The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Autistic Spectrum Disorder ปัญหาพฤติกรรม ภาษา และการแก้ไข ประสบการณ์จากโรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ โดย นพ.ดุสิต ลิขนะพิชิตกุล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-20 00:36:54

Autistic Spectrum Disorder

Autistic Spectrum Disorder ปัญหาพฤติกรรม ภาษา และการแก้ไข ประสบการณ์จากโรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์ โดย นพ.ดุสิต ลิขนะพิชิตกุล

i

Autistic Spectrum Disorder

ปัญหาพฤติกรรม ภาษา และการแก้ไข

ประสบการณ์จากโรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถัมภ์

นพ.ดุสิต ลขิ นะพชิ ิตกลุ

ii

Autistic Spectrum Disorder
ปัญหาพฤตกิ รรม ภาษา และการแก้ไข
ประสบการณ์จากโรงพยาบาลยุวประสาทไวทโยปถมั ภ์

ISBN 978-616-11-1087-1
นพ. ดุสิต ลิขนะพชิ ติ กุล
พ.ศ. 2555
Email: [email protected]
Download:
http://www.yuwaprasart.com
http://www.advisor.dmh.go.th
http://www.klb.dmh.go.th

iii

คานิยม

ปัญหาเดก็ ออทิสตกิ เป็นปัญหาที่มีความสําคญั ทงั้ นีเ้พราะมีผลกระทบทงั้ ตวั เดก็ ครอบครัว และ
สงั คมดงั จะเห็นได้จาก คาํ ประกาศขององคก์ ารสหประชาชาติในปี พ.ศ. 2551 ท่ีเรียกร้องให้ประเทศสมาชิก
ให้ความสําคญั กบั ปัญหาดงั กลา่ วในการนีก้ ระทรวงสาธารณสขุ ได้กําหนดให้การพฒั นาหนว่ ยบริการเพ่ือให้
ความชว่ ยเหลือเดก็ กลมุ่ นีเ้ป็นนโยบายสําคญั ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2546 โดยมีกรมสขุ ภาพจิตเป็นผ้ดู าํ เนนิ การ ซงึ่
ได้รับการตอบสนองเป็นอยา่ งดี แม้จะมีข้อจํากดั ท่ีความรู้ทางวิชาการทงั้ ในระดบั นานาชาติ และในระดบั
ประเทศท่ียงั ไมเ่ ข้าใจธรรมชาตขิ องปัญหานีอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ แตก่ รมสขุ ภาพจิตก็ได้พยายามอยา่ งเตม็ ที่ในการ
พฒั นาหนว่ ยบริการ จนปัจจบุ นั โรงพยาบาลระดบั จงั หวดั จํานวนมากสามารถให้การวินิจฉยั และชว่ ยเหลือ
ผ้ปู ่ วยกลมุ่ นีไ้ ด้ในระดบั หนงึ่ โดยมีส่ิงจําเป็นตอ่ ระบบอีกประการหนงึ่ คือองค์ความรู้

หนงั สือเลม่ นีเ้ป็น ความพยายามของ โรงพยาบาลยวุ ประสาทไวทโยปถมั ภ์ซงึ่ เป็น โรงพยาบาล
เฉพาะทางด้านจติ เวชศาสตร์เดก็ และวยั รุ่น ในสงั กดั กรมสขุ ภาพจิต ที่ได้ทําหน้าท่ีดแู ลเดก็ กลุ่มนี ้ มาเป็น
เวลานานกวา่ 40 ปี การจดั การความรู้จนได้ตําราท่ีแสดงให้เหน็ แนวคดิ แนวปฏิบตั แิ ละบทเรียนท่ีเป็นที่มา
ขององคค์ วามรู้นบั เป็นความก้าวหน้า ท่ีสําคญั อีกก้าวหนง่ึ ที่จะสนบั สนนุ ให้การสร้างเครือขา่ ยและนําความ
ชว่ ยเหลือไปสปู่ ระชาชนให้มีประสทิ ธิภาพดขี นึ ้

ผมขอชื่นชมในความพยายามของเจ้าหน้าท่ีของโรงพยาบาลยวุ ประสาทไวทโยปถมั ภ์ทกุ ทา่ น ทงั้ ที่
ยงั ทําหน้าที่อยู่ และที่เกษียณอายรุ าชการไปแล้วท่ีได้มี ความมงุ่ มนั่ และพยายามอยา่ งไมย่ อ่ ท้อในการ
พฒั นาวิชาการเพ่ือเป็นเคร่ืองมือสําคญั ในการจดั การกบั ปัญหานี ้

ขอให้ความมานะพยายามและความปรารถนาดี ท่ีมีตอ่ เดก็ และครอบครัว ของเจ้าหน้าท่ีทกุ คนจง
บรรลผุ ลเพื่อประโยชน์ของประชาชน และหวงั วา่ ในอนาคตโรงพยาบาลนีจ้ ะได้ สร้างผลงานท่ีแสดงความรู้
ความชํานาญให้เป็นที่ประจกั ษ์แก่วงการวิชาการตอ่ ไป

น.พ. ณรงค์ สหเมธาพฒั น์

อธิบดกี รมสขุ ภาพจิต

iv

คานา

ในปัจจบุ นั Autistic Spectrum Disorder (ASD) เป็นความผดิ ปกตทิ ่ีได้รับความสนใจจากแพทย์
และนกั วชิ าการหลายสาขา ทงั้ นีเ้พราะพบวา่ มีการเพ่มิ จํานวน และความชกุ มากกวา่ ท่ีเคยทราบกนั โดยยงั
ไมท่ ราบสาเหตุ การเพ่มิ ขนึ ้ อยา่ งมากนีท้ ําให้องคก์ ารสหประชาชาติ เหน็ ความสําคญั และกําหนดให้วนั ท่ี
2 เมษายนของทกุ ปี เป็นวนั ‚World Autism Awareness Day‛และรณรงค์ให้รัฐบาลของประเทศตา่ ง ๆ หนั
มาให้ความสนใจ และดําเนนิ การเพ่ือให้ความชว่ ยเหลือผ้ปู ่ วยและครอบครัว

ประเทศไทย ได้เห็นความสําคญั นีเ้ชน่ กนั โดยได้มีการดาํ เนนิ การเพ่ือให้ความชว่ ยเหลือผ้ปู ่ วยกลมุ่
นีใ้ นหลายด้าน เชน่ ด้านการแพทย์,สาธารณสขุ ,การศกึ ษา และการสงั คมสงเคราะห์ ทําให้ขณะนี ้มีผ้ปู ่ วย
กลมุ่ นีใ้ นทกุ จงั หวดั ทว่ั ประเทศเป็นจํานวนมาก

การมีจํานวนผ้ปู ่ วยมากเชน่ นี ้แสดงให้เหน็ วา่ จํานวนผ้ปู ่ วย อาจจะกําลงั เพม่ิ ขนึ ้ จริงแตด่ ้วยเหตใุ ด
ยงั ไมแ่ นช่ ดั และอาจจะทําให้เกิดปัญหาในการให้ความชว่ ยเหลือ เพราะการดาํ เนนิ การกบั ผ้ปู ่ วยกลมุ่ นีย้ งั มี
ข้อจํากดั ที่สําคญั คือ การขาดองค์ความรู้ แม้วา่ ความผิดปกตนิ ีจ้ ะได้รับความสนใจมานาน แตจ่ ากความ
ซบั ซ้อนของปัญหาทําให้ยงั ไมม่ ีคาํ ตอบตอ่ ข้อสงสยั สําคญั เชน่ มีสาเหตจุ ากอะไร หรือ การรักษาที่ได้ผลดี
ท่ีสดุ คอื อะไร

หนงั สือเลม่ นีม้ ีวตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือนําความรู้และประสบการณ์ในการดแู ลผ้ปู ่ วย มาเผยแพร่ สําหรับ
แพทย์ และนกั วชิ าชีพสาขาอ่ืน ๆ ท่ีกําลงั ให้ความชว่ ยเหลือผ้ปู ่ วยกลมุ่ นีอ้ ยู่ ซง่ึ อาจจะรวมไปถงึ ผ้ปู กครอง
จํานวนหนงึ่ ที่มีความรู้พืน้ ฐานทางวทิ ยาศาสตร์ด้วย โดยหนงั สือนีจ้ ะแบง่ เนือ้ หาออกเป็น 4 สว่ น

สว่ นที่ 1 ความรู้ทว่ั ไปและทฤษฎีพืน้ ฐาน ในสว่ นนีเ้ป็นการนําเสนอข้อมูล และทฤษฏีพืน้ ฐาน มี 3
บท ประกอบด้วย ความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั Autistic Spectrum Disorder, ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั Human
Information Processing Model เฉพาะในสว่ นที่เก่ียวข้องกบั ASD, ความรู้พืน้ ฐานทางพฤตกิ รรมศาสตร์
และพฤตกิ รรมบาํ บดั ในสว่ นท่ีเก่ียวข้องกบั ASD

สว่ นที่ 2 ความผิดปกตทิ างพฤตกิ รรมและการเรียนรู้ท่ีพบในผ้ปู ่ วย เป็นการรวบรวมประสบการณ์
ความผดิ ปกตทิ างพฤตกิ รรมที่พบ ในการดแู ลผ้ปู ่ วย มี 4 บท ประกอบด้วย ปัญหาพฤตกิ รรมในภาพรวม
ปัญหาพฤตกิ รรมท่ีเกิดจากการประมวลผล และความเข้าใจสถานการณ์ของผ้ปู ่ วย บทสดุ ท้ายในสว่ นนีเ้ป็ น
ปัญหาในเรื่องภาษา

v

สว่ นที่ 3 วิธีการแก้ไข เป็นการนําเสนอแนวทางแก้ไข และพฒั นาพฤตกิ รรมท่ีนําเสนอในสว่ นที่ 2
และกรณีศกึ ษา มี 3 บท ประกอบด้วยการฝึกผ้ปู ่ วย , Early Intervention, การพฒั นาภาษา และกรณีศกึ ษา
กบั การพฒั นาแบบก้าวกระโดด

สว่ นที่ 4 มีบทเดียว คือ การพฒั นาองคค์ วามรู้และประสบการณ์ใน รพ.ยวุ ประสาทไวทโยปถมั ภ์
เพื่อให้ทราบถงึ ที่มาขององค์ความรู้ที่นําเสนอใน 3 สว่ นแรก ซงึ่ เป็นการพฒั นาจากประสบการณ์ท่ีเกิดจาก
การดแู ลผ้ปู ่ วยของ รพ.ยวุ ประสาทฯ ท่ีได้รับความร่วมมือจากเจ้าหน้าท่ีทกุ คนและบคุ ลากรในหนว่ ยงาน อ่ืน
ๆ ที่ร่วมดาํ เนนิ การในกิจกรรมตา่ ง ๆ

ในการเรียบเรียงนนั้ เนื่องจากผ้ทู ี่กําลงั ให้ความชว่ ยเหลือผ้ปู ่ วยกลมุ่ นี ้ มีหลายวชิ าชีพและความรู้
พืน้ ฐานตา่ ง ๆ กนั จงึ เลือกใช้ภาษาไทยเป็นหลกั และพยายามหลีกเล่ียงการใช้ภาษาหรือสํานวนการแพทย์
ยกเว้น ศพั ท์เทคนคิ และคําคุ้นเคยบางคําที่นยิ มใช้ในนกั วชิ าการท่ีผ้เู ขียนหาคําในภาษาไทยทดแทนได้ยาก
จะใสค่ ําภาษาองั กฤษไว้ในวงเลบ็ เป็นบางคาํ เพื่อส่ือความได้ชดั เจนขนึ ้ และสรรพนามท่ีใช้ อาจจะใช้คาํ วา่
เดก็ ASD แทนคาํ วา่ ผ้ปู ่ วย ในบางครัง้ เพ่ือลดความรู้สกึ เชิงความเจบ็ ป่ วย อนั เป็น stigma แบบหนง่ึ และ
เพ่ือให้ผ้อู า่ นคดิ ถงึ เดก็ กลมุ่ นีใ้ นฐานะเดก็ คนหนง่ึ

ขณะเดียวกนั ในปัจจบุ นั วงการวชิ าการยงั ไมม่ ีข้อสรุปในหลาย ๆ ประเดน็ ท่ีเกี่ยวข้องกบั ASD เนือ้
หาหลายสว่ นในหนงั สือเลม่ นี ้ จงึ ถือเป็นการสงั เคราะห์ประสบการณ์ที่ได้จากประสบการณ์ทางคลินิก หรือ
ข้อวเิ คราะห์และสงั เคราะห์ จากข้อมลู การศกึ ษาวิจยั ตามรายงานตา่ ง ๆ เพ่ือให้ทา่ นท่ีกําลงั ดแู ลผ้ปู ่ วยเกิด
ความเข้าใจควบคกู่ บั การปฏิบตั ิ อยา่ งไรก็ตามการนําไปปรับใช้ ก็ควรพิจารณาตามหลกั การและเหตผุ ล
ร่วมกบั ลกั ษณะของผ้ปู ่ วยประกอบด้วย

ผ้เู ขียนหวงั วา่ หนงั สือนีค้ งเป็นประโยชน์ สําหรับแพทย์และเจ้าหน้าท่ี ท่ีกําลงั ดแู ลผ้ปู ่ วย ตามความ
ประสงคท์ ี่ตงั้ ไว้

นพ.ดสุ ติ ลิขนะพิชติ กลุ

2555

vi

กิตตกิ รรมประกาศ

ในการจดั ทําหนงั สือนี ้ผ้เู ขียนขอขอบพระคณุ ผ้ทู รงคณุ วฒุ หิ ลายทา่ นประกอบด้วย

ศ.พญ.เพ็ญแข ลมิ่ ศลิ า ซงึ่ เป็นบคุ คลที่สําคญั ที่สดุ โดยทา่ นเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ใน
การดแู ลเดก็ ออทสิ ตกิ แก่ผ้เู ขียนมาเป็นเวลานาน อนั เป็นวตั ถดุ บิ ที่สําคญั ท่ีสดุ ในการเขียนหนงั สือนี ้ และยงั
ได้กรุณาตรวจสอบความถูกต้องทงั้ เนือ้ หา,การเรียบเรียงและประวตั คิ วามเป็นมาของโรงพยาบาลเพื่อความ
ถกู ต้องสมบรู ณ์อีกสว่ นหนงึ่

นอกจาก ศ.พญ.เพญ็ แข ล่มิ ศลิ า แล้ว ยงั มีผ้ทู รงคณุ วฒุ ิอีกหลายทา่ น ได้แก่

รศ.นพ.อมั พล สอู ําพนั

นพ.ยงยทุ ธ วงศ์ภิรมย์ศานต์

พญ.ศภุ รัตน์ เอกอศั วนิ

พญ.อมั พร เบญจพลพทิ กั ษ์

ดร.วรนารท รักสกลุ ไทย

ท่ีได้ให้ความกรุณาในการตรวจสอบเนือ้ หา พร้อมให้คาํ แนะนําในการเรียบเรียง

รศ.นพ. มาโนช หลอ่ ตระกลู ท่ีได้กรุณามอบ เอกสารและบนั ทกึ การอบรมทางวิชาการ เรื่อง เทคนคิ
การเขียนและผลติ ตาํ ราทางวชิ าการ จดั โดยคณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ให้ผ้เู ขียนได้ศกึ ษา
วิธีการเขียน และเรียบเรียง เพ่ือให้ถกู ต้องตามหลกั การเขียนตาํ รา จนทําให้หนงั สือเลม่ นีส้ ําเ ร็จลงได้

สดุ ท้ายขอขอบพระคณุ พอ่ แมข่ องผ้ปู ่ วยที่กรุณาให้นําข้อมลู บางสว่ นมาประกอบเพ่ือเป็นตวั อยา่ ง
และกรณีศกึ ษาในหนงั สือนี ้

vii

สารบัญ

ส่วนท่ี 1.........................................................................................................................................................................................1

