหน่งผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านดอนดา่ นใน

สารบญั ข

คานา ……………………………………………………………………………………………………………………………….... ก
สารบญั ……………………………………………………………………………………………………………………………...... ข
กระบวนการสร้างความเข้มแขง็ ระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา........................................... 1
บทสรุปคุณภาพสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวยั ปี 2563……………………………………................... 2
บทสรปุ สาหรับผบู้ รหิ าร ระดบั การศึกษาปฐมวัย ปี 2563................................................................... 3
บทสรุปคุณภาพสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ปี 2563……………………………...................... 8
บทสรุปสาหรับผู้บรหิ าร ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ปี 2563…………………………………....................... 9
ผลการสังเคราะหร์ ายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ……………….... 16
16
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พ้ืนฐาน ระดบั การศึกษาปฐมวยั ……………………………………………………………….. 16
1.1 ข้อมูลท่ัวไป…………………………………………………………………………………………….... 16
1.2 ข้อมลู บุคลากร …………..…………………………………………………………………………..... 16
16
สว่ นที่ 2 คุณภาพการจัดการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย…………………………………………………………….. 21
2.1 ข้อมูลการปฏบิ ตั หิ นา้ ที.่ ......................................................................................... 21
2.2 ดา้ นการปฏบิ ตั ิหน้าที่อ่ืน ...................................................................................... 21
2.3 ขอ้ มูลการพัฒนาตนเอง......................................................................................... 22
2.4 ผลงานดีเด่น.......................................................................................................... 22
2.5 ข้อมูลอน่ื ๆ ............................................................................................................ 22
2.6 สรปุ ผลความพึงพอใจของผู้เกยี่ วข้องต่อการจัดการศึกษาระดบั ปฐมวัย................ 22
2.7 งบประมาณการจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ......................................................... 22
2.8 ข้อเสนอเพือ่ การพัฒนาปีการศกึ ษาตอ่ ไป............................................................. 23
2.8.1 จุดเดน่ .................................................................................................... ... 24
2.8.2 จุดเด่น.................................................................................................... ... 24
24
ส่วนที่ 3 ข้อมลู พนื้ ฐาน ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน…………………………………………………………... 25
3.1 ขอ้ มลู ท่วั ไป…………………………………………………………………………………………….... 25
3.2 ข้อมลู บคุ ลากร …………..…………………………………………………………………………..... 29
29
สว่ นท่ี 4 คณุ ภาพการจัดการศึกษา ระดบั ขั้นพนื้ ฐาน………………………………………………………... 30
4.1 ขอ้ มูลการปฏิบัติหน้าท่ี ........................................................................................ 30
4.2 ด้านการปฏบิ ตั ิหน้าที่อ่ืน ...................................................................................... 30
4.3 ข้อมลู การพฒั นาตนเอง......................................................................................... 31
4.4 ผลงานดีเดน่ ..........................................................................................................
4.5 ข้อมูลอืน่ ๆ.............................................................................................................
4.6 สรุปผลความพึงพอใจของผู้เกีย่ วข้องตอ่ การจัดการศึกษาระดบั ข้ันพ้นื ฐาน...........
4.7 งบประมาณการจดั การศกึ ษาระดบั ขั้นพนื้ ฐาน......................................................

4.8 ขอ้ เสนอเพือ่ การพัฒนาปกี ารศึกษาต่อไป.............................................................. 31
4.8.1 จดุ เด่น........................................................................................................ 31
4.8.2 จดุ ควรพัฒนา............................................................................................. 32
33
ภาคผนวก 34
ภาคผนวก 1 การเปรยี บเทียบผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศกึ ษาของ………....
สถานศึกษากบั คา่ เป้าหมาย 34
ระดับการศกึ ษาปฐมวยั …………………………………………………………………………………... 35
ระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน……………………………………………………………………………....
ภาคผนวก 2 คาสั่งแตง่ ตง้ั คณะกรรมการนิเทศภายใน/ประเมนิ คุณภาพภายใน 37
ของโรงเรยี น……………………………………………………………………………………………...

ภาคผนวก 3 รางวัล โลเ่ กียรติยศ ประกาศเกียรตคิ ุณ……………………………………………………... 40
ภาคผนวก 4 ภาคผนวก คณุ ภาพสถานศึกษาเชงิ ประจกั ษ์อนื่ ๆ……………………………………..... 47

1. แบประเมนิ การสอน ตัวอยา่ งแผนการจัดการเรียนร้/ู หน่วย 48
แบบการนเิ ทศ และแบบการเยี่ยมช้นั เรียน………………………………………….... 54

2. หลักฐาน เอกสาร ภาพถ่าย ………………………………………….............................

ภาคผนวก 5 การประเมนิ ภายในสถานศึกษา ประจาปีการศกึ ษา……………………………………... 62
1. หนังสอื เชญิ ผ้ทู รงคุณวุฒปิ ระเมนิ ภานในสถานศึกษา………………………………... 63
2. รับรอง............................................................................................................. 64

1

กระบวนการสร้างความเข้มแขง็ ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา
โรงเรียนในสังกดั สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 5

กระบวนการที่ 6 ตรวจสอบได้ เปรยี บเทยี บพฒั นาการยงั่ ยนื
กระบวนการที่ 5
กระบวนการท่ี 4 ตรงึ อยู่ ประสานองคก์ รประเมนิ งาน
ตระหนักรู้ ยึดถือเกณฑ์พิจารณามาตรฐาน

กระบวนการท่ี 3 กา้ วไกลนิเทศให้ความรว่ มมอื

กระบวนการที่ 2 ขนั้ ตอนกาหนดเปา้ หมายใหม่

กระบวนการที่ 1 สะทอ้ นผลดาเนนิ การคร้งั กอ่ น

6 กระบวนการพัฒนาและนเิ ทศ กา้ วสเู่ ขตพนื้ ที่คณุ ภาพการศึกษาแบบย่ังยนื

ที่มา : คู่มือแนวทางการสรา้ งความเขม้ แขง็ ระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษา
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 5 : 2561 มกี ระบวนการ ดังนี้

กระบวนการที่ 1 สะท้อนผลดาเนินการคร้ังก่อน ตรวจสอบผลการดาเนินการงานคร้ังท่ีผ่านมา ค้นพบจุดเด่น
จุดพฒั นา ของสถานศกึ ษาเป็นรายมาตรฐาน
กระบวนการท่ี 2 ข้ันตอนกาหนดเป้าหมายใหม่ นาคุณภาพผลงานคร้ังที่ผ่านมา มากาหนดมาตรฐาน
สถานศึกษา และกาหนดค่าเป้าหมายใหม่ และจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี นามากล่าวอ้างเป็นหลักการ
เหตผุ ลที่มาของโครงการ/กจิ กรรมพฒั นางานใหบ้ รรลเุ ป้าหมายต่อเนื่องทุกปีการศึกษา
กระบวนการท่ี 3 ก้าวไกลนิเทศให้ความร่วมมือ กาหนดรูปแบบ หรอื กระบวนการ หรือโมเดลขับเคลื่อนบริหาร
คุณภาพการศึกษา ประสานการดาเนินการให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม และนิเทศให้มีการขับเคลื่อนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยมีค่าเปา้ หมายเป็นฐานการพัฒนา (ตระหนกั ร)ู้
กระบวนการท่ี 4 ยดึ ถือเกณฑ์พจิ ารณามาตรฐาน เป็นหลักชยั สรา้ งความสาเร็จ 3 มาตรฐาน ตามเกณฑป์ ระกัน
คุณภาพแนวใหม่ (ตรึงอย)ู่
กระบวนการท่ี 5 ประสานองค์กรประเมินงาน เขตพื้นท่ีกาหนดการประเมิน 2 ระดับ (ระดับห้องเรียน จัดทา
SAR ช้ันเรียน โดยครูประจาช้ัน ระดับสถานศึกษา โดยให้โรงเรียนกาหนดผู้ทรงคุณวุฒิประเมินปีการศึกษา
(ตรวจสอบได)้
กระบวนการที่ 6 เปรียบเทียบพัฒนาการย่ังยืน กาหนดหลกั เกณฑ์ใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นาตนเอง ภายหลังสรปุ
รายงานการประเมนิ ตนเอง พจิ ารณาเชิดชูเกยี รติ ประกาศเกียรตคิ ุณสถานศึกษา ระดับเกรด A,B,C,D และ E
และเสนอแนะประเด็นจุดเด่น จุดควรพฒั นา

2

บทสรุปคณุ ภาพสถานศึกษา
ปกี ารศกึ ษา 2563
ระดับการศกึ ษาปฐมวัย

โรงเรียน บ้านดอนด่านใน

เกรดคุณภาพ ใชเ้ กณฑ์พฒั นาตนเอง อยู่ในระดับดเี ย่ียมทุกประเด็นพิจารณาแตล่ ะมาตรฐาน
A หมายถึง มีผลพัฒนา มาตรฐานที่ 1 (4 ประเดน็ พิจารณา),มาตรฐานที่ 2

(6 ประเด็นพจิ ารณา) และมาตรฐานท่ี 3 (4 ประเด็นพจิ ารณา)
B หมายถึง มีผลพฒั นา มาตรฐานท่ี 1 (3 ประเดน็ พิจารณา),มาตรฐานที่ 2

(4-5 ประเดน็ พิจารณา) และมาตรฐานท่ี 3 (3 ประเดน็ พิจารณา)
C หมายถงึ มผี ลพัฒนา มาตรฐานที่ 1 (2 ประเด็นพิจารณา),มาตรฐานที่ 2

(3 ประเดน็ พจิ ารณา) และมาตรฐานที่ 3 (2 ประเด็นพจิ ารณา)
D หมายถงึ มผี ลพฒั นา มาตรฐานที่ 1 (1 ประเด็นพจิ ารณา),มาตรฐานท่ี 2

(2 ประเด็นพจิ ารณา) และมาตรฐานท่ี 3 (1 ประเด็นพจิ ารณา)
E หมายถึง มผี ลพฒั นา มาตรฐานที่ 1 (1 ประเด็นพิจารณา),มาตรฐานท่ี 2

(1 ประเด็นพจิ ารณา) และมาตรฐานที่ 3 (1 ประเดน็ พจิ ารณา)

3

บทสรปุ สาหรับผู้บริหาร
สรุปผลการสงั เคราะห์รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
(Self Assessment Report : SAR) ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ปกี ารศกึ ษา 2563

…………………………………………………..
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 กาหนดให้
การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา เพ่ือให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเช่ือม่ันให้แก่ผู้มีส่วน
เกีย่ วขอ้ งและสาธารณชนว่าสถานศึกษาน้ันสามารถจัดการศึกษาไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา และ
บรรลุเปา้ ประสงค์ของหนว่ ยงานต้นสงั กดั หรือหน่วยงานทีก่ ากับดแู ล จากการเปลีย่ นแปลงข้อกาหนด กระทรวง
ได้ประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในสถานศึกษา สถานศึกษา มี
หนา้ ท่ีบริหารจดั การการศกึ ษา ใหม้ คี ุณภาพและไดม้ าตรฐาน
สถานศึกษา ได้ดาเนินการส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอย่าง
ต่อเนื่อง โดยดาเนินการ 1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา/กาหนดค่าเป้าหมาย 2) จัดทา
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยมี
แผนปฏิบตั กิ ารประจาปใี นการรองรับ 3 ) ดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
4) ประเมินผลและตรวจสอบ 5) ติดตามผลการดาเนินการเพ่ือพัฒนาการศึกษา ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษา 6) จัดทารายงานการประเมินตนเองท่ีเป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษา และจดั ส่งรายงานให้หนว่ ยงานตน้ สงั กัดและหนว่ ยงานท่กี ากับดูแลทุกปกี ารศึกษา
สรุปผลการสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment Report:SAR)
ปกี ารศกึ ษา 2563 สถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั ดงั นี้

ขอ้ มลู พืน้ ฐาน
โรงเรยี น บ้านดอนด่านใน ต้ังอยหู่ มทู่ ี่ 5 ตาบลดา่ นใน อาเภอด่านขนุ ทด จงั หวดั นครราชสีมา สานกั งาน

เขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 5 เปิดสอนต้ังแต่ชน้ั อนุบาล 2 ถึงชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 3
มบี คุ ลากรสายบรหิ าร จานวน 1 คน และมบี ุคลากรครู ครูอตั ราจ้าง และครูพ่ีเล้ยี ง จานวน 18 คน
บคุ ลากรระดับปฐมวัย มจี านวน 2 คน

ผลการสงั เคราะหร์ ายงานประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา 2563 จากการพฒั นาคณุ ภาพ
การศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศกึ ษาปฐมวยั จานวน 3 มาตรฐาน และระดบั
การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน จานวน 3 มาตรฐาน ของโรงเรียนบ้านดอนดา่ นใน ในสังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่
การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 สรุปไดด้ งั นี้

4

การสงั เคราะห์รายงานประจาปขี องสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาปฐมวัย (ระดับคณุ ภาพ ดีเยยี่ ม)
มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพเดก็ มาตรฐานที่ 1 ผลการประเมนิ โดยรวมอยใู่ นระดับคณุ ภาพ ดเี ยย่ี ม
1.1 เด็กมีพัฒนาการด้านรา่ งกาย โดยจดั ให้เดก็ ไดร้ ับการพฒั นาจากโครงการส่งเสริมสุขภาพ

เดก็ ปฐมวัย
พบว่า เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของ

ตนเองได้ ซึ่งประกอบด้วย เด็กมีน้าหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานเด็กมีทักษะการเคล่ือนไหวตามวัย
เดก็ มสี ขุ นิสยั ในการดูแลสขุ ภาพของตนและเดก็ หลีกเล่ยี งสภาวะที่เสย่ี งตอ่ โรคอุบัติเหตุ อุบัติภัย เช่น กจิ กรรม 7
ข้ันตอนการล้างมือให้สะอาดปราศจากเชื้อโรค,การนานักเรียนเข้าตรวจสุขภาพตามโครงการของโรงพยาบาล
ส่งเสริมสขุ ภาพตาบล

ผลการประเมนิ โดยภาพรวม ( x = 4.65) คุณภาพอยู่ในระดับ ดเี ยยี่ ม
1.2 เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณ์จิตใจโดยจัดใหเ้ ด็กได้รับการพฒั นาจากโครงการศึกษาแหล่ง
เรียนรู้นอกสถานที่

พบว่า เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ซ่ึง
ประกอบด้วยเด็กมีความร่าเริงแจ่มใสเด็กมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง เด็กมีความมั่นใจและกล้าแสดงออก เด็ก
สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย เด็กมีความช่ืนชมในศิลปะดนตรี มีการเคล่ือนไหว และรักใน
ธรรมชาติ เช่น เดก็ ไดแ้ สดงออกในกจิ กรรมวันเดก็ แหง่ ชาติ และวนั สาคญั

ผลการประเมินโดยภาพรวม ( x = 4.70) คุณภาพอยู่ในระดบั ดเี ยย่ี ม
1.3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม โดยจัดให้เด็กได้รับการพัฒนาจากโครงการพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรมและวนั สาคญั

พบว่า เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ซึ่ง
ประกอบด้วยเด็กมีวินัย รับผิดชอบ เช่ือฟังคาสั่งสอนของพอ่ แม่ ครูบาอาจารย์ มีความซือ่ สัตย์ สุจริต ช่วยเหลือ
แบ่งปัน เล่นและทางานร่วมกับผู้อื่นได้ และประพฤติตนตามวฒั นธรรมไทยและศาสนาท่ีตนนับถือ เชน่ การนา
เด็กเข้าร่วมกิจกรรมวันเข้าพรรษามีการทอดถวายเทียนพรรษาที่วัดในเขตชุมชน,นาเด็กเข้าร่วมกิจกรรมวันแม่
แห่งชาตเิ ป็นการทากจิ กรรมร่วมกันระหว่างแมล่ ูก เปน็ ต้น

ผลการประเมินโดยภาพรวม ( x = 4.60) คุณภาพอยู่ในระดับ ดีเยย่ี ม
1.4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาโดยจัดให้เด็กได้รับการพัฒนาจากโครงการพัฒนา
กระบวนการเรียนการสอนระดบั ปฐมวัย

พบวา่ เดก็ มีพฒั นาการดา้ นสติปัญญา ซ่งึ ประกอบดว้ ย เด็กสนใจเรยี นรู้ส่ิงรอบตวั
ซักถามอย่างต้งั ใจและรกั การเรียนรู้ เด็กมคี วามคดิ รวบยอดเก่ียวกับสง่ิ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ จากประสบการณ์การเรียนรู้
เดก็ มที ักษะทางภาษาทเี่ หมาะสมกับวยั มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และมจี นิ ตนาการ
และความคดิ สร้างสรรค์ เช่น กจิ กรรมป้นั ดินน้ามนั และกจิ กรรมการสร้างภาพดว้ ยการ ฉีก ตัด ปะ

ผลการประเมินโดยภาพรวม ( x = 4.60) คณุ ภาพอยูใ่ นระดับ ดเี ยยี่ ม

5

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ผลการประเมินโดยรวมอยู่ในระดับคุณภาพ
ดีเยยี่ ม

2.1 สถานศึกษามีหลักสูตรท่ี ครอบคลุมพัฒนาการท้ัง 4 ด้านสอดคล้องกับบริบทของ
ท้องถิ่น โดยโรงเรียนบ้านดอนด่านใน จัดให้มีหลักสูตรปฐมวัยที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา
เป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเตรียมความพร้อม เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือ
ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง สอดคล้องกบั วิถีชีวติ ของครอบครัว ชุมชน และทอ้ งถ่ิน ได้มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทศั น์
และพันธกิจของสถานศึกษาไวอ้ ยา่ งชัดเจน

ผลการประเมนิ โดยภาพรวม ( x = 4.30) คุณภาพอยใู่ นระดบั ดเี ยี่ยม
2.2 สถานศึกษามีครูที่เพียงพอกับช้ันเรียน โดยโรงเรียนบ้านดอนด่านในมีการดูแลด้าน
อัตรากาลังครู ใหม้ ีสัดส่วนที่เหมาะสมกับผู้เรียน มีคุณสมบตั ิเหมาะสม และ ความรู้ความสามารถท่ีเหมาะสม กับ
ภาระงานท่รี ับผิดชอบ โดย กาหนดภาระงานครอู ย่างชดั เจน

