The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน 1-65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สถาพร คิญชกวัฒน์, 2022-09-15 04:52:05

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน 1-65

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน 1-65

รายงานการวิจยั ในชั้นเรยี น

ช่อื เร่ือง การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นรายวิชาหลกั เศรษฐศาสตร์
รหสั วชิ า 30200-1001 ของนักศกึ ษาระดับชัน้ ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด
โดยใช้การจดั การเรียนรแู้ บบเพอ่ื นช่วยเพื่อน

นางสาวสถาพร คญิ ชกวัฒน์
ครผู ู้ช่วย

แผนกวิชาการตลาด

วทิ ยาลยั เทคนคิ สตูล
SATUN TECHNICAL COLLEGE

217 ถนนศลุ กานุกลู ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จงั หวัดสตูล 90000
โทร.(074) 711107 http://www.sttc.ac.th

รายงานการวิจยั ในชัน้ เรยี น

ชอ่ื เรอ่ื ง การพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรายวชิ าหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวชิ า 30200-1001

ของนักศึกษาระดบั ชนั้ ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้การจดั การเรียนรูแ้ บบเพ่ือนช่วยเพอื่ น

ผู้วจิ ยั นางสาวสถาพร คญิ ชกวฒั น์ ครูผู้ช่วย แผนกวิชาการตลาด

บทคัดยอ่

การวิจยั คร้ังนมี้ ีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื 1) พฒั นาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ รหัส
วิชา 30200-1001 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 สาขาวิชาตลาด โดยการใช้การจัดการเรยี นรู้แบบเพื่อนช่วย
เพื่อน ที่มีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์
รหัสวิชา 30200-1001 ของนักศึกษาระดับชั้นปวส.1 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบเพื่อน
ช่วยเพื่อนหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 60 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียบโดยการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด โดย
การจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1
สาขาวิชาการตลาด จำนวน 17 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 วิทยาลัยเทคนิคสตูล เครื่องมือที่ใช้ใ น
การวิจัย ไดแ้ ก่ แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ รหัสวชิ า 30200-1001 โดยการจดั การเรียนรู้
แบบเพ่อื นช่วยเพ่อื น จำนวนทั้งสน้ิ 12 แผน แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นรายวชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์
รหัสวิชา 30200-1001 ของนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด โดยการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วย
เพื่อน เป็นแบบทดสอบชนิดเลือกตอบ จำนวน 40 ข้อ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการ
จัดการเรียนรแู้ บบเพื่อนช่วยเพื่อน สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู ได้ ร้อยละ คา่ เฉลย่ี ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน
และทดสอบ t-test (Dependent Samples)

ผลการวิจัย พบว่า การจดั การเรียนรู้แบบเพอ่ื นชว่ ยเพ่ือนรายวชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ รหสั วิชา 30200-
1001 ของนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด มีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 80.29/80.59 ซึ่งกว่า
เกณฑ์ที่กำหนด ค่าดัชนีประสิทธิผลการเรียนรู้ของนักศึกษาที่เรียนด้วยการจัดการแบบเพื่อนช่วยเพื่อนมีค่า
เท่ากับ 0.5718 หรือคิดเป็นร้อยละ 57.18 นักศึกษาที่เรียนด้วยรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนสูงกวา่ กอ่ นเรยี นอยา่ งมีนยั ทร่ี ะดับ 0.5 นักศกึ ษามีความพงึ พอใจต่อการจัดการเรยี นรู้แบบเพอ่ื นชว่ ยเพ่ือน
โดยรวมในระดบั มาก ( = 4.27, S.D. = .174)

คำสำคัญ : การจดั การเรยี นรแู้ บบเพ่อื นช่วยเพื่อน

กติ ติกรรมประกาศ

การศึกษางานวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ สำเร็จได้ด้วยความกรุณาจาก นายวิเชียร บุญเตี่ยว ผู้อำนวยการ
นายปิยพงศ์ สังวาลย์ รองผูอ้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ นางสาวนศั รีน ดลระหมาน หัวหนา้ แผนกวิชาการตลาด
ทสี่ ่งเสริมครใู นแผนกวิชาการตลาดจดั ทำวจิ ัยในช้ันเรยี น

และในโอกาสน้ีขอขอบใจนักศึกษา ปวส.1 สาขาวชิ าการตลาด ทกุ คนทใ่ี ห้ความรว่ มมือเป็นอย่างดีใน
การวิจยั และเก็บขอ้ มลู ท่ใี ช้ในการศึกษาวจิ ยั ในเรียน จนกระท่งั การศกึ ษาวิจยั ในช้ันเรยี นครัง้ นเี้ สรจ็ สมบูรณ์

นางสาวสถาพร คิญชกวัฒน์
ครผู ู้ช่วย แผนกวิชาการตลาด

ผทู้ ำการวิจัยในชัน้ เรียน

สารบัญ 1
3
บทคัดยอ่ 3
กิตตกิ รรมประกาศ 3
บทที่ 1 บทนำ 4
− ทม่ี าและความสำคัญของปัญหา 5
− วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัย
− สมมติฐานตการวิจัย 6
− ขอบเขตการวจิ ัย 8
− นิยามศัพท์เฉพาะ 13
− ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากการวิจยั 16
บทที่ 2 เอกสารท่เี ก่ยี วขอ้ ง 17
− หลกั สูตรรายวชิ า 20
− การจดั การเรยี นการสอนแบบเพ่ือนชว่ ยเพ่ือน
− ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 21
− ความพึงพอใจ 21
− งานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วข้อง 22
− กรอบแนวคิดในการวิจัย 22
บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนินการวิจยั
− ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 23
− เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั 24
− การเกบ็ รวบรวมข้อมูล/วิธกี ารดำเนินการวิจยั
− สถิติท่ใี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล 27
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 27
− การเสนอวเิ คราะห์ข้อมูล 29
− ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
− สรุปผลการวจิ ัย
− อภปิ รายผล
− ขอ้ เสนอแนะ
บรรณานุกรม

สารบัญตาราง หน้า
24
ตารางท่ี
ตารางท่ี 4.1 ประสทิ ธิภาพของการจดั กจิ กรรมการเรยี นรรู้ ายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ 24
25
รหสั วชิ า 30200-1001 ของนกั ศึกษาระดับปวส.1 สาขาวิชาการตลาด
โดยการจดั การเรียนรแู้ บบเพื่อนช่วยเพือ่ น 25
ตารางที่ 4.2 ดัชนีประสทิ ธผิ ลของการจัดการเรยี นรู้ โดยการจดั การเรยี นรู้
แบบเพ่ือนช่วยเพ่ือนของนกั ศึกษาระดบั ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด
ตารางที่ 4.3 ค่าเฉลยี่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ค่าสถิตทิ ดสอบที และระดับนยั สำคัญ
ทางสถิติของการทดสอบเปรียบเทยี บเกณฑร์ อ้ ยละ 80 กับคะแนนสอบ
หลังเรียนของนกั ศึกษา
ตารางที่ 4.4 ค่าเฉลีย่ และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของนักศึกษาท่มี ีต่อ
การจดั การเรียนรู้รายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001
โดยการจัดการเรยี นรู้แบบเพ่ือนช่วยเพอื่ น

บทที่ 1
บทนำ

ทม่ี าและความสำคัญของปัญหาการวจิ ยั

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แนวทางการจัดการศึกษามุ่งเน้นให้ผู้เรียน คิด
เป็น ทำเป็น แก้ปญั หาเปน็ และมีความสขุ ในการเรยี น ครูจงึ ไดป้ รบั เปล่ยี นพฤตกิ รรม จัดการเรียนการสอน
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิด ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน สามารถแสวงหาความรู้
รู้จักคิดวเิ คราะห์ เลือกรับ และเลือกใช้ขา่ วสารเพื่อพฒั นาตนเอง ให้เปน็ บุคคลแหง่ การเรียนรู้

และตามหลักสูตรอาชีวศึกษา การอาชีวศึกษานั้นเป็นการศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนในด้าน
วิชาชีพ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการผลิตและพัฒนากำลังคนใหก้ ับประเทศ การจัดการอาชีวศึกษาในช่วงปฏริ ูป
การศกึ ษาในทศวรรษที่สองจงึ เป็นชว่ งเวลาท่ีสำคัญในการผลิตและพฒั นากำลังคน ให้พร้อมรบั กับสถานการณ์
การเคลื่อนย้ายการลงทุน การบริการและแรงงานเสรีในภูมิภาคอาเซียน ตามกรอบความร่มมือประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเสริมสร้างการพัฒนา
ประเทศอย่างยัง่ ยืน

ทั้งน้ีภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าสอนในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัส
วิชา 30200-1001 ซึ่งเป็นรายวิชาที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจเป็นสาระสำคัญของวิชาหลกั
เศรษฐศาสตร์ ที่นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด กำลังศึกษาให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกจิ ในการดำเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ เพือ่ ร้ถู ึงเหตุผลทจ่ี ะทำใหส้ ามารถพยากรณ์เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนใน
อนาคตได้ รวมทั้งยังเป็นการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์และสังคมได้ในการตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
อย่างจำกัด มาใช้ในการบรหิ ารอยา่ งมีคุณภาพสูงสดุ อกี ท้งั ยงั ช่วยให้นักศึกษาเข้าใจถึงการพึ่งพาทางเศรษฐกิจ
การแข่งขัน และการประสานประโยชน์ทางเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของอุปสงค์ อุปทาน ราคาดุลยภาพ
และตลาดรวมทง้ั ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั โดยชว่ ยให้สามารถเลือกซื้อหรอื ใช้ หรือบรโิ ภคสินค้าท่มี ีอยู่อย่าง
จำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด รู้จักใช้ รู้จักออม และการที่นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ท าง
เศรษฐกิจได้ดีนั้น ควรมีการสอนที่มีความเหมาะสมมาช่วยให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจขึ้น เช่น การสอนแบบ
เพื่อนช่วยเพื่อน ที่จะช่วยให้นักศึกษารวมกลุ่มทำงาน ช่วยกันศึกษาค้นคว้า แลกเปลี่ยนความรู้ระหว่าง
นกั ศกึ ษาขึน้ เพื่อเป็นการเพม่ิ พนู ความรู้และความเข้าใจให้แก่นักศึกษามากยง่ิ ขน้ึ

สรุปความสำคัญของหลักเศรษฐศาสตร์ว่าเป็นศาสตร์ที่ช่วยใช้อธิบายเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ทาง
เศรษฐกิจ โดยเน้นศึกษาวิธีการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่มมลมนุษย์ถา้
ลองตั้งปัญหาขึ้นถามตัวเองว่าอย่างไรว่าคนเราจะร่ำรวยมีความอยู่ดกี ินดีทำไมคนเราจะต้องมีการแลกเปล่ยี น
สนิ คา้ บริการทำไมราคาสนิ คา้ จึงราคาถูกแพงไม่เทา่ กนั ซงึ่ เปน็ คำถามทเ่ี กยี่ วข้องกับเศรษฐกจิ ทั้งสิ้น และศาสตร์
ทใ่ี ช้อธบิ ายเพื่อแก้ไขปญั หาเก่ียวกบั เร่อื งเศรษฐกจิ ได้เปน็ เลศิ คอื วชิ าหลักเศรษฐศาสตร์นนั่ เอง

จากการจัดการเรียนการสอนรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001 ของนักศึกษาระดับ
ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด นักศึกษายังไม่ให้ความสำคัญกับวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยวัดจากผลการเรียนท่ี
อยู่ในเกณฑ์ต่ำมีการสอนแบบดั้งเดิม ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนโดยเน้นครูเป็นศูนย์กลาง เน้นการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบบรรยายไมเ่ นน้ กิจกรรมกลุม่ นักศึกษามีบทบาทไม่เท่ากนั ไมม่ ีการกระตุ้นใหน้ กั ศึกษามี
ปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ขาดการช่วยเหลือกันในกิจกรรมการเรียนรู้ และวิทยาลัยขาดครูที่มีความรู้ทาง
เศรษฐศาสตร์อย่างแท้จริง การสอนก็เป็นไปตามที่กล่าวไว้ในตำรามุ่งการท่องจำมากกว่าการคิดวเิ คราะห์และ
ปฏิบัติ อาจทำให้ผู้เรียนเบื่อหน่าย ไม่ค่อยเกิดการพัฒนาดา้ นเจตคติและทักษะพิสัยเป็นการสอนที่เน้นครหู รือ
ผู้สอนเปน็ ศูนยก์ ลาง ความรทู้ ไ่ี ดร้ ับจากการฟังเพียงอย่างเดยี วอาจลมื งา่ ยเป็นความทรงจำท่ีไม่ถาวร ผสู้ อนต้อง
รู้จกั การสร้างบรรยากาศด้วยวาทศลิ ป์ เพ่อื ไมใ่ ห้ผู้เรียนสญู เสยี ความสนใจ