บทที่ 1 ข้อมลู ทว่ั ไป เก่ียวกบั Autistic Spectrum Disorder ..........................................................................................................2
ความเป็ นมาในแนวคดิ การจดั กลมุ่ ความผดิ ปกติ ..........................................................................................................2
การศกึ ษาวจิ ยั เกี่ยวกบั สาเหตุ ...............................................................................................................................................4
การศกึ ษาด้านการรักษา .........................................................................................................................................................5
ประเดน็ ที่นา่ สนใจอ่ืน ๆ ...........................................................................................................................................................6
ASD กําลงั เพมิ่ ขนึ ้ จริง หรือเพม่ิ เพราะการเปล่ียนเกณฑ์การวนิ ิจฉยั ..........................................................7
ASD เป็ นความผดิ ปกตทิ ่ีมีหลาย subgroup ....................................................................................................8
ปัจจยั ด้านพนั ธกุ รรม ....................................................................................................................................9
ปัจจยั ด้านส่งิ แวดล้อม................................................................................................................................10
การรักษาทางเลือก .....................................................................................................................................11

บทท่ี 2 Human Information Processing Model ......................................................................................................................13

Human Information Processing Model ..............................................................................................................................13

Human Information Processing Model กบั การพฒั นาสตปิ ัญญาของเดก็ ..............................................................15
บทท่ี 3 หลกั การพืน้ ฐานในการปรับพฤตกิ รรม....................................................................................................................17

ความเป็ นมา..............................................................................................................................................................................17
ขนั ้ ตอนในการดาํ เนินการ......................................................................................................................................................18

1. การเก็บข้อมลู ..........................................................................................................................................19
2.การวิเคราะห์ ............................................................................................................................................. 27
3.การวางแผนและแก้ ไข .............................................................................................................................. 30
4.การประเมินผล .........................................................................................................................................31

ส่วนท่ี 2.......................................................................................................................................................................................32

viii

บทท่ี 4 ปัญหาทางพฤตกิ รรมของผ้ปู ่ วย ASD........................................................................................................................33
1.การมีพฤตกิ รรมที่ผดิ ปกติ ..................................................................................................................................................33
เดก็ กลวั การลงบนั ได ..................................................................................................................................36
เดก็ โมโหอาละวาด......................................................................................................................................37
2.การไมม่ ีพฤตกิ รรมปกติ ......................................................................................................................................................39

บทท่ี 5 ปัญหาพฤตกิ รรมจาก การประมวลผลข้อมลู ในผ้ปู ่ วย ASD .............................................................................43
การยดึ ตดิ ท่ีรายละเอียด (detail fixed)...............................................................................................................................44
การยดึ ตดิ ท่ีกระบวนการ (process fixed) .........................................................................................................................45

บทท่ี 6 ปัญหาพฤตกิ รรมท่ีเกิดจากความเข้าใจ สถานการณ์รอบตวั ของผ้ปู ่ วย ASD..............................................51
การบนั ทกึ พฤตกิ รรมแบบบนั ทกึ ประจําวนั .....................................................................................................................51
วิธีบนั ทกึ .....................................................................................................................................................................................51
พฤตกิ รรมท่ีจบั รูปแบบไมไ่ ด้ .................................................................................................................................................54
ความเข้าใจตามบริบท (Understanding by context) .....................................................................................................54
ความเข้าใจตามภาษาทา่ ทาง (understanding by non-verbal communication)....................................................55
ความเข้าใจตามวาจา (Understanding by verbal communication)...........................................................................56

บทที่ 7 ปัญหาการใช้ภาษาของผ้ปู ่ วย ASD..........................................................................................................................58
ความผิดปกตใิ น receptive language ของผ้ปู ่ วย ASD .......................................................................................................58
1.ไมเ่ ข้าใจความหมายของคํา (word).........................................................................................................58
2.ความเข้าใจคาํ คําละ 1 ความหมาย ไมเ่ ข้าใจความหมายที่สอง หรือความหมายแฝง .......................59
3. เข้าใจประโยคเฉพาะที่มีการเรียงคําอยา่ งท่ีเคยรู้มา (word order)........................................................60
4. มีข้อจํากดั ในความเข้าใจความหมายของประโยค ...............................................................................60
5.ความเข้าใจท่ีไมแ่ นน่ อน บางทีก็เข้าใจบางทีก็ไมเ่ ข้าใจ ........................................................................61
ความผิดปกตใิ น expressive language ของผ้ปู ่ วย ASD...............................................................................................61

ix

1.พดู คําท่ีไมเ่ ป็ นภาษา (neologism) ...........................................................................................................61
2.การพดู ทวนคาํ (echolalia)........................................................................................................................62
3. การพดู กบั ตวั เอง หรือพดู คนเดยี ว..........................................................................................................62
4.การมี socialized speech จํากดั ....................................................................................................................................63
5.เรียบเรียงประโยคผิดพลาดตามรูปแบบท่ีเคยชนิ ..................................................................................64
6. การพดู จากความจํา................................................................................................................................65

ส่วนท่ี 3.......................................................................................................................................................................................67

บทที่ 8 การฝึ กผ้ปู ่ วย ASD และ early intervention...............................................................................................................68
การพฒั นาการฝึ กแบบตา่ ง ๆ ..............................................................................................................................................68

Lovaas Model .......................................................................................................................................................................69
DIR/Floortime ........................................................................................................................................................................71
Higashi Model..............................................................................................................................................72
Holding Therapy ..........................................................................................................................................73
Son-Rise Program........................................................................................................................................74
Early Start Denver Model (ESDM) ...............................................................................................................74
TEACCH....................................................................................................................................................... 74
PECS ............................................................................................................................................................ 75
Early Intervention (EI) ..............................................................................................................................................................75

การศกึ ษาผลสําเร็จของ early intervention.................................................................................................76
การถอดบทเรียนของ รพ.ยวุ ประสาทไวทโยปถมั ภ์ ..................................................................................77
การพฒั นาตอ่ เนื่อง .....................................................................................................................................80
ถอดบทเรี ยน................................................................................................................................................ 82
การประยกุ ต์ใช้ในหนว่ ยบริการ..................................................................................................................84

x

บทที่ 9 การพฒั นาภาษาในผ้ปู ่ วย ASD...................................................................................................................................86
การวิเคราะห์ข้อมลู ..................................................................................................................................................................87
กรณีตวั อยา่ ง .............................................................................................................................................................................89

บทที่ 10 การพฒั นาแบบก้าวกระโดด .....................................................................................................................................97
ลกั ษณะการพฒั นาแบบก้าวกระโดด................................................................................................................................97
กรณีศกึ ษา .................................................................................................................................................................................97

ส่วนท่ี 4.....................................................................................................................................................................................104

บทที่ 11 การพฒั นาองคค์ วามรู้ และประสบการณ์ในการดแู ลผ้ปู ่ วยของ รพ.ยวุ ประสาทไวทโยปถมั ภ์ ........105
การดําเนนิ การในภาพรวมของประเทศ..........................................................................................................................105
การดาํ เนินการในภาคการแพทย์และสาธารณสขุ ......................................................................................................106
การพฒั นาองค์ความรู้ของ รพ.ยวุ ประสาทฯ ................................................................................................................106
ระยะท่ี 1 ปี พ.ศ. 2511-2520 .....................................................................................................................107
ระยะที่ 2 พ.ศ. 2521-2530 .........................................................................................................................107
ระยะที่ 3 พ.ศ. 2531-2540 .........................................................................................................................108
ระยะท่ี 4 พ.ศ. 2541-2554 .........................................................................................................................110

1

ส่วนท่ี 1

2

บทท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป เก่ียวกับ Autistic Spectrum Disorder

Autistic Spectrum Disorder (ASD) เป็นความผดิ ปกตทิ างพฒั นาการ ท่ีมีอาการสําคญั คือ มี
ความผิดปกตใิ นพฒั นาการทางสงั คม, การส่ือสาร และมีพฤตกิ รรมซํา้ ซาก หรือสนใจในเรื่องแคบ ๆ ใน
ระยะสบิ กวา่ ปี มานี ้ASD ได้รับความสนใจจากนกั วิชาการหลายสาขา ทงั้ นีเ้พราะพบวา่ มีความชกุ มากกวา่
ที่เคยเช่ือกนั มาก จากเดมิ ท่ีเช่ือกนั วา่ มีความชกุ ประมาณ 4-5 คนตอ่ ประชากร 10000 คน แตก่ ารศกึ ษาใน
ระยะหลงั กลบั พบวา่ บางประเทศมีความชกุ มากถึง 1:100(1) ในบทนีจ้ ะนําเสนอ ภาพรวมของความเป็นมา
ในแนวคดิ การจดั กลมุ่ ความผดิ ปกติ, การศกึ ษาวจิ ยั เพ่ือหาสาเหตุ, การศกึ ษาด้านการรักษาและประเดน็ ท่ี
นา่ สนใจ

ความเป็ นมาในแนวคิดการจัดกลุ่มความผิดปกติ
Autism เป็นความผิดปกตทิ างพฒั นาการ ที่มีการรายงานครัง้ แรกในปี ค.ศ.1943 โดย Leo Kanner

จติ แพทย์เดก็ และวยั รุ่น ชาวอเมริกนั (2) โดย Kanner เป็นการรายงานผ้ปู ่ วย จํานวน 11 ราย ที่มีอาการและ
อาการแสดงคล้ายคลงึ กนั โดยมีลกั ษณะสําคญั คอื เดก็ ทงั้ 11 รายมีความผิดปกตติ งั้ แตแ่ รกเกิด สามารถ
อยคู่ นเดยี วได้นาน ๆ และชอบอยคู่ นเดยี วมากกวา่ อยกู่ บั คนอื่น ๆ ชอบทําส่ิงหนงึ่ สง่ิ ใดซํา้ ๆ และไมช่ อบการ
เปล่ียนแปลง และเขาเรียกกลมุ่ อาการแสดงนีว้ า่ inborn autistic disturbance of affective contact

หลงั จากนนั้ มีผ้เู ชี่ยวชาญหลายทา่ นสงสยั วา่ ความผิดปกตนิ ีเ้ป็นอาการและ อาการแสดงของโรค
หรือความผดิ ปกตอิ ่ืนหรือไม่ ซงึ่ ในปัจจบุ นั มีหลกั ฐานมากพอ จนเป็นท่ียอมรับแล้ววา่ ความผดิ ปกตนิ ีเ้ป็น
ความผดิ ปกตทิ ่ีมีลกั ษณะเฉพาะไมเ่ หมือนความผดิ ปกตอิ ่ืน

หลงั จากการรายงานของ Kanner นกั วิชาการกลมุ่ หนง่ึ ได้มีความสนใจศกึ ษาความผดิ ปกตนิ ี ้ โดย
ระยะแรกเช่ือกนั วา่ เป็นรูปแบบหนงึ่ ของความผดิ ปกตทิ างจิต ทงั้ นีเ้พราะอาการแสดงของผ้ปู ่ วยที่มีลกั ษณะ
แยกตวั อยใู่ นโลกของตวั เองนนั้ เป็นอาการแสดงท่ีสําคญั ประการหนงึ่ ในผ้ปู ่ วย schizophrenia ประกอบกบั
การใช้คาํ วา่ autism ของ Kanner ทําให้นกั วชิ าการสว่ นหนงึ่ คดิ ถึงอาการ autism ที่ Eugen Blueuler ได้
เคยระบไุ ว้วา่ เป็นอาการแสดงอยา่ งหนง่ึ ของ schizophrenia

3

ระยะนนั้ มีความเชื่อที่ปัจจบุ นั พิสจู น์แล้ววา่ คลาดเคล่ือนหลายอยา่ ง เชน่ เคยมีความเช่ือวา่ ความ
ผดิ ปกตนิ ีเ้กิดจาก ความเฉยเมยของพอ่ แมท่ ี่มีตอ่ เดก็ ทําให้ ขาดการสร้างปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งกนั หรือเช่ือวา่
ความผิดปกตนิ ีจ้ ะเกิดกบั กลมุ่ คนที่มีการศกึ ษาดมี ากกวา่ กลมุ่ ท่ีมีการศกึ ษาไมด่ ี เป็นต้น

ในเวลาตอ่ มา ได้มีการศกึ ษาพสิ จู น์วา่ ความผดิ ปกตนิ ี ้ ไมไ่ ด้เกิดจากการเลีย้ งดู แตเ่ ป็นจากสมอง
โดยตรง และได้จดั ไว้ในกลมุ่ ความผดิ ปกตทิ างพฒั นาการใน เกณฑ์การวินิจฉยั โรคทางจิตเวชของสมาคม
จติ แพทย์อเมริกนั (DSM III-R) โดยใช้ชื่อวา่ Pervasive Developmental Disorder จดั ไว้ใน Axis II
(Developmental Disorder) โดยมี Autistic Disorder เป็น กลมุ่ ยอ่ ยท่ีใช้เกณฑ์ตามท่ี Kanner พบเป็นการ
วนิ จิ ฉยั หลกั (3)

การเปล่ียนแปลงแนวคดิ ใน การจดั กลมุ่ ความผิดปกตเิ กิดการเปลี่ยนแปลง อีกครัง้ หนง่ึ โดยเกณฑ์
การวินจิ ฉยั โรคทางจติ เวชของสมาคมจิตแพทย์อเมริกนั ฉบบั ที่ 4 (DSM IV-TR) ซง่ึ เป็นฉบบั ท่ีใช้ในปัจจบุ นั
ในครัง้ นีไ้ ด้มีการเพม่ิ ความผดิ ปกตเิ ป็นกลมุ่ ยอ่ ยลงอีกหลายกลมุ่ เชน่ Asperger disorder, Rett’s disorder
เป็ นต้น (4)

จนกระทง่ั ในราวปี 1990 Lorna Wings กมุ ารแพทย์ชาวองั กฤษ ซงึ่ เป็นแพทย์ที่มีประสบการณ์กบั
เดก็ กลมุ่ นีม้ านาน ได้เสนอแนวคดิ ในการวินิจฉยั แบบ spectrum ซง่ึ ถือวา่ ความผิดปกตนิ ีม้ ีสาเหตมุ าจาก
ความผิดปกตขิ องสมอง ทําให้ผ้ปู ่ วยแปลผลประสบการณ์ท่ีได้รับแตกตา่ งกนั จนเกิดอาการ และอาการ
แสดงท่ีหลากหลาย ตงั้ แตอ่ าการน้อยจนอาการมาก เหมือน spectrum ของรุ้งกินนํา้ ท่ีมีสีตา่ ง ๆ กนั (5)

แนวคดิ นีไ้ ด้รับการยอมรับอยา่ งกว้างขวางและมีการนํามาใช้ อยา่ งแพร่หลายในงานวจิ ยั ระยะหลงั
ปัจจบุ นั ได้รับการยอมรับจากสมาคมจิตแพทย์อเมริกนั โดยในเกณฑ์การวนิ ิจฉยั ฉบบั ใหม่ (DSM-V) ซง่ึ อยู่
ในระหวา่ งการจดั ทําและ มีกําหนดการจะประกาศใช้ในปี ค.ศ. 2013 ในฉบบั ร่าง ได้เปลี่ยนช่ือของความ
ผิดปกตนิ ี ้เป็น Autistic Spectrum Disorder และจดั ไว้ในกลมุ่ ความผดิ ปกตทิ าง neurodevelopmental
disorder โดยไมม่ ีกลมุ่ ยอ่ ยเหมือนใน DSM-IV-TR (6)