ผลการประเมนิ โดยภาพรวม ( x = 4.50) คุณภาพอยู่ในระดับดเี ยี่ยม
2.3 สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ โดยโรงเรียนมี
กิจกรรมส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรมพัฒนาตนเองเพื่อให้ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
พบว่าครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าทอ่ี ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธิผล ซ่ึงประกอบดว้ ย ครูมีความเข้าใจ
ปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการจัด
ประสบการณ์ครูมีการจัดทาแผน การจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและสามารถจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีหลากหลายสอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยกระบวนการของการ
บรหิ ารจดั การของโรงเรียน

มผี ลการประเมินโดยภาพรวม ( x = 4.60) คณุ ภาพอย่ใู นระดบั ดีเยี่ยม
2.4 สถานศกึ ษามกี ารจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพือ่ การเรียนรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพียงพอ
โดยโรงเรียนจัดให้มีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็ก มีการ
ตรวจสอบสภาพของห้องเรียนและส่งิ ของเครอื่ งใช้ของเด็ก โดยคานงึ ถึงความปลอดภยั

มผี ลการประเมินโดยภาพรวม ( x = 4.50) คุณภาพอยูใ่ นระดับดีเยี่ยม
2.5 สถานศึกษาให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัด
ประสบการณโ์ ดยโรงเรียนบ้านดอนด่านในมกี ารสนับสนุนส่ือ เทคโนโลยี ให้ครูเพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
และพัฒนาครูรวมถึงการจัดทาเว็บไซต์ของโรงเรียนและเพจของโรงเรียนบ้านดอนด่านในเพ่ือเป็นสื่อในการ
เผยแพร่กิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมต่างๆให้กับผู้ปกครองและผู้ท่ีสนใจ เพ่ือส่งเสริมให้เป็น
สถานศึกษาท่ีมุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษามีการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการนาสู่การจัด
ประสบการณ์ การใช้ส่ือ ใช้งานสาหรับการศึกษาปฐมวัย โดยกระบวนการของการบรหิ ารจัดการของโรงเรียน

มีผลการประเมนิ โดยภาพรวม ( x = 4.50) คุณภาพอยใู่ นระดับดีเยย่ี ม
2.6 สถานศึกษามีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม โดย
โรงเรียนจัดให้มีการประชุมผู้ปกครอง การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้นาองค์กรต่างๆ เพื่อเป็นการ
รณรงค์ประชาสมั พันธ์ เชิญชวนให้ทุกฝ่ายให้ความสาคัญการจัดการศึกษาระดับปฐมวยั ของโรงเรียน สง่ ผลให้ทุก
ฝ่ายมีความตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย มีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน ผู้ปกครอง และ
ชมุ ชนพึงพอใจต่อพฒั นาการของเด็กท่ีเกิดข้นึ โดยกระบวนการของการบรหิ ารจัดการของโรงเรยี น

มีผลการประเมินโดยภาพรวม ( x = 4.30) คณุ ภาพอยู่ในระดับดเี ยี่ยม

6

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทีเ่ น้นเด็กเป็นสาคญั ผลการประเมนิ โดยรวม อยูใ่ นระดับคุณภาพ
ดเี ย่ยี ม
3.1 สถานศึกษามีการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็ม

ศักยภาพ โดยจัดให้มีโครงการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนรับปฐมวัย เพ่ือส่งเสริมการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้ท่ีหลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล ได้มีการปรับพ้ืนบริบทห้องเรียน แบ่งสัดส่วน
สาหรับทากิจกรรมได้หลากหลายรปู แบบ มรี ะบบเฝา้ ระวังและกระตุ้นใหเ้ กดิ พัฒนาการท่ีเหมาะสม เน้นกจิ กรรม
ท่ีสอดคล้องกับการปฏิรูปการเรียนรู้ ยกระดับคุณภาพสูงขึ้น ปรับเปลี่ยน ยืดหยุ่นได้ตามกาลเวลาและปัญหา
สังคมทเ่ี ปลี่ยนไป โดยกระบวนการของการดาเนินการของครู

มีผลการประเมนิ โดยภาพรวม ( x = 4.60) คุณภาพอยใู่ นระดับดีเยีย่ ม
3.2 สถานศึกษาสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบตั ิอย่างมีความสุข
โดยจัดให้มีโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและวันสาคัญ และโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เพ่ือฝึกให้
เด็กมีความซื่อสัตย์ สุจริต ประหยัด อดออม มีมารยาทที่ดี อ่อนน้อมถ่อมตน มีทักษะในการทางาน มีลักษณะ
นิสัยด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ต่างๆ รอบตัว จัดประสบการณ์ให้เด็กมีลักษณะพฤติกรรม
สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจและรักการเรียนรู้ มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่ิงต่างๆ ท่ีเกิดจาก
ประสบการณ์การเรียนรู้ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
คณิตศาสตร์ STEMศึกษา วิทยาการคานวณ กิจกรรมการทดลองบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย โครงงานบ้าน
นักวิทยาศาสตร์น้อย สร้างเสริมให้เด็กมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ อย่างต่อเน่ืองและย่ังยืน เช่น การ
จดั กจิ กรรมการทดลองบา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย โดยกระบวนการของการบรหิ ารจดั การของโรงเรยี น

มีผลการประเมินโดยภาพรวม ( x = 4.60) คุณภาพอยู่ในระดบั ดเี ย่ียม
3.3 สถานศึกษาจัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย
โรงเรียนมีโครงการจัดหาและพัฒนาสื่อสาหรับเด็กปฐมวัย โดยได้จัดหาส่ือการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั ทง้ั ทางร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปญั ญา มสี ือ่ ทง้ั เปน็ ของจรงิ และส่ือธรรมชาติ
ท่ีอยู่ใกล้ตัวเด็ก โดยมีการจัดสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการเป็นไปตามธรรมชาติ
ของการจัดการศึกษาปฐมวัย จัดทาและใช้แผนการจัดประสบการณ์ปฐมวัย ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัย พัฒนาหน่วยการเรียนรู้ที่ใช้ส่ือ เทคโนโลยีประกอบการจัดประสบการณ์ทุกหน่วย เพื่อสร้างเสริมวินัย
เชิงบวก เลือกและใช้สื่อ เทคโนโลยีสอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการ
อย่างหลากหลาย มีการวิจัย เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ พร้อมกับจัดสิ่งแวดล้อมให้เอ้ือต่อการเรียนรู้ ในและ
นอกช้ันเรียน โดยกระบวนการของการบริหารจดั การของโรงเรยี น

มีผลการประเมนิ โดยภาพรวม ( x = 4.50) คณุ ภาพอยใู่ นระดับดีเยย่ี ม
3.4 สถานศึกษาประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนาผลการประเมินพัฒนาการ
เด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก การประเมินพัฒนาการเด็กในระดับปฐมวัย เป็นภารกิจ
สาคัญที่เกิดขึ้นควบคู่ไปกับการจัดประสบการณ์เรียนรู้ ครูต้องสามารถเก็บร่องรอย หลักฐานการเรียนรู้และ
ดาเนินการประเมนิ อยา่ งเป็นระบบ เพอื่ ให้ได้ผลการประเมนิ ทตี่ รงตามความเป็นจรงิ ซึ่งครมู ีการจัดการประเมิน
พัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กอย่างต่อเน่ืองมีเคร่ืองมือประเมินที่เหมาะสม หลากหลาย และดาเนินการ
ประเมินพัฒนาการครอบคลุม 4 พัฒนาการ สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวบ่งช้ีของหลักสูตรการจัดประสบการณ์
ปฐมวัย ทุกหน่วยการจัดประสบการณ์ และนาผลการะเมินมาสะท้อน ปรับพัฒนาเป็นหน่วย/กิจกรรมการจัด
ประสบการณ์ เพ่ือนาความรู้ ทักษะ ประสบการณ์วางแผนในหน่วยการจัดประสบการณ์ครั้งต่อไป ส่งผลให้เด็ก
มีพัฒนาครอบคลุมทั้ง 4 พัฒนาชัดเจน สรุปรายงานแสดงผลพัฒนาเป็นปัจจุบัน โดยกระบวนการของการ
บริหารจัดการของโรงเรยี น

มผี ลการประเมนิ โดยภาพรวม ( x = 4.50) คุณภาพอยู่ในระดบั ดเี ยย่ี ม

7

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ .ศ. 2561
กาหนดให้การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนาและสรา้ งความเช่อื มั่นให้แก่
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษาน้ันสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานท่ีกากับดูแล จากการเปลี่ยนแปลง
ข้อกาหนด กระทรวงได้ประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานใน
สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา มหี น้าท่บี ริหารจัดการการศึกษา ให้มคี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐาน

สถานศึกษา ได้ดาเนินการส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอย่าง
ต่อเนื่อง โดยดาเนินการ 1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา/กาหนดค่าเป้าหมาย 2) จัดทา
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยมี
แผนปฏิบัติการประจาปีในการรองรับ 3 ) ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 4)
ประเมินผลและตรวจสอบ 5) ติดตามผลการดาเนินการเพื่อพัฒนาการศึกษา ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษา 6) จัดทารายงานการประเมินตนเองท่ีเป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา และจดั ส่งรายงานใหห้ น่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานท่ีกากับดูแลทกุ ปี

สรุปผลการสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self Assessment
Report:SAR) ปีการศึกษา 2563 สถานศึกษา ได้นาเอกสารรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัยประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 14 ข้อ ประเด็น
พจิ ารณา

8

บทสรปุ คุณภาพสถานศกึ ษา
ปีการศึกษา 2563

ระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
โรงเรียน บา้ นดอนดา่ นใน

เกรดคณุ ภาพ ใชเ้ กณฑพ์ ฒั นาตนเอง อยู่ในระดับดเี ยี่ยมทุกประเดน็ พจิ ารณาแต่ละมาตรฐาน
A หมายถึง มีผลพัฒนา มาตรฐานที่ 1 (9-10 ประเด็นพิจารณา),มาตรฐานท่ี 2

(5-6 ประเด็นพิจารณา) และมาตรฐานที่ 3 (5 ประเดน็ พจิ ารณา)
B หมายถงึ มผี ลพัฒนา มาตรฐานที่ 1 (7-8 ประเด็นพจิ ารณา),มาตรฐานท่ี 2

(3 ประเด็นพจิ ารณา) และมาตรฐานท่ี 3 (3 ประเดน็ พิจารณา)
C หมายถงึ มีผลพฒั นา มาตรฐานที่ 1 (5-6 ประเด็นพจิ ารณา),มาตรฐานที่ 2

(2 ประเด็นพิจารณา) และมาตรฐานที่ 3 (2 ประเดน็ พจิ ารณา)
D หมายถงึ มผี ลพัฒนา มาตรฐานท่ี 1 (3-4 ประเดน็ พิจารณา),มาตรฐานท่ี 2

(2 ประเดน็ พิจารณา) และมาตรฐานที่ 3 (2 ประเด็นพจิ ารณา)
E หมายถึง มีผลพัฒนา มาตรฐานท่ี 1 (1-2 ประเดน็ พิจารณา),มาตรฐานท่ี 2

(1 ประเดน็ พจิ ารณา) และมาตรฐานที่ 3 (1 ประเด็นพิจารณา)

9

บทสรุปสาหรับผูบ้ ริหาร
สรปุ ผลการสงั เคราะห์รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
(Self Assessment Report : SAR) ระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ปีการศึกษา 2563

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 กาหนดให้
การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อม่ันให้แก่ผู้มีส่วน
เกยี่ วขอ้ งและสาธารณชนวา่ สถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และ
บรรลุเป้าประสงคข์ องหนว่ ยงานต้นสงั กัด หรือหนว่ ยงานที่กากับดแู ล จากการเปลย่ี นแปลงข้อกาหนด กระทรวง
ได้ประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานในสถานศึกษา สถานศึกษา มี
หน้าทบ่ี รหิ ารจดั การการศกึ ษา ให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน

สถานศึกษา ได้ดาเนินการส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอย่าง
ต่อเน่ือง โดยดาเนินการ 1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา/กาหนดค่าเป้าหมาย 2) จัดทา
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยมี
แผนปฏิบัติการประจาปีในการรองรับ 3 ) ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 4)
ประเมินผลและตรวจสอบ 5) ติดตามผลการดาเนินการเพื่อพัฒนาการศึกษา ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษา 6) จัดทารายงานการประเมินตนเองที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษา และจดั สง่ รายงานใหห้ น่วยงานตน้ สังกัดและหนว่ ยงานทกี่ ากับดแู ลทุกปกี ารศกึ ษา

สรปุ ผลการสังเคราะหร์ ายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(Self Assessment Report :SAR )
ปกี ารศึกษา 2563 สถานศกึ ษา ระดับขน้ั พื้นฐาน ดงั นี้

ข้อมูลพืน้ ฐาน
โรงเรียนบ้านดอนด่านใน ต้ังอยูห่ มู่ท่ี 5 ตาบลด่านใน อาเภอด่านขุนทด จังหวดั นครราชสมี า

สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 5 เปิดสอนตั้งแต่ช้นั อนบุ าลปที ี่ 2 ถึงช้นั อนุบาล
ปที ี่ 3 มบี ุคลากรสายบริหาร จานวน 1 คน และมบี คุ ลากรครู ครอู ัตราจา้ ง และครูพี่เลี้ยง จานวน 18 คน
เฉพาะบคุ ลากรระดบั ขั้นพนื้ ฐาน มจี านวน 13 คน

ผลการสังเคราะหร์ ายงานประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา 2563 จากการพฒั นาคุณภาพ
การศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน จานวน 3 มาตรฐาน ของ
โรงเรียน บ้านดอนดา่ นใน ในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 5 สรปุ ได้ดงั น้ี

10

มาตรฐานท่ี 1 ด้านคุณภาพผเู้ รยี น โดยรวมคุณภาพอยู่ในระดับคณุ ภาพ ดเี ยย่ี ม สรุปได้ดงั นี้
1.1 ด้านผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผู้เรยี น
1.1.1 ด้านความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณ โดยจัดให้ผู้เรียน

ได้รับการพัฒนาจาก - โครงการแสวงหาความรู้และพัฒนาตนเอง - โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพในการคิด
อย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้ อย่างมีสติสมเหตุสมผล - โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือ
พฒั นาศกั ยภาพผูเ้ รยี นสู่มาตรฐานการศกึ ษา

พบว่าผู้เรียนระดับขั้นพ้ืนฐานของโรงเรียน ระดับช้ัน ป.1 ถึงช้ัน ม.3 มีความสามารถด้านการ
อ่าน โดยรวมมีค่าเฉลี่ย ( x = 3.65) (อ้างอิงภาคผนวก 1.1 แบบ ปพ.5 ท 1.1 และอ่ืนๆ) มีความสามารถ
ด้านการเขียน โดยรวมมีค่าเฉลี่ย ( x = 3.50) (อ้างอิงภาคผนวก 1.2 แบบ ปพ.5 ท 2.1 และอื่นๆ) มี
ความสามารถด้านการสือ่ สาร โดยรวมมคี ่าเฉลี่ย ( x = 3.52) (อ้างอิงภาคผนวก 1.3 แบบ ปพ.5 ท 3.1 และ
อื่นๆ) และมีความสามารถด้านการคิดคานวณ โดยรวมมีค่าเฉลี่ย ( x = 3.55) (อ้างอิงภาคผนวก 1.4 แบบ
ปพ.5 ค 1.1-1.2/ค 2.1-2.2 และ ค 3.1 และอ่ืนๆ) ส่งผลให้ผู้เรียนมีสมรรถนะสาคัญ 5 ประการสอดคล้อง
กับเป้าหมายของหลักสูตรสถานศึกษาทีใ่ ช้ในการจัดการศึกษา ใชเ้ ป็นเครือ่ งมือในการเรยี นรู้ และดาเนินชีวติ ใน
ยคุ ศตวรรษท่ี 21และสังคมโลกในปัจจุบันไดเ้ หมาะสมตามวัย ผลการประเมนิ โดยภาพรวมดา้ นความสามารถใน
การอ่าน เขยี น การสอื่ สาร และการคดิ คานวณ ( x = 3.56) คณุ ภาพอยู่ในระดบั ดีเลิศ

ผลการประเมินโดยภาพรวมด้านความสามารถในการอ่าน เขียน การส่ือสาร และการคิด
คานวณ ( x = 4.10) (82.00%) คณุ ภาพอยูใ่ นระดับ ดีเยี่ยม

1.1.2 ด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
และแกป้ ัญหา โดยจัดให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาจาก โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพในการคิดอย่างเป็นระบบคิด
สรา้ งสรรค์ตดั สนิ ใจแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีสติสมเหตสุ มผล

พบว่าผู้เรียนมีความสามารถในการจัดการ วางแผนการเรียนรู้ ดาเนินการตามที่วางแผน
สร้างสรรค์ผลงานด้านการเรียน ชิ้นงาน ภาระงาน จัดทาผลงานประจาหน่วย(หลังจบหนึ่งหน่วย ทุกหน่วย)
สามารถแสดงและนาเสนอผลงานอย่างเป็นระบบในระบบแฟ้มสะสมงาน (อ้างอิงภาคผนวก 2.1 ผลงาน
นักเรียนตลอดหน่วยการเรียนร/ู้ แฟ้มสะสมงาน/การนาเสนอผลงาน/กจิ กรรมการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี นสื่อ
ความ) (อ้างอิงภาคผนวก 2.2 ผลงานนักเรียน(ท้ายหน่วยการเรียนรู้) /แฟ้มพัฒนางาน ลงทะเบียนอย่างเป็น
ระบบ ทกุ ชน้ั เรยี นของโรงเรียน)

ผลการประเมินโดยภาพรวมด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปลี่ยนความคดิ เห็นและแกป้ ัญหา ( x = 4.20) คุณภาพอยู่ในระดบั ดีเย่ยี ม

1.1.3 ด้านความสามารถในการสร้างนวตั กรรม โดยจัดให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาจาก โครงการ
สง่ เสริมการเรยี นร้เู พ่ือพฒั นาศักยภาพผู้เรียนสูม่ าตรฐานการศึกษา

พบว่าผู้เรียนสามารถออกแบบชิ้นงาน ผลงานประจาหน่วยการเรียนรู้ภายหลังจากมีความรู้
ความสามารถ จากกระบวนการเรียนรู้ของตนเอง ต่อยอดบทเรียนหลังเรียนรู้จบหนึ่งหน่วยการเรียน สามารถ
ออกแบบช้ินงาน อย่างสร้างสรรค์ มีผลงานนาเสนอได้อย่างสร้างสรรค์ตามวยั หรือสามารถสร้างความเป็นนวัต
กรน้อย ได้ด้วยตนเอง ตามวัยทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทุกระดับช้ัน (อ้างอิงภาคผนวก 2.3 ผลงานนักเรียน
ประจาหน่วย) (อ้างอิงภาคผนวก 2.4 ร่องรอยการนาเสนอผลงานของนักเรียน)