ดงั น้นั ผูว้ ิจัยมีความเขา้ ใจปัญหาการเรียนการสอน รายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001
ได้ตระหนกั ถึงการแก้ปญั หาดงั กลา่ ว ผวู้ ิจยั จงึ มความสนใจท่ีจะพัฒนาการเรียนรู้รายวชิ าหลักเศรษฐศาสตร์ของ
นักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด โดยการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน จึงได้ศึกษาแนวคิดใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ซึ่งมีนักจิตวิทยาในกลุ่มปัญญานิยมเจ้าของทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญา คือ การ
เรยี นรูท้ เ้ี กิดขน้ึ เพราะมปี ฏิสมั พันธก์ ับสง่ิ แวดล้อมในสภาพปัจจบุ ัน ปญั หาและความสำคญั ทกี่ ล่าวข้างตน ผู้วิจัย
มีความสนใจที่จะนำวีการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน โดยใช้รูปแบบกลุ่มตามสัมฤทธ์ิและรูปแบบกลุ่มใบงาน
เรียนและทำงานด้วยกนั เปน็ กลุ่ม โดยมีจดุ หมายเดยี วกัน ชว่ ยกนั ภายในกลุ่มผ้ทู เ่ี รยี นเก่งชว่ ยเหลือผ้ทู ีเ่ รียนอ่อน
กวา่ และตอ้ งยอมรับซ่งึ กันและกันเสมอความสำเร็จของกลุ่มข้ึนอยกู่ ับสมาชกิ ทกุ คนในกลุ่ม

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ “เพื่อนช่วยเพื่อน” เป็นการจัดการความรู้ก่อนลงมือทำกิจกรรม
(Learning Before Doing) เพ่อื แสวงหาผชู้ ว่ ยท่มี ีความแตกต่าง มาแลกเปลยี่ นประสบการณ์ความรู้ เพื่อขยาย
กรอบความคิดให้กว้างและมีประสิทธิภาพมาย่ิงข้นึ โดยอาศัย “คน” เป็นธงนำ (People Driven) เปิดมุมมอง
ความคิดที่หลากหลายจากการแลกเปลีย่ นระหว่างทีมที่มีทักษะ ความสามารถและประสบการณ์ทีแ่ ตกต่างกัน
ทำให้ไมม่ องอะไรเพยี งด้านเดียว

ในฐานะที่ผู้วิจัยเปน็ ครูผู้สอนในรายวชิ าหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001 จึงมีความสนใจใน
การสร้างและศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาหลักเศรษฐ ศาสตร์ รหัส
วชิ า 30200-1001 ของนกั ศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด โดยหวงั วา่ ผลการศึกษาน้จี ะเป็นแนวทางใน
การพัฒนาการเรียนการสอนในสาระการเรยี นรู้ให้มีประสิทธภิ าพที่ดีข้ึนอันจะเกิดประโยชน์สูงสุดให้กับผ้เู รียน
ตอ่ ไป

วัตถุประสงคก์ ารวจิ ยั

1. เพื่อพัฒนาการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้รายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001 ของนักศึกษา
ระดบั ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด โดยการจัดการเรยี นรแู้ บบเพอ่ื นชว่ ยเพื่อนที่มีประสทิ ธภิ าพ (E1/E2)

2. เพื่อศึกษาค่าดัชนีประสิทธิภาพผลการเรียนรู้รายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001 ของ
นักศึกษาระดบั ปวส.1 สาขาวชิ าการตลาด โดยการจดั การเรยี นร้แู บบเพอ่ื นชว่ ยเพื่อน

3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001 ของ
นักศึกษาระดับปวส.1 สาขาวิชาการตลาด โดยการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพ่ือน หลังเรียนกับ
เกณฑไ์ มน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60

4. เพ่อื ศกึ ษาความพึงพอใจของนักศึกษาทีม่ ตี ่อการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้รู ายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัส
วชิ า 30200-1001 โดยการจดั การเรียนรู้แบบเพ่ือนช่วยเพื่อน

ประเภทของการวิจัย

เปน็ การวจิ ัยในชัน้ เรียน ประเภท การวิจยั ทดลองแก้ปัญหาและพฒั นา

สมมติฐานการวิจยั

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหสั วชิ า 30200-1001ของนักศึกษาระดับปวส.1
สาขาวชิ าการตลาดทเ่ี รียนโดยการจดั การเรยี นรู้แบบเพื่อนช่วยเพือ่ นหลังเรียนสงู กวา่ เกณฑ์รอ้ ยละ 60

ขอบเขตการวิจัย

1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง

1. ประชากรที่ทำการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ นักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคนิค
สตูล จำนวน 17 คน

2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาระดับปวส.1 สาขาวิชาการตลาด จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนศึกษา
17 คน เจาะจงกลมุ่ ตวั อย่าง

3 กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย
3.1 แผนการสอนรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001 โดยคิดวิเคราะห์และ

ปฏิบตั ิงานตามแผนกลยุทธ์
3.2 ใบกิจกรรม
3.3 แบบวดั และประเมินผล

2. ตวั แปรทศี่ ึกษา

- ตัวแปรต้น การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูร้ ายวิชาหลกั เศรษฐศาสตร์ รหัสวชิ า 30200-1001
ของนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาวชิ าการตลาด โดยการจัดการเรียนรู้
แบบเพื่อนช่วยเพอื่ น

- ตวั แปรตาม ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและความพงึ พอใจ

3. เนือ้ หาที่ใชใ้ นการวิจยั

เนื้อหาที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ ได้แก่ เนื้อหาตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช
2563 ซึ่งแยกหนว่ ยการเรียนยอ่ ยได้ 12 เร่อื ง ดงั นี้

1. ความรู้ท่ัวไปทางหลกั เศรษฐศาสตร์
2. อปุ สงค์ อปุ ทาน
3. ดลุ ยภาพของตลาด
4. พฤตกิ รรมผู้บริโภค
5. การผลติ
6. ตลาดในระบบเศรษฐกิจและการกำหนดราคาในตลาด
7. รายได้ประชาชาติ
8. การเงนิ และการธนาคาร
9. นโยบายการเงนิ และนโยบายการคลงั
10. การค้าระหว่างประเทศ
11. วัฏจกั รเศรษฐกิจ
12. การพฒั นาเศรษฐกจิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

คำนิยามเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารของการวิจยั

1. การจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน หมายถึง เป็นการจัดการความรู้ก่อนลงมือทำกิจกรรม
(Learning Before Doing) เพอ่ื แสวงหาผชู้ ่วยท่ีมีความแตกตา่ ง มาแลกเปล่ยี นประสบการณ์ความรู้ เพ่ือขยาย
กรอบความคิดให้กว้างและมีประสิทธิภาพมาย่ิงข้นึ โดยอาศัย “คน” เป็นธงนำ (People Driven) เปิดมุมมอง
ความคิดท่หี ลากหลายจากการแลกเปลี่ยนระหว่างทีมทีม่ ที ักษะ ความสามารถ และ ประสบการณ์ที่แตกต่างกัน
ทำให้ไม่มองอะไรเพยี งด้านเดียว

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนด้านรู้ ความสามารถตามจุดประสงค์ในบทเรียนของ
นักศึกษาระดับ ปวส.1 หลังเรียน โดยทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน โดยการจัดการ
เรยี นรแู้ บบเพอ่ื นช่วยเพ่อื น ทีผ่ ูว้ ิจัยสรา้ งข้ึน

3. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดของบุคคลที่มีต่อการทำงานหรือปฏิบัติกิจกรรมเชิงบวก
ความรู้สึกพอใจ ชอบใจ ในการปฏิบัตกิ ิจกรรมการเรยี นการสอนของผุ้เรยี นในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัส
วชิ า 30202-1001 โดยการจัดการเรยี นรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน วดั ความพึงพอใจโดยใช้แบบประเมินเป็นมาตรา
สว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดับ

ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั จากการวจิ ัย

1. นักศึกษามีทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน และมีความพึง

พอใจต่อการเรียนรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001 ส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
รายวชิ าหลักเศรษฐศาสตร์สงู ขึน้

2. ครูสามารถนำการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน ไปเป็นแนวทสงในการจัดการเรียนรู้เพื่อ

พัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนต่อไป

3. วิทยาลยั สามารถนำไปเป็นแนวทางในการวางแผน บริหารจัดการด้านการพัฒนาสื่อนวัตกรรมเพื่อ

การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง

ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ของ
นักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด โดยการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้า
เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้องตามลำดบั ดังนี้

1. หลกั สูตรรายวชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ (30200-1001)
2. โครงสร้างหลักสตู รรายวิชาหลกั เศรษฐศาสตร์ (30200-1001)
3. การจดั การเรียนร้แู บบเพ่ือนช่วยเพ่อน
4. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
5. ความพึงพอใจ
6. งานวิจยั ทเี่ ก่ยี วข้อง
7. กรอบแนวคดิ ในการวิจัย

หลักสตู รรายวชิ าหลักเศรษฐศาสตร์ (30200-1001)

รายละเอียดของหลักสูตรรายวิชา
รหัสวิชา 30200-1001 หลักเศรษฐศาสตร์ (Principles of Economics)

หลักสูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พทุ ธศกั ราช 2563
ทฤษฎี 3 ช่วั โมง/สปั ดาห์ ปฏบิ ัติ 0 ช่ัวโมง/สัปดาห์ จำนวน 3 หน่วยกิต

จุดประสงค์รายวิชา
1. เขา้ ใจเกีย่ วกับหลักเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน พฤติกรรมผบู้ ริโภค การผลิต ตลาดในระบบ
เศรษฐกจิ รายได้ประชาติ การเงินการธนาคาร นโยบายการเงินการคลงั การคา้ ระหว่างประเทศ
และวัฏจักรเศรษฐกิจ
2. สามารถนำแนวคดิ ทางเศรษฐศาสตร์เพ่ือแก้ปัญหาในชวี ติ ประจำวันตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
3. เหน็ คณุ คา่ และความสำคัญของหลกั เศรษฐศาสตร์

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรูเ้ กี่ยวกบั หลกั เศรษฐศาสตร์ อปุ สงค์ อุปทาน พฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภค การผลติ ตลาดในระบบ
เศรษฐกิจ รายได้ประชาชาติ การเงนิ การธนาคาร นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง การค้าระหว่า
ประเทศ และวฏั จักรเศรษฐกิจ
2. ประยกุ ต์หลกั เศรษฐศาสตร์ไปใช้ในชีวติ ประจำวนั และงานอาชีพ

3. ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความมีคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง
คำอธบิ ายรายวชิ า

ศึกษาเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปทางหลักเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน ภาวะดุลยภาพของตลาด

พฤติกรรมผู้บริโภค การผลิต ตลาดในระบบเศรษฐกิจ รายได้ประชาชาติ การเงินธนาคาร นโยบายการเงิน

นโยบายการคลัง การคา้ ระหวา่ งประเทศ วัฏจกั รเศรษฐกิจ การพฒั นาเศรษฐกิจตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง

โครงสร้างหลกั สูตรรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ (30200-1001)

ความสอดคล้องของหนว่ ยกับสมรรถนะรายวชิ า

ชอ่ื วิชา หลักเศรษฐศาสตร์ (Principles of Economics) ท.ป.น. 3-0-3

รหสั วิชา 30200-1001 (3-0-3) จำนวน 3 ชัว่ โมง/ สัปดาห์ ระดบั ปวส.

ความสอดคล้อง

หน่วย ชือ่ หน่วย ชว่ั โมง แสดงความรู้เ ่ีกยว ักบหลัก
เศรษฐศาสตร์
แสดงความ ู้รเ ีก่ยว ักบ ุอปสง ์ค
และอุปทานโดยสอดคล้อง
กับพฤติกรรมของผู้บ ิรโภค
แสดงความรู้เก่ียว ักบการ
แก้ไข ัปญหาเศรษฐกิจและ
การ ัพฒนาเศรษฐ ิกจ
ประยุกต์หลักเศรษฐศาสต ์ร
ไปใ ้ชใน ีช ิวตประจำวัน

1 ความรทู้ วั่ ไปเกย่ี วกบั เศรษฐศาสตร์ 3

2 อปุ สงค์ อุปทาน และภาวะดุลยภาพของตลาด 6 

3 ความยืดหยนุ่ ของอุปสงคแ์ ละอปุ ทาน 6 

4 พฤติกรรมผู้บรโิ ภค 3

5 การผลิต 6 

6 ตน้ ทุน รายรับ และกำไร 6 

7 ตลาดในระบบเศรษฐกจิ 6 

8 รายไดป้ ระชาชาติ 3 

9 การเงินการธนาคารและนโยบายการเงิน 3 

10 นโยบายการคลงั 3 

11 การคา้ ระหว่างประเทศ 3 

12 การพฒั นาเศรษฐกจิ และวัฏจกั รเศรษฐกิจ 3 

ปลายภาค 3

รวม 54

การจัดการเรยี นร้แู บบเพือ่ นชว่ ยเพ่ือน

“เพื่อนช่วยเพื่อน” หรือ “Peer Assist” เป็นการจัดการความรู้ก่อนลงมือทำกิจกรรม (Learning
Before Doing) เพื่อแสวงหาผู้ช่วยที่มีความแตกต่าง มาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้ เพื่อขยายกรอบ
ความคิดให้กว้างและมีประสิทธิภาพมายิ่งขึ้น โดยอาศัย “คน” เป็นธงนำ (People Driven) เปิดมุมมอง
ความคดิ ที่หลากหลายจากการแลกเปลี่ยนระหวา่ งทีมที่มีทักษะ ความสามารถ และประสบการณ์ท่ีแตกต่างกัน
ทำให้ไมม่ องอะไรเพียงด้านเดียว