ด้วยแนวคดิ ใหมน่ ี ้ เม่ือมีการศกึ ษาทางระบาดวทิ ยา จงึ พบวา่ ความผดิ ปกตนิ ีม้ ีมากกวา่ ท่ีเคยเชื่อ
กนั จนนําไปสกู่ ารตืน่ ตวั อยา่ งมากในสงั คม เกิดข้อสงสยั มากมายโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ มีคาํ ถามท่ีสําคญั คอื
ความผดิ ปกตนิ ีก้ ําลงั เพ่ิมขนึ ้ จริง ๆ หรือเพิม่ ขนึ ้ เพราะความสนใจของสงั คมมากขนึ ้ ซงึ่ หากความผิดปกตนิ ี ้
กําลงั เพม่ิ ขนึ ้ จริง ๆ ก็จะเป็นปัญหาใหญ่เพราะความผดิ ปกตนิ ี ้ ทําให้เกิดการเสียหรือด้อยความสามารถ

4

อยา่ งถาวร รายท่ีรุนแรงก็กลายเป็นคนพกิ ารต้องพงึ่ พาผ้อู ื่นไปตลอดชีวิต และการแพทย์ยงั ไมท่ ราบสาเหตุ
และการรักษาท่ีได้ผลดีที่สดุ

ข้อสงสยั นีเ้ป็นประเดน็ ที่ ยงั ไมม่ ีข้อสรุปอยา่ งเป็นเอกฉนั ท์ แตจ่ ากการศกึ ษาของนกั วิชาการ และ
องคก์ รหลายแหง่ เหน็ ไปในทางเดยี วกนั วา่ เป็นสถานการณ์ที่ไมน่ า่ วางใจจนกระทง่ั ในปี ค.ศ. 2008 องคก์ าร
สหประชาชาติ ได้เห็นความสําคญั และกําหนดให้วนั ท่ี 2 เมษายนของทกุ ปี เป็นวนั รณรงคเ์ พื่อให้รัฐบาลของ
ประเทศตา่ ง ๆ หนั มาให้ความสําคญั กบั ปัญหานี ้ ขณะเดียวกนั ก็มีองคก์ รเอกชนท่ีไมแ่ สวงกําไร หลายแหง่ ท่ี
เกิดจากการรวมตวั ของผ้ปู กครองของเดก็ กลมุ่ นี ้ได้จดั การรณรงคก์ บั รัฐบาลของประเทศตา่ ง ๆ จนเป็นเรื่อง
ที่รู้กนั ทว่ั ไป (7)

การศกึ ษาวิจัยเก่ียวกับสาเหตุ
การศกึ ษาเก่ียวกบั สาเหตขุ อง ASD นนั้ มีตอ่ เน่ืองมาตงั้ แต่มีการรายงานในครัง้ แรก โดยในชว่ งแรก

เป็นความสนใจของนกั วชิ าการในวงจํากดั หลงั จากเกิดความต่ืนตวั อยา่ งมากจงึ ขยายไปยงั นกั วชิ าการใน
สาขาตา่ ง ๆ ในการศกึ ษาถึงสาเหตนุ นั้ โดยสรุป ยงั ไมท่ ราบสาเหตทุ ่ีแท้จริงของ ASD

เดมิ มีความเชื่อหลายประการท่ีเคยเชื่อกนั วา่ เป็นสาเหตุของความผิดปกตนิ ี ้แตร่ ะยะหลงั ได้รับการ
พิสจู น์แล้ววา่ ไมใ่ ช่ เชน่ ความเชื่อที่วา่ ความผิดปกตนิ ีเ้ กิดจากการเลีย้ งดู ท่ีพอ่ แมเ่ ลีย้ งลกู ด้วยความเย็นชา
ไมค่ อ่ ยตอบสนองตอ่ อารมณ์ ความรู้สกึ ของเดก็ และได้ใช้ชื่อเรียกพอ่ แมก่ ลมุ่ นีว้ า่ ‚refrigerator mother‛
ซงึ่ พิสจู น์แล้ววา่ การไมค่ อ่ ยมีปฏิสมั พนั ธ์ตอ่ กนั นนั้ ไมใ่ ชส่ าเหตุ แม้วา่ การท่ีพอ่ แมไ่ มค่ อ่ ยตอบสนองตอ่ เดก็
นนั้ มีจริง ก็จะเป็นผลจากการท่ีเดก็ ไมส่ นใจคนรอบตวั จนในที่สดุ ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งกนั จงึ ลดลง มไิ ด้เป็น
สาเหตแุ ตอ่ ยา่ งใด ความเชื่อนีเ้กิดขนึ ้ ในขณะท่ีความรู้เรื่องความผิดปกติ นีย้ งั ไมแ่ พร่หลายทําให้พอ่ แม่
จํานวนมาก เข้าใจผิดวา่ ลกู นนั้ เป็นเดก็ เลีย้ งง่าย แล้วพบความผิดปกตใิ นภายหลงั

ในเวลาตอ่ มา มีการค้นพบหลกั ฐานหลายประการเกี่ยวกบั ความผิดปกตขิ องสมอง เชน่ การศกึ ษา
ทาง histology ที่ได้จากการทํา autopsy แล้วพบความผดิ ปกตใิ นเซลล์สมองหลายแหง่ (8,9) เป็นหลกั ฐานท่ี
ยืนยนั ได้อยา่ งชดั เจนวา่ ความผิดปกตนิ ีเ้ป็นความผดิ ปกตขิ องสมอง นอกจากนีย้ งั มีการพบความผดิ ปกตใิ น
การทํางานของสมองหลายประการ ท่ีมีเป็นความผิดปกตใิ นกลไกการทํางานเชน่ การมีเลือดไปเลีย้ งสมอง
บางสว่ นน้อยกวา่ คนปกติ ขนาด หรือปริมาตรของสมองท่ีใหญ่กวา่ กลมุ่ ควบคมุ การมีระดบั ของสารเคมีใน
สมองหลายตวั ท่ีผิดไปจากคนปกติ ซง่ึ การศกึ ษาทงั้ หมดบง่ ชีใ้ ห้เห็นวา่ ASD นีเ้ป็นความผิดปกตทิ ่ีเกิดจาก
สมอง โดยมีความผดิ ปกตทิ ่ีการทํางาน และโครงสร้างในระดบั เซลล์

5

จากการค้นพบท่ีผา่ นมา ทําให้สามารถจํากดั ขอบเขตของข้อสงสยั เก่ียวกบั สาเหตไุ ด้ในระดบั หนง่ึ
ปัจจบุ นั หลกั ฐานตา่ ง ๆ บง่ ชีว้ า่ ความผิดปกตนิ ี ้ นา่ จะเกิดจากความผดิ ปกติ ทางพนั ธุกรรมในรูปแบบของ
multiple gene disorder โดยเกิดปัญหากบั gene ท่ีเก่ียวข้องกบั พฒั นาการ หรือการควบคมุ กลไกการ
พฒั นาการของสมอง สว่ นปัจจยั ที่มีปัญหากบั gene นนั้ ยงั อยใู่ นระหวา่ งการศกึ ษา ขณะเดยี วกนั ก็มีข้อมลู
และหลกั ฐานอีกชดุ หนง่ึ บง่ ชีว้ า่ อาจจะเกิดจากเหตอุ ่ืนได้ด้วยแตเ่ ป็นสว่ นน้อยแสดงให้เห็นวา่ ASDนนั้ นา่ จะ
เป็นความผดิ ปกตทิ ี่มี เหตหุ ลายประการ โดยสาเหตเุ หลา่ นนั้ ได้สง่ ผลตอ่ กลไกการทํางานของสมอง ในด้าน
การประมวลผลประสบการณ์การเรียนรู้ จนเกิดอาการเป็นพฤตกิ รรม ที่สามารถจดั อาการเป็ นกลมุ่ ได้ ตาม
เกณฑ์การวินจิ ฉยั

การศึกษาด้านการรักษา
การศกึ ษาด้านการรักษานนั้ นกั วิชาการกลมุ่ แรก ๆ ที่ให้ความสนใจจะ เป็นกลมุ่ นกั จติ วทิ ยา และ

นกั พฤตกิ รรมศาสตร์ การรักษาที่ได้รับการยอมรับในปัจจบุ นั คอื การใช้วิธีการรักษาหลาย ๆ แบบร่วมกนั
ทงั้ การสร้างโปรแกรมการฝึกแบบตา่ ง ๆ ,การใช้ยา,การศกึ ษาพเิ ศษ, การฝึกพดู และการฝึกทกั ษะทางสงั คม
เป็ นต้น (10, 11)

การใช้การฝึก เพ่ือสร้างพฤตกิ รรมท่ีพงึ ประสงค์ และสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ใหม่ให้เหมาะสม
ตามวยั และศกั ยภาพของผ้ปู ่ วยนนั้ มีวตั ถปุ ระสงคต์ อ่ เน่ือง คอื ต้องการให้ผ้ปู ่ วยสามารถใช้ชีวิตร่วมกบั คน
ปกตไิ ด้อยา่ งมีคณุ ภาพ การฝึกนีเ้ป็นกระบวนการที่เป็นเหมือนแกนกลางของการรักษา โดยมีการรักษาแบบ
อื่น เชน่ การใช้ยา,การฝึกพดู ,การฝึก sensory integration ทําหน้าท่ีเป็นสนบั สนนุ การฝึกให้ผ้ปู ่ วยสามารถ
เรียนรู้ได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ของแตล่ ะโปรแกรม

การฝึกและสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผ้ปู ่ วยนนั้ มีหลายแบบขนึ ้ กบั อายขุ องผ้ปู ่ วยความรุนแรง
ของอาการ และนกั วิชาชีพหรือสถานท่ีที่ฝึก เชน่ ถ้าเป็นการฝึกในระยะต้นเมื่อมีการวนิ จิ ฉยั และผ้ปู ่ วยยงั มี
อายนุ ้อยหรือยงั เข้าโรงเรียนไมไ่ ด้ ก็จะเรียกวา่ Early Intervention (EI) ตอ่ เม่ือเข้าเรียนได้แล้ว ก็จะมีการ
ปรับหลกั สตู รการศกึ ษาพิเศษ ให้เหมาะกบั ความสามารถของผ้ปู ่ วย โดยจดั หลกั สตู รเฉพาะบคุ คล เรียกวา่
Individual Education Program (IEP) สําหรับผ้ปู ่ วย นอกจากนีย้ งั มีการฝึกอื่น ๆ ตามความจําเป็นอีก เชน่
การฝึกพดู การฝึก sensory integration การฝึกอาชีพ หรือการฝึกทกั ษะทางสงั คม เป็นต้น

6

ทฤษฏีท่ีใช้ในการฝึกแตล่ ะชนิดนนั้ ขนึ ้ กบั หลกั วิชาของนกั วิชาชีพแตล่ ะสาขา แตจ่ ะมีหลกั การทาง
พฤตกิ รรมศาสตร์เป็นสว่ นร่วมเสมอ เพราะวตั ถปุ ระสงค์ของการฝึกทกุ ชนดิ ตา่ งก็ต้องการสร้างพฤตกิ รรม
และการเรียนรู้ใหม่ เหมือน ๆ กนั

แม้วา่ ในขณะนีจ้ ะยงั ไมม่ ีโปรแกรมการฝึกใด ท่ีได้รับการยอมรับเป็นมาตรฐานสากล แตก่ ็มีการฝึก
หลายโปรแกรม ที่ได้รับการศกึ ษาวิจยั แสดงให้เห็นวา่ มีผลสมั ฤทธ์ิ ในการพฒั นาทกั ษะสงั คม พฤตกิ รรม
และความคดิ อา่ นให้กบั ผ้ปู ่ วย ในระดบั ที่นา่ พอใจโปรแกรมเหลา่ นีเ้ชน่ Lovaas model, TEACCH, PECS
เป็ นต้น

นอกจากการรักษาด้วยการฝึก และการรักษา ตามหลกั การของนกั วชิ าการแตล่ ะสาขาอาชีพแล้ว
ยงั มีการรักษาตามทฤษฏี ที่มีผ้ตู งั้ ขนึ ้ หลาย ๆ อยา่ ง เชน่ การวติ ามิน, การควบคมุ อาหาร, การใช้ oxygen
แรงดนั สงู ฯลฯ โดยเหตทุ ี่ การแพทย์กระแสหลกั ยงั ไมม่ ีการรักษาท่ีสามารถ จดั การกบั อาการของผ้ปู ่ วยได้
อยา่ งรวดเร็วและเดด็ ขาด จึงเกิดการรักษา ท่ีเป็นการรักษาทางเลือกเกิดขนึ ้ ปัจจบุ นั การรักษาเหลา่ นีม้ ีเพิ่ม
มากขนึ ้ หลงั จากมีความตน่ื ตวั ในเรื่องการเพิ่มจํานวนของผ้ปู ่ วย อยา่ งไรก็ตามการรักษาเหลา่ นีย้ งั ไมม่ ีผล
การศกึ ษาอยา่ งเป็นระบบ และตวั ทฤษฏีเองก็ยงั ไมไ่ ด้รับการยอมรับจากนกั วิชาการทวั่ ไป การเลือกใช้จงึ
ต้องพิจารณาด้วยความรอบคอบ

กลา่ วโดยสรุปการรักษาผ้ปู ่ วย ASDทกุ แบบนนั้ ยงั อยู่ในระหวา่ งการพฒั นาควบคู่ ไปกบั การทดลอง
และการศกึ ษาวจิ ยั ถงึ ประสทิ ธิภาพและแงม่ มุ ทางวชิ าการตา่ ง ๆ

ประเดน็ ท่นี ่าสนใจอ่ืน ๆ
ในการศกึ ษาแง่มมุ ตา่ ง ๆ ของ ASD นนั้ มีคําถามอีกมากท่ียงั ต้องการคาํ ตอบจากการค้ นคว้า และ

วจิ ยั แม้จะมีความสนใจศกึ ษาในแงม่ มุ เหลา่ นีม้ าระยะหนง่ึ แตเ่ ป็นระยะเวลาท่ีสนั้ มาก เม่ือเทียบกบั โรค หรือ
ความผดิ ปกตอิ ื่น ๆ ประกอบกบั การเปล่ียนแปลงกรอบแนวคดิ ในการวินิจฉยั ท่ีนําไปสกู่ ารปรับปรุงเกณฑ์
การวินจิ ฉยั เป็นระยะนนั้ สะท้อนให้เหน็ วา่ ความเข้าใจธรรมชาตขิ องความผิดปกตนิ ี ้ ยงั อยใู่ นระยะเร่ิมต้น
เทา่ นนั้

อยา่ งไรก็ตามแม้ความสนใจในการศกึ ษาจะมีน้อย แตห่ ลงั จากเกิดความสงสยั วา่ ความผิดปกตนิ ี ้
กําลงั เพม่ิ ขนึ ้ หรือไม่ จนเกิดความต่นื ตวั กนั ทวั่ ไป ก็มีการศกึ ษาเกิดขนึ ้ อยา่ งรวดเร็วและมีจํานวนรายงานที่
ตีพมิ พ์เพม่ิ ขนึ ้ มาก ทําให้มีประเดน็ ท่ีควรให้ความสนใจตดิ ตามความคืบหน้าหลายประการ ในที่นีจ้ ะ

7

นําเสนอบางประเดน็ ที่นา่ จะเป็นประโยชน์ในการวางแผนการศกึ ษาวจิ ยั หรือตดิ ตามข้อมลู เพื่อกําหนด
ทศิ ทางหรือนโยบายตอ่ ไป

ASD กาลังเพ่มิ ขนึ้ จริง หรือเพ่มิ เพราะการเปล่ียนเกณฑ์การวินิจฉัย
ประเดน็ นี ้ ยงั ไมม่ ีข้อสรุปท่ีเห็นพ้องต้องกนั แตอ่ ยใู่ นความสนใจเพราะผลกระทบ ตอ่ ตวั เดก็ และ
ครอบครัวที่มีลกู เป็น ASD นนั้ รุนแรงมาก หากความผิดปกตนิ ีก้ ําลงั เพ่ิมขนึ ้ โดยยงั ไมท่ ราบสาเหตแุ ละวธิ ี
รักษาท่ีได้ผล ก็จะเป็นปัญหาใหญ่ในอนาคต