ผลการประเมินโดยภาพรวมด้านความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ( x = 4.30) คุณภาพ
อยูใ่ นระดับ ดีเยยี่ ม

11

1.1.4 ด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยจัดให้ผู้เรียนได้รับ
การพัฒนาจากโครงการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ กิจกรรมการเรียนการสอนท่ี
หลากหลาย

พบว่าผู้เรียนมีทักษะการสืบค้น การค้นคว้า สามารถใช้เทคโนโลยี สารสนเทศประกอบการ
เรียนรู้ และใช้ส่ือสาร ปฏิบัติการเรียนรู้ และใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม ตามวัย (อ้างอิงภาคผนวก
3.1 ผลงานเชงิ ประจักษข์ องนักเรยี น ทเี่ กดิ จากการใช้เทคโนโลยี ออกแบบ หรอื จัดทาผลงาน หรอื นาเสนองาน)

ผลการประเมินโดยภาพรวมด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
( x = 4.20) คณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดีเย่ยี ม

1.1.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร โดยจัดให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาจาก โครงการ
พัฒนาหลกั สูตรและกระบวนการเรียนร้ทู ี่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (กิจกรรมจัดทาหลกั สูตรให้เหมาะสมกับเดก็ และ
ท้องถิ่น -ปรับปรุงหลักสูตรของสถานศึกษา -ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มสาระ -ปรับปรุงแก้ไข
หลกั สตู รท้องถ่ินใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการชุมชน และ กจิ กรรมแผนการจัดการเรยี นร้)ู

พบว่าผู้เรียนได้เรียนรู้ได้อย่างครบถ้วนมาตรฐาน และตัวชี้วัด ตามหลักสูตรสถานศึกษาที่
สอดคล้องกับกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่งผลให้ผู้เรียน
ได้มีความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ นักเรียนมีพัฒนาการด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปีการศึกษา
ปัจจุบัน ชั้น ป.1 ร้อยละ 79.00, ช้ัน ป.2 ร้อยละ 78.00, ช้ัน ป.3 ร้อยละ 77.00, ช้ัน ป.4 ร้อยละ
76.00, ชั้น ป.5 ร้อยละ 78.00, ช้ัน ป.6 ร้อยละ 79.00, ช้ัน ม.1 ร้อยละ 78.00, ชั้น ม.2 ร้อยละ
77.00, ช้ัน ม.3 ร้อยละ 80.00 และ และ ผลการทดสอบ RT ชนั้ ป.1 ร้อยละ ...-.... ผลการทดสอบ NT ช้ัน
ป.3 รอ้ ยละ...-., ผลการทดสอบ O-Net ช้ัน ป.6 รอ้ ยละ..-.., และ ผลการทดสอบ O-Net ชั้น ม.3 รอ้ ยละ ..-...

1.1.6 มีความรู้ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ โดยจัดให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาจาก
โครงการ ส่งเสริมทักษะการทางานอาชพี และมเี จตคติท่ีดีต่ออาชีพท่ีสจุ รติ กจิ กรรมเลือกอาชพี ท่สี นใจ

พบว่าผู้เรียนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานของโรงเรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐานเป็นไปตาม
มาตรฐาน และตัวช้ีวัด ผู้เรียนได้เรียนรู้ทุกมาตรฐาน และตัวชี้วัด ผู้เรียนผ่านตัวชี้วัด ช้ัน ป.1 ร้อยละ 85.00,
ชนั้ ป.2 ร้อยละ 86.00, ช้ัน ป.3 ร้อยละ 88.00, ชั้น ป.4 ร้อยละ 87.00, ช้ัน ป.5 รอ้ ยละ 88.00, ชั้น ป.
6 ร้อยละ 87.00, ชั้น ม.1 ร้อยละ 82.00, ชั้น ม.2 ร้อยละ 83.00, ชั้น ม.3 ร้อยละ 85.00 (อ้างอิง
ภาคผนวก 3.4 สรปุ รายงาน ปพ.5 ทุกระดับชั้น) และ มีเจตคตทิ ่ีดีต่ออาชีพ ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้ ฝกึ ปฏบิ ัติงานและ
อาชีพทุกระดับช้ันเรียน ผู้เรียนเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพโดยรวม( x = 3.50) (อ้างอิงภาคผนวก 4.1 สรุป
รายงาน ปพ.5 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพ้นื ฐานอาชีพทุกระดับช้ันเรียนหรอื แบบประเมินความพึงพอใจเจต
คติทด่ี ตี ่ออาชพี )

ผลการประเมินสรุปโดยภาพรวมท้งั สองประเด็นพิจารณาย่อย มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจต
คติทดี่ ีตอ่ งานอาชพี ( x = 4.30) คณุ ภาพอย่ใู นระดบั ดีเย่ียม

1.2 ด้านคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผูเ้ รยี น
1.2.1 ด้านการมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามท่ีสถานศึกษากาหนด โดยจัดให้ผู้เรียนได้รับการ

พฒั นาจากโครงการพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรมและสง่ เสริมคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของนักเรยี น
พบวา่ ผูเ้ รยี นมคี ณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ 8 ประการ เปน็ ไปตามเป้าหมายของหลกั สตู รสถานศึกษา

ผลการประเมินคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผ้เู รยี น ชัน้ ป.1 คา่ เฉล่ยี ( x = 4.58), ชน้ั ป.2 ค่าเฉลี่ย
( x = 4.60), ชัน้ ป.3 ค่าเฉลีย่ ( x = 4.57), ชน้ั ป.4 คา่ เฉลี่ย( x = 4.30), ชนั้ ป.5 ค่าเฉล่ยี ( x = 4.80),
ช้ัน ป.6 คา่ เฉล่ยี ( x = 4.20), ชน้ั ม.1 ค่าเฉลยี่ ( x = 3.86), ช้ัน ม.2 คา่ เฉล่ีย( x = 3.95), ชน้ั ม.3 ค่าเฉลีย่
( x = 4.85), (อา้ งอิงภาคผนวก 4.2 สรุปรายงาน ปพ.5 ทุกระดับช้ัน) ผลการประเมินคา่ นิยมพ้ืนฐานของ
ผู้เรยี น ชัน้ ป.1 คา่ เฉลยี่ ( x = 4.58), ชน้ั ป.2 คา่ เฉล่ีย( x = 4.60), ชนั้ ป.3 ค่าเฉลี่ย( x = 4.57),

12

ชั้น ป.4 ค่าเฉลย่ี ( x = 4.30), ชัน้ ป.5 คา่ เฉลีย่ ( x = 4.80), ชนั้ ป.6 คา่ เฉล่ยี ( x = 4.20), ชน้ั ม.1 คา่ เฉลยี่
( x = 3.86), ชนั้ ม.2 ค่าเฉลีย่ ( x = 3.95), ชน้ั ม.3 ค่าเฉล่ีย( x = 4.85), (อ้างองิ ภาคผนวก 4.2 สรุป
รายงาน ปพ.5 ทุกระดับชั้น)

โดยรวมผู้เรียนมีคณุ ลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามที่สถานศึกษากาหนด ค่าเฉลี่ย( x = 4.35) คุณภาพ
อยูใ่ นระดบั ดีเย่ียม

1.2.2 มีความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย โดยจัดให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาจากโครงการ
พฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรมและสง่ เสริมคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของนกั เรยี น

พบว่าผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทยของตนเอง ร่วมเรียนรู้และฝึกวิถีความ
เป็นไทยกิจกรรมภายในโรงเรียนได้แก่กิจกรรมวันสาคัญ ในชุมชนได้แก่ วันลอยกระทง ,แห่เทียนพรรษา
โดยรวมผูเ้ รยี นมีความภมู ใิ จในท้องถ่ินและความเป็นไทย (อา้ งอิงภาคผนวก 4.3

สรุปรายงานโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน
กิจกรรมวันสาคญั วนั ลอยกระทง ทุกระดับช้นั ) มคี ่าเฉลย่ี ( x = 4.25) คุณภาพอยู่ในระดับ ดีเย่ยี ม

1.2.3 ด้านการยอมรบั ที่จะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย โดยจดั ให้ผู้เรียนไดร้ ับการ
พัฒนาจากโครงการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรทู้ ่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั กิจกรรมเสริมวนั สาคญั ตาม
กล่มุ สาระการเรยี นรู (วนั คริสตม์ าส )

พบว่าผู้เรียนยอมรับเหตุผลความคิดเห็นของผู้อ่ืนและมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดีในการอยู่ร่วมกัน ส่งผล
ใหผ้ ูเ้ รยี นดา้ นการยอมรบั ท่จี ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย(อา้ งอิงภาคผนวก 4.4

สรุปรายงานโครงการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ กิจกรรม
เสริมวันสาคัญตามกลุ่มสาระการเรียนรู (วันคริสต์มาส) ทุกระดับช้ัน) มีค่าเฉล่ีย( x = 4.30) คุณภาพอยู่ใน
ระดับ ดเี ย่ยี ม

1.2.4 มสี ุขภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจิตสังคม โดยจัดให้ผูเ้ รยี นได้รับการพัฒนาจากโครงการ
ส่งเสรมิ สขุ ภาพและอนามยั ในโรงเรียน กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพ

พบว่าผู้เรียนมีวิธีรักษาสุขภาพของตน รักษาอารมณ์ และสุขภาพจิตได้ดี มีสุขปฏิบัติท่ี
เหมาะสม เป็นวิถีชีวิตที่เหมาะสมส่งผลให้ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจติ สังคม (อ้างอิงภาคผนวก
5.1)

สรุปรายงานโครงการ ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยในโรงเรียน กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพ ทุก
ระดบั ชั้น) มคี า่ เฉลย่ี ( x = 4.25) คุณภาพอยู่ในระดบั ดีเย่ยี ม

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ โดยรวมคณุ ภาพอยูใ่ นระดับ 4.10
2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน โดยจัดทาและพัฒนาแผนการจัด

การศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี โรงเรียนได้กาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่างชัดเจน
สอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ
นโยบายของรัฐบาล งานจุดเนน้ ดา้ นต่างๆ ของ สพป. สพฐ. หรือของตน้ สังกัดรวมทัง้ ทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงของ
สังคม ภาพรวมโรงเรียนมีการกาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษา และกาหนดค่าเป้าหมายระบบประกัน
คณุ ภาพภายในสถานศึกษาอยา่ งเป็นรปู ธรรม

โดยรวมมีผลการประเมินการดาเนนิ การ มีค่าเฉลย่ี ( x = 4.30) คณุ ภาพอยใู่ น ระดบั ดีเยย่ี ม
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา โดยโรงเรียนบริหารจัดการคุณภาพของ
สถานศึกษาอย่างเป็นระบบ รูปแบบ/กระบวนการท่ีใช้บริหารจัดการ คือสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการ
คุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบทั้งในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนาแผนไป
ปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพกรศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมินผล และปรับปรุงพฒั นางานอย่างต่อเนื่อง มี

13

การบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน มรี ะบบการนิเทศภายใน การ
นาข้อมูลมาใช้ในกรพฒั นา บคุ ลากรและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทกุ ฝ่าย มีสว่ นร่วมการวางแผน ปรับปรุง และพฒั นา
และร่วมรับผดิ ชอบต่อผลการจดั การศึกษา

ส่งผลให้ท้ังในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนาแผนไปปฏิบัติเพ่ือพัฒนา
คุณภาพกรศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมินผล และปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหาร
อตั รากาลงั ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น มีระบบการนเิ ทศภายใน การนาขอ้ มลู มา
ใช้ในกรพัฒนา บุคลากรและผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย มีส่วนร่วมการวางแผน ปรับปรุง และพัฒนา และร่วม
รับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาเอื้อต่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามการกาหนดค่าเป้าหมาย
ประจาปกี ารศกึ ษา 2562

โดยรวมมผี ลการประเมินการดาเนนิ การ มคี ่าเฉล่ยี ( x = 4.25) คณุ ภาพอยู่ในระดบั ดเี ยย่ี ม
2.3 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและ
ทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดโครงการ/ กิจกรรมปรับและพัฒนาหลักสูตร พัฒนาหน่วยการเรียนร/ู้ ประเมินผลการ
ใช้หลักสูตร/ประเมินการวัดและประเมินผล /ส่งเสริมห้องเรียนคุณภาพและกิจกรรมตามบริบท/จัดโครงการ
ยกระดับคุณภาพการศึกษา 10 จุดเน้น สพป.นครราชสีมา เขต 5 และไดจัดโครงการ 8 โครงการ ดังน้ี
โครงการส่งเสริมประสิทธิภาพในการคิดอย่างเป็นระบบคิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติ
สมเหตุสมผล, โครงการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่มาตรฐานการศึกษา , โครงการแสวงหา
ความรู้และพัฒนาตนเอง ,โครงการส่งเสริมทักษะการทางานอาชีพและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพที่สุจริต, โครงการ
พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ,โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้และ ภูมิปัญญา
ท้องถ่ิน , โครงการบรกิ ารแหล่งเรยี นรแู้ ละภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ,โครงการส่งเสริมคณุ ภาพผู้เรยี น

พบว่าโรงเรียนสามารถขับเคลื่อนบริหารจัดการเก่ียวกับงานวิชาการ บริหารจัดการหลักสูตร จัด
กิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เช่ือมโยงวถิ ีชีวิตจริง ครอบคลุมทกุ กลุ่มเป้าหมาย ส่งผลให้
โรงเรียนมีระบบนิเทศภายใน ระบบการจัดการเรียนการสอน และระบบกระบวนการเรียนรูข้ องผู้เรียนที่เอ้ือต่อ
การเรยี นร้ขู องผู้เรยี นในระดบั ขัน้ พ้ืนฐานเปน็ ไปตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา

โดยรวมมีผลการประเมนิ การดาเนนิ การ มีคา่ เฉล่ยี ( x = 4.30) คุณภาพอยใู่ นระดบั .ดเี ย่ยี ม
2.4 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวิชาชพี โดยจัดโครงการพัฒนาศกั ยภาพครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา (อบรมศึกษา ดงู าน) กิจกรรมพัฒนาหนว่ ยการเรยี นรู้ การส่งเสรมิ การพัฒนาวิธีปฏิบตั ทิ ่ี
เปน็ เลศิ การพฒั นางานตามบทบาทหนา้ ท่ีกจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และอน่ื ๆ

พบว่าโรงเรยี นสามารถสง่ เสริม สนับสนนุ พัฒนาครู บคุ ลากร ใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ
และจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี มาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรียนรู้ของผเู้ รียน ปีการศกึ ษาน้ี ได้
ดาเนินการกจิ กรรม ได้แก่ การยนื ใบตอ่ อายใุ บประกอบวิชาชพี ครู การอบรมทางไกลผ่านระบบออนไลน์ การรบั
การประเมินเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม ตาแหน่งครูผู้ชว่ ย พัฒนาครูและบุคลากรให้มคี วาม
เชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ และการนิเทศการสอนอย่างตอ่ เนื่อง

โดยรวมมีผลการประเมนิ การดาเนนิ การ มีค่าเฉลีย่ ( x = 4.35) คณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดีเยี่ยม
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ โดยจัด
โครงการสง่ เสรมิ การเรียนรูเ้ พื่อพฒั นาศักยภาพผเู้ รียนสูม่ าตรฐานการศึกษา กจิ กรรมการประกวดหอ้ งเรยี น

พบว่าสถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน และ
สภาพแวดล้อมทางสงั คม ทเ่ี อือ้ ตอ่ การจดั การเรียนรูแ้ ละมีความปลอดภัย

โดยรวมมีผลการประเมนิ การดาเนนิ การ มคี า่ เฉลย่ี ( x = 4.30) คณุ ภาพอยู่ในระดับ ดเี ยย่ี ม

14

2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ โดยจัด
โครงการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ กิจกรรม ( การเรยี นการสอนท่ีหลากหลาย อบรม
การใช้ ICT )

พบว่า โรงเรียนจัดระบบจัดหา การพัฒนาและการบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใช้ในการ
บริหารจดั การและการจดั การเรียนรู้ ท่ีเหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา ปลอดภยั

โดยรวมมผี ลการประเมนิ การดาเนินการ มคี ่าเฉล่ยี ( x = 4.35) คุณภาพอยู่ในระดับ ดเี ย่ยี ม

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ โดยรวมคณุ ภาพอยู่ในระดับ
คณุ ภาพ ดเี ยย่ี ม

3. 1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ โดย
จัดโครงการ/ กิจกรรมพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และการใช้หน่วยการเรียนรู้แบบ 6 ขั้น จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ประจา Quarter หรือ ประจาภาคเรยี นและประจาปี./อื่นๆ เช่นโครงการส่งเสริมทักษะการทางานอาชีพ
และมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ อาชพี ทส่ี จุ รติ

พบว่าครูผู้สอน มีการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 6 ข้ัน /กิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีแผนการ
จดั การเรียนรู้ที่สามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริง มีรูปแบบการจัดการเรียนรเู้ ฉพาะสาหรับผู้ท่ีมีความจาเป็นและ
ต้องการความช่วยเหลือพิเศษ ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะ และออกแบบจัดทาผลงานประจาหน่วย แสดงออก
แสดงความคิดเห็น สรปุ องค์ความรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตได้

โดยรวมมีผลการประเมินการดาเนนิ การ มคี า่ เฉล่ีย( x = 4.35) คุณภาพอย่ใู นระดบั ดเี ย่ยี ม
3.2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยจัด โครงการส่งเสริมการ
จัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย พัฒนาผู้บริหารครู และ
บคุ ลากรให้ใช้แอพลิเคชันในการจัดการเรียนการสอนและใช้บริหารงาน/โครงการสงเสริมการเรียนการสอนโดย
ใช้ ICT และอืนๆ

พบวา่ ครูผู้สอน มแี ละใช้ใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถ่นิ มา
ใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยครูได้ออกแบบกิจกรรมสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อท่ี
หลากหลาย