ความเป็นมา
“เพื่อนช่วยเพื่อน” (Peer Assist) เป็นเครื่องมือที่ได้รับการพัฒนาขึ้นใช้ครั้งแรกที่บริษัท BP-

Amoco ซึ่งเป็นบริษัทน้ำมันยักษ์ใหญ่ของประเทศอังกฤษ โดยการสร้างให้เกิดกลไกการเรียนรู้ประสบการณ์
ผอู้ ่นื ซ่งึ เปน็ เพ่อื นรว่ มอดุ มการณ์หรือร่วมวิชาชีพ (peers) กอ่ นทีจ่ ะเริ่มดำเนินกิจกรรมหรือโครงการใดๆ ท้ังน้ี
ความหมายของ “เพื่อนชว่ ยเพอ่ื น” จะเก่ียวขอ้ งกบั

- การประชุมหรือการปฏิบัติการร่วมกันโดยมีผู้ที่ได้รับเชิญจากทีมภายนอก หรือทีมอื่น (ทีมเยือน)
เพ่อื มาแบ่งปันประสบการณ์ ความรู้ กบั ทมี เจ้าบา้ น (ทมี เหย้า) ทีเ่ ป็นผูร้ ้องขอความชว่ ยเหลือ

- เครื่องมือสำหรบั แบง่ ปนั ประสบการณ์ ความเขา้ ใจ ความรู้ ในเรอื่ งตา่ งๆ
- กลไกสำหรับแลกเปล่ยี นความรู้ผา่ นการเช่ือมโยงตดิ ต่อระหวา่ งบคุ คลสำหรบั ข้อดขี องการ
ทำ Peer Assist นน้ั ได้แก่
- เป็นกลไกการเรียนรู้ก่อนลงมือทำกิจกรรม (Learning Before Doing) ผ่านประสบการณ์ผู้อื่น
เพื่อให้รู้วา่ ใครรูอ้ ะไร และไม่ทำผิดพลาดซำ้ ในสิ่งที่เคยมผี ู้ทำผิดพลาด ตลอดจนเรียนลัดวธิ ีการทำงานต่างๆ ที่
เราอาจไม่เคยรู้มากอ่ นจากประสบการณ์ของทมี ผชู้ ่วยภายนอก
- ช่วยใหท้ มี เจ้าบา้ นไดค้ วามช่วยเหลือ ความคดิ เห็น และมมุ มองจากทมี ผู้ช่วยภายนอก ซ่งึ อาจนำไปสู่
แนวทางในการแกป้ ญั หาหรอื การทำงานใหม่ๆ

แนวคิดทฤษฎี
เมื่อจะเริ่ม "ลงมือทำ" เรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เราไม่เคยทำ หรือไม่สันทัด หรือยังได้ผลไม่เป็นที่พอใจ

ขัน้ ตอนแรกของการจัดการความรคู้ ือหาข้อมลู (ความร)ู้ ว่าเรื่องน้นั ๆ มบี คุ คลหรอื กลุ่มคน ท่ไี หน หน่วยงานใด
ที่ทำได้ผลดีมาก (best practice) และถือเป็นกัลยาณมิตร (peers) ที่อาจช่วยแนะนำหรือให้ความรู้เราได้
กลั ยาณมติ รนี้อาจเป็นเพ่ือนรว่ มงานในหน่วยงานเดียวกัน อาจเปน็ หน่วยงานอน่ื ในองค์กรเดียวกัน หรือเป็นคน
ที่อยู่ในองค์กรอื่นก็ได้ แล้วติดต่อขอเรียนรู้วิธีทำงานจากเขา ไปเรียนรู้จากหน่วยงาน จะโดยวิธีไปดูงาน
โทรศพั ทห์ รือ e-mail ไปถาม เชญิ มาบรรยาย หรือวธิ อี ่ืนๆ ก็ได้ หลกั คดิ ในเรื่องน้ีก็คือ มีคนอื่นท่ีเขาทำได้ดีอยู่
แลว้ ในเร่อื งทเ่ี ราอยากพัฒนาหรือปรับปรุง ไมค่ วรเสยี เวลาคดิ ขน้ึ ใหม่ดว้ ยตนเอง ควร "เรียนลัด" โดยเอาอย่าง
จากผู้ที่ทำได้ดีอยู่แล้ว เอามาปรับใช้กับงานของเรา แล้วพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น ย้ำว่าการเรียนรู้จากกัลยาณมิตรนี้
จะต้องไม่ใชไ่ ปลอกวธิ ีการของเขามาท้ังหมด แตไ่ ปเรียนรู้แนวคดิ และแนวปฏิบตั ิของเขาแลว้ เอามาปรับปรุงใช้
งานใหเ้ หมาะสมต่อสภาพการทำงานของเรา

วิธีการแบบ “เพอ่ื นชว่ ยเพอ่ื น”
วธิ กี ารแบบ “เพ่ือนช่วยเพ่อื น” สามารถทำได้ ดงั นี้
1. กำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนวา่ ทำ “เพ่อื นช่วยเพื่อน” ทำไปเพอ่ื อะไร อะไรคอื ตน้ ตอของปัญหา

ทต่ี ้องการขอความชว่ ยเหลือ
2. ตรวจสอบว่าใครที่เคยแก้ปัญหาที่เราพบมาก่อนบ้างหรือไม่ โดยทำแจ้งแผนการทำ “เพื่อนช่วย

เพอื่ น” ของทีมใหห้ น่วยงานอื่นๆ ไดร้ บั รู้ เพ่ือหาผูท้ ่รี ใู้ นปญั หาดงั กลา่ ว
3. กำหนด Facilitator (คุณอำนวย) หรือผู้สนับสนุน และอำนวยความสะดวกในกระบวนการ

แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ระหว่างทมี เพื่อใหไ้ ดผ้ ลลัพธ์ตามต้องการ
4. คำนึงถึงการวางตารางเวลาให้เหมาะสมและทันต่อการนำไปใช้งาน หรือการปฏิบัติจริง โดยอาจ

เผ่ือเวลาสำหรับปัญหาที่ไมค่ าดคดิ ทอ่ี าจจะเกิดขนึ้
5. ควรเลือกผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้มีความหลากหลาย ( Diverse) ทั้งด้านทักษะ

(Skill) ความสามารถ/ความเชี่ยวชาญ (Competencies) และประสบการณ์ (Experience) สำหรับจำนวน
ผูเ้ ข้าร่วมแลกเปลย่ี นอยทู่ ปี่ ระมาณ 6-8 คนก็เพยี งพอ

6. มุง่ หาผลลัพธ์หรือสิ่งที่ต้องการได้รบั จริงๆ กล่าวคอื การทำ “เพ่อื นชว่ ยเพ่ือน” น้ันจะต้องมองให้
ทะลถุ ึงปัญหา สร้างทางเลือกหลายๆ ทาง มากกว่าทจ่ี ะใช้คำตอบสำเร็จรปู ทางใดทางหน่ึง

7. วางแผนเวลาสำหรบั การพบปะสงั สรรค์ทางสังคม หรอื การพูดคุยแบบไม่เป็นทางการ (นอกรอบ)
8. กำหนดบทบาทของแต่ละฝ่ายให้ชัดเจน ตลอดจนสร้างบรรยากาศ เพื่อให้เอื้ออำนวยต่อการ
แลกเปล่ยี นเรียนรูร้ ะหวา่ งกัน
9. แบง่ เวลาที่มีอยอู่ อกเปน็ 4 สว่ น คอื
- ส่วนแรกใช้สำหรับทีมเจ้าบ้านแบ่งปันข้อมูล (Information) บริบท (Context) รวมทั้งแผนงานใน
อนาคต
- ส่วนที่สองใชส้ นับสนุนหรอื กระตุน้ ให้ทีมผูช้ ว่ ยซึ่งเปน็ ทีมเยอื นได้ซกั ถามในสิง่ ท่เี ขาจำเป็นต้องรู้
- สว่ นที่สาม ใชเ้ พ่ือใหท้ มี ผู้ช่วยซงึ่ เปน็ ทีมเยือนไดน้ ำเสนอมมุ มองความคิด เพ่อื ใหท้ ีมเจ้าบ้านนำส่ิงท่ี
ได้ฟังไปวเิ คราะห์
- สว่ นที่สี่ ใช้สำหรบั การพดู คยุ โต้ตอบ พิจารณาไตร่ตรองสงิ่ ทีไ่ ดแ้ ลกเปล่ยี นเรียนร้รู ่วมกัน
จากความเป็นมา แนวคิดทฤษฎี และวิธีการแบบ “เพื่อนช่วยเพื่อน” เราสามารถแบ่งประเภท
ของ “เพอื่ นชว่ ยเพอื่ น” ได้ 3 ประเภท ดังนี้
1. การสอนแบบ “เพ่อื นชว่ ยเพอื่ น”

กิจกรรมอย่างหนึ่งที่จัดให้ผู้เรียนได้ช่วยเหลือเกื้อกูลกันอยู่เสมอ คือ เพื่อนช่วยเพื่อนในลักษณะ
เก่งช่วยอ่อน ซึ่งเป็นวิธีการที่ผู้เรียนให้ความสนใจมาก คนเก่งจะจัดกระบวนการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริม
ความสามารถของผู้เรียน โดยเฉพาะวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการคิด วางแผน
ปฏิบัติ และประเมินผล ให้ผู้เรียนมีโอกาสได้เรียนรู้ ได้พิจารณา และค้นพบความรู้ความสามารถของตนเองให้
ผู้เรียนมองเห็นภาพลักษณ์แหง่ ตน ตัวตนในอุดมคติ และการเหน็ คณุ ค่าตนเอง ต่อความสำเร็จในการเรียนการ

สร้างเว็บไซต์ ภาษา HTML ส่ิงเหล่านจ้ี ะช่วยหล่อหลอมใหผ้ ู้เรียน รักและมีความพร้อมท่ีจะเรียน มีความสุขใน
การเรยี นรู้ และร่วมกิจกรรมการเรยี นการสอนอยา่ งต่อเนื่อง

การสอนดว้ ยวีการ “เพ่อื นช่วยเพือ่ น”
การสอนด้วยวิธีการให้เพื่อนช่วยเพื่อนเป็นวิธีการที่มุ่งให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจต่อการเรียนมากข้ึน
เน่ืองจากนักเรียนทุกคนเป็นผทู้ ี่มีบทบาทในกจิ กรรมการเรียนการสอน การนำวิธีการสอนแบบเพ่ือนช่วยเพ่ือน
มาช่วยแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน ควรจะต้องสร้างแรงจูงใจแก่เพื่อนนักเรียนที่ช่วยสอน ให้ได้รับ
ผลประโยชน์ตอบแทนทั้งรูปธรรมและนามธรรม ซึ่งเป็นบันไดขั้นแรกแห่งความสำเร็จ ด้วยการหากิจกรรมที่
กระตุน้ ใหน้ ักเรียนพร้อมทจี่ ะใหค้ วามรว่ มมือ ชว่ ยเหลอื ครูและเพือ่ นนกั เรยี นอยา่ งเตม็ ใจและพึงพอใจ
ผู้สอนจะมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาทักษะความสามารถของผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ ด้วย
การออกแบบกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มท่ี มีความสุข การจัดการเรียน
การสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีความสุข ทั้งกายและใจนั้น จะเริ่มจากการสร้างความศรัทธาทั้งต่อตัวผู้สอน และต่อ
วิชาที่เรยี น ให้เกิดในตวั ผูเ้ รียน ใหผ้ เู้ รยี นมองเหน็ ถงึ ความจริงใจของผู้สอน
การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนแบบ “เพอื่ นชว่ ยเพอ่ื น”
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ยอมรับว่าผู้เรียนเป็นมนุษย์ที่มีศักยภาพ ปฏิบัติต่อผู้เรียนใน
ลักษณะกัลยาณมิตร และเข้าใจในความเป็นตัวเขา นอกจากนั้น การสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนหรือการให้
ผู้เรียนช่วยสอนกันเองนี้ เป็นวิธีการที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์ทางด้านวิชาการด้วยกันทั้ง 2 ฝ่าย การ
เรียนการสอนแบบนี้ได้มีการพัฒนาและนำมาใช้ในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไปตามจุดมุ่งหมายและวิธีการ
ได้รับการตอบสนองความต้องการในระดับแรกๆ ก่อนเท่านั้น เมื่อก้าวผ่านขั้นหนึ่งไป มนุษย์เราจะมีความ
ต้องการสูงขึ้นไปทีละขั้นเพิ่มขึ้นไปเรื่อย ๆ ผู้ศึกษาได้คิดค้นนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน การสร้าง
เว็บไซต์ ภาษา HTML ด้วยการดัดแปลงกระบวนการสอนซ่อมเสริมแบบเพื่อนช่วยเพื่อน มาบูรณาการเข้ากับ
วิธีการดำเนินธุรกิจเครือข่าย Direct Sales (ขายตรง)ด้วยการสร้างกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนโดยส่วนรวมสงู ข้ึน และเพื่อช่วยเหลือนักเรียนทีม่ ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
ตำ่ รวมถึงนักเรียนที่ไมบ่ รรลจุ ุดประสงค์การเรียนรู้ ให้สามารถเรยี นรผู้ ่านตามเกณฑ์การประเมินจดุ ประสงค์