การพบวา่ ความผดิ ปกตนิ ี ้ มีความชกุ มากกวา่ ที่เคยเช่ือกนั เริ่มในชว่ งปี ค.ศ. 1990 จากรายงาน
การศกึ ษาในขณะนนั้ ท่ีพบวา่ มีความชกุ ราว 1:1000 ถึง 1:500 และได้มีการรายงานผลการศกึ ษาที่มีความ
ชกุ เพม่ิ ขนึ ้ เรื่อยมา ในประเทศไทย ศรีวรรณา พลู สรรพสทิ ธ์ิ และคณะ (2548)(12) ได้ศกึ ษาทางระบาดวทิ ยา
พบความชกุ 9.9 : 10000 หรือประมาณ 1:1000 ใกล้เคยี งกบั การศกึ ษาในประเทศอ่ืน ๆ ในขณะนนั้ การ
เพิม่ ขนึ ้ ของความชกุ นี ้มีรายงานที่เพิ่มขนึ ้ เร่ือย ๆ หลงั ปี ค.ศ. 2000 บางรายงานพบวา่ มีความชกุ ถึง 1:100
จนเกิดคาํ ถามวา่ ความชกุ ที่เพ่ิมขนึ ้ นีเ้ป็นการเพ่ิมขนึ ้ จริง หรือเกิดจากการเปล่ียนเกณฑ์การวินิจฉยั ทําให้
ความผิดปกตอิ ื่นที่มีอยแู่ ล้วโดยมีอาการของ ASD ร่วมด้วยถกู วนิ จิ ฉยั เป็น ASD เพ่ิมขนึ ้ ซงึ่ ประเดน็ นีย้ งั ไม่
มีข้อสรุป แตม่ ีข้อมลู ที่ควรระวงั คอื

CDC (Center for Disease Control and Prevention) ของสหรัฐอเมริกา ได้ทําโครงการสํารวจ
และเฝ้ าระวงั ความชกุ พบวา่ มี ASD ความชกุ ประมาณ 1:110 และยงั ได้รวบรวมผลการศกึ ษาความชกุ ที่
มีการสํารวจในประเทศตา่ ง ๆ ได้คา่ ความชกุ ตงั้ แต่ 0.6 % ถึง มากกวา่ 1 %

ขณะเดยี วกนั ยงั ได้มีการสํารวจ ความผิดปกตกิ ลมุ่ intellectual disability (mental retardation
เดมิ ) ที่ถือเกณฑ์การมีคา่ IQ ต่าํ กว่า 70 พบวา่ มีความชกุ ประมาณ 1:83 (1)

Intellectual disability หรือ mental retardation นีเ้ป็นความผิดปกตทิ ี่มีโอกาสจะถกู วนิ ิจฉยั เป็น
ASD ตามเกณฑ์การวนิ จิ ฉยั ใหม่ มากท่ีสดุ เพราะผ้ปู ่ วยกลมุ่ นีจ้ ํานวนหนงึ่ จะมีลกั ษณะคล้าย autism ท่ีใน
อดีตมกั ได้รับการวินจิ ฉยั วา่ ‚mental retardation with autistic like behavior‛ หากการเพ่ิมขนึ ้ ของ ASD
เกิดจากเกณฑ์การวินจิ ฉยั จริง ความชกุ ของ intellectual disability ควรจะลดลงบ้าง แตจ่ ากการศกึ ษานี ้
พบวา่ ไมไ่ ด้ลดลงแตอ่ ยา่ งใดขณะเดียวกนั ประเดน็ ที่เหน็ วา่ อาจจะพบความผดิ ปกตอิ ่ืนที่มีอาการและอาการ

8

แสดงเหมือน ASD ปะปนอยดู่ ้วยก็ยงั ตดั ออกไมไ่ ด้ ทําให้ข้อสงสยั วา่ ASD นีเ้พิ่มขนึ ้ จริงหรือเป็นผลจากการ
ปรับเกณฑ์การวินจิ ฉยั ยงั คงไมม่ ีคาํ ตอบ

อยา่ งไรก็ตามเมื่อยงั ไมม่ ีหลกั ฐานท่ีชดั เจนวา่ ความผิดปกตนิ ีก้ ําลงั เพม่ิ ขนึ ้ จริงหรือจากการปรับปรุง
เกณฑ์การวินจิ ฉยั ทําให้ความผดิ ปกตอิ ื่นที่ไมเ่ คยได้รับการบริการถกู นบั รวมเข้ามา แตก่ ารที่มีจํานวนผ้ปู ่ วย
เพิ่มขนึ ้ การจดั บริการให้ทว่ั ถงึ จงึ เป็นสิง่ ท่ีควรทํา สว่ นการระมดั ระวงั เร่ืองการเพิม่ ขนึ ้ จริง ๆ นนั้ ยงั ไมค่ วร
ตดั ทงิ ้ แตค่ วรมีการกําหนดนโยบายและการปฏิบตั กิ ารในระดบั หนง่ึ เพ่ือเตรียมรับมือหากสถานการณ์เป็นไป
ในทางร้าย คอื มีการเพมิ่ ขนึ ้ จริง ๆ

การดาํ เนินการทางนโยบายที่เหมาะสม ควรประกอบด้วย มาตรการเฝ้ าระวงั การเพ่มิ ขนึ ้ ของความ
ชกุ เพื่อตดิ ตามสญั ญาณอนั ตราย , การพฒั นาขีดความสามารถ ในการให้ความชว่ ยเหลือผ้ปู ่ วยท่ีมีอยแู่ ล้ว
ในปัจจบุ นั เพราะจํานวนผ้ปู ่ วยท่ีมีนนั้ จํานวนมาก มาตรการสดุ ท้าย คอื การศกึ ษาวจิ ยั ซง่ึ อาจจะทําด้วย
ตวั เอง หรือใช้การตดิ ตามการรายงานจากที่ตา่ ง ๆ อยา่ งใกล้ชดิ ก็เป็นไปได้

ASD เป็ นความผิดปกตทิ ่มี ีหลาย subgroup
ประเดน็ นีเ้ป็นอีกประเดน็ หนงึ่ ที่มีความสนใจกนั มากขนึ ้ ทงั้ นีจ้ ากการขยายเกณฑ์การวนิ ิจฉยั และ
ข้อมลู ทางคลนิ กิ ท่ีพบอาการและอาการแสดงท่ีหลากหลายมากจนแทบจะไมซ่ ํา้ กนั ในผ้ปู ่ วยแตล่ ะคน และ
Wings ซงึ่ เป็นผ้เู สนอแนวคดิ เร่ือง spectrum ก็ได้กลา่ วถึง subgroup ไว้โดยแบง่ subgroup ตามอาการ
ออกเป็น 4 แบบ คอื aloof, passive , active but odd และ overformal ซงึ่ แตล่ ะแบบก็มีอาการและอาการ
แสดงตา่ งกนั (5)

ในเวลาตอ่ มา การศกึ ษาตา่ ง ๆ ทําให้มีความเหน็ ไปในทางเดยี วกนั วา่ ASD นนั้ นา่ จะเป็นความ
ผดิ ปกตทิ ี่มีกลมุ่ ยอ่ ยอยหู่ ลายกลมุ่ (heterogeneous disorder) และมีความพยายามศกึ ษาวจิ ัยเพื่อจดั กลมุ่
ยอ่ ยให้สําเร็จ

การท่ี ASD เป็น heterogeneous disorder นีน้ า่ จะเป็นสาเหตทุ ี่ทําให้ การศกึ ษาวิจยั ที่ผา่ นมามี
ผลไปคนละทางเสมอ เพราะการศกึ ษาวจิ ยั ทางการแพทย์นยิ มใช้สถิติ ในการวเิ คราะห์ซง่ึ การใช้วิธีการทาง
สถิตนิ นั้ เป็นเครื่องมือท่ีเหมาะกบั การศกึ ษากลมุ่ ที่เป็น homogeneous การนําการวเิ คราะห์ด้วยวิธีทาง
สถิตมิ าใช้กบั กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีเป็น heterogeneous นนั้ ยอ่ มทําให้ผลการวิเคราะห์คลาดเคลื่อนไปจากความ
จริงได้

9

การที่ ASD เป็น heterogeneous disorderนีอ้ าจจะเป็นมาตงั้ แตเ่ ร่ิมแรกในกลมุ่ ผ้ปู ่ วย 11 รายของ
Kanner ก็ได้ ทงั้ นีเ้พราะในอีก 30 ปี ตอ่ มา Kanner (1971) ได้ตดิ ตามผ้ปู ่ วยทงั้ 11 รายอีกครัง้ และได้ข้อมลู
การใช้ชีวิต และการรักษา ที่เกิดขนึ ้ กบั ผ้ปู ่ วยรวม 9 ราย ตดิ ตามไมไ่ ด้ 2 ราย จากรายงานฉบบั ท่ีสองของ
Kanner นี ้ สามารถจดั กลมุ่ ผลระยะยาวได้เป็ น 3 กลมุ่ (13)

กลมุ่ ที่ดที ่ีสดุ มี Donald T. และ Frederick W. ผ้ปู ่ วยรายที่ 1 และ 2 ตามรายงาน ทงั้ สอง สามารถ
ปรับตวั และใช้ชีวิตได้ดใี นระดบั หนงึ่ โดย Donald ใช้ชีวติ กบั ครอบครัว เหมือนคนปกติสว่ น Frederick อยู่
ใน sheltered workshops และได้รับการฝึกอาชีพทํางานได้

กลมุ่ ที่เกิดการชกั มี 2 ราย คอื รายที่ 10 และ 11

กลมุ่ ที่เหลือไมส่ ามารถปรับตวั ในการใช้ชีวิตได้ต้องอยใู่ นสถานสงเคราะห์

ในปี ค.ศ. 2010 มีนกั ขา่ ว 2 คน จากแมกกาซีน The Atlantic ได้พยายามค้นหาผ้ปู ่ วยรายที่หนง่ึ ใน
รายงานของ Kanner คอื Donald T. จนพบวา่ เขามีช่ือจริง คอื Donald Gray Triplett อายุ 77 ปี ยงั มีชีวิต
อยใู่ น Mississippi ใช้ชีวิตอยา่ งร่วมกบั คนในชมุ ชนได้ อยา่ งมีคณุ ภาพพอสมควร รายละเอียดปรากฏใน
web site: www.theatlantic.com (14)

ข้อค้นพบทงั้ ของ Kanner และการพบวา่ Donald T. ยงั มีชีวติ อยู่ และใช้ชีวิตร่วมกบั คนปกตไิ ด้ นีม้ ี
ความหมาย เพราะแสดงให้เหน็ วา่ มีผ้ปู ่ วย ASD บางคน มีศกั ยภาพในการฟื น้ ตวั หากได้รับความชว่ ยเหลือ
อยา่ งเหมาะสมขณะเดียวกนั อาจจะมีอีกกลมุ่ หนง่ึ ที่มีพยาธิสภาพแบบถาวร ไมส่ ามารถฟื น้ ตวั ได้ หรือ เป็น
แบบท่ีฟื น้ ตวั ได้แตข่ าดการกระต้นุ ที่เหมาะสม สว่ นกระบวนการเรียนรู้ท่ีชว่ ยให้ผ้ปู ่ วยพฒั นาได้ ก็ต้องอยใู่ น
กระบวนการเลีย้ งเดก็ ตามธรรมชาตนิ น่ั เอง เพราะการดแู ลDonald T. และผ้ปู ่ วยทงั้ 11 ราย เกิดขนึ ้ ในขณะ
ท่ียงั ไมม่ ีการพฒั นาการรักษาใด ๆ

ปัจจัยด้านพนั ธุกรรม
การศกึ ษาทางพนั ธศุ าสตร์เป็นเทคนิคการศกึ ษาทางการแพทย์ท่ีพฒั นามากในระยะนีส้ ําหรับ ASD
ผ้เู ช่ียวชาญทางพนั ธุศาสตร์ ก็ให้ความสนใจศกึ ษามากเชน่ กนั การศกึ ษานีท้ ําให้พบ candidate gene
จํานวนหนง่ึ แตก่ ็เป็นเชน่ เดียวกบั งานวจิ ยั ในประเดน็ อ่ืนท่ียงั หาข้อสรุปไมไ่ ด้คอื candidate gene สว่ นมาก
ยงั ไมท่ ราบหน้าที่การทํางาน ผลการวิจยั ไมไ่ ปในทางเดียวกนั จงึ ไมส่ ามารถสรุปวา่ เป็นสาเหตไุ ด้

10

ความเหน็ ในปัจจบุ นั เห็นไปในทางเดียวกนั วา่ ASD เป็น multiple gene disorder ซง่ึ เป็นข้อสรุปท่ี
คอ่ นข้างกว้าง ในบรรดา gene ท่ีพบความผิดปกตนิ นั้ มีอยู่ 2 กลมุ่ ท่ีทราบหน้าที่ และสามารถเช่ือมโยงกบั
อาการได้

กลมุ่ แรก คอื gene เกี่ยวกบั ภาษา ตวั แรกที่พบคอื FOXP2 ท่ีพบในปี ค.ศ. 1991 โดยพบในชาว
ปากีสถาน ที่อาศยั ในลอนดอน เรียกกนั วา่ KE family ครอบครัวนีม้ ีปัญหาทางภาษา ตดิ ตอ่ กนั ถงึ สามชวั่
อายคุ น นกั วทิ ยาศาสตร์จงึ ได้ศกึ ษาทางพนั ธุกรรม พบวา่ มีความผดิ ปกตใิ น chromosome คทู่ ่ี 7 หลงั จาก
นนั้ ก็ค้นพบ gene ท่ีสมั พนั ธ์กบั ภาษาอีกจํานวนหนง่ึ แม้ผลการศกึ ษากบั ผ้ปู ่ วย ASD ยงั มีไมม่ าก และยงั
ไมส่ ามารถสรุปได้วา่ เป็นสาเหตุ แตก่ ารที่ทราบหน้าท่ีของ gene นี ้ และหน้าที่นีเ้กี่ยวข้องกบั อาการสําคญั
ของ ผ้ปู ่ วย ASD ก็นา่ จะมีความเกี่ยวข้องกนั ในระดบั หนง่ึ ซง่ึ ต้องคอยการศกึ ษาตอ่ ไป (15,16,17)

กลมุ่ ท่ีสอง คือ gene ที่เก่ียวข้องกบั oxytocin และผลการให้ oxytocin ในผ้ปู ่ วยทําให้พฤตกิ รรม
ทางสงั คมบางพฤตกิ รรมดีขนึ ้ การค้นพบนีม้ ีความเช่ือมโยงทางอ้อม กบั อาการของ ASD เพราะหน้าท่ีของ
oxytocin จะทํางานเกี่ยวกบั อารมณ์ความรู้สกึ ซง่ึ เป็ นอาการหลกั อาการหนงึ่ ของผ้ปู ่ วย ASD(18,19,20,21,22,23)

ในอนาคต การศกึ ษาตอ่ เนื่องทงั้ gene ที่เกี่ยวกบั ภาษา และ oxytocin เป็นการศกึ ษาท่ีมีโอกาส
สร้างความรู้ และความเข้าใจ ในการจดั กลมุ่ ยอ่ ย ของ ASD, การหาสาเหตุ หรืออาจจะพฒั นาเป็นการคดั
กรองกลมุ่ เส่ียงเพื่อการเฝ้ าระวงั ก็ได้

ปัจจัยด้านส่งิ แวดล้อม
ข้อสงสยั ตอ่ เนื่องจากการค้นพบปัจจยั ทางพนั ธกุ รรม คือ อะไรเป็นสาเหตทุ ี่ทําให้พนั ธุกรรมเกิดการ
เปล่ียนแปลง ซงึ่ มีได้สองปัจจยั คอื ปัจจยั ภายใน และปัจจยั ภายนอก

