หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาชนั้ ปที ่ี 4 พทุ ธศักราช 2564
(ฉบับบปรับปรุง 2565)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับบปรับปรุง 2560)
จดั ทำโดย นางสาวทิพย์วิมล พลาพล ตำแหน่ง ครูผชู้ ่วย
โรงเรียนวดั หนองปล้อง
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพิจิตร เขต 1
ตัวช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตรฉ์ บบั ปรบั ปรุง (พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
ทําไมตองเรียนคณิตศาสตร
คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนื่องจาก
คณิตศาสตร์ชว่ ยใหม้ นุษย์มีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ คดิ อยา่ งมีเหตุผล เปน็ ระบบ มีแบบแผน สามารถ
วิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ
แก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม และสามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ นอกจากน้ี
คณติ ศาสตร์ยังเปน็ เคร่อื งมือในการศึกษาด้านวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละศาสตร์อนื่ ๆ อนั เป็นรากฐาน
ในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติ ให้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศชาติให้ทัดเทียม
กับนานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันสมัยและ
สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าอย่าง
รวดเร็วในยุคโลกาภิวตั น์
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับนี้จัดทำขึ้นโดยคำนึงถึง
การสง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนมีทกั ษะที่จำเปน็ สำหรับการเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 เปน็ สำคัญ นั่นคือ การเตรียม
ผเู้ รียนใหม้ ที กั ษาด้านการวเิ คราะห์ การคดิ อย่างมีวิจารณาญาณ การแก้ปัญหา การคดิ สร้างสรรค์ การ
ใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร และการร่วมมือซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของระบบ
เศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม และสภาพแวดล้อม สามารถแขง่ ขันและอยู่ร่วมกับประชาคมโลกได้ ทั้งนี้
การจัดการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ทปี่ ระสบความสำเร็จนัน้ จะต้องเตรียมผเู้ รยี นใหม้ ีความพรอ้ มที่จะเรียนรู้
สิ่งต่าง ๆ พร้อมที่จะประกอบอาชีพเมื่อจบการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ดังน้ัน
สถานศึกษาควรจดั การเรียนรูใ้ หเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผเู้ รยี น
ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ฉบบั ปรบั ปรุง (พ.ศ. 2560)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
เรียนรอู้ ะไรในคณติ ศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์จัดเป็น 3 สาระ ได้แก่ จำนวนและพีชคณิต การวัดและ
เรขาคณิต และสถติ แิ ละความนา่ จะเป็น
จำนวนและพีชคณิต เรียนรเู้ กีย่ วกับ ระบบจำนวนจริง สมบัติเกี่ยวกบั จำนวนจริง อัตราส่วน
รอ้ ยละ การประมาณคา่ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน การใชจ้ ำนวนในชีวติ จริง แบบรูป ความสมั พนั ธ์
ฟังกช์ นั เซต ตรรกศาสตร์ นิพจน์ เอกนาม พหนุ าม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบ้ียและ
มูลค่าของเงิน ลำดับและอนุกรม และการนำความรู้เกี่ยวกับจำนวนและพืชคณิตไปใช้ในสถานการณ์
ตา่ ง ๆ
การวัดและเรขาคณิต เรียนรู้เกี่ยวกับ ความยาว ระยะทาง น้ำหนัก พื้นที่ ปริมาตร และ
ความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่าง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด อัตราส่วนตรีโกณมิติ รูป
เรขาคณิตและสมบัติของรูปเรขาคณิต การนกึ ภาพ แบบจำลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณติ ในเรือ่ งการเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน และการนำความรู้เก่ียวกับการ
วัดและเรขาคณิตไปใชใ้ นสถานการณต์ ่าง ๆ
สถิตแิ ละความน่าจะเป็น เรียนรูเ้ กี่ยวกับ การต้ังคำถามทางสถิติ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล การ
คำนวณคา่ สถติ ิ การนำเสนอและแปลผลสำหรบั ข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ หลกั การนบั เบอื้ งตน้
ความน่าจะเป็น การใช้ความรูเ้ กีย่ วกบั สถิติและความน่าจะเปน็ ในการอธบิ ายเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ และชว่ ย
ในการตดั สนิ ใจ
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการ
ของจำนวน ผลทเี่ กิดขึน้ จากการดำเนนิ การ สมบตั ิของการดำเนนิ การ และนำไปใช้
มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพนั ธ์ ฟงั กช์ ัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้
มาตรฐาน ค 1.3 ใชน้ พิ จน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพนั ธห์ รือชว่ ยแก้ปัญหาท่กี ำหนดให้
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้นื ฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่งิ ที่ตอ้ งการวัด และ
นำไปใช้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบัติของรปู เรขาคณิต ความสมั พันธ์ระหวา่ ง
รปู เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้
สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความน่าจะเปน็
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามร้ทู างสถติ ใิ นการแกป้ ญั หา
ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ฉบับปรบั ปรุง (พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
มาตรฐาน ค 3.2 เขา้ ใจหลักการนบั เบื้องตน้ ความนา่ จะเป็น และนำไปใช้
ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถที่จะนำความร้ไู ปประยุกตใ์ ช้ในการ
เรยี นรู้ส่ิงตา่ ง ๆ เพ่ือใหไ้ ด้มาซึง่ ความรู้ และประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ทักษะ
และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในที่นี้ เน้นที่ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็น และ
ตอ้ งการพัฒนาให้เกดิ ขึ้นกับผู้เรียน ได้แกค่ วามสามารถตอ่ ไปน้ี
1. การแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการทำความเข้าใจปัญหา คิดวิเคราะห์ วางแผน
แก้ปัญหา และเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ พร้อมท้ัง
ตรวจสอบความถูกตอ้ ง
2. การสือ่ สารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถในการใช้รูปภาษา
และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย สรุปผล และนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
ชดั เจน
3. การเชื่อมโยง เป็นความสามารถในการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการ
เรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ เน้อื หาต่าง ๆ หรือศาสตร์อื่น ๆ และนำไปใช้ในชวี ติ จริง
4. การให้เหตุผล เป็นความสามารถในการให้เหตุผล รับฟังและให้เหตุผลสนับสนุน หรือ
โต้แย้งเพื่อนำไปสกู่ ารสรปุ โดยมีขอ้ เท็จจรงิ ทางคณติ ศาสตรร์ องรบั
5. การคิดสรา้ งสรรค์ เป็นความสามารถในการขยายแนวคดิ ทม่ี ีอยู่เดิม หรือสรา้ งแนวคิดใหม่
เพ่ือปรบั ปรุง พฒั นาองค์ความรู้
คุณภาพผเู้ รียน
จบชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3
อ่าน เขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 มีความรู้สึกเชิงจำนวน
มีทกั ษะการบวก การลบ การคณู การหาร และนำไปใช้ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ
มคี วามรู้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกบั เศษสว่ นทไ่ี มเ่ กนิ 1 มที กั ษะการบวก การลบ เศษส่วน ทตี่ วั ส่วน
เทา่ กัน และนำไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ
คาดคะเนและวัดความยาว นำ้ หนัก ปรมิ าตร ความจุ เลอื กใช้เคร่ืองมอื และหน่วยที่เหมาะสม
บอกเวลา บอกจำนวนเงนิ และนำไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ
จำแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม
ทรงกระบอก และกรวย เขยี นรปู หลายเหลี่ยม วงกลม และวงรโี ดยใชแ้ บบของรูป ระบรุ ูปเรขาคณิตท่ีมี
แกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร และนำไปใช้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ
อ่านและเขียนแผนภมู ริ ปู ภาพ ตารางทางเดียวและนำไปใชใ้ นสถานการณต์ ่าง ๆ
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ฉบบั ปรบั ปรุง (พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
สาระท่ี 1 จำนวนและพชี คณติ
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของ
จำนวนผลท่ีเกิดขนึ้ จากการดำเนินการ สมบตั ขิ องการดำเนนิ การ และนำไปใช้
ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป.4 1. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย จำนวนนับท่ีมากกวา่ 100,000 และ 0
และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับท่ีมากกว่า - การอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก
100,000 ตัวเลขไทย และตวั หนังสอื แสดงจำนวน
2. เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับที - หลัก ค่าประจำหลักและค่าของเลข