2. การให้คำปรึกษาแบบ “เพอ่ื นชว่ ยเพอ่ื น”
การให้คำปรึกษาแบบ “เพื่อนช่วยเพื่อน” หมายถึง การให้ความช่วยเหลือทางด้านจิตใจ และเป็น
รากฐานสำคัญในการสนับสนุนผู้รับคำปรึกษาให้ดำเนินชีวิตอย่างอิสระ โดยปฏิสัมพันธ์ท่ี
จะ “ให้” และ “รับ” ความช่วยเหลือเท่าเทียมกันอย่างเพื่อน ได้มาฟังความรู้สึกและเล่าเรื่องราวของตนเอง
เพื่อสนับสนุนซึ่งกันและกัน เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นในตนเอง มีความเข้มแข็ง สามารถดำรงชีวิตได้อย่าง
อิสระ
การใหค้ ำปรกึ ษาแบบ “เพ่ือนชว่ ยเพื่อน” แตกต่างจากการใหค้ ำปรกึ ษาอยา่ งอน่ื อย่างไร?
ในกระบวนการให้คำปรึกษาฉันเพื่อน มีผู้รับฟังเรียกว่า “ผู้ให้คำปรึกษาแบบเพื่อน” (Peer
Counselor) กบั ผูเ้ ลา่ เร่ือง เรยี กวา่ “ผู้รบั คำปรกึ ษาแบบเพ่ือน” (Client) โดยแบ่งเวลาฝ่ายละเท่า ๆ กัน และ

สลับบทบาทระหว่างผู้เล่าเร่ืองกับผรู้ ับฟงั ตามเวลาที่กำหนด เพอ่ื แลกเปล่ียนประสบการณ์และสนับสนุนซึ่งกัน
และกัน จะส่งผลที่พึงพอใจแก่ผู้รับคำปรึกษาฉันเพื่อน ได้รับรู้และเข้าใจเรื่องราวของตนอย่างแท้จริง ทำให้
ยอมรับและรักตนเอง นำมาซึ่งความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าที่จะเผชิญความเปลี่ยนแปลงต่างๆและสามารถ
ดำรงชวี ติ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข แตก่ ารปรกึ ษาของผู้เชียวชาญ หรอื หมอผรู้ บั คำปรึกษาจะเป็นฝ่ายท่ีจะ
น่ังรบั ฟังเรื่องราวตา่ งๆเพยี งฝ่ายเดียว และผู้เชยี วชาญหรือหมอจะเปน็ คนใหค้ ำแนะนำเพื่อใหป้ ฏบิ ตั ิตามเท่าน้ัน
ดังนั้นการให้คำปรึกษาแบบ “เพื่อนช่วยเพื่อน” จะสร้างความเข้าใจ ทัศนคติต่างๆและก่อให้เกิดการ
ปฏสิ มั พนั ธท์ ่ดี ตี ่อกันระหว่างผรู้ ับและผ้ใู หม้ ากกว่าการให้คำปรึกษาแบบเป็นผู้รบั คำปรึกษาเพยี งอย่างเดียว

ข้อตกลง หรือขอ้ สัญญาในการใหค้ ำปรึกษาแบบ “เพอื่ นชว่ ยเพ่อื น”
ข้อตกลงหรอื ขอ้ สญั ญาในการให้คำปรึกษามีข้อที่ควรปฏิบตั ิทั้งหมด 4 ขอ้ ดังนี้
1. แบ่งเวลาโดยเท่าเทียมกัน การให้คำปรึกษาแบบเพื่อนช่วยเพื่อนให้ความสำคัญกับการแบ่งเวลา
อยา่ งเท่าเทียมกนั เพือ่ จะไดม้ ีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กันได้อย่างเต็มที่ สิง่ หนงึ่ ทต่ี ้องเสมอภาคกันไม่ว่าจะ
เป็นใครก็ตาม ทั้งสองฝ่ายมีเวลาเท่าเทียมกัน โดยการที่ให้ผู้ขอรับคำปรึกษาเป็นผู้กำหนดว่าต้องการเวลา
เท่าไหร่ แต่ต้องไม่นานเกินไป ทั้งสองฝ่ายจะต้องเป็นผู้ตกลงกันอย่างเท่าเทียมเสมอ ที่ต้องมีกฎข้อนี้ก็เพื่อ
ปอ้ งกันไมใ่ ห้คนที่พูดเกง่ แย่งเวลาไปหมด จนคนทพี่ ูดไมเ่ กง่ ไมไ่ ดพ้ ดู อะไรเลย
2. รักษาความลับเป็นส่วนตัว การให้คำปรึกษาต้องรับประกันได้ว่าผู้ให้คำปรึกษาจะไม่เปิดเผยหรือ
พูดเรื่องของผู้มารับคำปรึกษา ผู้ให้คำปรึกษาจะต้องเก็บเป็นความลับและต้องเคารพความเปน็ ส่วนตัวของผู้ท่ี
รับคำปรึกษาเสมอ เพราะเปน็ การทำใหเ้ กดิ การไวว้ างใจและรสู้ ึกปลอดภัยทางด้านจิตใจแกผ่ ู้มารับคำปรึกษา ท่ี
ต้องมีกฎข้อนี้เพราะว่า จะทำให้ผู้รับคำปรึกษากล้าท่ีจะพูดเรือ่ งส่วนตัว และสามารถปลดปล่อยได้อย่างเต็มที่
ไม่เกดิ ความกังวล
3. ไมป่ ฏิเสธ ไมต่ ำหนิ เมื่อมีผูม้ าขอรบั คำปรึกษา ผ้ใู หค้ ำปรึกษาตอ้ งแสดงให้ผู้มารบั คำปรึกษารับรู้ว่า
เรายินดที ี่จะรับฟังปัญหาของเขาและเชื่อในส่ิงท่เี ขาพดู อย่างตั้งใจ เมอ่ื ฟังแลว้ ต้องไม่ตำหนิหรือวิจารณ์ และไม่
ปฏิเสธในสิ่งที่เขาเล่ามา ที่ต้องมีกฎข้อนี้เพราะว่า หากผู้รับคำปรึกษาถูกปฏิเสธ หรือถูกตำหนิเขาจะรู้สึกว่า
ตวั เองไม่มีความสำคญั ทำให้ขาดความม่นั ใจในตวั เอง
4. ไมใ่ ห้คำแนะนำ ไม่ชี้ทางแก้ไข ผ้ใู หค้ ำปรกึ ษาเม่อื ได้รับฟังปญั หาจากผู้มาขอคำปรึกษาแลว้ จะตอ้ ง
ไม่แสดงความคิดเห็นหรือแนะนำวิธีการแก้ปญั หา เพราะการแนะนำอาจจะไม่เหมาะสมและไม่ถูกต้องสำหรับ
คนที่มาขอคำปรึกษาเสมอไป เพราะผู้ที่จะเข้าใจปัญหานั้นได้ดีและจะแก้ปัญหานั้นได้ก็ต้องเป็นตัวของผู้รับ
คำปรึกษาเอง โดยเราจะต้องเชื่อมั่นว่ามนุษย์ทุกคนมีพลัง มีความสามรถที่จะแก้ปัญหาของตนเอง อย่างน้อย
การทเ่ี ขาได้มีโอกาสระบายความรสู้ ึกท่ีเก็บกดออกมา กจ็ ะสามารถทำใหเ้ ขาไดเ้ รียบเรียงปัญหาและเห็นปัญหา
ของเขาเอง และในเมอ่ื เขาเห็นชัดว่า ปญั หาของเขาคืออะไร ในที่สุดเขาก็จะสามารถแก้ไขปัญหาน้นั ได้ และจะ
เป็นการเรยี กความเชอ่ื มั่นของตวั เองกลบั คนื มาด้วย

3. กลวิธกี ารเรยี นรู้แบบ “เพ่อื นช่วยเพื่อน”
กลวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นคู่หรือกลุ่มย่อย ให้

ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม คอยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการผลัดเปลี่ยนกันเป็นผู้สอนและผู้เรียน
เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทเรียน ครูผู้สอนมีบทบาทหน้าที่เป็นพียงผู้ให้คำแนะนำและจัด
กิจกรรมการเรยี นรูใ้ ห้เหมาะสมกับผู้เรียน

รูปแบบกลวธิ กี ารเรยี นรแู้ บบเพือ่ นช่วยเพอ่ื น
นักการศึกษาหลายท่านได้ประมวลการสอนที่มีแนวคิดจากกลวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนไว้
มากมาย มีรายละเอยี ดดงั น้ี
1. การสอนโดยเพื่อนร่วมชั้น (Class wide-Peer Tutoring) เป็นการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนทั้ง
สองคนที่จับคู่กันมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน โดยให้ผูเ้ รียนทัง้ สองสลับบทบาทเปน็ ทั้งนักเรียนผู้สอนที่คอย
ถา่ ยทอดความรใู้ ห้แกน่ กั เรียนผเู้ รยี น และนักเรยี นผู้เรียนซง่ึ เปน็ ผ้ทู ไี่ ดร้ ับการสอน
2. การสอนโดยเพื่อนต่างระดับชั้น (Cross-Age Peer Tutoring) เป็นการสอนที่มีการจับคู่ระหว่าง
ผเู้ รียนท่มี ีระดับอายุแตกต่างกนั โดยใหผ้ เู้ รยี นที่มีระดับอายสุ ูงกว่าทำหน้าท่ีเปน็ ผู้สอนและให้ความรู้ ซึ่งผู้เรียน
ท้ังสองคนไมจ่ ำเปน็ ต้องมคี วามสามารถทางการเรียนท่แี ตกต่างกนั มาก
3. การสอนโดยการจับคู่ (One-to-One Tutoring) เป็นการสอนที่ให้ผู้เรียนที่มีความสามารถ
ทางการเรียนสูงกว่าเลือกจับคู่กับผู้เรียนที่มีความสามารถทางการเรียนต่ำกว่าด้วยความสมัครใจของตนเอง
แลว้ ทำหน้าทส่ี อนในเร่อื งทีต่ นมคี วามสนใจ มีความถนดั และมที กั ษะท่ีดี
4. การสอนโดยบุคคลทางบ้าน (Home-Based Tutoring) เป็นการสอนที่ใหบ้ ุคคลทีบ่ า้ นของผู้เรยี น
มีส่วนร่วมในการสอน ให้ความชว่ ยเหลอื ในการพฒั นาความรู้ความสามารถแกบ่ ุตรหลานของตนระหว่างที่บุตร
หลานอยู่ท่ีบ้าน
หลกั การใชก้ ลวิธกี ารเรยี นรู้แบบ “เพอื่ นช่วยเพ่อื น”
การใหเ้ พอื่ นช่วยเพื่อนจะมีประสทิ ธิภาพสูงสดุ น้นั ควรดำเนนิ ไปตามหลกั เกณฑ์ ดังนี้
1. เพื่อนผู้สอนจะต้องมีทักษะที่จำเป็น เช่น ความเข้าใจในจุดประสงค์ของการสอนจำแนกได้ว่า
คำตอบที่ผิดและคำตอบที่ถูกต่างกันอย่างไร รู้จักการให้แรงเสริมแก่เพื่อนผู้เรียน รู้จักบันทึกความก้าวหน้าใน
การเรยี นของเพ่ือนผูเ้ รียน และมนษุ ยสมั พนั ธ์ที่ดีกบั เพอื่ นผู้เรยี น
2. กำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมให้ชัดเจน ท้งั นเี้ พ่ือใหบ้ คุ คลทั้งสองชว่ ยกนั บรรลเุ ป้าหมายในการ
เรยี น
3. ครูเปน็ ผ้กู ำหนดขั้นตอนในการสอนใหช้ ดั เจนและให้เพอ่ื นผเู้ รยี นดำเนนิ การตามขั้นตอนเหลา่ นั้น
4. สอนทีละขนั้ หรือทลี ะแนวคิดจนกว่าเพอื่ นผ้เู รียนเขา้ ใจดแี ล้ว จงึ สอนขนั้ ต่อไป
5. ฝึกให้เพื่อนผู้สอนเข้าใจพฤติกรรมการแสดงออกของเพื่อนผู้เรียนด้วยว่า พฤติกรรมใดแสดงว่า
เพื่อนผู้เรยี นไม่เขา้ ใจ ทง้ั น้จี ะได้แก้ไขใหถ้ ูกต้อง
6. เพ่ือนผสู้ อนควรบันทึกความก้าวหน้าในการเรียนของเพื่อนผู้เรียนตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่
กำหนดไว้

7. ครูผู้ดูแลรับผิดชอบจะต้องติดตามผลการสอนของเพื่อนผูส้ อนและการเรยี นของเพื่อนผู้เรียนด้วย
วา่ ดำเนินการไปในลกั ษณะใด มปี ญั หาหรือไม่