ปัจจยั ภายใน คอื โดยปกติ gene ของคนมีการผา่ เหลา่ ตามธรรมชาติ ซงึ่ เกิดได้เองอยแู่ ล้ว gene
ท่ีมีปัญหาอาจเป็น gene ที่ทําหน้าที่ควบคมุ พฒั นาการ หรือควบคมุ การทํางานของสมอง หรือทงั้ สองกลมุ่
ทําให้มีความผิดปกตขิ นึ ้ สว่ นปัจจยั ภายนอก คอื การได้รับสารเคมีหรือการตดิ เชือ้ บางชนดิ เข้าไปมีผลตอ่
gene หรือการทํางานของสมองโดยตรง ทําให้เกิดอาการขนึ ้

หลกั ฐานท่ีแสดงให้เห็นวา่ นา่ จะมีปัจจยั ภายนอกเข้าสรู่ ่างกาย และทําอนั ตรายตอ่ สมองเริ่มมีมาก
ขนึ ้ เป็นระยะ แม้จะไมม่ าก และยงั ไมถ่ ึงระดบั ที่จะสรุปได้ แตก่ ็เป็นอีกสาเหตุหนง่ึ ท่ียงั ไมค่ วรตดั ทงิ ้ เพราะ
ความผดิ ปกตนิ ีม้ ีความรุนแรงมาก ประกอบกบั ยงั ไม่สามารถหาวธิ ีรักษาที่ดที ่ีสดุ ได้การรักษาที่ใช้ในปัจจบุ นั

11

ยงั เป็นการรักษา ที่อยรู่ ะหวา่ งการพฒั นาและใช้ทรัพยากรมาก หากมีสาร หรือปัจจยั ภายนอกเข้ามาทํา
อนั ตรายกบั สมองเดก็ จริง ก็จะเป็นสถานการณ์ท่ีรับมือได้ยากมาก

การรักษาทางเลือก
ขณะนีย้ งั ไมม่ ีการรักษาใดเป็นการรักษามาตรฐาน แตม่ ีผ้ปู ่ วยเพ่มิ ขนึ ้ การวิจยั ในด้านการรักษาเร่ิม
มีมากขนึ ้ หลงั มีการตนื่ ตวั ในเร่ืองนี ้ขณะเดียวกนั การรักษาทางเลือกหลายอยา่ งก็เข้ามามีบทบาทเพราะการ
รักษาหลกั ยงั กลมุ่ ให้คําตอบไมไ่ ด้ หลายกรณีอาจจะดเู ป็นการค้ามากเกินไปโดยเฉพาะกบั พอ่ แมท่ ่ีมีฐานะดี

กรณีนีเ้ป็นกรณีที่ต้องระมดั ระวงั เพราะหลกั ฐานการศกึ ษาหลายอยา่ งในกลมุ่ การรักษาทางเลือก
นนั้ เป็นเพียงการพบความสมั พนั ธ์ (correlation) ยงั ไมถ่ ึงระดบั ท่ีสรุปได้วา่ เป็นสาเหตุ (cause) และหลาย
อยา่ งอาจจะยงั ไมเ่ หมาะในการนํามาใช้ในเวชปฏิบตั ิ

มีหลายครัง้ ท่ีมีการกลา่ วอ้างงานวจิ ยั เพื่อสนบั สนนุ ผ้ดู าํ เนนิ การในลกั ษณะที่ อาจจะเป็นการข้าม
ขนั้ ตอนทางวิชาการ ซง่ึ นกั วชิ าการควรให้ความสนใจ และให้ความรู้ท่ีถกู ต้องกบั ประชาชน กรณีนี ้NIMH
(Nation Institute of Mental Health)(10) ได้ให้คาํ แนะนําในที่เป็นประโยชน์โดยมีสาระสําคญั ดงั นี ้

1.การรักษาผ้ปู ่ วย ASD ต้องใช้หลาย ๆ วิธีร่วมกนั ไมม่ ีการรักษาอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งที่สามารถรักษา
ได้อยา่ งสมบรู ณ์โดยนกั วิชาการมีความเหน็ ร่วมกนั วา่ การวนิ ิจฉยั และรักษาโดยเร็วที่สดุ จะได้ผลดีอยา่ งเหน็
ได้ชดั และการจดั สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะตอ่ การเรียนรู้ของเดก็ กลมุ่ นี ้ คอื การจดั ระบบท่ีมีระเบียบและมี
ความชดั เจนในกิจกรรมตา่ ง ๆ

2.ในการพิจารณาเลือกการรักษาแบบใดนนั้ ทงั้ สมาคมผ้ปู กครองเดก็ ASD ของสหรัฐอเมริกาและ
NIMH ได้แนะนําให้ผ้ปู กครอง สอบถามหรือหาข้อมลู ในรายละเอียดที่สําคญั จากผ้รู ักษากอ่ น ประกอบด้วย
อนั ตรายจากการรักษา , อตั ราการประสบความสําเร็จโดยประมาณ , การรักษานนั้ มีกระบวนการพฒั นาที่
เป็นวทิ ยาศาสตร์เพียงใด,การรักษานนั้ สามารถผสมผสานกบั การรักษาหรือการจดั การศกึ ษาที่ผ้ปู กครองทํา
อยแู่ ล้วหรือไม่,กิจกรรมนนั้ มีระบบขนั้ ตอนท่ีแนน่ อนหรือไม่ ,เจ้าหน้าที่ผา่ นการฝึกอบรมและมีประสบการณ์
เพียงใด, การประเมนิ และการวดั ผลสําเร็จดาํ เนินการอยา่ งไร

จะเห็นได้วา่ ในหนว่ ยงานสําคญั ของสหรัฐอเมริกาก็ยงั ยอมรับวา่ การรักษาหลกั นนั้ ยงั ไมส่ ามารถ
คดิ ค้นได้ และยอมรับการมีอยขู่ องการรักษาทางเลือกในระดบั หนงึ่ แตก่ ารเลือกใช้จําเป็นต้องพิจารณาโดย

12

ความรอบคอบนอกจากนี ้ยงั มีรายละเอียดอ่ืน ๆ อีก สามารถศกึ ษารายละเอียดเพิม่ เตมิ ได้จาก website
ของ NIMH (www.nimh.nih.gov)

13

บทท่ี 2 Human Information Processing Model

Autistic Spectrum Disorder เป็นความผดิ ปกตทิ ี่แสดงอาการเป็นพฤตกิ รรม โดยจําแนกได้เป็น 3
กลมุ่ คอื พฤตกิ รรมทางสงั คม พฤตกิ รรมทางการสื่อสาร ทงั้ การพดู และทา่ ทาง กบั พฤตกิ รรมที่กระทําซํา้ ๆ
หรือความหมกมนุ่ อยา่ งผิดปกติ ในระยะหลงั เม่ือมีการนําเสนอความคดิ แบบ spectrum ประกอบกบั เกิด
การเรียนรู้วา่ อาการและอาการแสดงของผ้ปู ่ วยในกลมุ่ นีม้ ีความหลากหลายมาก จนไมซ่ ํา้ กนั ในแตล่ ะคน
แนวคดิ ในเรื่องกลไกการเกิดความผิดปกติจงึ เร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงโดยมีการพิจารณากนั วา่ ความแตกตา่ ง
อยา่ งมากเป็นรายคนนี ้ นา่ จะเกิดจากการจดั การประสบการณ์การเรียนรู้ท่ี แตกตา่ งกนั ไปในเดก็ แตล่ ะคน
ทําให้เดก็ แตล่ ะคนเกิดความเข้าใจประสบการณ์ที่ผา่ นมาแตกต่างกนั พอพบกบั เหตกุ ารณ์ที่ต้องเอาความรู้
เดมิ มาใช้จงึ ตอบสนองแตกตา่ งกนั มาก

ในทางวิชาการมีแบบจําลองที่อธิบายวธิ ีคดิ และวิธีเรียนรู้อยหู่ ลายแบบ แบบหนงึ่ ท่ีนิยมใช้กนั คอื
Human Information Processing Model แบบจําลองนีม้ ีผ้อู อกแบบไว้หลายทา่ น และหลายสาขาวชิ า เชน่
ในทางการแพทย์จะมี การศกึ ษาแบบจําลองนีส้ มั พนั ธ์กบั ลกั ษณะทางกายวิภาค เพื่อศกึ ษาวา่ สมองสว่ นใด
ทําหน้าทีใดตามแบบจําลอง หรือในทางวทิ ยาศาสตร์จะเป็นการศกึ ษาเชิงทดลอง เพื่อแสดงให้เหน็ ผลการ
ทํางานของแบบจําลอง เป็นต้น

ปัจจบุ นั ยงั ไมม่ ีแบบจําลองที่สมบรู ณ์ที่สดุ แตเ่ ป็นแนวคดิ ท่ีได้รับการยอมรับ ในการศกึ ษาค้นคว้า
มากแนวหนง่ึ มีนกั วิชาการหลายทา่ นได้นําเอาแบบจําลองนี ้ มาใช้ในการศกึ ษาเพ่ือหากลไกการเกิดปัญหา
ในผ้ปู ่ วย ASD โดยแตล่ ะคนก็ใช้แบบจําลองตา่ ง ๆ กนั ไป

ในบทนีจ้ ะนําเสนอแบบจําลองอยา่ งกว้าง ๆ โดยปรับให้เข้าใจง่าย เพื่ออธิบายกลไกการเกิดปัญหา
ทางพฤตกิ รรมและแนวทางแก้ไข

Human Information Processing Model (24, 25)
เป็นแนวคดิ ในการสร้างแบบจําลอง การคดิ (ประมวลผลข้อมลู ) ของสมองคน โดยเปรียบเทียบการ

ทํางานของสมอง กบั การทํางานของคอมพิวเตอร์ ซง่ึ เป็นองคค์ วามรู้ท่ี นกั มีนกั วชิ าการหลายด้านเข้ามามี
บทบาทในการศกึ ษา แบบจําลองที่สร้างขนึ ้ มีหลายแบบ แตจ่ ะมีพืน้ ฐานเหมือนกนั คอื จําลองการทํางาน
ของสมองเป็นกลไก ง่าย ๆ 4 สว่ น

14

1. Input คือ สว่ นรับข้อมลู ถ้าเป็นคอมพิวเตอร์ก็ คือ แป้ นพิมพ์หรือเมาส์ สําหรับในคน จะเป็ นการ
ทํางานของประสาทสมั ผสั ทงั้ หมด คอื ทาง ตา หู จมกู ปาก ลิน้ และ ผิวหนงั ประสาทสมั ผสั จะทําหน้าท่ีรับ
ข้อมลู เข้ามาในสมอง

2. Working memory ซงึ่ มีอีกหลายชื่อ เชน่ immediate memory , primary memory, buffer
memory เพื่อเข้าใจง่ายจะเรียกวา่ ความคดิ (แม้ในภาษาองั กฤษจะใช้คําวา่ memory) เป็นสว่ นท่ีทําหน้าท่ี
ประมวลผลข้อมลู ในเวลาสนั้ ๆ กอ่ นนําไปเก็บไว้เป็นความจํา

3. Storage memory คือ สว่ นความจํา ทําหน้าท่ีเก็บความจําไว้ สามารถแบง่ ได้เป็น 2 แบบ คอื
explicit memory (declarative memory) กบั implicit memory (non-declarative memory, procedural
memory) ซงึ่ มีความแตกตา่ งกนั ดงั นี ้

3.1 Explicit memory เป็นชดุ ความจํา หรือความรู้ท่ีคนคนนนั้ รู้ตวั ขณะทํางาน ความจํานี ้
ทํางานในระดบั conscious awarenessคนเราจะรับรู้และสามารถถ่ายทอดเป็นคําพดู ให้ผ้อู ่ืนเข้าใจได้ แยก
เป็น 2 สว่ น คอื episodic memory และ semantic memory

3.1.1 Episodic memory หมายถึง ความจําท่ีเป็น ข้อมลู ดบิ หรือเหตกุ ารณ์จริง
เมื่อทบทวนก็นําข้อมลู ออกมาได้ เชน่ หากถกู ถามวา่ เมื่อวานกินข้าวกบั อะไร สมองก็ทบทวนย้อนไปยงั เมื่อ
วานก็สามารถบอกชื่ออาหารได้

3.1.2 Semantic memory ทําหน้าที่ให้ข้อเท็จจริง สาระหรือคําจํากดั ความของ
ข้อมลู ,ข้อคดิ เหน็ และประสบการเรียนรู้ตา่ ง ๆ เป็นภาษา เชน่ ถ้าถกู ถามวา่ อาหารคอื อะไร ก็จะใช้สว่ นนี ้
ทํางาน

3.2 Implicit memory (nondeclarative) หมายถงึ ชดุ ความรู้ หรือความจําท่ีอยนู่ อกเหนือ
การรับรู้หรือไมส่ ามารถถ่ายทอดเป็นคาํ พดู ได้ เชน่ การเรียนรู้แบบ classic condition, operant condition
ทกั ษะ ทา่ ทาง แม้กระทง่ั กระบวนการที่เกิดกบั จิตใต้สํานกึ (unconscious) ตามหลกั ทางจติ วิเคราะห์ บาง
ทีก็มีผ้จู ดั ไว้ในสว่ นนี ้

4. Output คือ การแสดงออกซง่ึ ทําได้สองทาง คือ การกระทํา และวาจา การแสดงออกทงั้ สอง แบบ
อาศยั การทํางานของ motor system

15

Human Information Processing Model กบั การพฒั นาสติปัญญาของเดก็
แบบจําลองตาม Human Information Processing Model นีเ้ป็นแบบจําลองที่พฒั นาเพื่ออธิบาย
การทํางานของสมองที่เตบิ โตสมบรู ณ์แล้ว ยงั ไมไ่ ด้นํามาอธิบายในการพฒั นาทางความคดิ ของเดก็ ซง่ึ ใน
เร่ืองของเดก็ นี ้Jean Piaget ได้สร้างทฤษฏีพฒั นาการทางสตปิ ัญญา ท่ีเป็นที่ยอมรับและใช้กนั จนถึงขณะนี ้
แนวคดิ ของ Piaget นนั้ มีสว่ นคล้ายคลงึ กบั การประมวลผลข้อมลู อยู่ แตเ่ นื่องจากเขาได้ศกึ ษาก่อนที่จะเกิด
การพฒั นาคอมพวิ เตอร์ขนึ ้ จงึ ไมไ่ ด้ใช้คาํ ศพั ท์ทางด้านการจดั การข้อมลู เหมือนกบั Human Information
Process Model

ตามทฤษฏีของ Piaget (26) การพฒั นาทางสตปิ ัญญาของคน จะมีสิง่ สําคญั อยู่ 4 อยา่ ง คอื

Schema ตามความหมายของ Piaget จะมีลกั ษณะเหมือนแฟ้ มข้อมลู หรือข้อสรุปหนง่ึ ที่ส่ิงมีชีวติ
ได้จากประสบการณ์ แล้วเก็บไว้ จากนนั้ พอเกิดประสบการณ์ใหม่ สมองก็จะนําข้อมลู ใหมม่ าเทียบเคียงกบั
schema เดมิ ถ้าเหมือนกนั ก็เก็บไว้ในแฟ้ มเดียวกนั ถ้าไมเ่ หมือนหรือแฟ้ มมีขนาดใหญ่มากก็มีการจดั การ
คือ ขยายขนาดของ schema เดมิ หรือจดั schema ใหม่

Adaptation หมายถึง การท่ีคน ทํางานกบั schema จะเหมือนเราจดั ข้อมลู ในระบบคอมพวิ เตอร์
โดยเอาข้อมลู ท่ีเหมือนกนั ไว้แฟ้ มเดยี วกนั พอแฟ้ มใหญ่ขนึ ้ ก็จดั หมวดหมแู่ ฟ้ มใหม่การเอาข้อมลู ที่เหมือนกนั
ไว้ด้วยกนั Piaget เรียกวา่ assimilation สว่ นการจดั หมวดหมใู่ หม่ เรียกวา่ accommodation