โดยรวมมีผลการประเมนิ การดาเนนิ การ มีค่าเฉล่ยี ( x = 4.50) คุณภาพอยูใ่ นระดับ ดเี ย่ียม
3.3 มีการบริหารจดั การชนั้ เรียนเชิงบวก โดยจดั โครงการส่งเสรมิ การเรียนรเู้ พอื่ พัฒนาศักยภาพ
ผเู้ รียนสู่มาตรฐานการศึกษา กจิ กรรมการประกวดห้องเรยี น

พบวา่ ครผู สู้ อนมีการบริหารจัดการชนั้ เรียน โดยเนน้ การมปี ฏิสัมพันธ์เชงิ บวก ใหเ้ ดก็ รกั ครู และครู
รักเดก็ เด็กรักทจี่ ะเรียนรู้ ใชก้ ิจกรรมทห่ี ลากหลาย ไดแ้ ก่การจัดเวรทาความสะอาดห้องเรียน และรว่ มกนั
ประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน สามารถเรียนร้รู ่วมกันอย่างมีความสุข

โดยรวมมีผลการประเมินการดาเนนิ การ มีค่าเฉลยี่ ( x = 4.40) คุณภาพอยู่ในระดบั ดีเลศิ
3.4 มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียนโดยจัดโครงการ/
กิจกรรมฝึก 3 สอบ 1 กิจกรรมยกระดับทุกกลุ่มสาระ ทุกช้ันและทุกหน่วยการเรียนร/ู้ กิจกรรมทบทวนตวิ เตอร์
ชั้นเรียนตางๆ โครงการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ กิจกรรม วัดผล
ประเมนิ ผล

พบว่าครูผู้สอนมีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีข้ันตอน
โดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมูล
ย้อนกลับแก่ผู้เรยี นเพ่ือนาไปใช้พัฒนาการเรียนรู้

15

โดยรวมมผี ลการประเมนิ การดาเนินการ มีค่าเฉลยี่ ( x = 4.35) คุณภาพอยู่ในระดับ ดเี ย่ียม
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้ โดย
จดั โครงการนิเทศภายในโรงเรยี น
พบว่าครูและผู้มีส่วนเก่ียวข้องร่วมกันแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์รวมท้ังให้ข้อมูลป้อนกลับ
เพอ่ื นาไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้
โดยรวมมีผลการประเมินการดาเนนิ การ มคี ่าเฉลีย่ ( x = 4.35) คุณภาพอย่ใู นระดบั ดีเย่ยี ม

16

สว่ นที่ 1
ข้อมูลพื้นฐาน ระดบั การศึกษาปฐมวัย

1.1 ขอ้ มลู ท่ัวไป
ชื่อโรงเรียน บา้ นดอนดา่ นใน ทตี่ ง้ั เลขท่ี - หมูท่ ่ี 5 ตาบลด่านใน อาเภอด่านขนุ ทด จงั หวดั นครราชสมี า

สังกดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 5 โทร…..-...…………โทรสาร…..-...e-mail
[email protected] website http://- เว็บไซตโ์ รงเรยี น (Host สพฐ.)
เปิดสอนระดบั ช้นั อนบุ าลปีที่ 2 ถงึ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 เน้ือท่ี 9 ไร่ 1 งาน 65 ตารางวา มเี ขต
พน้ื ท่ีบริการ 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หม่ทู ี่ 1 บา้ นหนองบง หมทู่ ี่ 2 บา้ นหนองหัวชา้ ง หมทู่ ี่ 4 บา้ นด่านใน
หมู่ท่ี 5 บา้ นดอน หม่ทู ี่ 7 บ้านดอนขาม หมทู่ ่ี 8 บา้ นบงึ น้อย
ผู้อานวยการโรงเรยี น ชอื่ นายวุฒพิ งษ์ พงษป์ ระดษิ ฐ์

1.2 ขอ้ มลู บคุ ลากร
ปีการศึกษาปจั จุบนั นักเรยี นระดบั ปฐมวัย จานวน 2 คน จบการศึกษาตรงเอกปฐมวัย 2 .คน จบไมต่ รง

เอก ไดร้ บั การพฒั นาจนสามารถจดั ทาหลกั สูตรสถานศกึ ษา และออกแบบหนว่ ยการเรียนรูไ้ ดอ้ ย่างมี
ประสิทธิภาพ สามารถจดั ประสบการณ์พัฒนาการ 4 ดา้ นไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพจานวน 2 คนระดบั การศึกษา
ขั้นพน้ื ฐาน จานวน 13 คน

ส่วนท่ี 2
คุณภาพการจัดการศึกษาระดบั ปฐมวัย

2.1 ขอ้ มูลการปฏบิ ตั หิ น้าท่ี ปกี ารศึกษา 2563
ผลจากการนากจิ กรรมมาจดั ประสบการณ์ และดาเนินการบรหิ ารและการจัดการ ส่งผลใหเ้ ดก็

ปฐมวยั ของระดบั ช้ันอนบุ าลปีท่ี 2 ถงึ อนุบาลปที ่ี 3 โรงเรียนบา้ นดอนด่านใน มผี ลดังน้ี
1.1 มาตรฐานท่ี 1 ดา้ นคณุ ภาพเดก็ โดยรวม ( x ) = 4.64 อยู่ในระดับคุณภาพดเี ย่ยี ม
1) เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย เด็กได้เรียนรู้จากการจัดประสบการณ์ ด้วยโครงการส่งเสริม

สุขภาพเด็กปฐมวัย เป็นการจัดกิจกรรมเก่ียวกับการดูแลรักษาความสะอาดของตัวเอง เป็นการจัดกิจกรรม
เกี่ยวกับการดูแลรักษาความสะอาดของตัวเอง เช่นสอนการล้างมือท่ีถูกวิธีโดยการสาธิตวิธีการรวมถึงให้เด็กได้
ปฏิบตั ิไปพร้อมๆกัน การเลอื กทานอาหารที่มีประโยชน์หลีกเล่ยี งอาหารทเี่ ปน็ โทษแกร่ ่างกาย,ให้ความรู้เกี่ยวกับ
การเล่นให้ปลอดภัยในสนามเด็กเล่น รวมถึงการหลีกเลี่ยงการเกิดอุบัติเหตุโดยห้ามไม่ให้เด็กปฐมวัยไปเล่นใน
พื้นที่ที่มคี วามเสย่ี งต่อการเกดิ อุบัตเิ หตุ,นาเด็กเข้าร่วมกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายของโรงเรียนบ้าน
ดอนด่านใน,นาเดก็ เข้าร่วมกิจกรรมเข้าค่ายวิชาการท่ีทางโรงเรียนไดจ้ ดั ข้ึน,โครงการบา้ นกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย เด็ก
ได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง ได้ใช้กลา้ มเนื้อมดั เล็กมัดใหญ่ในการหยบิ จับอุปกรณ์ เป็นต้น ซึ่งผลจากการจัด
โครงการ/กิจกรรมดงั ที่กล่าวมาขา้ งตน้

ส่งผลให้ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มสี ุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของ
ตนเองได้ ซึง่ ประกอบด้วย เดก็ มนี า้ หนักสว่ นสงู เปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐานเด็กมีทักษะ การเคล่อื นไหวตามวยั
เด็กมสี ขุ นสิ ยั ในการดแู ลสขุ ภาพของตนและเด็กหลีกเลี่ยงสภาวะทีเ่ สี่ยงต่ออบุ ัติเหตไุ ด้

มผี ลการประเมินพฒั นาการด้านรา่ งกายโดยรวมเฉล่ยี ( x ) = 4.65 อย่ใู นระดับคณุ ภาพ ดี
เยีย่ ม

17

2) เด็กมีพฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ เดก็ ไดเ้ รยี นรจู้ ากการจัดประสบการณ์ ด้วยโครงการศกึ ษา
แหลง่ เรียนรู้นอกสถานท่ี เดก็ ไดเ้ รียนรู้จากสถานท่จี ริง เด็กมีความสขุ สนกุ สนานแสดงออกทางอารมณ์ได้
เหมาะสมกบั สถานการณ์ ในการเขา้ ร่วมโครงการ กิจกรรมวันสาคัญต่างๆ เชน่ กิจกรรมวันภาษาไทย กจิ กรรม
วันสนุ ทรภู่ กจิ กรรมวนั วิทยาศาสตร์ กิจกรรมวนั เดก็ แหง่ ชาติ เป็นต้น เด็กได้เรยี นรูจ้ ากสถานทจ่ี ริง เด็กมี
ความสขุ สนกุ สนานแสดงออกทางอารมณ์ไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ ในการเข้ารว่ มโครงการ กิจกรรมวนั
สาคัญตา่ งๆ เชน่ กิจกรรมวันภาษาไทย กจิ กรรมวันสนุ ทรภู่ กจิ กรรมวันวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมวันเด็กแหง่ ชาติ
ซ่งึ เป็นกจิ กรรมท่ีให้เด็กได้แสดงความสามารถของตนเอง ท้ังดา้ นศลิ ปะ ดนตรีและการเคล่อื นไหวประกอบเพลง
ดนตรี ให้เด็กไดว้ าดภาพ ระบายสี เพ่ือสรา้ งจนิ ตนาการและมีอารมณผ์ ่องใส ให้เด็กได้ทากจิ กรรมด้วยความ
สนุกสนาน มปี ฏิสมั พนั ธท์ ดี่ กี ับเพอ่ื น ทั้งในและนอกหอ้ งเรียน โดยครูได้ดาเนินการจัดประสบการณ์การเรยี น
การสอนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ และมีการจดั กจิ กรรมร้อง เล่น เต้น อา่ น ใหเ้ ด็กได้แสดงออก
ตามศกั ยภาพของตน

ส่งผลให้ เดก็ มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ซงึ่
ประกอบด้วยเดก็ มีความร่าเริงแจ่มใสเดก็ มคี วามรสู้ ึกที่ดีต่อตนเอง เดก็ มคี วามม่ันใจและกล้าแสดงออก เด็ก
สามารถควบคุมอารมณต์ นเองได้เหมาะสมกับวยั เดก็ มีความชนื่ ชมในศิลปะดนตรี มีการเคลอื่ นไหว และรักใน
ธรรมชาต.ิ

มผี ลการประเมินพฒั นาการด้านร่างกายโดยรวมเฉล่ีย( x ) = 4.70 อยู่ในระดบั คุณภาพ ดเี ยี่ยม
3.) เด็กมพี ัฒนาการด้านสังคม เด็กได้เรยี นรูจ้ ากการจัดประสบการณ์ ด้วยโครงการพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรมและวันสาคัญ ซึ่งมุ่งเน้นใหเ้ ด็กเป็นคนดีมีคุณธรรม จริยธรรมท่ีดี เป็นสมาชิกทีด่ ีของสังคม ซึ่งมุ่งเน้น
ให้เด็กเป็นคนดีมีคุณธรรม จริยธรรมท่ีดี เป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มี
มารยาทท่ีดี ยิ้ม ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน สามารถรับประทานอาหารด้วย
ตนเองและมีมารยาทในการรับประทานอาหาร รู้จักดูแลรักษาความสะอาด ท้ังภายในและนอกห้องเรียน โดย
การจดั กิจกรรมแบ่งเขตพ้ืนท่ีรบั ผิดชอบ รู้จักช่วยเหลอื แบง่ ปันเพื่อนในห้องเรยี น ทางานร่วมกับเพื่อนๆ ได้ โดย
การใช้กิจกรรมกลุ่มในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ รู้จักเก็บของเล่น สิ่งของเคร่ืองใช้ ของตน และของ
ส่วนรวม ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จกั ประเพณีวฒั นธรรม ด้วยกจิ กรรมอนรุ ักษ์วฒั นธรรมไทย ร้จู ักทดแทนบุญคุณพ่อ
แม่ ครู โดยจดั กิจกรรมวันสาคัญทางชาติ กิจกรรมวันสาคญั ทางพระพุทธศาสนา เช่นพ่อ วันแม่ วนั ไหว้ครู วัน
เข้าพรรษารวมถึงให้เด็กได้แสดงความสามารถของตนเองและฝึกให้เด็กกล้าแสดงออก ตามความสามารถของ
ตนเองและทากิจกรรมร่วมกบั ผอู้ นื่ ไดอ้ ย่างมคี วามสุข ผ่านกิจกรรมวันเดก็ แห่งชาติ
สง่ ผลให้ เดก็ มีพัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดขี องสงั คม ซึ่ง
ประกอบด้วยเดก็ มีวนิ ยั รบั ผิดชอบ เชอื่ ฟงั คาส่ังสอนของพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ มคี วามซ่ือสัตย์ สุจริต ชว่ ยเหลอื
แบง่ ปัน เล่นและทางานร่วมกับผูอ้ น่ื ได้ และประพฤตติ นตาม วฒั นธรรมไทยและศาสนาท่ตี นนบั ถือ
มีผลการประเมินพัฒนาการด้านรา่ งกายโดยรวมเฉล่ยี ( x ) = 4.60 อย่ใู นระดบั คณุ ภาพ ดีเยยี่ ม
4) เด็กมีพฒั นาการด้านสติปัญญา เดก็ ได้เรยี นร้จู ากการจัดประสบการณ์ ด้วยโครงการพฒั นา
กระบวนการเรียนการสอนระดับปฐมวยั ซ่งึ ประกอบไปดว้ ย การจดั มมุ ประสบการณ์ในห้องเรียนเพ่ือให้เด็กได้
เรียนรตู ามความสนใจ,มีการจัดมุมแสดงผลงานนักเรียน,กจิ กรรมนานกั เรยี นเข้าหอ้ งสมดุ เปน็ การเรยี นรนู้ อก
ห้องเรยี นเพ่ือพฒั นากระบวนการคิด รวมถึงเป็นการปลูกฝังใหเ้ ดก็ รกั การอ่าน,กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ซึ่งประกอบไปดว้ ย การจดั มุมประสบการณ์ในหอ้ งเรยี นเพ่ือใหเ้ ด็กไดเ้ รยี นรูตามความสนใจ,มีการจัดมมุ แสดงผล
งานนักเรยี น,กิจกรรมนานกั เรียนเขา้ ห้องสมุดเปน็ การเรยี นรนู้ อกห้องเรยี นเพ่ือพฒั นากระบวนการคิด รวมถึง
เปน็ การปลกู ฝงั ใหเ้ ด็กรักการอ่าน,กิจกรรมบ้านนกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ยใหเ้ ด็กไดท้ าการทดลอง โดยเด็กจะเกดิ
ประสบการณ์ตรงจากการลงมือปฏบิ ตั จิ ริง ทาให้เกดิ ทักษะทางวิทยาศาสตร์ เชน่ การสังเกต การทดลอง การ
เปรยี บเทียบ การคาดคะเน การคน้ หาคาตอบด้วยตนเอง เป็นต้น โครงการส่งเสรมิ ความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ

18

เปน็ การสง่ เสรมิ ให้เด็กไดฝ้ ึกทักษะตา่ งๆ เพือ่ นาไปแข่งขนั ทักษะวชิ าการ รวมถงึ การส่งเสรมิ ให้เดก็ ได้เรียนรผู้ ่าน
การปฏิบตั ิจริง และสง่ เสริมให้เดก็ ได้เรยี นร้สู ิง่ ต่างๆ รอบตัว ทาให้เด็กกลา้ ซกั ถามเพื่อค้นหาคาตอบ การนาเด็ก
เขา้ รว่ มกจิ กรรมวนั ภาษาไทย/วนั สนุ ทรภู่ เพ่อื สง่ เสรมิ ให้เด็กมที ักษะทางภาษา มนี ิสัยรกั การอ่าน สง่ เสรมิ ให้เด็ก
อ่านนิทานและเล่านิทานที่ตนเองอ่านใหค้ รแู ละเพอ่ื นฟงั มีการสง่ เสรมิ สนับสนุนใหเ้ ดก็ เขา้ รว่ มกิจกรรมการ
แขง่ ขนั ทักษะทางวชิ าการในระดับตา่ งๆ มีการสรา้ งสรรค์ผลงานด้านศลิ ปะโดยการวาดภาพระบายสี การตดั
ฉกี ตดั ปะ สง่ เสริมให้เด็กได้เสนอผลงานดว้ ยภาษาทเี่ หมาะสมตามวัย โครงการศึกษาแหลง่ เรียนรนู้ อกสถานที่
เพือ่ ใหเ้ ด็กได้ปฏิสัมพนั ธ์กับบุคคลภายนอก เรียนรู้ในสถานท่จี ริงได้รับประสบการณ์ตรง แก้ปัญหาใน
สถานการณจ์ รงิ

ส่งผลให้ เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา ซ่งึ ประกอบดว้ ย เด็กสนใจเรยี นรู้สงิ่ รอบตัว ซกั ถามอย่าง
ตั้งใจและรักการเรียนรู้ เด็กมีความคิดรวบยอดเก่ียวกบั สงิ่ ต่าง ๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้เดก็ มีทักษะ
ทางภาษาทเ่ี หมาะสมกบั วยั มีทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ และมจี ินตนาการและ
ความคิดสร้างสรรค์

มผี ลการประเมินพัฒนาการด้านรา่ งกาย โดยรวมเฉล่ยี ( x ) = 4.60 อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเยย่ี ม

1.2 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ โดยรวม ( x = 4.45) อยู่ในระดับคุณภาพ
ดเี ยี่ยม