8. ครูให้แรงเสรมิ แกท่ ง้ั 2 คนอย่างสมำ่ เสมอ
9. ช่วงเวลาในการให้เพื่อนช่วยเพื่อนไม่ควรใช้เวลานานเกินไป งานวิจัยระบุว่าระยะเวลาที่มี
ประสทิ ธภิ าพในการให้เพอ่ื นช่วยเพื่อนในระดบั ชน้ั ประถมศึกษาอย่รู ะหว่าง 15-30 นาที
10. เพื่อนผู้สอนมีการยกตัวอย่างประกอบการสอน จึงจะช่วยให้เพื่อนผู้เรียนเรียนเข้าใจเนือ้ หาได้ดี
ย่งิ ขึ้น

ประโยชน์ของ “เพอ่ื นช่วยเพ่ือน”
1. เป็นการเรียนลัดวิธีการเรียน การทำงานต่างๆที่เราอาจจะเคยทราบมาก่อน สิ่งเหล่านี้จะมาจาก

ประสบการณ์ เทคนิควิธตี า่ งๆของคู่เพ่ือนช่วยเพือ่ นหรือทีมเพอื่ นชว่ ยเพ่ือน
2. เปน็ การแลกเปลย่ี นความรู้ ประสบการณ์ มมุ มองความคดิ ตา่ งๆรว่ มกันเพ่ือช่วยกันพัฒนาความรู้เดิมท่ี

มอี ยู่ให้มีการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
3. สร้างความสมั พนั ธ์และความสามัคคี เพราะกระบวนการเพ่ือนชว่ ยเพื่อนต้องเกดิ จากการทำงานเป็นคู่

หรอื เปน็ ทีม ดงั น้ันการมปี ฏสิ ัมพันธ์อนั ดีตอ่ กันย่อมทำให้เกิดผลการเรียนร้ทู ่ดี ีตามมา
( Peer-Assisted Learning ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ บ บ เ พ ื ่ อ น ช ่ ว ย เ พ ื ่ อ น http://beer-

bussaba.blogspot.com/2011/05/peer-assisted-learning.html)

ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน

ความหมายผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน (Achievement) เป็นนสมรรถภาพในด้านต่าง ๆ ทนี่ กั เรยี นไดจ้ ากประสบกา
รณ ทั้งทางตรงและทางออมจากครูผูส้ อน สำหรับความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมีนักการศึกษาไดใ้ ห้
ความหมายไวหลายท่านสรปุ ได้ดังน้ี
Good (1983 : 6 - 7) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง การเขาถึงความรู หรือการพัฒนาทักษะการ
เรียน ซึ่งโดยปกติพิจารณาจากคะแนนสอบที่กำหนดคะแนนที่ได้จากงานที่ครูสอนมอบหมายใหหรือทั้งสอง
อยา่ ง
ชวาล แพรัตกุล (2516 : 15-17) สุธรรม จันทร์หอม (2519 : 89) ไพศาล หวังพาณิชย (2526 : 89)
ใหความหมายผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนโดยสรุปไดว้ ่า ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่เี กิดจากความรู
ทกั ษะและความสามารถในด้านต่าง ๆ ของนักเรยี นจนเกดิ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมและประสบการณเรียน
รู
ชนินทร อินทิราภรณ และคนอื่นๆ (2540 : 5) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสำเร็จในด้าน
ความรู ทักษะ สมรรถภาพด้านต่าง ๆ ของสมองหรือมวลประสบการณทั้งปวงของบุคคลที่ได้รับการเรียนการ
สอนหรอื ผลงานทีน่ ักเรียนไดจ้ ากการประกอบกจิ กรรม

ธวัชชัย บุญสวัสดิ์กุลชัย (2543 : 4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรูทักษะและสมรรถภาพ
ทางสมองในด้านต่าง ๆ ที่นักเรียนได้รับจากการสั่งสอนของครูผู้สอน ซึ่งสามารถตรวจสอบได้โดยใช
แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ

พชั รนิ ทร จนั ทร์หวั โทน (2544 : 9) ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน หมายถงึ ความสามารถของบุคคลในการ
ตอบแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ โดยผู้ที่ตอบได้คะแนนมาก คือ ผู้ที่มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสูงสวนผู้ทีต่ อบได้
คะแนนน้อยถอื วามีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตำ่

รัตนาภรณ ผ่านพิเคราะห์ (2543 : 7) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลของความสามารถทาง
วิชาการท่ีไดจ้ ากการทดสอบโดยวิธีต่าง ๆ

กรมวิชาการ (2544 :11) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสำเร็จหรือความสามารถในการ
กระทำใด ๆ ท่จี ะตองอาศยั ทักษะหรือมฉิ ะนนั้ ก็ตองอาศัยความรอบรูในวชิ าใดวชิ าหน่งึ โดยเฉพาะ

จากความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดังกล่าว สรุปได้วา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง
ความสำเร็จความสามารถของบุคคล ในด้านต่าง ๆ ทั้งดานความรู ทักษะ กระบวนการตลอดจนค่านิยม
ความเห็นต่าง ๆ ทเ่ี กิดขึน้ หลงั จากผานกระบวนการเรยี นการสอนการฝกอบรมมาแลว

แนวคิดเก่ยี วกับการวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
Bloom เป็นนักการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของการจัดการเรียนการสอน ผลงานทางด้านการศึกษาที่ นํา
มาใชเป็นแนวปฏิบัติ โดยทั่วไปในการจดั การศึกษาทุกระดับคอื เรื่องของจุดประสงคทางการศึกษาและ กลวิธี
การเรียนรูโดยตองคำนึงถึงธรรมชาตขิ องนักเรียน ซึ่งเป็นนแนวคิดที่สำคัญที่นํามาสู่กระบวนการจัดการ เรียน
การสอนทีม่ ีชอ่ื วา การเรียนเพอ่ื รอบรู (Mastery Learning) ไมผ่ า่ น
Bloom ได้กลาวถึงธรรมชาติของนักเรียนแต่ละคนวามีความแตกต่างกัน นักเรียนจะสามารถเรียนรู
เนอ้ื หาในหน่วยย่อยต่าง ๆ ไดโ้ ดยใชเวลาเรียนที่แตกต่างกนั ในการสอนจึงตองมีการเตรียมเง่ือนไขที่จะช่วยให้
นักเรียนทุกคนสามารถผ่านลำดับขั้นตอนของทุกหน่วยการเรียน ถานักเรียนได้เรียนตามอัตราการการเรียนรู้
ของตนเองกจ็ ะทำใหนกั เรียนประสบความสำเรจ็ ในการเรยี นมากขึ้น
การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามแนวคิดของ Bloom (1982 : 45) ถือวาสิ่งใดก็ตามที่มีปริมาณอยู่
จรงิ ส่ิงนัน้ สามารถวัดได้ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนก็อยู่ภายใตกรอบแนวคดิ ดังกลาวซงึ่ ผลการวดั จะเป็นประโยชน
ในการประเมนิ ระดับความรู ทกั ษะและเจตคติของนกั เรยี น ซงึ่ จําแนกตัวองคความรูในเน้ือหาท่ตี องการวัดและ
คุณลักษณะของพฤติกรรมออกตามความเชื่อ เชน ระดับความรูความสามารถตามแนวคิดของ Bloom มี 6
ระดับ ดังน้ี
1. ความจํา คือ ความสามารถจำเรื่องต่าง ๆ ได้ เชน คําจํากัดความ สูตรต่าง ๆ วิธีการ เชน นักเรียน
สามารถ บอกชือ่ สารอาหาร 5 ได้ นักเรียนสามารถบอกชือ่ ธาตุท่ีเป็นองคประกอบของโปรตีนได้ครบถวน
2. ความเขาใจ คอื สามารถแปลความ ขยายความ และสรปุ ใจความสำคญั ได้
3. การนาํ ไปใช คอื สามารถนาํ ความรู ซง่ึ เป็นหลกั การ ทฤษฎี ไปใชในสภาพการณทตี่ างออกไปได้
4. การวิเคราะห์ คือ สามารถแยกแยะข้อมูลและปัญญาต่าง ๆ ออกเป็นสวนย่อย เชน วิเคราะห์องค
ประกอบ ความสัมพนั ธ์ หลกั การดำเนนิ การ

5. การสังเคราะห์ คือ สามารถนําองคประกอบ หรือสวนต่าง ๆ เขามารวมกันเป็นหมวดหมู่อย่างมี
ความหมาย

6. การประเมินคา คือ สามารถพิจารณาและตัดสินจากขอมูล คุณคาของหลักการโดยใชมาตรการท่ี
ผู้อืน่ กำหนดไวหรือตวั เองกำหนดข้นึ

ขัน้ ตอนการจัดการเรียนการสอนตามกลวิธีการเรียนรูของ Bloom และในแตล่ ะข้นั ตอน มีรายละเอยี ด
การดำเนินกิจกรรม ดงั ตอไปนี้ คือ

1. จําแนกหรอื แบงเนอื้ หาออกเป็นชุดของหน่วยการเรยี นย่อย ๆ
2. แสดงจดุ ประสงคเชิงพฤติกรรมในแตล่ ะหน่วยการเรียนใหชดั เจน
3. ใชวธิ สี อนแบบเรยี นเป็นกลุ่มปกติในแตล่ ะหนว่ ยการเรยี น
4. มีการทดสอบเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน เพื่อประเมินผลการเรียนและความก้าวหน้าของ
นกั เรยี น ทุกๆครง้ั ทจ่ี บแต่ละหนว่ ยการเรยี น
5. ใชผลการสอบเมื่อสิ้นสุดหน่วยการเรียนหนึ่ง ๆ มาสงเสริมการเรียนการสอนสำหรับผู้ที่ผ่านเกณฑ
ความรอบรกู ็จะเป็นแรงเสริมใหอยากเรียนในหน่วยต่อไปสวนผู้ที่ไม่ผา่ นเกณฑก็จะเป็นแนวท่ีชใี้ หเห็นจุดบกพร
อง ซึ่งจะตองมีการแกไขปรบั ปรงุ ตอไป
6. การแกไขจุดบกพรองในการเรยี นรูของนกั เรียน จะมีวิธกี ารต่าง ๆ หลายรปู แบบ
7. เมือ่ นักเรยี นเรียนผา่ นทุกหนว่ ยแลวจะตองทำแบบทดสอบเพ่ือสรุปผลการเรียน ซง่ึ จะนําผลการทด
สอนครัง้ น้มี าคดิ คะแนน เพอ่ื ดูผลสดุ ท้ายของการเรียนว่าผ่านเกณฑความรูรอบมากน้อยเพยี งใด
สรปุ ไดว้ าการเรียนเพ่ือรอบรู คอื การจดั การเรียนการสอนที่นกั เรยี นสว่ นใหญ่สามารถผา่ นเกณฑ ผ่าน
เนื้อหา ผ่านจุดประสงคทุกจุดประสงคตามเกณฑที่วางไว้ได้ โดยมีจุดประสงคเพื่อใหนักเรยี นสวนใหญ่ประสบ
ความสำเร็จในการเรียนตามเกณฑมาตรฐาน ซึ่งสวนมากจะกำหนดมาตรฐานความรูรอบที่ระดับ 80% ซึ่งจะ
ทำใหนักเรยี นสามารถพัฒนาตนเองไดแ้ ละมีเจตคติที่ดตี อการเรยี น สามารถบรรลุจดุ หมายของการสอนตามที่ต
องการได้ การวิจัยในคร้ังนจี้ ะนําแนวคิดของ Bloom มาสนบั สนนุ การวินจิ ฉยั นักเรียนระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาป ท่ี
4 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกวาเกณฑมาตรฐานสภาพการเรียนรูของนักเรียนที่เรียนโดยการศึกษาผล
การศึกษาผลการเรียนรูวิชาฟสิกส์ เรื่อง แรงและกฎการเคลื่อนที่ โดยใชกระบวนการเรียนรูแบบวัฏจักรการ
เรียนรู 5E โดยใชเกณฑมาตรฐานความรอบรูที่ระดับ 70%
เครือ่ งมอื วดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
การวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนมีความจำเป็นตอการเรียนการสอน หรือการตัดสินผลการเรียน เพราะ
เป็นการวัดระดับความสามารถในการเรียนรูของบุคคลหลังจากท่ีได้รับการฝกฝน โดยอาศัยเครื่องมือประเภท
แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ซิ ่ึงเป็นเครอ่ื งมอื ที่นิยมมากที่สดุ (ประทุม อตั ชู 2535 : 5)
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ชวาล แพรัตกลุ (2516 : 111, อางถึงใน วิชาญ เลศิ ลพ 2543
: 23 - 24) ได้แบ่งประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามหนาที่หรือการนําไปใชวัดเป็น 2
ประเภท ดงั นี้

1 แบบทดสอบที่ครูสร้าง (Teacher – Made Test) หมายถึง ข้อสอบหรือปญหาหรือโจทย คําถาม
ต่าง ๆ ท่ีครูสร้างขึ้นเพื่อวัดผลขณะทีม่ ีการเรียนการสอน และสามารถพลิกแพลงใหเหมาะสมกับ สภาพการณ
ต่าง ๆ