มากกว่า 100,000 จากสถานการณ์ต่าง ๆ โดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลข
แสดงจำนวนในรปู กระจาย
- การเปรียบเทียบและเรียงลำดับ
จำนวนค่าประมาณของจำนวนนับและ
การใช้เครือ่ งหมาย ≈
3. บอก อ่าน และเขยี นเศษส่วน จำนวนคละแสดง เศษสว่ น
ปริมาณส่งิ ตา่ ง ๆ และแสดงสง่ิ ต่าง ๆ ตามเศษส่วน - เศษสว่ นแท้ เศษเกนิ
จำนวนคละท่ีกำหนด - จำนวนคละ
4. เปรียบเทียบ เรียงลำดับเศษส่วนและจำนวน - ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนคละและ
คละท่ีตวั ส่วนตวั หนึ่งเปน็ พหุคูณของอีกตัวหน่งึ เศษเกิน
- เศษสว่ นท่เี ทา่ กนั เศษส่วนอยา่ งตำ่
และเศษสว่ นทีเ่ ทา่ กบั จำนวนนับ
- การเปรยี บเทยี บ เรยี งลำดับเศษสว่ น
และจำนวนคละ
5. อ่านและเขยี นทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง แสดง ทศนิยม
ปริมาณของสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตาม - การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกิน
ทศนยิ มท่ีกำหนด 3 ตำแหนง่ ตามปรมิ าณท่กี ำหนด
6. เปรียบเทียบและเรียงลำดับทศนิยมไม่เกิน 3 - หลัก คา่ ประจำหลกั คา่ ของเลขโดดใน
ตำแหนง่ จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ แต่ละหลกั ของทศนยิ ม และการเขียน
- ตัวเลขแสดงทศนิยมในรูปกระจาย
ทศนิยมท่ีเทา่ กัน
- การเปรียบเทียบและเรียงลำดับ
ทศนิยม
ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตรฉ์ บบั ปรบั ปรุง (พ.ศ. 2560)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
ชน้ั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 7. ประมาณผลลพั ธ์ของการบวก การลบ การคณู การบวก การลบ การคูณ การหาร
(ต่อ) การหารจากสถานการณต์ า่ ง ๆ อย่าง จำนวนนบั ที่มากกว่า 100,000 และ 0
สมเหตุสมผล - การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การ
8. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ ลบ การคูณ การหาร
แสดงการบวกและประโยคสัญลักษณ์แสดงการ - การบวกและการลบ
ลบของจำนวนนบั ทม่ี ากกว่า100,000 และ 0 - การคณู และการหาร
9. หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ - การบวก ลบ คณู หารระคน
แสดงการคณู ของจำนวนหลายหลัก 2 จำนวน ทีม่ ี - การแกโ้ จทย์ปัญหาและการสรา้ งโจทย์
ผลคณู ไม่เกนิ 6 หลกั และประโยคสัญลกั ษณ์แสดง ปัญหา พร้อมท้งั หาคำตอบ
การหารที่ตัวตั้งไม่เกิน 6 หลัก ตัวหารไม่เกิน 2
หลกั
10. หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของ
จำนวนนับ และ 0
11. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หา 2 ข้ันตอน
ของจำนวนนบั ที่มากกว่า 100,000 และ 0
12. สร้างโจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน ของจำนวนนับ
และ 0 พรอ้ มท้งั หาคำตอบ
13. หาผลบวก ผลลบของเศษส่วนและจำนวน การบวก การลบเศษสว่ น
คละท่ตี ัวส่วนตัวหน่ึงเป็นพหคุ ณู ของอีกตัวหน่งึ - การบวก การลบเศษส่วนและจำนวน
14. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก คละ
และโจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนและจำนวนคละ - การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์
ท่ีตวั สว่ นตัวหน่ึงเป็นพหคุ ณู ของอีกตวั หนึ่ง ปัญหาการลบเศษส่วนและจำนวนคละ
15. หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไม่เกิน 3 การบวก การลบทศนยิ ม
ตำแหนง่ - การบวก การลบทศนยิ ม
16. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา การบวก - การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ
การลบ 2 ขัน้ ตอนของทศนิยมไมเ่ กิน 3 ตำแหน่ง ทศนยิ มไมเ่ กนิ 2 ข้นั ตอน
ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตรฉ์ บับปรบั ปรุง (พ.ศ. 2560)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และ
นำไปใช้
ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
ป.4 (มีการจัดการเรยี นการสอน แบบรปู
เพื่อเปน็ พ้ืนฐานแตไ่ มว่ ดั ผล) - แบบรูปของจำนวนท่ีเกิดจากการคูณ
การหารดว้ ยจำนวนเดยี วกัน
ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ฉบบั ปรบั ปรงุ (พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน 2.1 เขา้ ใจพน้ื ฐานเกยี่ วกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสิง่ ที่ต้องการวดั และ
นำไปใช้
ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
ป.4 1. แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปญั หา
เวลา
เกย่ี วกับเวลา - การบอกระยะเวลาเป็นวินาที นาที
ช่ัวโมง วนั สปั ดาห์ เดอื น ปี
2. วัดและสรา้ งมุม โดยใชโ้ พรแทรกเตอร์ - การเปรยี บเทียบระยะเวลาโดยใช้