Organization คือ ในสมองคนจะมีการจดั ข้อมลู อยา่ งเป็นระบบเป็นหมวดหมู่ มีลําดบั ความสําคญั
ลกั ษณะจะคล้ายการจดั หมวดหมขู่ อง แฟ้ มข้อมลู ในทางคอมพวิ เตอร์

Equilibrium เป็นคาํ จํากดั ความเพ่ืออธิบายวา่ ทําไมความคดิ ของเดก็ จงึ ต้องพฒั นาไปสขู่ นั้ ตอน
ตอ่ ไป โดย Piaget เหน็ วา่ เมื่อเดก็ โตขนึ ้ ข้อมลู หรือบทเรียนเดมิ จะไมส่ ามารถอธิบายประสบการณ์ใหมไ่ ด้
สมองจะต้องยกระดบั ความสามารถเข้าสกู่ ารคดิ อีกระดบั หนง่ึ เชน่ ในระยะการใช้เหตผุ ลอยา่ งเป็นรูปธรรม
(concrete operation) เมื่อเดก็ โตขนึ ้ การคดิ อยา่ งเป็นรูปธรรม อยา่ งเดียวทําให้ไมเ่ ข้าใจประสบการณ์บาง
เร่ืองซง่ึ มองอีกมมุ หนง่ึ คอื การเสีย equilibrium จงึ ต้องยกระดบั ความคดิ ขนึ ้ เป็นความเข้าใจแบบนามธรรม
เป็ นต้น

ตามทฤษฏี ของ Piaget นนั้ การพฒั นาสตปิ ัญญาระยะ sensory–motor ซงึ่ เร่ิมตงั้ แตแ่ รกเกิดถึง
อายสุ องปี เป็นระยะที่ Piaget ถือวา่ เดก็ มีการใช้สตปิ ัญญาแล้ว เรียกปัญญาในระดบั นีว้ า่ sensory-motor

16

intelligence ซง่ึ จะมีธรรมชาตกิ ารรับและจดั การข้อมลู เหมือน implicit memory การเรียนรู้ด้วย sensory-
motor intelligence นี ้จะคล้ายกบั การเรียนรู้ของ ผ้ปู ่ วย ASD ที่เรียนรู้จากภาพ (visual learner)

เม่ือเข้าสรู่ ะยะ preoperation นนั้ เป็นระยะที่เริ่มมีภาษา Piaget จะเรียกการใช้สตปิ ัญญาในระยะ
นีว้ า่ conceptual intelligence นบั เป็นการยกระดบั ความคดิ เป็นครัง้ แรก โดยถือการมีภาษาเป็นกญุ แจอนั
สําคญั ที่ทําให้เดก็ เรียนรู้ ความรู้ และเข้าใจประสบการณ์ใหม่ ๆ ท่ีไมส่ ามารถเรียนรู้ได้จากการมอง ต้องใช้
อธิบายเป็นภาษาจงึ จะเข้าใจ

เมื่อนําแนวคดิ ของ Piaget มาประกอบกบั Human Information Processing Model จะเหน็ วา่
sensory-motor intelligence จะมีลกั ษณะเหมือน implicit memory สว่ น conceptual intelligence จะมี
ลกั ษณะเหมือน explicit memory และเมื่อพิจารณาตามชว่ งอายตุ ามพฒั นาการ จะเหน็ วา่ การทํางานของ
ทงั้ สองสว่ นจะทํางานไมพ่ ร้อมกนั โดย explicit memory จะเริ่มทํางานช้ากวา่ implicit memory และมีการ
พฒั นาภาษาจะเป็นจดุ เปลี่ยนท่ีสําคญั

17

บทท่ี 3 หลักการพนื้ ฐานในการปรับพฤตกิ รรม

การปรับพฤตกิ รรมระหวา่ งคนกบั คนนนั้ เป็นสิ่งที่นกั วิชาการทงั้ ทางจิตเวช และพฤตกิ รรมศาสตร์
เหน็ วา่ มีมานานแล้วเพราะใช้ชีวติ ร่วมกนั ของมนษุ ย์ จะมีการกระทําท่ีสง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมของอีกคนหนงึ่ อยู่
เสมอทงั้ เจตนาและไมเ่ จตนา การพฒั นาความรู้นี ้ ด้วยวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์นนั้ มีมาไมน่ านนกั แตก่ ็เป็น
หลกั วชิ าที่ได้รับความนิยมมาก มีการนําไปใช้ในหลายวงการในบทนีจ้ ะนําเสนอความเป็นมาของการศกึ ษา
พฤตกิ รรมมนษุ ย์ และขนั้ ตอนในการปฏิบตั ติ ามหลกั การทางพฤตกิ รรมศาสตร์เพ่ือความเข้าใจในเบอื ้ งต้น

ความเป็ นมา
การศกึ ษา เพ่ือเข้าใจพฤตกิ รรมของมนษุ ย์นนั้ เป็นการทํางานตอ่ เน่ืองของนกั วชิ าการหลายสาขา

นกั วิชาการเหลา่ นีไ้ ด้ทําการศกึ ษาค้นคว้า และพฒั นาทฤษฎี หรือแนวคดิ ขนึ ้ มาหลายทฤษฏี ได้แก่

แนวคดิ ทางชีวภาพ เป็นการศกึ ษาท่ีพบวา่ พฤตกิ รรมของส่งิ มีชีวิตรวมทงั้ มนษุ ย์นนั้ มีพฤตกิ รรม
บางชดุ ที่ธรรมชาตกิ ําหนดให้เกิดอยแู่ ล้ว การมีพฤตกิ รรมเหลา่ นีเ้ป็นผลจากธรรมชาตโิ ดยตรง ไมเ่ กี่ยวข้อง
กบั การเรียนรู้ เชน่ การศกึ ษาของ Konrad Lorenz , Karl von Frisch และ Nikolaas Tinbergen ท่ีได้รับ
รางวลั โนเบลในสาขา Physiology or Medicine เม่ือปี ค.ศ.1973(27) หรือ การศกึ ษาเรื่อง attachment ของ
John Bowlby และการศกึ ษาเรื่อง Temperament ของ Thomas และ Chess ตอ่ มาเมื่อเทคโนโลยีทางการ
ศกึ ษาพนั ธุศาสตร์ก้าวหน้าขนึ ้ ทําให้พบเพ่ิมขนึ ้ อีกวา่ พฤตกิ รรมบางอยา่ งก็อาจจะเกิดจากพนั ธกุ รรมได้ด้วย

แนวคดิ ทางจติ วิเคราะห์ เร่ิมจากการศกึ ษาของ Sigmund Freud ท่ีแสดงให้เหน็ วา่ พฤตกิ รรมของ
คนนนั้ มีบางพฤตกิ รรม ที่เกิดจากปมปัญหาจิตใจในอดตี ซงึ่ ถกู เก็บไว้ในจิตใต้สํานกึ นกั วชิ าการในแนวนีไ้ ด้
พฒั นาความรู้จนกลายมาเป็นหลักการสําคญั ทางจติ เวชและจติ วิทยาท่ีแม้จะลดความนิยมลง แตก่ ็ยงั ใช้กนั
อยถู่ ึงปัจจบุ นั

แนวคดิ ทางสตปิ ัญญา จากการศกึ ษาของ Jean Piaget ที่ได้สงั เกตพฤตกิ รรมของบตุ รตวั เอง และ
ตอ่ มาได้ทําการศกึ ษาโดยการสงั เกตพฤตกิ รรมและการทดลองกบั เดก็ เพื่อตอบคาํ ถามวา่ เดก็ คดิ ได้อยา่ งไร
จนในท่ีสดุ สามารถสร้างเป็น ทฤษฏีพฒั นาการทางสตปิ ัญญา (cognitive development theory) ที่สรุปวา่
เดก็ แตล่ ะวยั มีกระบวนการคดิ หรือความคดิ ท่ีแตกตา่ งกนั และความคิดนนั้ จะเป็นตวั กําหนดพฤตกิ รรมของ
วยั นนั ้ ๆ อีกทีหนง่ึ (26,28)

18

แนวคดิ ทางพฤตกิ รรมศาสตร์ (behavior theory) เป็นอีกแนวคดิ หนงึ่ ที่มีการพฒั นาอยา่ งเป็น
ระบบด้วยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ และแสดงผลด้วยการทดลองเริ่มต้นในราว ปี ค.ศ. 1900 จากผลงานที่
ได้รับรางวลั โนเบล ของ Ivan Petrovich Pavlov นกั วทิ ยาศาสตร์ชาวรัสเซีย ที่ได้แสดงการทดลองให้เหน็
ปรากฏการณ์ที่มีช่ือเรียกในภายหลงั วา่ classical condition และมีนกั วชิ าการคนสําคญั อีกคนหนงึ่ คือ
Burrhus Frederic Skinner ที่ได้พฒั นาหลกั การ operant condition แนวคดิ นีเ้ป็นแนวคดิ ที่ได้รับความ
นิยมมากในปัจจบุ นั และมีการนําไปใช้ในหลายวงการ เชน่ วงการจิตเวช,การศกึ ษา, การบริหาร เป็นต้น (29)

ในสว่ นท่ีเก่ียวข้องกบั ผ้ปู ่ วย ASD นนั้ ระยะแรกแนวคดิ ด้านจติ วิเคราะห์ซงึ่ เป็นที่นยิ มในชว่ งเวลา
นนั้ จะมีบทบาทในการให้คําอธิบายพยาธิสภาพ และพยาธิกําเนิด เชน่ ความเช่ือเร่ืองความเฉยเมยของพอ่
แม่ เป็นต้น ในระยะตอ่ มาเมื่อแนวคดิ ทางพฤตกิ รรมศาสตร์ได้รับความสนใจ จงึ เกิดการพฒั นาวิธีการรักษา
ด้วยการปรับพฤตกิ รรมที่เรียกวา่ Apply Behavior Analysis (ABA) จนในท่ีสดุ ก็ได้รับการพสิ จู น์วา่ เป็นการ
รักษาท่ีได้ผลในระดบั หนง่ึ ระยะหลงั เมื่อมีความรู้ทางชีววิทยามากขนึ ้ ก็มีการใช้กระบวนการทางชีวภาพ
เชน่ พฒั นาการใช้ยาหรือฮอร์โมนเพื่อพฒั นาพฤตกิ รรมหรือทกั ษะบางอยา่ ง (30,31)

ขัน้ ตอนในการดาเนินการ
ขนั้ ตอนและเทคนคิ ท่ีนําเสนอในหนงั สือนีจ้ ะเป็นหลกั การกว้าง ๆ ในทางพฤตกิ รรม ซง่ึ มีแนวทาง

หลายแนว ในแนวนีเ้ป็นหลกั การและแนวปฏิบตั ิท่ีนํามาใช้กบั ผ้ปู ่ วย ASD แล้วได้ผลดี สําหรับในเดก็ ปกติ
หรือในความผิดปกตอิ ื่น อาจจะต้องใช้แนวทางตา่ งออกไป

ขัน้ ตอน

เน่ืองจากทฤษฏีทางพฤตกิ รรมศาสตร์นี ้ เริ่มศกึ ษาค้นคว้าในสตั ว์ทดลอง กอ่ นนํามาใช้ในคน และ
ผ้พู ฒั นาความรู้ในระยะเริ่มต้น จะเป็นนกั วิทยาศาสตร์ กระบวนการที่นํามาปรับใช้ในคน จงึ ใช้ขนั้ ตอนทาง
วิทยาศาสตร์ซงึ่ นบั เป็นจดุ เดน่ ท่ีทําให้วงการจติ เวชและจิตวทิ ยา มีความนยิ มหลกั การทางพฤตกิ รรมศาสตร์
มากกวา่ จิตวเิ คราะห์ที่เคยใช้กนั มา ขนั้ ตอนที่ใช้ในการปรับพฤตกิ รรมจงึ เป็นขนั้ ตอนทางวทิ ยาศาสตร์ทว่ั ๆ
ไป ประกอบด้วย

1. การเก็บข้อมลู

2. การวเิ คราะห์

19

3. การวางแผนและแก้ไข

4. การประเมินผล

1. การเก็บข้อมูล การเก็บข้อมลู มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อรวบรวมข้อมลู นํามาแยกแยะประเดน็ ปัญหา,
วิเคราะห์เพ่ือตงั้ สมมตฐิ านอธิบายที่มาของพฤตกิ รรม หรือหาแนวทางแก้ไข

1.1 ข้อมลู ที่จําเป็น

ข้อมลู ที่จําเป็นต้องรวบรวมเพื่อดําเนนิ การตามวตั ถปุ ระสงค์ ประกอบด้วย ข้อมลู ด้านพฤตกิ รรม
,สภาพแวดล้อม และองคป์ ระกอบอ่ืน

1.1.1 ข้อมลู ด้านพฤตกิ รรม ข้อมลู ด้านพฤตกิ รรมนนั้ จะต้องเป็นพฤตกิ รรมท่ีเป็นรูปธรรม
เป็นการกระทํา ท่ีเหน็ ชดั วดั ได้ ข้อมลู ใด ๆ ที่ไมเ่ ป็นการกระทํา เชน่ ความนมุ่ นวล,ความคดิ หรืออารมณ์ของ
ผ้ปู ่ วย จะไมน่ บั เป็นพฤตกิ รรม การซกั ประวตั ิ จะต้องเหน็ ภาพการกระทําที่ชดั เจน เชน่ กดั ตบ หรือ ตี หาก
เป็นภาพกว้าง ๆ เชน่ ก้าวร้าว จะทําให้ไมไ่ ด้สว่ นสําคญั เพราะคําวา่ ก้าวร้าวนนั้ ยงั ไมส่ ามารถนกึ ภาพของ
การกระทําท่ีชดั เจนได้ พฤตกิ รรมท่ีเรียกวา่ ก้าวร้าว ของผ้ปู ่ วย ASD หรือเดก็ ปกติ นนั้ แสดงได้หลายแบบใน
การเก็บข้อมลู นนั้ ต้องได้ การกระทําที่ชดั เจน หากเป็นเรื่องการสื่อสาร หรือการใช้ภาษาก็ควรได้ข้อมลู ท่ีครบ
ถงึ ระดบั วา่ ใครพดู อะไร กบั ใคร อยา่ งไร ข้อมลู เหลา่ นีจ้ ะเป็นประโยชน์ในการวเิ คราะห์ตอ่ ไป

1.1.2 ข้อมลู ด้านสภาพแวดล้อม เป็นข้อมลู ท่ีทําให้เหน็ วา่ สถานการณ์ขณะนนั้ เป็นอยา่ งไร
ใครทําอะไร หรือมีอะไรเป็นตวั กระต้นุ ก่อนที่ผ้ปู ่ วยจะเกิดพฤตกิ รรม ข้อมลู เหลา่ นีช้ ว่ ยให้เห็นเง่ือนไข ที่
อาจจะเป็นสาเหตขุ องพฤตกิ รรมนนั้ ๆ

1.1.3 องค์ประกอบอื่นของพฤตกิ รรม เชน่ ความนมุ่ นวล ความดงั ของเสียง สีหน้า ทา่ ทาง
แม้จะไมใ่ ชก่ ารกระทําแตก่ ็จะทํา ให้เหน็ รายละเอียดเชงิ คณุ ภาพของพฤตกิ รรม ซง่ึ อาจจะเป็นสว่ นหนง่ึ ใน
แผนการปรับ เชน่ เมื่อผ้ปู ่ วยโกรธ จะกรีดร้องด้วยเสียงแหลมและดงั เม่ือปรับจนเกิดการร้องไห้สะอกึ สะอืน้
แทนการกรีดร้อง ก็จะเป็นการแสดงความโกรธด้วยพฤตกิ รรมลกั ษณะเดียวกบั เดมิ คื อ มีการใช้เสียง แสดง
ความไมพ่ อใจ (verbal expression) แตม่ ีคณุ ภาพดีกวา่ เดมิ เป็นต้น