1) มหี ลกั สตู รที่ครอบคลมุ พฒั นาการทงั้ 4 ดา้ น สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถน่ิ การดาเนินการ
โดยโรงเรยี นบ้านดอนด่านใน จดั ใหม้ หี ลกั สูตรปฐมวัยทีย่ ืดหยนุ่ และสอดคลอ้ งกบั หลักสูตรสถานศกึ ษาเปน็
รปู แบบการจดั ประสบการณ์ท่ีก่อใหเ้ กดิ การเตรยี มความพรอ้ ม เนน้ การเรียนรูผ้ า่ นการเล่นและการลงมือปฏิบัติ
ดว้ ยตนเอง สอดคล้องกับวถิ ีชวี ิตของครอบครัว ชมุ ชน และท้องถ่ิน ได้มกี ารกาหนดเป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ และ
พนั ธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มอี งคป์ ระกอบท่สี าคัญเพื่อท่ีจะขับเคลื่อนการศึกษาระดบั ปฐมวัยได้แก่
การพัฒนาวิชาการทเี่ น้นคุณภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ไดม้ ีการพฒั นาหลกั สูตร
การศึกษาปฐมวยั ใหส้ อดคล้องกับบริบทของทอ้ งถิน่ พิจารณาจากวยั ของเด็ก ประสบการณข์ องเดก็ โดยเปน็
หลกั สูตรที่ม่งุ พฒั นาเด็กทกุ ด้าน ท้ังด้านรา่ งกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมคี วามสุข
ในการเรยี นรู้ มกี ารพัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีศักยภาพ สาหรบั ด้านระบบกลไก การเสริมสรา้ งความ
ตระหนักรับรู้ และความเขา้ ใจการจดั การศึกษาปฐมวยั โดยให้ผมู้ สี ว่ นรว่ มทุกฝา่ ยได้มีบทบาทในการมสี ่วนร่วม
การจัดการศึกษา โดยให้มีการประสานความรว่ มมือเพื่อรว่ มกนั พฒั นาผเู้ รยี นตามศักยภาพ เพอ่ื ใหจ้ ดั
การศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั มีคณุ ภาพ ดงั น้ี 1) จัดใหม้ หี ลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยเพื่อนาสกู่ ารปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ 2) ขับเคลื่อนโดยการประชาสัมพนั ธ์ ประสานความรว่ มมือให้ผู้มีสว่ นเกี่ยวขอ้ งไดต้ ระหนกั และ
เข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวยั 3) สง่ เสรมิ ใหค้ รมู กี ารบริหารจัดการช้นั เรียนท่สี ร้างวินยั เชิงบวก 4) กระตุ้น
สนบั สนนุ ส่งเสริมใหค้ รใู ช้ส่ือและเทคโนโลยที ี่เหมาะสม สอดคล้องกบั พฒั นาการของเด็ก 5)สง่ เสรมิ ให้ครูเตรียม
และใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเดก็ อย่างหลากหลาย และ 5) สง่ เสรมิ ให้ครูมีการสรุป
รายงานผลพัฒนาการของเดก็ แกผ่ ู้ปกครอง

ส่งผลให้ ครูสามารถออกแบบการจัดการเรยี นรู้ท่ีคานึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคลของผ้เู รียน
และนาสู่ การปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ รวมทง้ั สามารถนาผลการจัดประสบการณก์ ารเรยี นร้มู าพัฒนาการ
จดั ประสบการณ์คร้งั ต่อไป

ผลการประเมนิ โดยรวม มคี ่าเฉลย่ี ( x ) = 4.30 อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดีเยย่ี ม

19

2) จดั ครูใหเ้ พยี งพอกับชน้ั เรียน การดาเนนิ การ ได้แก่ โรงเรียนบา้ นดอนด่านในระดบั ชน้ั ปฐมวยั มคี รู
ท่ีเพยี งพอกบั ชัน้ เรียนเหมาะสมกับการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ คอื มีครูประจาการที่จบการศึกษาปฐมวัย
จานวน 2 คน เป็นครปู ระจาชัน้ อนบุ าล 2 และอนบุ าล 3 มีการพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ที่ตนรับผิดชอบและใช้
ผลในการปรับการจดั ประสบการณ์ ครูมีการจัดส่ิงแวดล้อมให้เกดิ การเรียนรู้ได้ตลอดเวลาครมู ปี ฏสิ ัมพันธท์ ่ดี ีกับ
เด็กและผู้ปกครองครูมีวุฒิและความรู้ ความสามารถในดา้ นการศกึ ษาปฐมวยั เพื่อบรหิ ารจัดการครูและ
บคุ ลากรจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั จดั ใหม้ คี รผู ู้สอนตรงเอกการจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย จานวน 2 คน และ
จัดใหม้ กี ารพฒั นาใหม้ ีความรู้ ความสามารถออกแบบหลักสูตรสถานศกึ ษาเพ่ือการจดั การศึกษาระดบั ปฐมวัย
ออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ และบรหิ ารจดั การช้ันเรียนไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ จานวน..2...คน เพือ่ พัฒนาเด็ก
ปฐมวัยได้มีพฒั นาการตามวัย ส่งผลให้โรงเรียนมคี รทู งั้ มีวุฒิโดยตรง และครูเพิ่มประสบการณ์ จดั การศึกษา
ระดับปฐมวัย เพยี งพอและมีประสทิ ธิภาพ จานวนครบทุกช้ันเรียน ส่งผลให้มคี รูท่มี ีความรับผดิ ชอบจดั
ประสบการณ์ให้กับเด็ก สามารถจัดสงิ่ แวดลอ้ มให้เกิดการเรียนรู้ไดต้ ลอดเวลา มีครูท่มี ปี ฏิสัมพันธ์ทดี่ ีกบั เดก็ และ
ผปู้ กครอง สามารถให้การศึกษาปฐมวัย และมีครมู กี ารจัดทาสารนิทัศนแ์ ละนามาไตรต่ รองเพ่ือพฒั นาเดก็ เช่น
จดั ใหค้ รไู ดเ้ ขา้ ร่วมอบรมเพ่ือพฒั นาตนเองและนาความรู้จากการอบรมมาจดั ประสบการณเ์ พื่อพัฒนาเดก็
ปฐมวยั โดยกระบวนการของการบรหิ ารจดั การของโรงเรียนมี

ผลการประเมินโดยรวม มคี ่าเฉล่ีย( x ) = 4.50 อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดเี ยี่ยม
3) ส่งเสริมใหค้ รมู ีความเชย่ี วชาญด้านการจัดประสบการณ์ การดาเนนิ การ ไดแ้ ก่ โรงเรียนส่งเสริม
สนับสนนุ ให้ครูและบคุ ลากร เข้ารว่ มอบรม สัมมนา และจัดใหม้ ีชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี สง่ เสริมให้ครู
ปฏบิ ัติงานตามบทบาทหนา้ ที่อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล ซ่งึ ประกอบดว้ ย ครูมคี วามเข้าใจปรชั ญา
หลักการ และธรรมชาตขิ องการจดั การศึกษาปฐมวัย

ส่งผลให้ ครูสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์ครูมีการจัดทาแผนการจัด
ประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและสามารถจัดประส บการณ์การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย
สอดคลอ้ งกบั ความแตกต่างระหว่างบคุ คล

ผลการประเมินโดยรวม มคี ่าเฉลี่ย( x ) = 4.60 อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดเี ยี่ยม
4) จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และพอเพียง การดาเนินการ โดยโรงเรียน
จัดให้มีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็ก มีการตรวจสอบ
สภาพของห้องเรียนและส่ิงของเครื่องใช้ของเด็ก โดยคานึงถึงความปลอดภัย ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เป็น
รายบคุ คลและกลุม่ เล่นแบบร่วมมอื รว่ มใจ มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มีส่ือการเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนังสือ
นิทาน ส่ือจากธรรมชาติ สื่อสาหรับเด็กมุด ลอด ปีนป่าย ส่ือเทคโนโลยี สื่อเพื่อการสืบเสาะหาความรู้ โดย
กระบวนการของการบริหารจดั การของโรงเรียน

ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้เป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่นแบบร่วมมือ ร่วมใจ มีมุมประสบการณ์
หลากหลาย มีส่ือการเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน ส่ือจากธรรมชาติ สื่อสาหรับเด็กมุด ลอด ปีนป่าย ส่ือ
เทคโนโลยี สือ่ เพื่อการสบื เสาะหาความรู้

ผลการประเมนิ โดยรวม มีคา่ เฉล่ยี ( x ) = 4.50 อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ดีเยย่ี ม
5) ใหบ้ รกิ ารสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อการเรียนรเู้ พื่อสนับสนุนการจดั ประสบการณ์
การดาเนนิ การ โดยโรงเรยี นบ้านดอนดา่ นในมกี ารสนับสนนุ ส่ือ เทคโนโลยี ให้ครเู พ่ือสนบั สนุนการจัด
ประสบการณ์และพัฒนาครรู วมถงึ การจดั ทาเวบ็ ไซต์ของโรงเรียนและเพจของโรงเรยี นบ้านดอนดา่ นในเพ่ือเปน็
ส่อื ในการเผยแพร่กิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมต่างๆใหก้ บั ผูป้ กครองและผู้ที่สนใจ เพอื่ สง่ เสริมให้
เปน็ สถานศึกษาท่ีม่งุ พัฒนาคุณภาพการศึกษามีการจัดระบบขอ้ มลู สารสนเทศและใชส้ ารสนเทศในการนาสู่การ
จัดประสบการณ์ การใช้สือ่ ใช้งานสาหรบั การศึกษาปฐมวัยโดยโรงเรียนบา้ นดอนด่านในมีการสนับสนุนส่ือ

20

เทคโนโลยี ให้ครูเพอ่ื สนบั สนุนการจดั ประสบการณ์และพัฒนาครรู วมถงึ การจัดทาเว็บไซตข์ องโรงเรียนและเพจ
ของโรงเรยี นบา้ นดอนด่านในเพ่อื เป็นส่ือในการเผยแพร่กจิ กรรมการเรยี นการสอน และกิจกรรมตา่ งๆใหก้ ับ
ผู้ปกครองและผ้ทู ี่สนใจ เพอ่ื ส่งเสริมให้เป็นสถานศึกษาที่มงุ่ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษามีการจัดระบบข้อมูล
สารสนเทศและใชส้ ารสนเทศในการนาสกู่ ารจัดประสบการณ์ การใชส้ ือ่ ใช้งานสาหรับการศึกษาปฐมวยั

ผลการประเมนิ โดยรวม มคี ่าเฉล่ีย( x ) = 4.50 อยู่ในระดบั คุณภาพ ดเี ยย่ี ม
6) มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพทเ่ี ปิดโอกาสใหผ้ ู้เกีย่ วข้องทุกฝ่ายมี่สว่ นรว่ ม การดาเนนิ การ โดย
โรงเรยี นบา้ นดอนด่านในมกี ารส่งเสริมบทบาทครูและบุคลากรในระดับปฐมวัย ใหม้ ีสว่ นรว่ มในการกาหนด
นโยบาย และทศิ ทางการพฒั นาของสถานศึกษา โดยเปดิ โอกาสให้ครู รว่ มกาหนดโครงการ และ กจิ กรรมท่ี
สง่ เสรมิ พัฒนาการ ทกั ษะดา้ นตา่ ง ๆใหแ้ ก่ผูเ้ รยี น โรงเรียนและครจู ัดโครงการ/ กจิ กรรมท่ีสง่ เสรมิ พฒั นาการ
ของ ผเู้ รยี น และการมีส่วนร่วมของ บุคคลท่เี กี่ยวข้องตามพันธกจิ ของโรงเรยี น เช่น กิจกรรมการแข่งขันกฬี า
ภายใน กจิ กรรมวนั สาคัญ โครงการปฐมนเิ ทศผปู้ กครอง และ การประเมินการปฏิบตั งิ านของ บุคลากรได้ตรง
ตามสภาพจริง โดยนาข้อมลู การประเมินจากเพื่อนครู มาประกอบการพจิ ารณา รวมท้ังการจดั ระบบประกัน
คณุ ภาพการศึกษาทคี่ รทู ุกคนมีส่วนรว่ มในการดาเนนิ การ

ผลการประเมนิ โดยรวม มีค่าเฉล่ยี ( x ) = 4.30 อยู่ในระดบั คุณภาพ ดีเยย่ี ม
1.3) มาตรฐานท่ี 3 ดา้ นการจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเปน็ สาคัญ โดยรวม ( x ) = 4.55 อย่ใู น
ระดบั คุณภาพ ดเี ยย่ี ม ผลการดาเนินการ มีดังนี้

1) การจัดประสบการณ์ท่สี ่งเสริมใหเ้ ด็กมีพฒั นาการทุกด้านอยา่ งสมดุลเต็มศกั ยภาพ โดยโรงเรยี นจดั
กิจกรรมในโครงการพฒั นากระบวนการเรยี นการสอนรับปฐมวัย เพือ่ สง่ เสริมการจัดประสบการณ์การเรียนรทู้ ่ี
หลากหลาย สอดคลอ้ งกับความแตกต่างระหว่างบุคคล ได้มีการปรบั พ้นื บริบทห้องเรียน แบง่ สดั สว่ นสาหรับทา
กจิ กรรมไดห้ ลากหลายรูปแบบ มรี ะบบเฝ้าระวังและกระตุ้นใหเ้ กดิ พฒั นาการที่เหมาะสม เน้นกจิ กรรมท่ี
สอดคลอ้ งกบั การปฏิรปู การเรียนรู้ ยกระดบั คุณภาพสูงขนึ้ ปรบั เปล่ยี น ยืดหยนุ่ ไดต้ ามกาลเวลาและปัญหา
สงั คมท่เี ปลยี่ นไป

ผลการประเมินโดยรวม มีค่าเฉล่ยี ( x ) = 4.60 อยใู่ นระดบั คุณภาพ ดีเยี่ยม
2) สร้างให้เด็กไดร้ ับประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ัตอิ ย่างมีความสุข กิจกรรมที่จัด ได้แก่
โครงการทัศนศึกษาแหลง่ เรียนร้นู อกสถานที่ โดยโรงเรยี นไดน้ าเด็กปฐมวัยเข้าร่วมกิจกรรม Play and Learn
ท่ีสวนสตั วน์ ครราชสมี า

ส่งผลให้ เด็กมคี วามสุขในการเรียนรผู้ ่านการเลน่ มีประสบการณ์ตรง ได้สมั ผัสและเห็นสื่อทเี่ ป็น
ของจริง เด็กมีลกั ษณะพฤตกิ รรม สนใจเรยี นรสู้ ่งิ รอบตัว ซักถามอย่างตัง้ ใจและรกั การเรียนรู้ มคี วามคิดรวบ
ยอดเก่ยี วกับสิง่ ต่างๆ ทเ่ี กดิ จากประสบการณก์ ารเรยี นรู้ มีทักษะทางภาษาท่ีเหมาะสมกับวยั

ผลการประเมนิ โดยรวม มีค่าเฉลี่ย ( x ) = 4.60 อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ดเี ยี่ยม
3) จัดบรรยากาศท่เี อื้อต่อการเรยี นรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย โรงเรียนมีโครงการจดั หา
และพฒั นาส่ือสาหรบั เดก็ ปฐมวัย โดยไดจ้ ัดหาสื่อการเรยี นการสอนทีส่ ง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัย ทั้งทาง
ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปญั ญา มสี ื่อทัง้ เป็นของจริงและสือ่ ธรรมชาติ ท่ีอยใู่ กล้ตวั เด็ก โดยมกี ารจดั
สภาพแวดลอ้ มใหเ้ อื้อตอ่ การเรียนรู้ เพ่ือใหเ้ ด็กมีพัฒนาการเปน็ ไปตามธรรมชาติของการจัดการศกึ ษาปฐมวยั
จัดทาและใช้แผนการจดั ประสบการณป์ ฐมวัย ทส่ี อดคล้องกบั หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พัฒนาหนว่ ยการ
เรยี นรทู้ ใ่ี ชส้ ่ือ เทคโนโลยปี ระกอบการจดั ประสบการณ์ทกุ หน่วย เพ่ือสร้างเสริมวนิ ยั เชงิ บวก เลอื กและใชส้ อื่
เทคโนโลยีสอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการอย่างหลากหลาย มีการวิจัย
เพื่อพัฒนาการจดั การเรียนรู้ พร้อมกับจดั สงิ่ แวดล้อมใหเ้ อ้ือต่อการเรียนรู้ ในและนอกชน้ั เรียน

21

ผลการประเมินโดยรวม มีค่าเฉลี่ย ( x ) = 4.50 อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ดีเยยี่ ม

4) ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจริง และนาผลไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์ และพฒั นาเด็ก
การประเมนิ พัฒนาการเดก็ ในระดบั ปฐมวัย เปน็ ภารกิจสาคัญทเ่ี กิดขนึ้ ควบคู่ไปกับการจดั ประสบการณ์เรียนรู้
ครตู อ้ งสามารถเก็บรอ่ งรอย หลกั ฐานการเรยี นรแู้ ละดาเนินการประเมนิ อยา่ งเปน็ ระบบ เพือ่ ให้ได้ผลการ
ประเมนิ ท่ีตรงตามความเปน็ จรงิ ซึง่ ครมู ีการจัดการประเมินพฒั นาการและการเรยี นรูข้ องเด็กอยา่ งต่อเน่ืองมี
เครื่องมอื ประเมินทเ่ี หมาะสม หลากหลาย และดาเนนิ การประเมินพัฒนาการทง้ั 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับ
มาตรฐาน ตวั บ่งชข้ี องหลกั สตู รการจัดประสบการณ์ปฐมวยั ทกุ หนว่ ยการจดั ประสบการณ์ และนาผลการะเมิน
มาสะท้อน ปรบั พัฒนาเปน็ หนว่ ย/กิจกรรมการจดั ประสบการณ์ เพ่ือนาความรู้ ทักษะ ประสบการณว์ างแผนใน
หนว่ ยการจดั ประสบการณค์ ร้ังต่อไป ส่งผลใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการครอบคลุมทัง้ 4 ด้านชัดเจน สรปุ รายงาน
แสดงผลพฒั นาเป็น

ผลการประเมนิ โดยรวม มีค่าเฉลี่ย ( x ) = 4.50 อยูใ่ นระดับคุณภาพ ดเี ย่ียม

2.2 ดา้ นการปฏิบตั ิหนา้ ที่อืน่ ๆ ปีการศกึ ษา 2563
2.2.1) หน้าทใ่ี นการจดั การศึกษาปฐมวยั ในระดับสายชน้ั ปฐมวยั อน่ื ๆ ไดแ้ ก่ การส่งเสริมและพฒั นาผเู้ รียน

ใหม้ ีความพร้อมก่อนเรียนระดับประถมศึกษาต่อไป
2.2.2) หนา้ ท่พี เิ ศษ โรงเรียนมอบหมาย ไดแ้ ก่ งานบริหารโรงเรยี นทงั้ 4 ฝ่าย และงานตามนโยบายจาก

หน่วยงานตน้ สงั กัด

2.3 ขอ้ มูลการพัฒนาตนเอง ปกี ารศกึ ษา 2563
2.3.1 การเขา้ ร่วมกิจกรรมเพอื่ พัฒนาตนเอง ได้แก่การประชุม อบรม และสัมมนาท่ีหน่วยงานตน้ สงั กดั

จดั ให้จานวน 12 ชวั่ โมงตอ่ ปีการศกึ ษา และสมัครเข้ารบั การพฒั นา ณ จดุ พัฒนาต่างๆ ด้วยตนเองจานวน 20
ช่วั โมงตอ่ ปีการศึกษา

2.3.2 กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณท์ ่นี ามาจดั ประสบการณ์ใหก้ บั เด็ก ปีการศึกษา 2563 ได้แก่ การ
นามาจดั บรู ณาการในหนว่ ยการจดั ประสบการณ์

2.3.3 กระบวนการจดั ประสบการณ์ ที่ครูออกแบบเพื่อจดั ประสบการณ์ให้กับเด็ก ทเ่ี ป็นเอกลกั ษณ์
หรือเปน็ Best Practice ช่อื .............................-.........................................
ประกอบด้วย......-........มีกระบวนการ ดงั น้ี
............................................................................................... ........................................................................