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งหนว่ ยเวลา
3. แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หา - การอ่านตารางเวลา
เกยี่ วกับ ความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ี - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ียวกับเวลา
ของรปู ส่ีเหล่ียมมุมฉาก การวัดและสร้างมมุ
- การวัดขนาดของมุมโดยใช้โพร
แทรกเตอร์
- การสร้างมมุ เมือ่ กำหนดขนาดของมมุ
รูปสีเ่ หล่ียมมมุ ฉาก
- ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมมุม
ฉาก
- พน้ื ท่ีของรูปสเี หลี่ยมมมุ ฉาก
- การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกย่ี วกับความยาว
รอบรูป และพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุม
ฉาก
ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางกล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะหร์ ูปเรขาคณิต สมบตั ขิ องรูปเรขาคณติ ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง
รปู เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้
ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
ป.4 1. จำแนกชนดิ ของมุม บอกช่อื มุมสว่ นประกอบ รูปเรขาคณิต
ของมุมและเขยี นสัญลกั ษณ์แสดงมมุ - ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี ส่วนของ
2. สรา้ งรปู สเี่ หลยี่ มมุมฉากเม่อื กำหนด เส้นตรงและสัญลักษณ์แสดงเส้นตรง
ความยาวของดา้ น รังสี ส่วนของเส้นตรง
- มุม
ส่วนประกอบของมุม
การเรียกช่ือมุม
สัญลกั ษณแ์ สดงมมุ
ชนิดของมมุ
- ชนิดและสมบัตขิ องรปู สีเ่ หลยี่ มมุมฉาก
- การสร้างรูปสี่เหล่ียมมุมฉาก
ตัวช้วี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตรฉ์ บบั ปรบั ปรุง (พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
สาระที่ 3 สถิตแิ ละความน่าจะเปน็
มาตรฐาน ค 3.1เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความร้ทู างสถติ ใิ นการแก้ปัญหา
ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ป.4 1. ใช้ข้อมูลจากแผนภูมแิ ห่ง ตารางสองทาง การนำเสนอขอ้ มลู
ในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา - การอ่านและการเขียนแผนภูมแิ ท่ง
(ไม่รวมการยน่ ระยะ)
- การอ่านตารางสองทาง (two - way
table)
ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ฉบบั ปรับปรุง (พ.ศ. 2560)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551
สาระที่ 3 สถิติและความนา่ จะเป็น
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนบั เบอ้ื งต้น ความน่าจะเปน็ และนำไปใช้
ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ป.4 - -
ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตรฉ์ บับปรบั ปรงุ (พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
โครงสร้างเวลาเรียนหลกั สูตรสถานศกึ ษาระดบั ประถมโรงเรียนวัดหนองปล้อง
พทุ ธศักราช 2551 (ปรับปรุง พ.ศ. 2565) กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน ดังน้ี
สาระการเรยี นรู้ / กจิ กรรม ระดับประถมศึกษา
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
กล่มุ สาระการเรียนรพู้ ื้นฐาน
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
คณิตศาสตร 200 200 200 160 160 160
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 80 80 80 120 120 120
40 40 40 80 80 80
- วิทยาศาสตร์ 40 40 40 40 40 40
- วทิ ยาการคำนวณ 80 80 80 80 80 80
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 20 20 20 20 20 20
- ศาสนา 20 20 20 20 20 20
- หน้าทพ่ี ลเมอื ง 20 20 20 20 20 20
- ภูมิศาสตร์ 20 20 20 20 20 20
- เศรษฐศาสตร์ 40 40 40 40 40 40
ประวัติศาสตร 40 40 40 80 80 80
สขุ ศึกษาและพลศึกษา 20 20 20 40 40 40
- สขุ ศกึ ษา/เพศวิถี 20 20 20 40 40 40
- พลศึกษา 40 40 40 40 40 40
ศิลปะ 20 20 20 20 20 20
- ทศั นศิลป์ 20 20 20 20 20 20
- ดนตรี นาฏศิลป์ 40 40 40 40 40 40
การงานอาชพี 200 200 200 120 120 120
ภาษาองั กฤษ 920 920 920 840 840 840
รวมเวลาเรียน (พืน้ ฐาน) 840 840 840 840 840 840
เกณฑ์ของกระทรวงศึกษาธิการ
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 40 40 40 40 40 40
กจิ กรรมแนะแนว 80 80 80 80 80 80
กิจกรรมนกั เรยี น 40 40 40 40 40 40
- ชุมนมุ 40 40 40 40 40 40
- ลูกเสอื /เนตรนารี และกจิ กรรมเพ่อื สงั คมและ
สาธารณประโยชน์ 120 120 120 120 120 120
รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ไม่น้อยกว่า 120 ชม.