1.2 วิธีการเก็บข้อมลู

20

1.2.1 การสงั เกตพฤตกิ รรมในสถานการณ์จริง ถือเป็นการเก็บข้อมลู ทางตรง วธิ ีนีจ้ ะทําให้
ผ้รู ักษา (หรือผ้สู งั เกตในกรณีท่ีเป็นงานทางวิทยาศาสตร์) ได้ข้อมลู ที่ครบถ้วนสมบรู ณ์ ทงั้ นีเ้พราะพฤตกิ รรม
ของคนเราในสถานที่ตา่ งกนั ก็มีความแตกต่างกนั การสงั เกตในสถานการณ์จริงจงึ ดีท่ีสดุ เชน่ การเยี่ยมบ้าน
หรือโรงเรียนเพื่อดวู า่ เกิดอะไรขนึ ้ ในสภาพจริง

1.2.2 การสงั เกตพฤตกิ รรมในสถานการณ์ท่ีคล้ายคลงึ ถือเป็นการเก็บข้อมลู ทางอ้อมทํา
ได้ ขณะอยใู่ นห้องตรวจหรือห้องฝึก เชน่ เม่ือผ้ปู ่ วยไปเลน่ อา่ งล้างมือ ผ้รู ักษาอาจจะบอกให้แมห่ ้ามผ้ปู ่ วย
เพื่อดวู า่ พอ่ แมห่ ้ามอยา่ งไร ผ้ปู ่ วยตอบสนองอยา่ งไร หรือให้พอ่ แมเ่ ลน่ กบั ลกู ให้ดู การใช้วิธีนีจ้ ะเห็นฉาก
การกระทําซง่ึ จะมีทงั้ พฤตกิ รรมของพ่อแมแ่ ละลกู อยดู่ ้วยกนั ทําให้ประเมินได้วา่ ขณะอยบู่ ้านในสถานการณ์
จริง เมื่อมีการห้ามปรามหรือเลน่ ด้วยกนั จะมีพฤตกิ รรมอยา่ งไร

1.2.3 การซกั ประวตั ิ เป็นการดาํ เนนิ การเชน่ เดียวกบั การซกั ประวตั โิ ดยทว่ั ไป ข้อจํากดั ของ
การซกั ประวตั ิ คือเม่ือซกั ถามในรายละเอียดของพฤตกิ รรมพอ่ แมห่ รือคนเลีย้ งมกั จะจํารายละเอียดไมไ่ ด้ทํา
ให้ขาดสว่ นสําคญั ไปเสมอ

1.2.4 การใช้แบบสอบถาม นิยมใช้ในการวิจยั และอาจจะใช้ในการดแู ลได้ แตม่ ีข้อเสีย คือ
จะไมไ่ ด้รายละเอียดมกั จะได้ภาพกว้าง ๆ แตส่ ามารถประเมนิ เชงิ ปริมาณได้ดี เชน่ ทําบอ่ ย ๆ ไมค่ อ่ ยได้ทํา
เป็ นต้น

1.2.5 การบนั ทกึ พฤตกิ รรมเป็น การบนั ทกึ ผลการสงั เกตหรือ การฝึกของพอ่ แม่แทนการ
สงั เกตโดยผ้รู ักษา วธิ ีนีจ้ ะได้ผลดถี ้าทําทกุ วนั เพราะ จะได้ข้อมลู ที่ถกู ต้องมากกวา่ จํามาเลา่ และสามารถ
ออกแบบได้หลายแบบตามวตั ถปุ ระสงค์ที่ผ้รู ักษาต้องการ

ตัวอย่างการบันทกึ พฤตกิ รรม

ตวั อยา่ งท่ี 1 เป็นแบบบนั ทกึ พฤตกิ รรมท่ีออกแบบโดย ศ.พญ.เพญ็ แข ลม่ิ ศลิ า ใช้ในการฝึกนําเดก็
ออกจากโลกของตวั เอง ของรพ.ยวุ ประสาทไวทโยปถมั ภ์(32) ท่ีดาํ เนินการตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2532แบบบนั ทกึ นีม้ ี
ข้อกําหนดให้ พอ่ แมฝ่ ึกลกู ด้วยกิจกรรมตามท่ีรพ.กําหนด เชน่ สอนคําวา่ การแบมือขอ แล้วแยกการบนั ทกึ
การตอบสนองของผ้ปู ่ วยเป็น 3 ลกั ษณะ คือ ทําได้เอง, ต้องชว่ ยจบั , ทําไมไ่ ด้ เป็นเครื่องหมาย ถกู สองอนั
หนงึ่ อนั และเครื่องหมายผดิ ตามลําดบั จากนนั้ ให้ระบายสีแยกกนั จากตวั อยา่ งจะเหน็ วา่ การบนั ทกึ แบบนี ้
ผ้รู ักษาจะทราบความคบื หน้า ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่ต้องการได้

21

ตวั อยา่ งท่ี 1

22

ตวั อยา่ งท่ี 1

23

ตวั อยา่ งท่ี 1

24

ตวั อยา่ งท่ี 1

25

ตวั อยา่ งที่ 2 เป็นแบบบนั ทกึ พฤตกิ รรมท่ีออกแบบตามวตั ถปุ ระสงค์เฉพาะเพ่ือตดิ ตามและประเมนิ
ระยะเวลาการมีสมาธิในการฝึก จากตวั อยา่ งจะเหน็ วา่ แตล่ ะวนั พอ่ แมฝ่ ึกกิจกรรมอะไรกบั ลกู บ้าง วนั ละก่ี
กิจกรรม เวลาโดยรวมที่มีสมาธิร่วมกนั เป็นกี่นาที ทําให้ทราบถึงความก้าวหน้าในการเรียนรู้ และ
ความสามารถในการมีสมาธิ

ตวั อยา่ ง
10 ก.พ. 2552
แม่ฝึกพดู สนทนาตามธรรมชาติ ถามชื่อเล่น ตอบได้ ถามชื่อจริง ตอบได้ ถามนอนทีโ่ รงเรียนมย๊ั
ไม่ตอบ ถามกินขา้ วกบั อะไร ตอบแกงจืด (ตอบแกงจืดทกุ วนั ไม่ว่าจะกินหรือไม่)
การฝึ ก
เขียน 1,2,3,4 ทาไดร้ ่วมมือดี ตอ้ งประคองมือ ไม่ค่อยมีสมาธิตอ้ งเตือนบ่อย ๆ
เขียน A-Z ทาได้ ถกู หมด ไม่ตอ้ งประคองมือชอบทา มีสมาธิดี
ชีบ้ ตั รภาพสตั ว์ ตามแม่บอก ชีไ้ ดถ้ ูกตอ้ งแม้ตวั สตั ว์คลา้ ยกนั เป็ด กบั ไก่
ร้อยลกู ปัด นงั่ ทาไดต้ ลอด แต่การทางานของมือยงั ไม่คล่อง
รวมเวลาฝึก 40 นาที
หมายเหตุ ช่วงแรกยงั ไม่ค่อยยอมทาตาม ยงั พดู เพอ้ เจ้อเรื่องทีส่ นใจไม่ค่อยสนใจทีแ่ ม่จะสอน

ตวั อยา่ งท่ี 3 เป็นการบนั ทกึ แบบบนั ทกึ ประจําวนั เพ่ือวเิ คราะห์ให้ทราบวา่ ขณะนีผ้ ้ปู ่ วย มีความคดิ
อา่ น หรือมีความเข้าใจสิง่ รอบตวั อยา่ งไร เป็นความเข้าใจจากคําสง่ั หรือภาษาท่ีพอ่ แมส่ ื่อสาร หรือจําได้
จากที่ทําเป็ นประจํา

ตวั อยา่ ง
วนั ที่ 22 ก.พ. 2553

26

วนั นีน้ อ้ งกลบั จากโรงเรียน อาบน้ากินขา้ วไดเ้ อง กินได้ 3 คา ไม่ยอมกิน แม่บงั คบั ใหก้ ินเอง เห็น
แว่นตาวางบนโต๊ะ นอ้ งถามว่า “อะไร” แม่ตอบว่า “แว่นตา” นอ้ งหยิบมาใส่ดู แม่บอกว่า “ใส่ไม่ได”้ นอ้ งไม่
ดือ้ ยอมวางโดยดี ตอนค่า เข้ามากอดแม่เอาแก้มชนแก้มแม่ แม่คิดว่าคงอยากหอม เลยบอกว่า “หอม เอา
จมูกชนแก้ม” แลว้ ทาใหด้ ู นอ้ งเขา้ ใจดี

ตวั อยา่ งท่ี 4 เป็นการบนั ทกึ คาํ พดู เป็นการบนั ทกึ เพ่ือวเิ คราะห์รูปแบบการใช้ภาษาและการส่ือสาร
รวมถึงความเข้าใจภาษาของผ้ปู ่ วย การบนั ทกึ แบบที่ 3 และ 4 นนั้ ดดั แปลงจากการบนั ทกึ แบบเดียวกบั ที่
Jean Piaget ใช้ในการศกึ ษาพฒั นาการทางสตปิ ัญญาในเดก็

ตวั อยา่ ง

คาพดู ความหมาย

นน่ั อะไร หลอดไฟ ถามเองตอบเอง พดู บ่อยมาก

ติดพลาสเตอร์ เป็นแผลเอามาใหแ้ ม่ดู

ติดพลาสเตอร์ เห็นผนงั เป็นรอยร้าว

ปวดฉี่ ปวดฉี่จริง ถอดกางเกงในหา้ งเลย

นอ้ งปวดอึ ปวดอึจริงมย๊ั พดู ตอนปวดอึ สองประโยคต่อกนั

อนงึ่ การนําการบนั ทกึ พฤตกิ รรมมาใช้กบั ผ้ปู ่ วย ASD นนั้ นอกจากจะมีผลตอ่ ข้อมลู เชงิ พฤตกิ รรม
ของผ้ปู ่ วยแล้ว ยงั มีผลตอ่ พฤตกิ รรมของพอ่ แมด่ ้วย คอื ในขณะที่พอ่ แมไ่ ด้รับการบ้านเป็นกิจกรรมไปฝึกลกู
ท่ีบ้าน แล้วต้องบนั ทกึ ผลการฝึก หรือได้รับการบ้านให้สงั เกตลกู พอ่ แมจ่ ะต้องปฏิบตั ิ หากไมไ่ ด้ปฏิบัตกิ ็จะ
ไมส่ ามารถบนั ทกึ ข้อมลู ได้ผลทางอ้อมนีจ้ ะเหมือนเป็นตวั เตือนให้พอ่ แม่ ทราบวา่ วนั นีย้ งั ไมไ่ ด้ฝึก หรือไมไ่ ด้
ใกล้ชดิ ลกู เลย ซงึ่ ในกรณีของผ้ปู ่ วย ASD นนั้ หากไมม่ ีตวั เตอื นนี ้ ด้วยพฤตกิ รรมแยกตวั และอยคู่ นเดยี วได้
นาน ๆ ของเดก็ จะทําให้ในท่ีสดุ พอ่ แมก่ ็หา่ งจากลกู ไปเอง

27

2.การวเิ คราะห์
เมื่อได้ข้อมลู แล้วก็สามารถนําข้อมลู มาวเิ คราะห์เพ่ือวางแผนการแก้ไขได้ โดยในการวิเคราะห์นนั้
จะต้องกําหนดวตั ถปุ ระสงค์ พฤตกิ รรมเป้ าหมายและวิเคราะห์เพื่อตงั้ สมมตฐิ านถึงสาเหตุ และกลไกการ
เกิดหรือการคงอยขู่ องพฤตกิ รรม

2.1 วตั ถปุ ระสงค์ โดยทว่ั ไปวตั ถปุ ระสงค์ในการปรับพฤตกิ รรมมี 3 ประการ คอื

2.1.1 การเพิม่ หรือลดปริมาณพฤตกิ รรม เชน่ ลดจํานวนครัง้ ของการกรีดร้องเพิ่มจํานวน
ครัง้ ของการยกมือไหว้ขอบคณุ เมื่อได้ของ

2.1.2 การปรับพฤตกิ รรมให้มีคณุ ภาพดีขนึ ้ เชน่ พฒั นาจากการรับของเฉย ๆ เป็นยกมือ
ไหว้เม่ือได้ของ

2.1.3 การสร้างพฤตกิ รรมใหม่ เป็นการสร้างพฤตกิ รรมท่ียงั ไมเ่ คยมี เชน่ การหดั ยืน การ
หดั ให้ออกเสียงเป็นคํา การสอนคาํ ใหม่ การสอนการตอบคาํ ถาม

2.2 พฤตกิ รรมเป้ าหมาย ไมจ่ ําเป็นต้องเป็นพฤตกิ รรมที่เป็นปัญหา พฤตกิ รรมทุกอยา่ งสามารถนํา
มาปรับได้ ขนึ ้ กบั วตั ถปุ ระสงคข์ องผ้ปู รับหรือแม้แตพ่ ฤตกิ รรมที่ควรจะมีแตย่ งั ไมม่ ีก็สามารถสร้างให้เกิดขนึ ้
ได้ การที่ต้องกําหนดพฤตกิ รรมเป้ าหมาย เพ่ือให้การวางแผนมีความชดั เจน และไมเ่ กิดความสบั สนในการ
ประเมินผล หากไมม่ ีการกําหนดไว้ก่อนมกั จะเกิดความสบั สนในภายหลงั เพราะพฤตกิ รรมท่ีผ้ปู ่ วยแสดงใน
แตล่ ะวนั จะมีจํานวนมาก ในเดก็ ที่มีปัญหาพอ่ แมก่ ็มกั จะเห็นเป็นปัญหาไปหมด

2.3 การวเิ คราะห์ การวเิ คราะห์มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือ สร้างสมมตฐิ านวา่ พฤตกิ รรมนนั้ เกิดจากอะไร
หรือคงอยเู่ พราะอะไร เพ่ือจะได้วางแผนจดั การให้พฤตกิ รรมให้เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ แบบจําลองท่ีใช้ใน
การวเิ คราะห์พฤตกิ รรม โดยทว่ั ไปจะมี 3 แบบคอื

2.3.1 SR (Stimulus-Response) เป็นแบบจําลองจาก classic condition ที่ถือวา่ สงิ่ เร้า
เป็นต้นเหตขุ องการเกิดพฤตกิ รรม

2.3.2 SRC(Stimulus-Response-Consequences) หรือ ABC (Antecedents- Behavior
-Consequences) แบบจําลองนีจ้ ะอธิบายพฤตกิ รรมจาก การมีสิ่งเร้าทําให้เกิดพฤตกิ รรม และพฤตกิ รรม
ทําให้เกิดผล ผลของการกระทํานนั้ จะย้อนกลบั ไปทําให้พฤตกิ รรมคงอยหู่ รือหายไป

28

2.2.3 SORC (Stimulus – Organism – Response – Consequences ) หรือ AOBC
(Antecedents-Operation-Behavior-Consequences) คาํ วา่ organism ในแบบจําลองนีห้ มายถงึ ความ
แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ที่จะมีปฏิกิริยาตอบสนองตอ่ สง่ิ เร้า ไมเ่ หมือนกนั สว่ นคาํ วา่ operation หมายถึง
mental operation มีสองสว่ น คือ ความคดิ (thinking) และอารมณ์ (emotion) ซง่ึ ขนึ ้ กบั ประสบการณ์การ
เรียนรู้ของแตล่ ะคน แบบจําลองนี ้จงึ ตา่ งจากสองแบบแรกเล็กน้อย

SR (Stimulus-Response)

SRC (Stimulus-Response-Consequences),หรือ
ABC (Antecedents-Behavior-Consequences)

29

SORC (Stimulus-Organism-Response-Consequences) หรือ
AOBC (Antecedents-Operation-Behavior-Consequences)