2.3.4 วจิ ยั /นวตั กรรมในช้ันเรียน ปีการศึกษานี้ ดาเนินการ จานวน..2....เร่อื ง ไดแ้ ก่
- การปรบั เปลย่ี นพฤติกรรม การกล้าแสดงออกของนักเรยี น
- การปรบั พฤติกรรม การมาโรงเรยี นสาย

2.3.5 ปกี ารศกึ ษา 2563 โครงงานบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อย ทไี่ ด้ดาเนินการ ชือ่ โครงงานการกาจัด
เหาดว้ ยสมุนไพร กจิ กรรมการทดลองบ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ยจานวน. 30 กจิ กรรม

2.4 ผลงานดีเดน่ ปกี ารศึกษา 2563
2.4.1 ผลงานของครู (ปีการศึกษาปัจจุบนั เท่านั้น) ได้แก่
- ครผู ้สู อนได้รบั รางวัล ครดุ ีไมม่ ีอบายมุข ปีการศกึ ษา 2563
2.4.2 ผลงานของนักเรียนทรี่ บั ผดิ ชอบ (ปกี ารศกึ ษาปัจจบุ นั เท่าน้ัน) ได้แก่

- รางวัลชนะเลศิ รองชนะเลิศ ในกิจกรรมระบายสี เน่อื งในวันสาคญั ตามกลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ่ีโรงเรยี นจดั ข้ึน

22

2.5. ข้อมูลอื่นๆ การประสานแหลง่ เรียนรู้เข้ามาสง่ เสริม สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์ ระดบั ปฐมวัย ได้แก่
2.5.1 แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น (ปีการศึกษา 2563) จานวน...3...แหล่ง ไดแ้ ก่
1. ศูนยก์ ารเรียนร้เู ศรษฐกจิ พอเพียง ในโรงเรยี น ประกอบไปดว้ ย
-โรงเรอื นเลีย้ งไก่ไข่
-โรงเพาะเห็ดนางฟ้า
2. ห้องสมุดโรงเรียนบ้านดอนดา่ นใน
3. ห้องคอมพิวเตอร์
2.5.2 แหล่งเรียนรูภ้ ายนอกโรงเรยี น (ปีการศึกษา 2563) จานวน 3 แหลง่ ไดแ้ ก่
1. วัดดา่ นใน
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
3. สวนสัตวน์ ครราชสีมา
2.5.3 ปราชญช์ าวบ้าน/ภูมิปญั ญาท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิ ผรู้ ู้ต่างๆ จานวน 3 คน ได้แก่นางวรวรรณ

กอกสงู เนนิ , นางนงนุช ไตรทิพย์ นายจรญู ลดั ดา

2.6. สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจของผ้เู ก่ียวข้องที่มตี อ่ การจดั ประสบการณ์ ระดับชั้นปฐมวัย
ปกี ารศึกษา 2563 .พบวา่ ผ้เู ก่ียวขอ้ งการจัดการศกึ ษาปฐมวยั มคี วามพึงพอใจ มีคา่ เฉลี่ย ( x ) = 4.45 อยู่ใน
ระดับดีเย่ยี ม

2.7. งบประมาณการจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ปีการศึกษา 2563 ได้รบั งบประมาณ จัดให้มโี ครงการ/
กิจกรรมพัฒนาจานวน7 โครงการ งบประมาณทั้งสนิ้ 42,000 บาท ไดแ้ กโ่ ครงการ

1. โครงการจดั หาและพฒั นาสื่อระดบั ปฐมวัย
2. โครงการพฒั นากระบวนการเรยี นการสอนระดับปฐมวัย
3. โครงการสง่ เสรมิ ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการและประกันคุณภาพทางการศึกษา
4. โครงการบ้านนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ย
5. โครงการพฒั นาคณุ ธรรมจริยธรรมและวนั สาคญั
6. โครงการสง่ เสริมสุขภาพเด็กปฐมวยั
7. โครงการคาราวานเสริมสร้างเดก็

2.8. ข้อเสนอเพ่อื การพัฒนาปีการศกึ ษาต่อไป
2.8.1 จุดเดน่ ผลจากการจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ได้แก่
1) ดา้ นคณุ ภาพเดก็ : เด็กได้รบั การสง่ เสรมิ ในเร่ืองของพัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น ไม่วา่ จะด้านร่างกาย

ด้านอารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา ให้มรี ่างกายทส่ี มบรู ณ์แข็งแรง ร่าเริงแจม่ ใส รู้จักแบง่ ปัน รอคอย มี
ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง มสี ุขนิสัยท่ดี ี และหลกี เลี่ยงตอ่ อุบตั ิภัย และสง่ิ เสพติด มจี ติ สานึกรกั ษาสิ่งแวดลอ้ ม
รกั ษาความสะอาดทง้ั ภายในและภายนอกห้องเรยี นท้ิงขยะลงถังได้ มีการบูรณาการ การจัดประสบการณ์ท่ี
หลากหลาย เดก็ ได้ลงมอื ปฏิบัติจรงิ ส่งเสรมิ ให้เดก็ มีคุณธรรม จริยธรรม มีมารยาทการไหว้ ร่าเรงิ แจ่มใสทางาน
ร่วมกบั ผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข

2) กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ : มีการจดั ทาหลักสูตรสถานศึกษาทีค่ รอบคลุมพฒั นาการท้งั
4 ด้านของเด็ก มคี วามยดื หยุ่นและสอดคล้องกบั บริบทของทอ้ งถิ่นโดยเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญชุมชนมีสว่ นร่วมใน
การวางแผนและพฒั นาสถานศึกษา มีครูครบช้ันและจบตรงเอก บุคลากรมีความรกั ความสามัคคีเป็นน้าหนงึ่ ใจ

23

เดยี วกนั และมีกระบวนการพัฒนาครใู ห้สามารถออกแบบรูปแบบการสอนที่เหมาะสมกับพฒั นาการ และทักษะ
ท่จี าเปน็ ตามวยั

3) ด้านการจัดประสบการณ์ที่เนน้ เด็กเปน็ สาคญั : พ่อ แม่ ผปู้ กครองและชมุ ชนให้ความร่วมมือใน
การสง่ เสริมและพฒั นาเด็ก เด็กได้ลงมือปฏิบัตดิ ว้ ยตนเอง มีกจิ กรรมหลากหลาย และมสี ่ือการเรยี นการสอนที่
เอือ้ ต่อการเรียนรขู้ องเด็ก

2.8.2 จดุ ทคี่ วรพัฒนา ผลจากการจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวัย ไดแ้ ก่
1. ดา้ นคุณภาพเดก็ : เด็กยังขาดทกั ษะในเร่ืองของการคดิ วเิ คราะห์ คิดรวบยอด การแก้ปญั หาเฉพาะ
หน้า ขาดความม่ันใจในตนเอง
2. กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ : ส่งเสริมให้ครมู ีความเชย่ี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
การจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพอื่ การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัย และพอเพยี ง และการกาหนดแผนการพฒั นาครู
อย่างชัดเจน
3. ดา้ นการจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เด็กเปน็ สาคญั : จดั อปุ กรณ์ส่ือการเรยี นการสอนมุมประสบการณ์

ในห้องเรียนใหห้ ลากหลาย และ พัฒนาเคร่ืองเล่นสนามใหม้ ีเพยี งพอ มีความแข็งแรง และปลอดภัย ตอ่ เดก็

24

สว่ นที่ 3
ขอ้ มูลพนื้ ฐาน ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

3.1 ข้อมูลทว่ั ไป
ชอื่ โรงเรียน บา้ นดอนดา่ นใน ที่ต้ังเลขท่ี - หม่ทู ี่ 5 ตาบลด่านใน อาเภอด่านขุนทด จงั หวดั นครราชสีมา

สงั กัดสานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 โทร…..-...…………โทรสาร…..-...e-mail
[email protected] website http://- เวบ็ ไซตโ์ รงเรียน (Host สพฐ.)
เปดิ สอนระดับชัน้ อนุบาลปที ่ี 2 ถงึ ระดับชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 เน้ือที่ 9 ไร่ 1 งาน 65 ตารางวา มเี ขต
พืน้ ท่ีบรกิ าร 6 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ท่ี 1 บ้านหนองบง หม่ทู ี่ 2 บ้านหนองหัวช้าง หมู่ท่ี 4 บา้ นดา่ นใน
หมูท่ ่ี 5บา้ นดอน หมู่ท่ี 7 บ้านดอนขาม หม่ทู ่ี 8 บ้านบึงน้อย ผู้อานวยการโรงเรยี น ชอ่ื นายวฒุ ิพงษ์ พงษ์
ประดิษฐ์

3.2 ขอ้ มลู บุคลากร
ปีการศกึ ษาปัจจุบันนักเรียน ระดบั ขั้นพืน้ ฐาน จานวนรวมท้ังส้นิ 207 คน ชาย 105 คน หญิง 102

คนจานวนครแู ละบุคลากร ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน จานวนทัง้ ส้ิน 13 คน แยกเป็นระดับประถมศกึ ษา
จานวน 6 คน ระดบั มธั ยมศึกษาจานวน 7 คน

25

ส่วนท่ี 4
คณุ ภาพการจัดการศึกษาระดบั ข้ันพนื้ ฐาน

4.1 ข้อมลู การปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ โดยรวม ( x ) = 4.29 อย่ใู นระดับคุณภาพ ดีเย่ียม
1. มาตรฐานท่ี 1 ด้านคณุ ภาพผเู้ รียน
1.1 ด้านผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของนกั เรียน
1.1.1 ด้านความสามารถในการอา่ น เขยี น การสือ่ สาร และการคดิ คานวณ โครงการ/กิจกรรมที่

จดั ใหไ้ ดเ้ รียนรู้ ได้แก่ - โครงการแสวงหาความรู้และพฒั นาตนเอง - โครงการส่งเสรมิ ประสทิ ธภิ าพในการคดิ
อย่างเป็นระบบ คดิ สรา้ งสรรค์ ตดั สนิ ใจแก้ปัญหาได้ อย่างมสี ตสิ มเหตสุ มผล - โครงการส่งเสรมิ การเรียนรเู้ พ่ือ
พัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่มาตรฐานการศึกษา

ผลท่ีเกดิ ข้ึน นักเรยี นมคี วามสามารถดา้ นการอ่าน โดยรวม รอ้ ยละ 78.00 มีความสามารถดา้ น
การเขยี น ร้อยละ 76.00 มคี วามสามารถด้านการส่ือสาร รอ้ ยละ 75.00 และมีความสามารถดา้ นการคดิ
คานวณ รอ้ ยละ 77.00 (อ้างอิงภาคผนวก 1.1 ระบบงานวัดและประเมินผลโรงเรียน)

สง่ ผลการประเมนิ โดยภาพรวมดา้ นความสามารถในการอ่าน เขยี น การส่อื สาร และการคดิ
คานวณ (76.33 %) ( x = 3.56) คุณภาพอย่ใู นระดับ ดีเลิศ

1.1.2 ดา้ นความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น
และแกป้ ัญหา โครงการ/กจิ กรรมทจี่ ัดใหเ้ รียนรู้ ได้แก่ โครงการส่งเสรมิ ประสทิ ธภิ าพในการคดิ อยา่ งเป็นระบบ
คดิ สรา้ งสรรค์ตัดสินใจแก้ปญั หาได้อยา่ งมีสตสิ มเหตสุ มผล (อา้ งอิงภาคผนวก 1.2 ผลการวเิ คราะหค์ ะแนนจาก
การทาแบบฝึกการคดิ วิเคราะห์ ) ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้ดว้ ยการปฏิบัตจิ รงิ ผลที่เกิดข้ึน ผเู้ รียนมคี วามสามารถใน
การผ้เู รียนมคี วามสามารถในการการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ และ
แกป้ ญั หา ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ด้วยการปฏบิ ตั ิจรงิ (อา้ งองิ ภาคผนวก 1.3 แบบฝึกการคิดวเิ คราะห์)

ผลการประเมินโดยภาพรวมด้านความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย
แลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา ( x = 4.20) คณุ ภาพอยู่ในระดบั ดีเยีย่ ม

1.1.3 ดา้ นความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม โครงการ/กจิ กรรมที่จัดใหเ้ รียนรู้ ได้แก่- โครงการ
สง่ เสรมิ การเรยี นร้เู พื่อพัฒนาศกั ยภาพผเู้ รยี นสมู่ าตรฐานการศกึ ษา

ผลทเ่ี กิดขึน้ ผู้เรยี นค้นคว้าหาความรู้ สร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเองซึง่ สอดคล้องกับแนวคิดการ
เรยี นร้ทู ย่ี ึดผู้เรยี น เปน็ สาคัญ เปน็ การเรียนรเู้ กิดจากการปฏิบตั จิ รงิ จากการหาความรู้และการลงมือกระทา มี
ความสามารถ ในการใชค้ วามรู้น้ันๆ (อ้างอิงภาคผนวก 1.4 แบบสรุปประเมินการเรยี นรู้ดว้ ยโครงงาน ปี
การศกึ ษา 2563 )

ผลการประเมนิ โดยภาพรวมด้านความสามารถในการสร้างนวตั กรรม ( x = 4.30) คณุ ภาพอยใู่ น
ระดบั ดเี ยยี่ ม

1.1.4 ด้านความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โครงการ/กิจกรรมท่ีจัดให้
เรยี นรู้ ไดแ้ ก่โครงการสง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้โดยเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ กจิ กรรมการเรียนการสอนท่ี
หลากหลาย

ผลทเี่ กิดข้นึ ผเู้ รียนสืบคน้ ข้อมูลหรอื แสวงหาความรู้จากสอ่ื เทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมท้งั
สามารถวิเคราะห์ จาแนกแยกแยะได้ว่าส่งิ ไหน ดี สาคัญ จาเปน็ รวมท้งั รูเ้ ทา่ ทนั ส่ือและสงั คมที่เปล่ยี นแปลง
อยา่ งรวดเรว็ (อา้ งอิงภาคผนวก 1.5 แบบสรุปผลการประเมนิ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ปี
การศึกษา 2563)

ผลการประเมินโดยภาพรวมด้านความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ( x
= 4.20) คุณภาพอยู่ในระดบั ดีเยี่ยม

26

1.1.5 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตามหลักสูตร โครงการ/ กจิ กรรมทจ่ี ดั ให้เรียนรู้ ได้แก่โครงการ
พฒั นาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรทู้ ่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั (กจิ กรรมจัดทาหลักสตู รใหเ้ หมาะสมกับเดก็ และ
ท้องถิ่น -ปรับปรุงหลักสตู รของสถานศกึ ษา -ปรบั ปรงุ แก้ไขหลักสตู รสถานศกึ ษาทุกกล่มุ สาระ -ปรบั ปรงุ แก้ไข
หลกั สูตรทอ้ งถ่นิ ใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการชมุ ชน และ กิจกรรมแผนการจดั การเรียนรู้)

ผลทีเ่ กิดขึ้น ความก้าวหน้าทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ผ้เู รียนมคี วามกา้ วหน้าจาก
พืน้ ฐานเดมิ มีความรู้ความเข้าใจและทักษะตามหลักสตู ร แตม่ แี นวโนม้ ไม่แนน่ อนในบางกล่มุ สาระการเรยี นรู้
ดา้ นผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นปีการศึกษาปัจจบุ นั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 มัธยมศึกษปีท่ี 3 มีคะแนนเฉลย่ี 3.12
(78.00 %) และผลการทดสอบระดบั ชาติ NT รอ้ ยละ..-.. (อ้างอิงภาคผนวก 1.6 ตารางสรุประดับผลการ
เรยี นรู้ แยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 – มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563)

1.1.6 ความรู้ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ่ีดีต่องานอาชีพ โดยจัดใหผ้ เู้ รียนได้รบั การพัฒนาจาก
โครงการ ส่งเสริมทักษะการทางานอาชีพและมีเจตคติทีด่ ีต่ออาชีพทส่ี จุ รติ กิจกรรมเลือกอาชพี ทสี่ นใจ

ผลทเี่ กิดขนึ้ ด้านความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝกึ งานหรอื การทางาน ผู้เรียนมคี วามรทู้ ักษะและ
เจตคติทีด่ ี พร้อมทจี่ ะศึกษาต่อในระดับชน้ั ทส่ี งู ขึ้น มีวฒุ ิภาวะทางอาชีพเหมาะสมกบั ชว่ งวัย (อา้ งองิ ภาคผนวก
1.7 แบบสรุปและรปู ภาพกจิ กรรมการเรียนรดู้ ้านงานอาชีพ ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ) และมีเจตคติที่ดีต่อ
อาชพี ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ ฝึกปฏิบตั งิ านและอาชีพทกุ ระดับชั้นเรียน รอ้ ยละ 95.00 ( x = 3.75 ) (อา้ งอิง
ภาคผนวก 1.8 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจเจตคติทด่ี ตี ่ออาชีพ)

ผลการประเมินสรปุ โดยภาพรวมท้ังสองประเดน็ พิจารณาย่อย มคี วามรู้ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติทีด่ ี
ตอ่ งานอาชพี ( x = 4.30 ) คุณภาพอยใู่ นระดบั ดีเยีย่ ม

1.2 ดา้ นคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผูเ้ รียน
1.2.1 ด้านการมีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีตามที่สถานศึกษากาหนด โดยจัดให้ผู้เรียนได้รับการ

พัฒนาจากโครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและสง่ เสรมิ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน
ผลที่เกิดขึน้ ผ้เู รยี นมคี ุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 8 ประการ เป็นไปตามเป้าหมายของหลกั สูตร

สถานศึกษา ผลการประเมินคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปที ่ี 3
(อ้างองิ ภาคผนวก 1.1 )

สรุปการประเมินปลายปี คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และการอ่านคดิ วิเคราะห์ ปกี ารศกึ ษา
2563 ) มคี า่ เฉลย่ี ( x =4.35) คุณภาพอยใู่ นระดับ ดเี ยี่ยม