2 แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardize Test) เป็นแบบทดสอบที่วิวัฒนาการมาจากแบบทดสอบที่
ครูสร้าง และได้ผ่านการทดลองใช ตรวจสอบวิจัย ปรับปรุงคุณภาพใหดีขึ้นจนมีความเป็นมาตรฐานทั้งในแง
เวลาทีใ่ ชการดำเนนิ การใหคะแนนและการแปลความแบบทดสอบทั้งสองฉบับน้ีแบง่ ตามลักษณะข้อสอบได้เป็น
2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื

2.1 แบบอัตนัย (Subjective Test หรอื Essay Test) เป็นแบบทดสอบท่กี ำหนดปญหาหรือคําถามให
และให้ผู้ตอบแสวงหาความรู ความเขาใจ และความคิดตามที่โจทยกำหนด ภายในระยะเวลาท่ีกำหนด การใช
ภาษาในการเขียนตอบขึ้นอยู่กับตัวผู้สอบ แบบทดสอบนี้สามารถวัดได้หลาย ๆ ด้านในแต่ละขอ เชน
ความสามารถในดา้ นการใชภาษา ความคิด เจตคติ และอืน่ ๆ

2.2 แบบปรนัย (Objective Test) หมายถึง แบบทดสอบที่มีคําตอบไวใหแล้วผู้สอบตองตัดสินใจ
เลือกขอทต่ี องการหรือพิจารณาขอ้ ความท่ีใหไววาถูกหรอื ผิด ไดแ้ ก่ แบบถูกผดิ แบบเติมคํา หรอื ตอบสั้นๆ และ
แบบเลือกตอบ แบบทดสอบท้งั สองแบบดังกล่าวต่างกม็ ีขอเด่นและข้อด้อยแตกต่างกัน และไมม่ ีกฎตามตัวว่าต
องใช ประเภทใด แตค่ วรคำนึงถึงจดุ ประสงคและสภาพการณของการใช ในการวจิ ยั ครง้ั น้ีผู้วจิ ัยใชแบบทดสอบ
ปรนยั ชนดิ เลือกตอบ

ความพงึ พอใจ

ความพึงพอใจ ได้มีผ้ใู ห้ความหมายไวห้ ลากหลาย พอจะรวบรวมได้เปน็ สงั เขปดังนี้
มอส (Morse.1958:19) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง สภาวะจิตที่ปราศจากความเครียด

ทั้งนี้เพราะธรรมชาติของมนุษย์มีความต้องการ ถ้าความต้องการได้รับการตอบสนองทั้งหมดหรือบางส่วน
ความเครียดก็จะน้อยลง ความพึงพอใจก็จะเกิดขึ้นและในทางกลับกันถ้าความต้องการนั้นไม่ได้รับการ
ตอบสนอง ความเครียดและความไม่พงึ พอใจก็จะเกิดขึน้

วรมู (Vroom.1964:8) กล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถึงผลท่ีไดจ้ ากการทบ่ี คุ คลเข้าไปมสี ่วน
รว่ มในสิ่งนัน้ ทศั นคตดิ ้านบวกจะแสดงใหเ้ ป็นสภาพความพงึ พอใจในสิง่ น้ัน และทัศนคตดิ า้ นลบจะแสดงให้เหน็
สภาพความไมพ่ งึ พอใจนัน่ เอง

เมนาร์ด ดับบรลิ เชลล่ี (Maynard W.Shelly.1975:9) ได้ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับความพงึ พอใจ
ซ่งึ สรปุ ไดว้ ่าความพงึ พอใจเป็นความร้สู กึ แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื ความรสู้ ึกในทางบวกและความรสู้ กึ ในทาง
ลบ ความรู้สึกในทางบวกเป็นความรู้สึกที่เมื่อเกิดขึ้นแล้วทำให้เกิดความสุข ความสุขน้ีเป็นความสุขที่แตกต่าง
จากความรู้สึกทางบวกอื่นๆ กล่าวคือเปน็ ความรูส้ ึกที่มีระบบยอ้ นกลับความสขุ สามารถทำให้เกิดความสุขหรือ
ความรู้สึกทางบวกอื่นๆ ความรู้สึกทางลบ ความรู้สึกทางบวกและความรู้สึกที่มีความสัมพันธ์กันอย่าง
สลบั ซบั ซอ้ นและระบบความสมั พนั ธข์ องความรสู้ กึ ทั้งสามน้ี เรยี กวา่ ระบบความพึงพอใจ

ความสำคัญของความพงึ พอใจ
ความพึงพอใจ เป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่ช่วยให้งานสำเร็จโดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็นงานท่ี

เกี่ยวข้องกับการให้บริการ นอกจากผู้บริหารจะดำเนินการให้ผู้ปฏิบัติงานให้บริการเกิดความพึงพอใจในการ
ทำงานแล้วยังจำเป็นต้องดำเนินการที่จะให้ผู้มาใช้บริการเกิดความพึงพอใจด้วยเพราะความเจริญเติบโตของ
งานบริการ ปจั จัยท่เี ปน็ ตวั บง่ ชี้ คอื จำนวนผู้มาใช้บริการ ดงั นน้ั ผูบ้ ริหารท่ชี าญฉลาดจงึ ควรอย่างยิ่งที่จะศึกษา
ให้ลกึ ซงึ้ ถึงปัจจัยและองคป์ ระกอบต่างๆทีจ่ ะทำใหเ้ กิดความพงึ พอใจท้ังผู้ใหบ้ ริการและผรู้ ับบริการ

การวดั ระดับความพึงพอใจ
ท่ีกลา่ วมาข้างต้น ความพึงพอใจจะเกิดขึ้นหรือไม่ ขึน้ อย่กู บั การใหบ้ ริการขององค์กรประกอบกับ

ระดับความรู้สึกของผู้มารับบริการในมิติต่างๆของแต่ละบุคคล ดังนั้นการวัดระดับความพึงพอใจ สามารถ
กระทำได้หลายวธิ ีต่อไปนี้

1. การใช้แบบสอบถาม ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย โยการขอความร่วมมือจากกลุ่ม
บุคคลท่ตี ้องการวัด แสดงความคิดเหน็ ลงในแบบฟอร์มทกี่ ำหนด

2. การสัมภาษณ์ ต้องอาศัยเทคนิคและความชำนาญพิเศษของผู้สัมภาษณ์ที่จะจูงใจให้ผู้ตอบ
คำถามตอบตามข้อเท็จจรงิ

3. การสังเกต เป็นการสังเกตพฤติกรรมทั้งก่อนการรับบริการ ขณะรับบริการและหลังการรับ
บริการ การวัดโดยวธิ นี จ้ี ะตอ้ งกระทำอย่างจรงิ จังและมีแบบแผนทแี่ น่นอนจะเห็นได้ว่าการวัดความพึงพอใจต่อ
การให้บรกิ ารนั้นสามารถกระทำได้หลายวิธี ข้นึ อยกู่ บั ความสะดวก เหมาะสม ตลอดจนจุดมุ่งหมายของการวัด
ดว้ ย จงึ จะส่งผลให้การวดั นั้นมปี ระสทิ ธิภาพและน่าเช่ือถือได้
http://thesisavenue.blogspot.com/2008/09/satisfaction.html

งานวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ้ ง

เรื่องที่ 1 ปิยนาถ สุทธิประภา (2560). ศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
เศรษฐศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT ผลการวิจัย
พบว่า การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิด TGT วิชาเศรษฐศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มี
ประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 85.10 /82.88 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ค่าดัชนีประสิทธิผลการเรียนรู้ของ
นักเรียนที่เรียนดว้ ยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมีค่าเท่ากับ 0.7338หรือ คิดเป็นร้อยละ 73.38 นักเรียนที่เรียน
ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่
ระดบั .05 นักเรียนมคี วามพึงพอใจต่อการจัดการเรยี นรู้แบบร่วมมือเทคนคิ TGT โดยรวมอย่ใู นระดับมากที่สุด
)( = 4.52, S.D. = 0.13

เรื่องท่ี 2 วิชัย วงศส์ ุวรรณ (2558). ศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น และความสามารถ
ในการคิดวิเคราะห์ รายวิชา ส 32102 เศรษฐศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน WORPEREP สำาหรับ
นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษา ปีท่ี 5 โรงเรยี นหาดใหญว่ ิทยาลัยสมบูรณ์กุลกนั ยา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ผล

การศึกษาพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนรายวิชา ส 32102 เศรษฐศาสตร์ของนักเรียน ชั้น
มธั ยมศกึ ษา ปีที่ 5 โดยใชร้ ูปแบบการเรยี นการสอน WORPEREP สงู กว่าก่อนเรียน อยา่ งมีนัยสำาคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01 2) ความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์หลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใชร้ ูปแบบการเรยี นการ สอน WORPEREP สูงกว่ากอ่ นเรียน อย่างมีนยั สำาคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01 และ 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา ส 32102
เศรษฐศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน WORPEREP มีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับคุณภาพมากที่สุด มี
คา่ เฉลยี่ 4.67 คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน 0.55

เรื่องที่ 3 เกียรติกูล บุษย์ศรีเจริญ (2563). ศึกษาเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการเรียนวิชา
เศรษฐศาสตร์โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลการวิจัยพบว่า 1 นักเรียนมี
ความสามารถในการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์ โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ
80) จำนวน 5 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 83.33 ไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน 1 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 16.67 2) นักเรียนมี
คะแนนผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนผ่านเกณฑ์ (ไมต่ ่ำกวา่ ร้อยละ 80) จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ไม่ผ่าน
เกณฑจ์ ำนวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 16.67 3) นักเรียนทุกกลุ่มมีคะแนนพฤติกรรมการทำงานกลุ่มในระดับมาก
4) ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์ โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในภาพรวมอยู่ในระดับ
มาก ( =4.36. S.D.= 0.48)

เรื่องที่ 4 สุธิดา สมหวัง (2562). ศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สาระเศรษฐศาสตร์
และความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์โดยกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานของนักเรียนชั้นประถาม
ศึกษาปที ่ี 6 ผลการวจิ ยั พบว่า (1) แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูส้ าระเศรษฐศาสตร์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้
แบบโครงงานเป็นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ (E,/E2 เท่ากับ 82.48/83.77 ซึ่ง
เป็นไปตามเกณฑท์ ่ีกำหนด (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนก่อนเรยี นกับหลังเรียนสาระเศรษฐศาสตร์
โดยใช้กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลงั เรียนสงู ขึน้ กว่าก่อนเรียนอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 (3) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ ผ่าน
เกณฑ์ระดบั คุณภาพดรี อ้ ยละ 70 จำนวน 30 คน คิดเปน็ ร้อยละ 66.67 และ (4)นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
มีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
(X= 4.51,S.D.=0.54)

เรื่องที่ 5 มนตรี เฉกเพลงพิน (2561). ศึกษาเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระ
เศรษฐศาสตร์และความสามารถในการคิด อย่างมีเหตผุ ลของนักเรยี นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการเรยี นรู้
โดยใช้ปัญหา เป็นฐานร่วมกับเทคนิค Think-Pair-Share ผลการวิจยั พบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระ
เศรษฐศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการ เรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐานรว่ มกับเทคนิค
Think-Pair-Share หลังเรียนสูงกวา่ กอ่ นเรยี นอย่างมนี ยั สำคัญทางสถติ ิท่ี ระดบั .05 (2) ความสามารถในการ
คิดอย่างมีเหตุผลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ
เทคนิค Think-Pair-Share หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 (3) ความคิดเห็น

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคนิค Think-Pair-
Share โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับเห็นด้วยมาก

กรอบแนวคิดในการวิจัย

จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลการเรียนรู้รายวิชา หลักเศรษฐศาสตร์
รหสั วชิ า 30200-1001 ของนักศกึ ษาระดับชน้ั ปวส.1 สาขาวชิ าการตลาด โดยการจดั การเรียนรู้แบบเพ่ือนช่วย
เพื่อน โดยเสนอกรอบแนวคิดในการวจิ ยั ดังภาพท่ี 2.1

ตวั แปรอิสระ ตัวแปรตาม

การจดั กิจกรรมการเรยี นรรู้ ายวชิ าหลัก 1. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
เศรษฐศาสตร์ของนักศึกษาระดบั ชั้น 2. ความพึงพอใจ
ปวส.1 โดยการจดั การเรียนรูแ้ บบเพื่อน
ช่วยเพอ่ื น

ภาพที่ 2.1 กรอบแนวคดิ การวิจยั

บทที่ 3
วิธกี ารดำเนนิ การวิจยั

ในการดำเนินการวิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-
1001 ของนักศึกษาระดับช้ัน ปวส.1 โดยการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัยได้ดำเนินการภายใต้
องค์ประกอบการดำเนนิ การวจิ ัยตามลำดับชน้ั ตอนดงั นี้

1. ประชากรและและกลมุ่ ตัวอย่างบ
2. เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการวิจยั
3. การสรา้ งและหาคณุ ภาพเคร่ืองมือวิจยั
4. รปู แบบการวิจยั
5. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
6. วธิ ีการดำเนินการวิจัย
7. การวิเคราะหข์ อ้ มูล
8. สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