เกณฑข์ องกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตรฉ์ บับปรบั ปรุง (พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551
โครงสรา้ งเวลาเรียนหลกั สตู รสถานศกึ ษาระดับประถมโรงเรยี นวัดหนองปลอ้ ง
พทุ ธศักราช 2551 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน ดังนี้
สาระการเรียนรู้ / กจิ กรรม ระดบั ประถมศึกษา
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
สาระการเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ
หน้าที่พลเมือง 40 40 40 40 40 40
หลักสูตรต้านทุจริต 40 40 40 40 40 40
รวมเวลาเรยี นสาระเพิม่ เตมิ 80 80 80 80 80 80
เกณฑ์ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
รวมเวลาเรียนทั้งปี ปีละไมน่ ้อยกวา่ 40 ชม.
เกณฑ์ของกระทรวงศึกษาธิการ 1,120 1,120 1,120 1,140 1,140 1,140
ไมน่ ้อยกว่า 1,000 ชม./ปี
ตัวช้วี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตรฉ์ บบั ปรับปรุง (พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551
โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษาระดับประถมศกึ ษา
โรงเรยี นวดั หนองปลอ้ ง พุทธศักราช 2565
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
รหสั กลุมสาระการเรยี นรู / กจิ กรรม เวลาเรียน
(ชม./ป)
ท 14101 รายวชิ าพ้ืนฐาน (๘๔๐)
ค 14101 ภาษาไทย 4
ว 14101 คณิตศาสตร 4 160
ส 14101 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 4 160
ส 14102 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 4 120
พ 14101 ประวัติศาสตร 4 80
ศ 14101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 4 40
ง 14101 ศลิ ปะ 4 80
อ 14101 การงานอาชีพ 4 40
ภาษาอังกฤษ 4 40
ส 14201 120
อ 14234 รายวชิ าเพ่มิ เติม 160
หลักสตู รต้านทจุ ริต 4 40
หนาทพ่ี ลเมือง 4 40
(๑๒๐)
กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน 40
แนะแนว 80
กิจกรรมนกั เรยี น 40
40
- ชุมนุม
- ลกู เสอื /เนตรนารี และกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและ 1,120
สาธารณประโยชน์
รวม
โครงการสอนเสรมิ ประสบการณพ์ ิเศษเพอ่ื เพิม่ ศักยภาพนักเรียน (ลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู)้
ชนั้ ป.4-6 จำนวน 2 ชวั่ โมง / สปั ดาห์เสริมดังน้ี
1. กิจกรรมเสริมทักษะคณติ ศาสตร์ จำนวน 1 ช่วั โมง / สัปดาห์ (40 ชว่ั โมงต่อป)ี
2. กิจกรรมเสรมิ ทกั ษะภาษาไทย จำนวน 1 ชว่ั โมง / สัปดาห์ (40 ชว่ั โมงตอ่ ป)ี
3. กิจกรรมเสริมทกั ษะภาษาองั กฤษ จำนวน 1 ช่ัวโมง / สัปดาห์ (40 ชั่วโมงต่อปี)
ตัวชวี้ ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางกล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ฉบบั ปรบั ปรงุ (พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551