1.2.2 มคี วามภมู ิใจในท้องถ่นิ และความเป็นไทย โดยจัดให้ผเู้ รยี นไดร้ บั การพัฒนาจากโครงการ
พฒั นาคุณธรรมจริยธรรมและสง่ เสริมคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของนักเรยี น

พบวา่ ผู้เรยี นมคี วามภาคภมู ใิ จในท้องถิ่นและความเปน็ ไทยของตนเอง ร่วมเรยี นรู้และฝกึ วิถคี วาม
เปน็ ไทยกิจกรรมภายในโรงเรียนได้แก่ กิจกรรมวันสาคัญ ในชุมชนไดแ้ ก่ วนั ลอยกระทง ,แหเ่ ทยี นพรรษา
โดยรวมผเู้ รียนมคี วามภมู ใิ จในท้องถ่นิ และความเป็นไทย (อ้างองิ ภาคผนวก 1.9 แบบประเมินความพงึ พอใจ
และภาพกจิ กรรมวนั ลอยกระทง และแห่เทยี นเข้าพรรษา ปีการศกึ ษา 2563 ) มีคา่ เฉลี่ย( x = 4.25)
คุณภาพอยู่ในระดับ ดเี ย่ียม

27

1.2.3 ด้านการยอมรับทีจ่ ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย โดยจดั ใหผ้ ู้เรยี นไดร้ ับการ
พัฒนาจากโครงการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนร้ทู ี่เน้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั กิจกรรมเสริมวันสาคญั ตาม
กล่มุ สาระการเรียนรู (วนั คริสตม์ าส )

พบวา่ ผู้เรียนยอมรบั เหตุผลความคดิ เห็นของผู้อื่นและมมี นุษยสัมพันธ์ทดี่ ีในการอยู่ร่วมกนั ส่งผล
ให้ผู้เรียนด้านการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย(อ้างอิงภาคผนวก 1.10 แบบ
ประเมินความพึงพอใจ และภาพกิจกรรมวันคริสต์มาส ปีการศึกษา 2563 ) มีค่าเฉล่ีย( x = 4.30) คุณภาพ
อยใู่ นระดบั ดีเยย่ี ม

1.2.4 มสี ุขภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจติ สังคม โดยจดั ให้ผู้เรียนไดร้ บั การพัฒนาจากโครงการ
สง่ เสรมิ สขุ ภาพและอนามัยในโรงเรียน กจิ กรรมทดสอบสมรรถภาพ

พบว่าผู้เรียนมีวิธีรักษาสุขภาพของตน รักษาอารมณ์ และสุขภาพจิตได้ดี มีสุขปฏิบัติท่ีเหมาะสม เป็นวิถี
ชีวิตที่เหมาะสม ส่งผลให้ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม (อ้างอิงภาคผนวก 1.11 แบบ
ประเมินความพึงพอใจและรูปภาพกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพ ) มีค่าเฉลี่ย ( x = 4.25) คุณภาพอย่ใู นระดับดี
เยยี่ ม

2. มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ โดยรวม ( x ) =4.32 อย่ใู นระดบั คณุ ภาพ
ดเี ยีย่ ม

2.1 มีเปา้ หมายวสิ ยั ทศั น์และพนั ธกจิ ที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน กระบวนการที่ดาเนนิ การ ได้แก่
สถานศึกษากาหนดเป้าหมาย วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ไว้อย่างชดั เจน สอดคลอ้ งกับ บริบทของสถานศึกษา ความ
ตอ้ งการของชมุ ชน ท้องถิ่น วัตถปุ ระสงคข์ องแผนการศกึ ษาชาติ นโยบายของรฐั บาล และของตน้ สงั กัดรวมทั้ง
ทันต่อการเปลย่ี นแปลงของสังคม

โดยรวมมผี ลการประเมนิ การดาเนนิ การ มีคา่ เฉล่ยี ( x = 4.30) คณุ ภาพอยใู่ นระดับ ดเี ยยี่ ม
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา กระบวนการท่ีดาเนินการ ได้แก่ สถานศึกษา
สามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบท้ังในส่วนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษา การนาแผนไปปฏิบัติเพ่ือพัฒนาคุณภาพกรศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมินผล และปรับปรุง
พัฒนางานอย่างต่อเน่ือง มีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มี
ระบบการนิเทศภายใน การนาข้อมูลมาใช้ในกรพัฒนา บุคลากรและผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่าย มีส่วนร่วมการ
วางแผน ปรบั ปรงุ และพฒั นา และร่วมรบั ผิดชอบต่อผลการจัดการศกึ ษา

ส่งผลใหโ้ ดยรวมมีผลการประเมินการดาเนนิ การ มคี ่าเฉลยี่ ( x = 4.30) คณุ ภาพอยู่ในระดบั
ดีเยี่ยม

2.3 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่เี นน้ คุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษาและ
ทุกกลมุ่ เป้าหมาย โดยจัด โครงการส่งเสริมประสิทธภิ าพในการคิดอยา่ งเปน็ ระบบคดิ สร้างสรรค์ ตดั สินใจ
แก้ปัญหาได้อย่างมสี ติสมเหตุสมผล, โครงการส่งเสริมการเรยี นรู้เพ่อื พัฒนาศักยภาพผเู้ รียนสู่มาตรฐาน
การศกึ ษา , โครงการแสวงหาความรู้และพฒั นาตนเอง ,โครงการส่งเสริมทักษะการทางานอาชีพและมีเจตคติท่ดี ี
ตอ่ อาชีพท่สี ุจริต, โครงการพัฒนาหลกั สตู รและกระบวนการเรียนร้ทู ีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ,โครงการศกึ ษาแหล่ง
เรียนรู้และ ภูมิปัญญาท้องถ่นิ , โครงการบริการแหล่งเรียนรแู้ ละภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ ,โครงการส่งเสรมิ คณุ ภาพ
ผ้เู รียน

พบวา่ โรงเรยี น มีการบรหิ ารจัดการเก่ียวกับงานวชิ าการ ทั้งดา้ นการพฒั นาหลักสูตร กิจกรรมเสรมิ
หลักสตู ร ทเี่ นน้ คุณภาพผูเ้ รียนรอบด้าน เชื่อมโยงวถิ ชี ีวติ จรงิ และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการ
จดั การเรียนการสอนของกลมุ่ ท่ีเรยี นแบบควบรวมหรือกลมุ่ ทเี่ รียนรว่ มดว้ ย

โดยรวมมีผลการประเมนิ การดาเนนิ การ มีค่าเฉลย่ี ( x = 4.30 ) คณุ ภาพอยูใ่ นระดบั ดีเย่ียม

28

2.4 พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ โดยจดั โครงการพัฒนาศักยภาพครแู ละ
บคุ ลากรทางการศึกษา (อบรมศกึ ษา ดงู าน) โรงเรียนสามารถส่งเสริม สนับสนนุ พฒั นาครู บคุ ลากร ใหม้ ีความ
เชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ และจัดให้มชี มุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี มาใชใ้ นการพัฒนางานและการเรียนรูข้ องผเู้ รยี น
ปีการศกึ ษานี้ ได้ดาเนนิ การกิจกรรม ได้แก่ การยืนใบต่ออายใุ บประกอบวิชาชีพครู การอบรมทางไกลผ่าน
ระบบออนไลน์ การรับการประเมินเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม ตาแหนง่ ครูผูช้ ่วย พฒั นาครแู ละ
บคุ ลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชพี และการนเิ ทศการสอนอยา่ งต่อเน่ือง

พบว่า สถานศกึ ษาไดส้ ่งเสรมิ สนบั สนนุ พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชพี และ
จัดให้มชี ุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพ มาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรียนรู้ของผูเ้ รยี น

โดยรวมมีผลการประเมินการดาเนินการ มีค่าเฉลี่ย ( x = 4.35) คณุ ภาพอยู่ในระดับ ดีเยีย่ ม
2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมที่เอ้อื ต่อการจดั การเรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพ โดยจดั
โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรเู้ พ่ือพัฒนาศักยภาพผเู้ รียนสู่มาตรฐานการศึกษา กิจกรรมการประกวดหอ้ งเรียน

พบวา่ แต่ละห้องเรยี นได้จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อื้อต่อการจัดการเรียนรอู้ ย่าง
มคี ณุ ภาพ สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทาง
สังคม ท่ีเอ้อื ต่อการจัดการเรยี นรู้และมคี วามปลอดภัย

โดยรวมมีผลการประเมนิ การดาเนนิ การ มคี ่าเฉล่ยี ( x = 4.30) คณุ ภาพอยู่ในระดับดีเลศิ

2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนับสนุนการบริหารจดั การและการจัดการเรียนรู้ โดยจัด
โครงการสง่ เสริมการจัดการเรียนรู้โดยเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ กจิ กรรม ( การเรยี นการสอนท่หี ลากหลาย อบรม
การใช้ ICT )

พบวา่ มกี ารจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรียนรู้
สถานศกึ ษาจัดระบบจัดหา การพฒั นาและการบริการ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ ใช้ในการบรหิ ารจดั การและ
การจัดการเรียนรู้ ท่เี หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา

โดยรวมมีผลการประเมินการดาเนนิ การ มคี ่าเฉลี่ย( x = 4.35) คณุ ภาพอย่ใู นระดับดเี ลศิ

3. มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ โดยรวมคา่ เฉลีย่
( x = 3.98) คณุ ภาพอยู่ในระดับ ดเี ลศิ

3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ โดย
จดั โครงการสง่ เสรมิ ทักษะการทางานอาชพี และมเี จตคตทิ ี่ดตี ่ออาชีพท่ีสุจรติ

พบว่าจดั การเรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตได้ มี
การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชวี้ ัดของหลกั สตู รสถานศกึ ษาทีเ่ นน้ ให้ผูเ้ รยี นได้เรียนรูโดย
ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริง มีรูปแบบการ
จัดการเรียนรู้เฉพาะสาหรับผู้ท่ีมีความจาเป็นและต้องการความช่วยเหลือพิเศษ ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะ
แสดงออกแสดงความคิดเหน็ สรปุ องคค์ วามรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้

โดยรวมมผี ลการประเมินการดาเนินการ มคี า่ เฉลย่ี ( x = 4.35) คุณภาพอยใู่ นระดับ ดเี ย่ยี ม
3.2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ โดยจัดโครงการส่งเสริมการ
จัดการเรียนรูโ้ ดยเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั กิจกรรมการเรียนการสอนทหี่ ลากหลาย

พบวา่ ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรูท้ ี่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีการใชส้ ่ือเทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ รวมทงั้ ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยสรา้ งโอกาสให้ผู้เรียนได้
แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสอ่ื ที่หลากหลาย

โดยรวมมผี ลการประเมินการดาเนินการ มคี ่าเฉลีย่ ( x = 4.50 ) คณุ ภาพอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม

29

3.3 มีการบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี นเชิงบวก โดยจัดโครงการสง่ เสริมการเรยี นรู้เพอ่ื พัฒนาศักยภาพผ้เู รยี นสู่
มาตรฐานการศึกษา กจิ กรรมการประกวดหอ้ งเรยี น

พบว่า ครูผสู้ อนมีการบรหิ ารจัดการช้นั เรยี น โดยเนน้ การมปี ฏิสมั พันธ์เชงิ บวก ให้เดก็ รกั ครู และครูรัก
เดก็ เดก็ รักทจ่ี ะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้รว่ มกนั อย่างมีความสุข

โดยรวมมีผลการประเมินการดาเนินการ มีค่าเฉลยี่ ( x = 4.40) คุณภาพอย่ใู นระดับ ดีเย่ียม
2.3.4 มีการตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผ้เู รยี น โดยจัดโครงการ
พฒั นาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั กิจกรรม วดั ผลประเมินผล

พบว่า มกี ารตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพการจัดการเรยี นรูอ้ ย่างเป็นระบบ มีขัน้ ตอนโดยใช้
เคร่ืองมอื และวธิ กี ารวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกบั เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั แก่
ผู้เรียนเพอื่ นาไปใช้พัฒนาการเรยี นรู้ มคี า่ เฉลี่ย ( x = 4.35) คณุ ภาพอยใู่ นระดับ ดีเยีย่ ม

2.3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ โดย
จัดโครงการนิเทศภายในโรงเรียน

พบวา่ มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้และใหข้ ้อมลู สะท้อนกลบั เพ่อื พัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้ครู
และผู้มีสว่ นเกยี่ วข้องรว่ มกันแลกเปลยี่ นความรู้และประสบการณ์รวมทั้งให้ข้อมลู ป้อนกลับเพ่อื นาไปใช้ในการ
ปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การเรยี นรู้

โดยรวมมผี ลการประเมนิ การดาเนนิ การ มคี ่าเฉล่ีย( x = 4.35 ) คุณภาพอยู่ในระดับ ดเี ย่ียม

4.2 ดา้ นปฏบิ ัติหนา้ ทีอ่ ่ืนๆ
1) หน้าที่ในการจัดการศึกษา ในระดับชว่ งชน้ั อื่นๆ ได้แก่ การสง่ เสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความใฝร่ ู้ใฝ่

เรียน ค้นหาความสนใจของตนเอง เพ่ือการวางแผนการศึกษาในอนาคตต่อไป
2) หน้าท่พี ิเศษ โรงเรียนมอบหมาย ได้แก่ งานบรหิ ารโรงเรียนทั้ง 4 ฝา่ ย และงานตามนโยบายจาก

หนว่ ยงานต้นสังกัด

4.3 ขอ้ มูลการพัฒนาตนเอง ปีการศึกษา 2563
4.3.1 การเข้ารว่ มกจิ กรรมเพื่อพฒั นาตนเอง ได้แกก่ ารประชมุ อบรม และสัมมนาที่หน่วยงานต้นสังกัดจดั

ให้จานวน 90 ช่วั โมงตอ่ ปกี ารศึกษา และสมคั รเข้ารบั การพฒั นา ณ จดุ พัฒนาตา่ งๆ ดว้ ยตนเองจานวน90
ช่ัวโมงตอ่ ปกี ารศึกษา

4.3.2 วธิ กี ารสอนหลากหลายทนี่ ามาจดั กจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้กับผเู้ รียน ปกี ารศึกษา 2562 ไดแ้ ก่ การ
อธิบายการใช้เกมประกอบ , สถานการณจ์ าลอง, การแกไ้ ขสถานการณ์ , การพัฒนากระบวนการคิด, โครงงาน
และการสอนแบบสืบเสาะ

4.3.3 กระบวนการที่เป็นเลิศ หรือเป็น Best Practice ที่ครรู ะดบั ข้นั พ้นื ฐานออกแบบ ได้แก่
1) ชือ่ ..............-.........ของ.........-...............สอนช้นั ...-........

4.3.4 วจิ ัย/นวัตกรรมในชั้นเรียน ปีการศกึ ษาน้ี ดาเนินการ จานวน 8 เร่ือง ไดแ้ ก่
1. การสง่ เสรมิ ทกั ษะการอ่านสะกดคา ชั้น ป.1
2. การพัฒนาการอ่านของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3
3. การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการลบ ชัน้ ป.4
4. การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนเรือ่ งระบบนิเวศสง่ิ แวดล้อม โดยใชร้ ปู แบบการเรยี นร้แู บบสืบ

เสาะหาความรู้ ชั้น ป.5
5. การจัดการเรียนการสอนท่ีใชส้ ื่อรูปแบบเกม และสื่อมลั ตมิ เี ดยี ช้ัน ป.5

30

6. แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นคา ม.1
7. แบบฝกึ ทักษะการเขียนคา ม.1
8. การศกึ ษาพฤติกรรมการใช้อนิ เทอรเ์ นต็ ป.5-6

4.4. ผลงานดีเด่น ปกี ารศึกษา 2563
4.4.1 ผลงานของครู ได้แก่
1) นายวุฒพิ งษ์ พงษป์ ระดษิ ฐ์ ไดร้ บั รางผ้บู รหิ ารดไี ม่มีอบายมุข ปีการศึกษา 2563
2) นางไพรชั ศรีจนั ทร์ ได้รับรางวลั ครูดไี ม่มีอบายมุข ปีการศกึ ษา 2563
3) นางอัจฉราภรณ์ ศิริเกษ ได้รับรางวลั ครูดีไม่มีอบายมุข ปีการศึกษา 2563
4) นายวิจารณ์ ศริ เิ กษ ไดร้ ับรางวัลครูดีไม่มีอบายมขุ ปีการศึกษา 2563
5) นางวัชรี อิม่ วัฒนกลุ ได้รบั รางวลั ครูดีไมม่ ีอบายมขุ ปีการศึกษา 2563
6) นางกาญจนา บญุ สอน ได้รับรางวลั ครดู ีไม่มีอบายมุข ปกี ารศึกษา 2563
7) นางสาวเกศินี กาดกลางดอน ไดร้ ับรางวลั ครูดีไมม่ ีอบายมุข ปกี ารศึกษา 2563
8) นายอนพุ งค์ จนั คา ได้รับรางวัลครดู ไี มม่ ีอบายมขุ ปกี ารศึกษา 2563
9) นายชญาน์วตั พันธ์รุ ังกา ไดร้ บั รางวัลครดู ไี มม่ ีอบายมุข ปกี ารศกึ ษา 2563

4.4.2 ผลงานของนกั เรียนท่ีรบั ผดิ ชอบ (ปกี ารศึกษาปัจจบุ ันเท่านั้น) ได้แก่
กิจกรรมการแข่งขันในวนั สาคัญตามกล่มุ สาระ ในแตล่ ะชว่ งช้ัน

.
4.5. ขอ้ มูลอ่ืนๆ การประสานแหลง่ เรยี นรเู้ ข้ามาส่งเสริม สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์ ระดับปฐมวยั ไดแ้ ก่

4.5.1 แหล่งเรยี นร้ภู ายในโรงเรยี น (ท่ีใช้ปีการศึกษาปัจจบุ ัน) จานวน 4 แหลง่ ไดแ้ ก่
1. ศนู ยก์ ารเรยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพียง ในโรงเรยี น ประกอบไปดว้ ย
-โรงเรือนเลย้ี งไก่ไข่
-โรงเพาะเห็ดนางฟา้
2. ห้องสมดุ โรงเรยี นบ้านดอนดา่ นใน
3. ห้องคอมพิวเตอร์

4.5.2 แหลง่ เรียนรภู้ ายนอกโรงเรยี น (ท่ีใช้ปกี ารศึกษาปัจจุบนั ) จานวน 3 แหลง่ ไดแ้ ก่
1. วดั ด่านใน
2. โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล
3. สวนสตั วน์ ครราชสมี า