ขอบเขตการวจิ ัย

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

1. ประชากรที่ทำการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ นักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด ภาคเรียนที่ 1 ปี
การศกึ ษา 2565 จำนวน 17 คน

2. กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาระดับปวส.1 สาขาวิชาการตลาด ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
จำนวน 17 คน โดยใช้หลักเกณฑ์การเลือกตัวอย่างชนิดเจาะจงกลุ่มตัวอย่างลือก (เนื่องจากผู้เรียนที่ทำการ
เรยี นรายวชิ าหลักเศรษฐศาสตร์ กบั ผูว้ จิ ัยมีจำนวน 17 คน จึงใชว้ ิธีการเจาะจงกลุ่มตวั อยา่ ง)

วิธกี ารนำไปใช้

ใช้การจัดการเรียนการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนระหว่างการศึกษาภาคทฤษฎี (สัปดาห์ที่ 2 ถึง
สปั ดาหท์ ี่ 16)

เคร่อื งมอื ทีใ่ ช้ในการรวมรวมขอ้ มูล

1. แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001 ของนักศึกษา
ระดบั ช้นั ปวส.1 สาขาวชิ าการตลาด จำนวน 12 แผน

2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ของนักศึกษาระดับชั้น
ปวส.1 โดยการจัดการเรยี นรแู้ บบเพื่อนช่วยเพ่อื น เป็นแบบชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลอื ก 40 ข้อ

3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนรายวิชาหลกั
เศรษฐศาสตร์ของนกั ศกึ ษาระดบั ปวส.1 สสาขาวชิ าการตลาด จำนวน 20 ข้อ

การสร้างและการหาคณุ ภาพเครือ่ งมือ

1. ศึกษาหลกั สูตรอาชวี ศึกษา จุดมงุ่ หมาย โครงสร้างหลักสตู ร
2. ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหา สาระสำคัญ มาตรฐานการเรียนรู้ คำอธิบาย
รายวิชา ชั่วโมงการจดั การเรียนรู้
3. สร้างแผนการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน จำนวน 12 แผน ใช้เวลาสอนท้ังสิ้น 36
ชวั่ โมง
4. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียน รายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์
เป็นแบบปรนยั ชนิดเลอื กตอบจำนวน 4 ตวั เลอื ก 40 ข้อ
5. แบบสอบถามความพึงพอใจ มีลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ
จำนวน 20 ข้อ โดยกำหนดประเด็นการวดั ความพึงอใจในการเรียนรู้ 4 ด้าน คือ ด้านเนื้อหาสาระ ด้านการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้ ดา้ นสอ่ื การเรียนรู้ และดา้ นการวดั ผลประเมินผล โดยให้ความหมายของคะแนนดงั น้ี

ระดบั 5 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ
ระดับ 4 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยูใ่ นระดับมาก
ระดับ 3 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง
ระดบั 2 หมายถงึ มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับน้อย
ระดับ 1 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับนอ้ ยท่สี ดุ
สำหรับการใหค้ วามหมายของค่าวัดทีไ่ ด้ผวู้ จิ ัยกำหนดเกณฑท์ ี่ใช้ในการให้ความหมาย โดยการ
ให้ค่าเฉลยี่ เปน็ รายดา้ นและรายขอ้ ดังน้ี
4.51 – 5.00 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากทสี่ ดุ
3.51 – 4.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มาก
2.51 – 3.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง
1.51 – 2.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั นอ้ ย
1.00 – 1.50 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจอย่ใู นระดบั น้เอยทส่ี ุด

รูปแบบการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบกลุ่มเดียวมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (One
Pretest Posttest Design Group)

แบบแผนการทดลอง (One Pretest Posttest Design Group)

กลมุ่ การทดสอบก่อน ทดลอง การทดสอบหลัง

E O1 x O2

บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

ในการวิเคราะห์ข้อมูลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ของนักศึกษา
ระดบั ปวส.1 โดยการจดั การเรียนร้แู บบเพอ่ื นชว่ ยเพ่อื น ผู้วิจัยได้เสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตามลำดบั ดงั นี้

1. สญั ลักษณ์ที่ใชใ้ นการเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
2. ลำดับขัน้ ในการเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
3. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

สญั ลกั ษณ์ท่ีใชใ้ นการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วจิ ยั ใชส้ ัญลักษณ์ในการวเิ คราะห์ข้อมูล ดงั นี้
n แทน จำนวนนกั ศึกษาในกลุ่มเป้าหมาย
แทน คะแนนเฉลยี่ /ค่าเฉล่ยี %แทน คา่ รอ้ ยละ
S.D. แทน ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน
E1 แทน ประสิทธิภาพดา้ นกระบวนการของการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
E2 แทน ประสิทธิภาพดา้ นผลลัพธ์ของการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
t-test แทน คา่ สถติ ทิ ่ใี ช้ในการพจิ ารณา
** แทน ความมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ 0.5

ลำดับข้ันตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัย ดำเนินการสร้างเครื่องมือและทดลองใช้มาเป็นลำดับ ทั้งนี้ผู้วิจัยได้จัดเก็บ

ข้อมูลที่ได้จากการดำเนินการเป็นระยะ ๆ ตามความเหมาะสมกับเวลาในการดำเนินการ และนำมาวิเคราะห์
และแบง่ เปน็ 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ผลการหาประสิทธภิ าพ (E1/E2) ของการจดั การรเรียนรโู้ ดยการจดั การเรียนรู้แบบเพ่ือนช่วย
เพื่อน ตามเกณฑท์ ่ีต้ังไว้ 80/80

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหนังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 60 ของ
นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วย
เพอ่ื น

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับชั้นปวส.1 ต่อการจัดการเรียนรู้โดยการ
จัดการเรียนรแู้ บบเพื่อนช่วยเพ่ือน

ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู
การดำเนนิ การวิจยั ผ้วู ิจยั ไดท้ ำการวเิ คราะหข์ อ้ มูลตามลำดบั ดังน้ี

ตอนที่ 1 ผลการหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้รายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ โดยการจจัดการ
เรียนรู้แบบเพอื่ นช่วยเพื่อน

ตารางที่ 4.1 ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001
ของนักศกึ ษาระดบั ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด โดยการจัดการเรียนรแู้ บบเพอ่ื นชว่ ยเพื่อน

จำนวนนักศกึ ษา คะแนนเฉล่ียจากการทำแบบทดสอบ คะแนนทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิหลงั

ระหว่างเรียน (189 คะแนน) เรียน (40 คะแนน)

17 คะแนนเฉลี่ย รอ้ ยละ คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ

151.67 80.29 31.06 80.59

ประสทิ ธิภาพของแผนการจัดการเรียน (E1/E2) เท่ากับ 80.29/80.59

จากตารางที่ 4.1 พบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับปวส.1 โดยการจัดการเรียนรู้
แบบเพอ่ื นช่วยเพือ่ นมปี ระสทิ ธภิ าพ (E1/E2) เท่ากบั 80.29/80.59 ซงึ่ สูงกวา่ เกณฑ์ประสทิ ธภิ าพทตี่ ้ังไว้

ตารางที่ 4.2 ดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา
ระดับปวส.1 สาขาวชิ าการตลาด

จำนวนคน คะแนนเตม็ คะแนนกอ่ น คะแนนหลงั ดชั นี แปลผล
17 40 เรียน เรียน ประสิทธผิ ล ผา่ นเกณฑ์

367 546 (E.I.)
0.5718

จากตารางที่ 4.2 พบว่าค่าดัชนีประสิทธิผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับ ปวส.1
สาขาวิชาการตลาด โดยการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน มีค่าเท่ากับ 0.5718 แสดงว่านักศึกษามี
ความกา้ วหนา้ ในการเรยี นรรู้ คิดเป็นร้อยละ 57.18

ตารางที่ 4.3 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบที และระดับนัยสำคัญทางสถิติของการทดสอบ
เปรียบเทียบเกณฑร์ อ้ ยละ 80 กบั คะแนนสอบหลงั เรียนของนกั ศึกษา

คะแนน จำนวน คะแนนเต็ม S.D. ร้อยละ ค่า t-test

นกั ศกึ ษา

คะแนนหลัง 17 40 32.12 2.98 80.59 12.78

เรียน

หมายเหตุ * นัยสำคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .05

จากตารางมี่ 4.3 พบว่า ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 80 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
32.12 คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ 80.59 สำหรบั คา่ สถิติ t-test ได้ค่า 12.78 และเมอ่ื เปรยี บเทียบระหว่างร้อยละ
80 กับคะแนนสอบหลังเรียนของนักศึกษา พบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของนักศึกษา ระดับปวส.1 สาขาวิชา
การตลาด สงู กว่าเกณฑอ์ ยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05

ตารางที่ 4.4 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของนักศกึ ษาท่ีมีต่อการจัดการเรียนรูร้ ายวิชา
หลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวชิ า 30200-1001 โดยการจัดการเรยี นรู้แบบเพือ่ นชว่ ยเพอ่ื น

รายการประเมนิ S.D. ระดับความพึง
พอใจ
ดา้ นสาระการเรยี นรู้
.164 มาก
1. เน้ือหาสาระที่เรยี นเข้าใจง่าย 4.24 .154 มาก
.189 มาก
2. ศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเองได้ 4.18 .154 มาก
.190
3. นำความรู้ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ 4.33 .170 มาก

4. สาระของหลักเศรษฐศาสตร์ชดั เจนน่าสนใจ 4.18 .166 มาก
.191 มาก
5. เน้อื หาสาระครอบคลุมกับเหตกุ ารณ์ปจั จุบัน 4.34
.196 มาก
รวม 4.25 .168 มาก
.153 มาก
ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนร้เู พ่ือนช่วยเพ่อื น .175 มาก

6. ทกุ คนสนุกสนานกบั การช่วยเหลือซ่งึ กันและกนั 4.29

7. ทุกคนมีโอกาส คิด พูด แสดงความคิดเห็นและลงมือทำ 4.35

อยา่ งเท่าเทยี มกัน

8. กจิ กรรมมคี วามสุนกสนาน 4.44

9. ทุกคนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชกิ ในกลุ่ม 4.28

10. มีโอกาสได้ฝึกคิดวิเคราะห์และทกั ษะตา่ ง ๆ จนเกดิ ความรู้ 4.18

รวม 4.31

ตารางท่ี 4.4 (ตอ่ )

รายการประเมิน S.D. ระดับความพึงพอใจ

ดา้ นสอื่ และอปุ กรณ์การเรียนรู้ .081 มาก
.167 มาก
11. มสี ือ่ ในการจดั การเรยี นรทู้ ี่นา่ สนใจ 4.12
.187 มาก
12. มีกรณีศึกษาจากเหตุการณ์ปัจจุบันในการจัด 4.26
.169 มาก
กจิ กรรมการเรียนรู้ จนทำให้ผเู้ รียนเข้าใจดยี ิ่งขนึ้ .081 มาก
.167 มาก
13. มีส่วนร่วมในการนำมาสื่อใช้ในกิจกรรมการเรียน 4.32
.166 มาก
การสอน .191 มาก

14. ประทบั ใจและสนุกสนานในการใชส้ ่อื 4.21 .198 มาก

15. ผสู้ อนใช้สื่อและอปุ กรณ์ทเี่ หมาะสมกับผู้เรยี น 4.20 .188 มาก
.175 มาก
รวม 4.22
.184 มาก
ด้านการวดั ผลประเมินผล .174 มาก

16. ผู้เรยี นทราบคะแนนของตนเองและกลุ่มทุกครงั้ 4.29

17. ครูใช้เทคนิคในการทดสอบและจัดกิจกรรมได้ 4.35

อยา่ งเหมาะสม

18. ผู้เรียนพึงพอใจในคะแนนของตนเองและคะแนน 4.50

ของกลุ่มเสมอ

19. ผู้เรียนเขา้ กลมุ่ และช่วยเหลอื กันและกนั 4.12

20. การทำกิจกรรมกลุ่มทุกคนให้ความร่วมมือเป็น 4.18

อย่างดี

รวม 4.29

รวม 4.27

จากตารางท่ี 4.4 พบว่า นักศึกษาระดับปวส.1 สาขาวิชาการตลาด มีความพึงพอใจต่อการเรยี น
รายวชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา 30200-1001 โดยการจัดการเรยี นรู้แบบเพื่อนช่วยเพอ่ื น โดยภาพรวมอยู่
ในระดับมาก ( = 4.27, S.D. = .174) เมอ่ื พจิ ารณารายขอ้ พบวา่ อนั ดบั ท่ีพึงพอใจมากทีส่ ุดคือ กจิ กรรมการ
เรยี นรแู้ บบเพื่อนช่วยเพือ่ น อยู่ในระดับมาก ( = 4.29, S.D. = .184) รองลงมาด้านการวัดผลประเมินผล อยู่
ในระดับมาก ( = 4.29, S.D. = .184) ด้านสาระการเรยี นรู้ อยู่ในระดบั มาก ( = 4.25, S.D. = .170) และ
ด้านสอื่ และอปุ กรณก์ ารเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก ( = 4.22, S.D. = .167) ตามลำดบั

บทท่ี 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล

การวิจยั ครง้ั นเี้ ป็นการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวชิ าหลักเศรษฐศาสตร์รหัสวิชา30200-1001
ของนักศกึ ษาระดบั ปวส.1 โดยการจัดการเรยี นรู้แบบเพ่อื นช่วยเพอ่ื น และผลการวจิ ัยสรุปไดด้ ังน้ี

1. สรปุ ผลการวจิ ยั
2. อภปิ รายผล
3. ขอ้ เสนอแนะ

สรุปผลการวจิ ัย

1. กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้โดยการจัดการเรียนร้แู บบเพื่อนชว่ ยเพอื่ นวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัส
วิชา 30200-1001 ระดบั ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด มีประสิทธภิ าพเทา่ กับ 80.29/80.59

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียนด้วยกิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยการจัดการ
เรยี นรแู้ บบเพือ่ นชว่ ยเพื่อนรายวชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์รหสั วิชา 30200-1001 ระดบั ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด
สงู กวา่ กอ่ นเรยี น

3. ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน
รายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหสั วิชา 30200-1001 โดยรวมอยใู่ นระดับมาก ( = 4.27, S.D. = .174)

การอภิปรายผล

1. การจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนวิชาหลักเศรษฐศาสตร์
รหัสวิชา 30200-1001 ระดับ ปวส.1 สาขาวิชาการตลาด มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.29/80.59 ซึ่งนักศึกษา
ทง้ั หมดได้คะแนนเฉล่ียจากการทำใบงาน การสงั เกตพฤติกรรมกลุ่ม และการทำแบบทดสอบย่อยระหว่างเรียน
จำนวน 12 ชุด ซึ่งแสดงให้เห็นว่าแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเป็นไปตาม
เกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งสอดคล้งกับงานวิจัยของธิดา สมหวัง (2562). ศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน สาระเศรษฐศาสตร์และความสามารถด้านการคิดวเิ คราะห์โดยกิจกรรมการเรยี นรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
ของนักเรียนชั้นประถามศึกษาปีที่ 6 ผลการวิจัยพบว่า (1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาระเศรษฐศาสตร์
โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ (E,/E2
เท่ากบั 82.48/83.77 ซงึ่ เปน็ ไปตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนก่อนเรียนกับหลัง
เรียนสาระเศรษฐศาสตร์ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน
สูงขึ้นกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 (3) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความสามารถ
ด้านการคิดวิเคราะห์ ผ่านเกณฑ์ระดับคุณภาพดีร้อยละ 70 จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 และ

(4)นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเป็น
ฐาน โดยรวมอยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ (X= 4.51,S.D.=0.54)

2. ค่าดชั นีประสิทธผิ ลการจัดกิจกรรมการเรียนรูข้ องนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาวชิ าการตลาด โดยการ
จัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน มีค่าเท่ากับ 0.5718 แสดงว่านักศึกษามีความก้าวหน้าในการเรียนรรู้ คิด
เป็นร้อยละ 57.18 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียนด้วยกิจกรรมการจัดการ
เรยี นร้โู ดยการจดั การเรียนรูแ้ บบเพ่ือนชว่ ยเพื่อนรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์รหัสวชิ า 30200-1001 ระดับปวส.
1 สาขาวิชาการตลาดสูงกว่าก่อนเรียน สอดคล้องกบั งานวิจยั ของปยิ นาถ สทุ ธปิ ระภา (2560). ศกึ ษาเรือ่ ง การ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตรข์ องนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือเทคนิค TGT ผลการวิจัยพบว่า การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิด TGT วิชาเศรษฐศาสตร์ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 85.10 /82.88 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ค่า
ดัชนปี ระสทิ ธิผลการเรียนรู้ของนกั เรียนที่เรยี นดว้ ยการจัดการเรียนร้แู บบร่วมมีค่าเท่ากบั 0.7338หรือ คิดเป็น
รอ้ ยละ 73.38 นักเรียนที่เรยี นดว้ ยการจัดการเรยี นรแู้ บบรว่ มมือเทคนิค TGT มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT
โดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 4.52, S.D. = 0.13)

3. ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์หลังเรยี นกบั เกณฑ์ร้อยละ 80 มคี ่าเฉลีย่ เทา่ กับ 32.12 คะแนน คดิ เป็นร้อย
ละ 80.59 สำหรับค่าสถิติ t-test ได้ค่า 12.78 และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างร้อยละ 80 กับคะแนนสอบหลัง
เรียนของนักศึกษา พบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของนักศึกษา ระดับปวส.1 สาขาวิชาการตลาด สูงกว่าเกณฑ์
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียนด้วย
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา
30200-1001 ระดับปวส.1 สาขาวิชาการตลาดสูงกว่าก่อนเรียน สอดคล้องกับงานวิจัยของวิชัย วงศ์สุวรรณ
(2558). ศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ รายวิชา ส
32102 เศรษฐศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน WORPEREP สำาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5
โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลยั สมบูรณ์กุลกันยา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นหลังเรยี นรายวชิ า ส 32102 เศรษฐศาสตร์ของนักเรียน ชัน้ มัธยมศกึ ษา ปีท่ี 5 โดยใช้รูปแบบการ
เรียนการสอน WORPEREP สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) ความสามารถ ในการ
คิดวิเคราะห์หลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการ
เรียนการ สอน WORPEREP สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) นักเรียนชั้น
มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ทีไ่ ดร้ บั การ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้รายวชิ า ส 32102 เศรษฐศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียน
การสอน WORPEREP มีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับคุณภาพมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.67 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
0.55

4. ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาท่ีมตี ่อการจดั การเรยี นรโู้ ดยการจัดการเรยี นรู้แบบเพื่อนชว่ ยเพ่ือนรายวิชา

หลกั เศรษฐศาสตร์ รหสั วิชา 30200-1001 โดยรวมอยู่ในระดบั มาก ( = 4.27, S.D. = .174) ซึง่ แสดงให้เห็น

ว่าอันดับที่พึงพอใจมากที่สุดคือ กิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน อยู่ในระดับมาก ( = 4.29, S.D. =

.184) รองลงมาดา้ นการวดั ผลประเมนิ ผล อยู่ในระดับมาก ( = 4.29, S.D. = .184) ดา้ นสาระการเรยี นรู้ อยู่
ในระดบั มาก ( = 4.25, S.D. = .170) และด้านส่อื และอปุ กรณ์การเรยี นรู้ อยใู่ นระดับมาก ( = 4.22, S.D.
= .167) สอดคล้องกับงานวิจัยของเกียรติกูล บุษย์ศรีเจริญ (2563). ศึกษาเรื่อง การพัฒนาความสามารถใน
การเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลการวิจัยพบว่า 1
นกั เรยี นมคี วามสามารถในการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์ โดยใชภ้ มู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ผา่ นเกณฑ์ทกี่ ำหนด (ไม่ต่ำกว่า
ร้อยละ 80) จำนวน 5 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 83.33 ไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน 1 กลุ่ม คิดเป็นร้อยละ 16.67 2)
นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80) จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ
83.33 ไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 3) นักเรียนทุกกลุ่มมีคะแนนพฤติกรรมการทำงาน
กลุ่มในระดับมาก 4) ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้วิชาเศรษฐศาสตร์ โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นใน
ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( =4.36. S.D.= 0.48)

การสะท้อนผลการวิจัย
ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า ผลการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบก่อนเรียน ระหว่างเรียน และ

หลังเรียน ปรากฏว่า ผลการเปรียบเทียบคะแนนของนักศึกษามีคะแนนหลังการเรียนดีกว่าคะแนนก่อนเรียน
และระหว่างเรียนโดยนักศึกษามีความสนใจมากขึ้น มีจินตนาการและมีความคิดที่หลากหลายมากขึ้น
นักศึกษามีความกระตือรือร้นที่จะเรียนและฝึกปฏิบัติ และจากการสังเกตนักศึกษาชอบปฏิบัติมากกว่า
ภาคทฤษฎี นกั ศึกษามีความสามคั คใี นการทำงานกล่มุ นกั ศึกษาชอบกระบวนการทำงานกลุม่ และเป็นวิธีหนึ่ง
ที่ช่วยในการเรยี นการสอนของนกั ศึกษาดขี ึน้

ข้อเสนอแนะ
1. ครตู อ้ งใหค้ วามสำคัญในเรื่องการวจิ ยั ช้นั เรยี นเพื่อแก้ไขปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ กับตัวผู้เรยี นในด้านของการ

เรียน การคิด พฤติกรรมของนักศึกษา ซึ่งการวิจัยชั้นเรียนเปน็ การหาวิธีการในการแก้ไขการจดั การเรียนการ
สอนโดยกำหนดใหม้ ีการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ในแบบการสรา้ งทกั ษะกระบวนการให้คิด เช่นวิธกี ารตัง้ คำถาม
การฝึกทักษะให้นักศึกษาถ่ายทอดกระบวนการคิดในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งนี้ครูต้องส่งเสริมและสนับสนุน ด้าน
งบประมาณ และวสั ดอุ ุปกรณอ์ ย่างเพยี งพอ ครูต้องตระหนักและเห็นความสำคัญในการจดั กจิ กรรมการเรียน
การสอนแบบการพฒั นาทักษะการคดิ และต้องพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง

2. ควรมีการทำวิจัยเพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบการฝึกทักษะการคิดอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้
ทราบถึงระดับคุณภาพหรอื ผลการพัฒนาทแ่ี ทจ้ รงิ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโดยรวมตอ่ ไป

อ้างองิ

เกยี รตกิ ลู บษุ ยศ์ รเี จรญิ (2563). การพัฒนาความสามารถในการเรียนวชิ าเศรษฐศาสตร์โดยใชภ้ ูมิ
ปญั ญาท้องถนิ่ สำหรบั นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1
สบื คน้ จาก http://libdoc.dpu.ac.th/thesis/Kiattikul.Bud.pdf

ปยิ นาถ สุทธปิ ระภา (2560). การพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์ของนักเรยี นช้ัน
มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรยี นรแู้ บบรว่ มมือเทคนิค TGT
สืบค้นจาก http://fulltext.rmu.ac.th/fulltext/2560/123158/Sutthiprapa%20Piyanat.pdf

มนตรี เฉกเพลงพนิ (2561). การศกึ ษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสาระเศรษฐศาสตร์และ
ความสามารถในการคดิ อย่างมเี หตผุ ลของนักเรยี นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ด้วยการจดั การเรยี นร้โู ดยใช้
ปญั หา เป็นฐานร่วมกับเทคนิค Think-Pair-Share
สบื ค้นจาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmbr/article/view/195075

วชิ ัย วงศส์ ุวรรณ (2558). การพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการคิด
วเิ คราะห์ รายวิชา ส 32102 เศรษฐศาสตร์ โดยใชร้ ูปแบบการเรยี นการสอน WORPEREP สำาหรับ
นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษา ปีท่ี 5 โรงเรียนหาดใหญว่ ทิ ยาลัยสมบรู ณก์ ุลกันยา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัด
สงขลา สบื คน้ จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pnuhuso/article/view/61694

สธุ ดิ า สมหวงั (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น สาระเศรษฐศาสตรแ์ ละความสามารถ
ดา้ นการคดิ วิเคราะห์โดยกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบโครงงานเป็นฐานของนักเรียนชั้นประถามศึกษาปีท่ี 6
สืบค้นจาก http://fulltext.rmu.ac.th/fulltext/2562/M126819/Somwang%20Sutida.pdf

สำนกั มาตรฐานการอาชวี ศึกษาและวชิ าชพี สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศักราช 2556 ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม. (ออนไลน.์ )
www.vec.go.th

ประวตั ผิ ้วู จิ ัย

1. ช่ือ - นามสกลุ (ภาษาไทย) นางสาวสถาพร คญิ ชกวฒั น์ ผวู้ จิ ยั
ช่อื - นามสกุล (ภาษาองั กฤษ) Miss Sathaporn Kinchakawat

2. ตำแหน่งปัจจบุ ัน ครผู ้ชู ่วย แผนกวิชาการตลาด

3. หนว่ ยงาน วิทยาลยั เทคนิคสตลู

4. ประวตั ิการศกึ ษา

2540 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ (ม.3) โรงเรยี นวชริ านุกูล สงขลา

2543 ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) สาขางานการขาย โรงเรยี นบรหิ ารธุรกจิ วทิ ยาสงขลา

2545 ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สงู (ปวส.) (สาขาวชิ าการตลาด) วิทยาลยั อาชวี ศึกษาสงขลา

2547 ปริญญาตรี (สาขาวชิ าการตลาด) มหาวิทยาลัยหาดใหญ่

2551 ประกาศนียบตั รบณั ฑติ วิชาชีพครู มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา

2558 ปริญญาโท (สาขาวชิ าการตลาด) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

5. คตปิ ระจำใจ
“อย่ามองทุกอย่างเป็นปัญหา เพราะมันจะบั่นทอนจิตใจ ความรู้สึก และความคิด แต่จงตั้งใจยอมรับการ
เปลีย่ นแปลงที่เกิดขน้ึ ”


Click to View FlipBook Version