4.5.3 ปราชญช์ าวบ้าน/ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ผทู้ รงคณุ วุฒิ ผ้รู ้ตู า่ งๆ จานวน 3 คน ไดแ้ กน่ างวรวรรณ กอก
สูงเนิน , นางนงนุช ไตรทิพย์ นายจรญู ลดั ดา
4.6 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เกยี่ วข้องท่ีมตี ่อการจัดการเรียนรรู้ ะดับขน้ั พ้ืนฐาน
ปกี ารศึกษา 2563 พบว่า ผ้เู กย่ี วข้องการจัดการศกึ ษาปฐมวัยมคี วามพึงพอใจ มคี า่ เฉล่ีย ( x ) 4.45 อยู่ใน
ระดบั ดีเยี่ยม

31

4.7. การจัดการศึกษาระดับขั้นพ้นื ฐาน ปีการศึกษา 2563 ได้รับงบประมาณ จดั ให้มโี ครงการ/กจิ กรรมพัฒนา
จานวน 20 โครงการ งบประมาณทงั้ ส้นิ 442,991 บาท ไดแ้ ก่โครงการ.
งานบรหิ ารงานวิชาการ

1. โครงการห้องเรียนคณุ ภาพ
2. โครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ๘ กลมุ่ สาระ
3. โครงการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ
4. โครงการประกนั คุณภาพการศึกษา
5. โครงการโรงเรยี นคุณภาพประจาตาบล
6. โครงการบรหิ ารจดั การตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
7. โครงการพัฒนาอาชีพสร้างรายได้ระหว่างเรียน
8. โครงการห้องสมุดมีชีวิต
9. โครงการโรงเรยี นคุณธรรม
10. โครงการโรงเรียนวถิ ีพุทธ
11. โครงการพฒั นา ICT เพื่อการเรียนร้แู ละบรหิ ารจดั การ
งานบริหารงานบุคคล
1. โครงการสง่ เสรมิ ประสิทธิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา
2. โครงการจ้างลูกจา้ งชัว่ คราวตาแหน่งนกั การภารโรง
งานบรหิ ารงานงบประมาณ
๑. สง่ เสริมและพัฒนาระบบการบริหารการเงิน บญั ชี และพสั ดุ
๒. การบริหารจดั การแผนการควบคมุ ภายใน
๓ .ปรับปรุงพัฒนาห้องธุรการโรงเรยี น
งานบรหิ ารงานบรหิ ารท่วั ไป
1. โครงการอนรุ ักษส์ ่ิงแวดล้อม และงานสุขาภิบาลในโรงเรยี น
2. โครงการโรงเรียนนา่ ดู น่าอยู่ นา่ เรยี น
3. โครงการสรา้ งความสมั พันธ์ระหวา่ งโรงเรียนและชุมชน
4. โครงการวันสาคัญ

4.8 ขอ้ เสนอเพ่ือการพัฒนาปกี ารศึกษาต่อไป
4.8.1 จดุ เด่น ผลจากการจดั การศึกษาระดบั ปฐมวัย ได้แก่
1. ด้านคณุ ภาพเด็ก : เด็กไดร้ ับการสง่ เสริมในเรื่องของพฒั นาการทั้ง 4 ดา้ น ไมว่ ่าจะด้านรา่ งกาย

ดา้ นอารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปัญญา ให้มรี ่างกายที่สมบูรณแ์ ขง็ แรง รา่ เรงิ แจ่มใส รูจ้ ักแบง่ ปนั รอคอย มี
ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง มีสุขนสิ ยั ท่ดี ี และหลีกเลย่ี งต่ออุบัติภยั และสงิ่ เสพติด มจี ติ สานึกรักษาสิง่ แวดล้อม
รกั ษาความสะอาดท้งั ภายในและภายนอกห้องเรียนท้ิงขยะลงถงั ได้ มีการบรู ณาการ การจัดประสบการณ์ที่
หลากหลาย เด็กไดล้ งมือปฏิบัติจริง ส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มมี ารยาทการไหว้ รา่ เริงแจม่ ใสทางาน
รว่ มกับผอู้ ืน่ ได้อยา่ งมีความสุข

2. กระบวนการบริหารและการจัดการ : มีการจดั ทาหลักสตู รสถานศึกษาที่ครอบคลมุ พัฒนาการท้ัง 4
ดา้ นของเด็ก มีความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ินโดยเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญชมุ ชนมสี ว่ นร่วมใน
การวางแผนและพัฒนาสถานศึกษา มีครูครบช้นั และจบตรงเอก บุคลากรมีความรัก ความสามัคคเี ป็นนา้ หนงึ่ ใจ
เดียวกัน และมีกระบวนการพัฒนาครใู ห้สามารถออกแบบรูปแบบการสอนทีเ่ หมาะสมกับพัฒนาการ และทักษะ
ท่ีจาเป็นตามวัย

32

3. ดา้ นการจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เด็กเปน็ สาคัญ : พ่อ แม่ ผ้ปู กครองและชุมชนใหค้ วามร่วมมอื ในการ
ส่งเสริมและพฒั นาเดก็ เด็กได้ลงมือปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง มกี ิจกรรมหลากหลาย และมีสื่อการเรยี นการสอนทเี่ อ้ือ
ต่อการเรียนรู้ของเดก็

4.8.1 จุดที่ควรพัฒนา ผลจากการจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย ได้แก่
1. ด้านคณุ ภาพเด็ก : เด็กยงั ขาดทักษะในเร่อื งของการคิดวเิ คราะห์ คดิ รวบยอด การแก้ปญั หาเฉพาะ

หน้า ขาดความมนั่ ใจในตนเอง
2. กระบวนการบริหารและการจดั การ : สง่ เสริมให้ครมู ีความเชี่ยวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์

การจดั สภาพแวดลอ้ มและส่ือเพอ่ื การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัย และพอเพียง และการกาหนดแผนการพัฒนาครู
อย่างชัดเจน

3. ด้านการจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เดก็ เปน็ สาคัญ : จัดอปุ กรณ์ส่อื การเรียนการสอนมุม
ประสบการณ์ ในหอ้ งเรยี นให้หลากหลาย และ พฒั นาเครื่องเลน่ สนามใหม้ ีเพยี งพอ มีความแขง็ แรง และ
ปลอดภยั ต่อเดก็

33

ภาคผนวก

34

การเปรยี บเทียบผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

กบั คา่ เป้าหมาย

 ระดับการศึกษาปฐมวัย

มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา ค่าเป้าหมาย(x) ผลการประเมิน(x) ระดับคุณภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพด้านเดก็

1.1 มีพัฒนาการด้านรา่ งกาย 4.50 4.65 ดีเยี่ยม

1.2 มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ 4.50 4.70 ดเี ยี่ยม

1.3 มีพัฒนาการดา้ นสงั คม 4.50 4.60 ดีเยย่ี ม

1.4 มีพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา 4.40 4.60 ดเี ยย่ี ม

มาตรฐานท่ี 2 การบริหารและการจัดการ

2.1 มีหลักสูตรควบคุมพฒั นาการทัง้ 4 ด้าน 4.00 4.30 ดเี ยี่ยม

สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของท้องถิ่น

2.2 จดั ครใู หเ้ พียงพอต่อชนั้ เรยี น 4.40 4.50 ดเี ยย่ี ม

2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชย่ี วชาญดา้ น 4.40 4.60 ดเี ยย่ี ม

ประสบการณ์

2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพอื่ การเรียนรู้ อย่าง 4.40 4.50 ดเี ยีย่ ม

ปลอดภัยและเพียงพอ

2.5 ใหบ้ ริการสอ่ื และเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือ 4.40 4.50 ดเี ย่ียม

การเรยี นร้เู พ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์

สาหรบั ครู

2.6 มีระบบการบรหิ ารคณุ ภาพที่เปิดโอกาสให้ 4.00 4.30 ดีเยี่ยม

ผ้เู ก่ยี วขอ้ งทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วม

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ เดก็ เป็นสาคัญ

3.1 จัดประสบการณ์ท่สี ่งเสรมิ ให้เดก็ มีพัฒนาการ 4.40 4.60 ดีเยี่ยม

ทุก

ด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ

3.2 สรา้ งประสบการณ์ให้เด็กได้รับประสบการณ์ 4.40 4.60 ดีเยย่ี ม

ตรง เลน่ และปฏบิ ตั อิ ย่างมคี วามสขุ

3.3 จดั บรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อ 4.40 4.50 ดีเยย่ี ม

เทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกับวยั

3.4 ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนา 4.40 4.50 ดเี ยย่ี ม

ผลการประเมินพฒั นาการเดก็ ไปปรับปรงุ การ

จดั ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก

สรปุ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพดา้ นเดก็ 4.48 4.64 ดีเยย่ี ม

สรุปมาตรฐานท่ี 2 การบริหารและการจัดการ 4.27 4.45 ดีเย่ยี ม

สรปุ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่ 4.40 4.55 ดีเยี่ยม

เน้นเด็กเป็นสาคัญ

35

 ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน คา่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ

มาตรฐาน/ตวั บง่ ชี้ 3.50 3.56 ดเี ลิศ
มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผู้เรยี น
ประเดน็ พจิ ารณา 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผ้เู รียน 4.00 4.20 ดีเยี่ยม
1.1.1 ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร และการคิด
4.00 4.30 ดีเย่ยี ม
คานวณ 4.00 4.20 ดีเยี่ยม
1.1.2 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมี 75.00% 78.00% ดีเลศิ
ดีเย่ียม
วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นและ 4.20 4.30
แก้ปัญหา ดีเยย่ี ม
1.1.3 มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม 4.20 4.35
4.20 ดีเยย่ี ม
1.1.4 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีและการสอื่ สาร 4.20 4.25 ดีเยย่ี ม
4.20 4.30 ดเี ย่ยี ม
1.1.5 มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา 4.00 4.25
1..1.6 มีความรู้ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคติทดี่ ตี ่องานอาชพี 4.00 ดเี ยี่ยม
ประเด็นพิจารณา 1.2 คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น 4.00 4.30
1.2.1 การมคี ุณลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี ตี าม ดีเยย่ี ม
4.20 4.30 ดเี ยี่ยม
สถานศกึ ษากาหนด 4.00 4.30
1.2.2 ความภูมิใจในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย
4.00 4.35 ดเี ยย่ี ม
1.2.3 การยอมรบั ทจ่ี ะอยู่รว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 4.30 ดีเยี่ยม
1.2.4 สุขภาวะทางร่างกายและจติ สังคม
4.35 ดีเยย่ี ม
มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจดั การ
2.1 มีเป้าหมายวสิ ัยทศั น์และพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากาหนด
ชดั เจน
2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
2.3 ดาเนินงานพัฒนาวชิ าการที่เน้นคณุ ภาพ
ผ้เู รียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษา
และทุกกลุม่ เป้าหมาย
2.4 พฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชีพ

2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและจดั สภาพแวดล้อมทาง
กายภาพและสังคมทเ่ี อือ้ ตอ่ การจัดการเรียนรอู้ ย่างมี
คณุ ภาพ

2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ าร
จดั การและการจัดการเรียนรู้

36

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ ค่าเป้าหมาย ผลการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี น เป็นสาคัญ 4.00 4.35 ดเี ยี่ยม
3.1 จดั การเรยี นรูผ้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจริง แล 4.00 4.50 ดเี ยย่ี ม
สามารถนาไปประยุกต์ในชวี ิตได้ 4.00 4.40 ดีเยย่ี ม
3.2 ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่ง 4.00 4.35 ดีเย่ยี ม
เรียนรู้ท่เี อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ 4.00 4.35 ดีเยย่ี ม
3.3 มีการบริหารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก
4.03 4.15 ดีเยย่ี ม
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมา 4.03 4.32 ดเี ยี่ยม
พฒั นาผ้เู รยี น 4.00 4.39 ดเี ย่ยี ม

3.5 มีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ และใหข้ ้อมูล
สะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรงุ
การจัดการเรยี นรู้

สรุปมาตรฐานที่ 1 ดา้ นคุณภาพผูเ้ รยี น

สรปุ มาตรฐานที่ 2 การบริหารและการจัดการ

สรุปมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียน
การสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

37

ภาคผนวก 2

คาส่งั แตง่ ต้งั คณะทางาน/คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา

38

(สาเนา)

คาสง่ั โรงเรียนบา้ นดอนด่านใน
ท่ี 28 /2564

เร่อื ง แต่งตั้งคณะกรรมการประเมนิ คุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2563

พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี 2)

พทุ ธศกั ราช 2545 มาตรา 47 ได้บัญญัตใิ ห้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพ

และมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดับ และตามประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษา

ขน้ั พ้ืนฐาน เรอื่ ง กาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏบิ ัติเกี่ยวกับการประกันคณุ ภาพภายในระดบั การศึกษาขัน้

พน้ื ฐาน พ.ศ.2561 โดยอาศยั อานาจตามความ ในข้อ (3) ให้สถานศึกษาแต่ละแหง่ จัดให้มีระบบการประกัน

คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานของสถานศกึ ษาให้เป็นไปตามการศึกษาของแต่

ละระดบั และประเภทการศึกษา ทรี่ ัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด พร้อมท้งั การจดั ทา

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และดาเนินการตามแผนที่

กาหนดไว้ จัดให้มกี ารประเมินผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ติดตาม ผลการ

ดาเนินการเพ่ือพฒั นาสถานศึกษาให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจดั ส่งรายงานผลการ

ประเมินตนเองให้แก่หนว่ ยงานต้นสงั กดั หรอื หน่วยงานท่ีดูแลสถานศกึ ษาเป็นระจาทุกปี

โรงเรียนบ้านดอนด่านใน .ตระหนักถึงความสาคัญในการประเมินคุณภาพภายในตาม

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อที่จะได้ทราบคุณภาพในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาว่า

บรรลุตามเป้าหมายหรือมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาหรือไม่ และการนาผลการประเมินไป

แก้ไขข้อบกพร่อง รวมท้ังการนาข้อมูลไปใช้ประกอบในการตัดสนิ ใจในทางเลือกสาหรับการบริหารจัด

การศึกษาของสถานศึกษา ให้มีประสิทธิภาพ และเพื่อให้การดาเนินการ เป็นไปตามวัตถุประสงค์

ดังกล่าว จึงแตง่ ต้ังคณะกรรมการดาเนินงานประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ประกอบด้วย

๑. นายวุฒิพงษ์ พงษป์ ระดษิ ฐ์ ผอู้ านวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

๒. นายวิจารณ์ ศริ ิเกษ ตาแหน่ง ครู รองประธานกรรมการ

๓. นางประหยัด เสวขุนทด ตาแหนง่ ครู กรรมการ

๔. นางกองแกว้ นขี ุนทด ตาแหนง่ ครู กรรมการ

๕. นางสาวสมถวิล นุชใหม่ ตาแหน่ง ครู กรรมการ

๖. นางอัจฉราภรณ์ ศริ เิ กษ ตาแหน่ง ครู กรรมการ

๗. นางทพิ ยาภรณ์ สายขนุ ทด ตาแหนง่ ครู กรรมการ

๘. นางวัชรี อิม่ วฒั นกลุ ตาแหนง่ ครู กรรมการ

๙. นางกาญจนา บุญสอน ตาแหนง่ ครู กรรมการ

๑๐. นางสาวเกศนิ ี กาดกลางดอน ตาแหน่ง ครู กรรมการ

๑๑. นายอนุพงค์ จันคา ตาแหนง่ ครู กรรมการ

๑๒. นางนารี โม่งปราณตี ตาแหนง่ ครู กรรมการ

39

๑๓. นายชญาน์วตั พันธรุ์ ังกา ตาแหนง่ ครู กรรมการ
๑๔. นางสาวนสิ าชล ตรชี าติ ตาแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย กรรมการ
๑๕. นางสาวอรรวรรณ สิทธขิ นุ ทด ตาแหน่ง ธุรการฯ กรรมการ
๑๖. นางสาวกมลพร รามสนั เทยี ะ ตาแหนง่ ครู กรรมการและเลขานุการ

ให้คณะกรรมการที่ไดร้ บั แตง่ ตง้ั ปฏบิ ัตหิ น้าทตี่ ามท่ีได้รบั มอบหมายเป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย
สาเรจ็ ลุลว่ งไปด้วยดีและเกิดประโยชนส์ งู สุดแก่ทางราชการ

ท้ังน้ี ตัง้ แต่บดั นเี้ ป็นตน้ ไป

สง่ั ณ วันที่ 31 มนี าคม 2564

วฒุ ิพงษ์ พงษป์ ระดิษฐ์
(นายวฒุ ิพงษ์ พงษ์ประดิษฐ)์
ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นดอนดา่ นใน

รับทราบ

๑. นางกองแก้ว นีขุนทด กองแกว้ นีขุนทด
๒. นางประหยัด เสวขุนทด ประหยดั เสวขนุ ทด
๓. นางสาวสมถวิล นุชใหม่ สมถวลิ นุชใหม่
๔. นางไพรชั ศรีจันทร์ ไพรชั ศรจี นั ทร์
๕. นางอจั ฉราภรณ์ ศิรเิ กษ อัจฉราภรณ์ ศริ เิ กษ
๖. นางสาวกมลพร รามสนั เทยี ะ กมลพร รามสันเทียะ
๗. นางวชั รี อิ่มวฒั นกุล วชั รี อิ่มวฒั นกุล
๘. นางทิพยาภรณ์ สายขนุ ทด ทิพยาภรณ์ สายขนุ ทด
๙. นางกาญจนา บญุ สอน กาญจนา บุญสอน
๑๐. นางสาวนารี โมง่ ประณีต นารี โมง่ ประณตี
๑๑. นางสาวเกศินี กาดกลางดอน เกศนิ ี กาดกลางดอน
๑๒. นายชญานว์ ตั พนั ธ์รุ งั กา ชญานว์ ตั พันธุ์รงั กา
๑๓. นายวจิ ารณ์ ศิรเิ กษ วิจารณ์ ศริ เิ กษ
๑๔. นายอนุพงค์ จันคา อนุพงค์ จันคา
๑๕. นางสาวนสิ าชล ตรีชาติ นิสาชล ตรชี าติ
๑๖. นางสาวอรวรรณ สทิ ธขิ ุนทด อรวรรณ สทิ ธขิ ุนทด

40

ภาคผนวก 3

รางวลั โล่เกยี รตยิ ศ ประกาศเกยี รตคิ ณุ

41

42

43

44

45


Click to View FlipBook Version