30

เทคนคิ การวเิ คราะห์โดยแบบจําลองเหลา่ นี ้ ในบางครัง้ จะมีคําอธิบายหรือชื่อยอ่ ที่แตกตา่ งออกไป
ตามความชํานาญของนกั วชิ าการแตล่ ะทา่ น เพราะหลกั การทางพฤตกิ รรมศาสตร์ถกู นําไปใช้เป็นสว่ นหนง่ึ
ในวิทยาการหลายสาขาท่ีเก่ียวข้องกบั พฤตกิ รรมของคน

ในการปรับพฤตกิ รรมทวั่ ๆ ไปนนั้ เดก็ หรือผ้ปู ่ วย จะมีพฤตกิ รรมที่ผู้รักษาต้องการปรับปรากฏให้
เห็นอยแู่ ล้ว ทําให้มีข้อมลู ที่นํามาวิเคราะห์ได้วา่ พฤตกิ รรมนนั้ นา่ จะเกิดจากอะไร และคงอยเู่ พราะอะไร ใน
การวเิ คราะห์นนั้ ข้อสรุป จะไมใ่ ชข่ ้อเทจ็ จริง แตเ่ ป็นข้อสนั นษิ ฐานจากข้อมลู ที่มีเทา่ นนั้ ดงั นนั้ ในการจดั การ
เพื่อปรับเปล่ียนจะต้องมีการตดิ ตามและประเมินผล ซงึ่ อาจจะไมไ่ ด้ผลก็ได้

สว่ นผ้ปู ่ วย ASD จะมีพฤตกิ รรมอีกลกั ษณะหนงึ่ คอื พฤตกิ รรมท่ียงั ไมป่ รากฏมาก่อน ซงึ่ ในการ
พฒั นาเดก็ นนั้ จะต้องมีการสร้างพฤตกิ รรมใหมใ่ ห้เดก็ อยแู่ ล้ว ทงั้ เดก็ ปกตแิ ละเดก็ ป่ วย พฤตกิ รรมเหลา่ นี ้
อาจจะต้องใช้การวเิ คราะห์ อีกลกั ษณะหนง่ึ ตามวตั ถปุ ระสงค์ ผ้วู ิเคราะห์ เชน่ ตามตวั อยา่ งการบนั ทกึ
พฤตกิ รรม แตล่ ะตวั อยา่ งจะมีวตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะในแตล่ ะครัง้

3.การวางแผนและแก้ไข
การวางแผนแก้ไข เป็นการดําเนนิ การท่ีหวงั ผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงเชงิ พฤตกิ รรมของเดก็ ตาม
วตั ถปุ ระสงค์ โดยทวั่ ไปจะมีเทคนิคที่นยิ มใช้อยแู่ ล้วเชน่ การให้รางวลั , การให้คาํ ชม,การชว่ ยจบั ทําเป็นต้น
ในผ้ปู ่ วย ASD สามารถประยกุ ต์เทคนิคพืน้ ฐานนีม้ าใช้ได้เชน่ กนั

ในการนํามาใช้กบั ผ้ปู ่ วย ASD บางครัง้ ในการปรับพฤตกิ รรมก็อาจจะใช้ผลจากข้อสงั เกตท่ีพบ มา
เป็นมาตรการได้ ในบางมาตรการ ก็อาจจะเกิดการเรียนรู้ท่ีคลาดเคลื่อนไป หรือเกิดผลไมพ่ งึ ประสงคแ์ ตถ่ ้า
พจิ ารณาแล้วเหน็ วา่ การเปล่ียนพฤตกิ รรมเป้ าหมายมีประโยชน์มากกวา่ ก็อาจจะใช้ไปก่อนแล้วคอ่ ยแก้ ผล
ไมพ่ งึ ประสงค์ในภายหลงั คล้ายการเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยา

ตวั อยา่ งเชน่ ผ้ปู ่ วย ASDรายหนง่ึ มีความกลวั ส่งิ ของที่เจาะเป็นรู เชน่ กระป๋ องแป้ ง ความกลวั นีเ้ป็น
อาการแสดงอยา่ งหนงึ่ คือ กลวั ในสิ่งไมค่ วรกลวั และ ไมก่ ลวั ในสิ่งควรกลวั บงั เอิญในขณะนนั้ กําลงั มีการ
ก่อสร้างในโรงพยาบาล ผ้ปู ่ วยรายนี ้ มกั จะเดนิ ไปยงั บริเวณนนั้ แพทย์จงึ ได้เอา ชะลอมท่ีมีรูใหญ่ ๆ ไปวาง
ไว้ใกล้ท่ีห้ามเข้า เม่ือผ้ปู ่ วยมาถึงจะแสดงความหวาดกลวั แล้วไมเ่ ดนิ เข้าไป

31

พฤตกิ รรมเป้ าหมายที่ต้องการปรับในรายนี ้คือ การยบั ยงั้ การเดนิ ไปในท่ีห้าม ผ้รู ักษาได้ใช้ความ
กลวั เป็นเครื่องมือ ซง่ึ เป็นการเรียนรู้ท่ีไมด่ นี กั แตม่ ีประโยชน์และค้มุ ท่ีจะชะลอ การแก้ไขความกลวั ไปก่อน
เพราะอนั ตรายจากการเดนิ ไปในบริเวณก่อสร้างยอ่ มมีมากกวา่

4.การประเมนิ ผล
การประเมินผลเป็น การตดิ ตามความคบื หน้าและการเปล่ียนแปลงว่าเป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์หรือ
ไม่ ถ้าการออกแบบ การเก็บข้อมลู ดีก็สามารถใช้แบบการเก็บข้อมลู ในการตดิ ตามและประเมินผลได้เลย
หากผลไมเ่ ป็นตามเป้ า กลบั ไปตรวจสอบสมมตฐิ าน หรือการวเิ คราะห์ใหมว่ า่ มีปัญหาในสว่ นใด

การปรับพฤตกิ รรมจงึ เป็นกระบวนการท่ีทําได้ง่าย อาศยั ความชํานาญ ในการสงั เกตในการเก็บ
รายละเอียดเพ่ือเก็บข้อมลู กบั การมีความรู้ในระดบั หนงึ่ เพ่ือใช้ในการวิเคราะห์ ร่วมกบั ความระมดั ระวงั ผล
ไมพ่ งึ ประสงค์ซง่ึ จะป้ องกนั ได้ หากมีการตดิ ตามการเปล่ียนแปลงอยา่ งสมํ่าเสมอ แล้วนําข้อผิดพลาดมา
ปรับปรุงวิธีการ จนกระทงั่ ได้ผลตามเป้ าหมาย ในระยะแรกผ้รู ักษาอาจจะต้องมี การปรับวิธีการอยู่บอ่ ย ๆ
เม่ือมีประสบการณ์ไปสกั ระยะหนง่ึ ก็จะทําได้ง่ายขนึ ้

32

ส่วนท่ี 2

33

บทท่ี 4 ปัญหาทางพฤตกิ รรมของผู้ป่ วย ASD

ผ้ปู ่ วย ASD เป็นผ้ปู ่ วยท่ีมีความผิดปกติ ในพฒั นาการทางสงั คม โดยแสดงอาการทางพฤตกิ รรม
เป็น 3 กลมุ่ คือ ความผิดปกตทิ างสงั คม การสื่อสาร และการมีพฤตกิ รรมซํา้ ซาก พฤตกิ รรมเหลา่ นี ้ได้แก่
การไมส่ บตา การไมห่ นั ตามเสียงเรียก การแยกตวั อยใู่ นโลกของตวั เองได้นาน ๆ และพฤตกิ รรมอื่น ๆที่เป็น
ตวั อยา่ งในรายละเอียดของเกณฑ์การวนิ จิ ฉยั

การจําแนกพฤตกิ รรมเป็น กลมุ่ ในแนวนีท้ ําให้เกิดปัญหาในการตีความอยพู่ อสมควร เพราะการมี
ภาษาแม้จะเป็นพฤตกิ รรมสําคญั แตก่ ็มีรายละเอียดมาก และเป็นสว่ นหนง่ึ ของพฤตกิ รรมทางสงั คม ทําให้
เกิดปัญหาในการตคี วามวา่ พฤตกิ รรมการใช้ภาษาบางอยา่ ง ควรอยใู่ นกลมุ่ ปัญหาพฒั นาการทางภาษา
หรือสงั คม

จากปัญหาดงั กลา่ ว เกณฑ์การวินิจฉยั ความผดิ ปกตทิ างจติ ของสมาคมจติ แพทย์อเมริกนั ฉบบั ท่ี 5
ท่ีมีฉบบั ร่างแล้ว และกําลงั อยใู่ นระหวา่ งการวิจยั ภาคสนามจะถือวา่ ความผดิ ปกตทิ างสงั คมและภาษาจะ
เป็นพฤตกิ รรมในกลมุ่ เดยี วกนั ซง่ึ อาจจะทําให้เกณฑ์ใหมน่ ีก้ ว้างขนึ ้ ไปอีก

หากนําพฤติกรรมทงั้ สามกลมุ่ มาจดั กรอบการพจิ ารณาใหม่ เปรียบเทียบกบั เดก็ ปกตจิ ะพบวิธีคดิ
อีกวิธีหนงึ่ คอื ในผ้ปู ่ วย ASD ทงั้ พฤตกิ รรมทางสงั คม และภาษาจะมีรูปแบบของปัญหาเป็นสองรูปแบบ คือ

1.การมีพฤตกิ รรมท่ีผดิ ปกติ คือ มีพฤตกิ รรมที่เดก็ ปกตไิ มม่ ี

2.การไมม่ ีพฤตกิ รรมที่ปกติ คอื ไมม่ ีพฤตกิ รรมท่ีเดก็ ปกตมิ ี

ในบทนีจ้ ะนําเสนอภาพปัญหาพฤตกิ รรมในกรอบแนวคดิ นี ้และเปรียบเทียบกบั การผลการศกึ ษาท่ี
เป็นองคค์ วามรู้เดก็ ปกติเพ่ือนําไปสขู่ ้อสนั นษิ ฐานในสาเหตขุ องปัญหาและวธิ ีแก้ไขตอ่ ไป

1.การมีพฤตกิ รรมท่ผี ิดปกติ
พฤตกิ รรมที่พบในผ้ปู ่ วย ASD จะเป็นพฤตกิ รรมที่ดแู ปลก เพราะไมพ่ บในเดก็ ปกติ เชน่ การพดู ด้วย
ภาษาที่ไมเ่ หมือนคนทว่ั ไป การว่ิงอยา่ งไร้จดุ หมาย การเลน่ ของหมนุ ๆ การทําส่ิงหนงึ่ สิง่ ใดซํา้ ๆ การมีเร่ือง
ที่สนใจจํากดั เป็นต้น

34

การมีพฤตกิ รรมท่ีดแู ปลกนี ้ทําให้ในระยะแรกความผดิ ปกตนิ ีถ้ กู จดั ไว้ในกลมุ่ ความผดิ ปกตทิ างจิต
และเช่ือกนั วา่ เป็นอาการแสดงของ schizophrenia และ เป็นหลกั ฐานหนงึ่ ท่ีแสดงวา่ ASD นีเ้ป็นความ
ผดิ ปกตทิ ่ีมีความแตกตา่ งจาก ความผิดปกตทิ างสตปิ ัญญา เพราะเดก็ ท่ีมีความผิดปกตทิ างสตปิ ัญญา จะ
แสดงอาการด้วยการพฒั นาท่ีลา่ ช้ากวา่ เดก็ ปกติ จํานวนหนงึ่ เม่ือโตขนึ ้ ระดบั IQ จะต่าํ กวา่ 70 จดั ไว้ในกลมุ่
ปัญญาออ่ น (mental retardation) หรือ ในชื่อใหมว่ า่ intellectual disability

พฤตกิ รรมของเดก็ ที่มีปัญหาทางสตปิ ัญญา จะเป็นพฤตกิ รรมท่ีเหมือนเดก็ ปกติ แตจ่ ะเกิดขนึ ้ เม่ือมี
อายมุ ากกวา่ เดก็ ปกติ สว่ นพฤตกิ รรมของ ผ้ปู ่ วย ASD จะมีพฤตกิ รรมอีกชดุ หนง่ึ ที่ไมพ่ บในเดก็ ปกติ

พฤตกิ รรมที่ดแู ปลกของผ้ปู ่ วย ASD นีจ้ ําแนกได้เป็น 3 แบบ คอื

1.1 พฤตกิ รรมที่เกิดจากอารมณ์

1.2 พฤตกิ รรมที่เกิดจากการเรียนรู้ และสามารถจบั รูปแบบ หาท่ีมาในการเรียนรู้ และการ
สรุปบทเรียนของผ้ปู ่ วยได้

1.3 พฤตกิ รรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้ แตไ่ มส่ ามารถจบั รูปแบบและหาที่มาในการเรียนรู้ หรือ
การสรุปบทเรียนของผ้ปู ่ วยได้

ในบทนีจ้ ะกลา่ วถึงเฉพาะ พฤตกิ รรมที่เกิดจากอารมณ์ สว่ นพฤตกิ รรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้ทงั้ ที่จบั
รูปแบบได้และไมไ่ ด้นนั้ จะได้ให้รายละเอียดในบทตอ่ ไป

พฤตกิ รรมท่เี กิดจากอารมณ์

การมีอารมณ์ของคนนนั้ เกิดจาก ปัจจยั สองประการ คือ ปัจจยั ทางชีวภาพ และการเรียนรู้ ปัจจยั
ทางชีวภาพนนั้ มีหลกั ฐานจากการศกึ ษาของ Thomas & Chess ท่ีแสดงให้เหน็ วา่ เดก็ แตล่ ะคนเกิดมาจะมี
ความพร้อมในการตอบสนองตอ่ สง่ิ แวดล้อม และมีการแสดงทางพฤตกิ รรม หรืออารมณ์ตา่ งกนั เรียกวา่
temperament สว่ นการเรียนรู้ในภายหลงั นนั้ เป็นเรื่องท่ีรู้จกั กนั ดีอยแู่ ล้ว เชน่ เดก็ ที่ถกู ยว่ั โมโหบอ่ ย ๆ ก็จะ
กลายเป็ นคนเจ้ าอารมณ์เป็ นต้น

ในสว่ นของการเรียนรู้นนั้ มีการทดลองที่แสดงให้เห็นวา่ การมีอารมณ์ของคนนนั้ เป็ น Classic
Condition โดย John B. Watson ได้ทําการทดลองกบั เดก็ อายุ 9 เดือน ชื่อ Albert

35

Albert เป็นเดก็ ที่ชอบหนขู นฟู ในการทดลองนนั้ ขนั้ แรก Watson ได้เอาหนู และสตั ว์ รวมทงั้ ไฟ มา
ให้ Albert ดู พบวา่ Albert ไมก่ ลวั ของทงั้ หมดที่นํามาใกล้

ขนั้ ตอ่ มา เขาเอาหนมู าให้ Albert ดู พร้อมกบั ทําเสียงดงั ให้ Albert ตกใจ ตอ่ จากนนั้ เม่ือเอาหนมู า
ให้ Albert เลน่ Albert จะร้องไห้ และพยายามคลานหนีหนตู วั เดมิ ขนั้ สดุ ท้ายเขาเอาของท่ี Albert เคย
แสดงทา่ ทีวา่ ชอบทกุ ชนดิ มาให้อีกครัง้ พบวา่ Albert กลวั ของทกุ อยา่ งท่ีเคยชอบ ความกลวั หนขู าวนนั้ เป็น
classic condition สว่ นความกลวั สิง่ อ่ืนท่ีไมไ่ ด้เกี่ยวข้อง เรียกวา่ generalization

การทดลองของ Watson มีผ้ทู ําเป็น clip และนําไปไว้ที่ website: www.youtube.com สามารถ
ศกึ ษาภาพการทดลองจริงได้ การทดลองนีม้ ีประเดน็ ทางจริยธรรม ที่ทําให้ถกู วิจารณ์อยา่ งรุนแรง เพราะ
หลงั จากนนั้ Watson ไมไ่ ด้รักษาหรือแก้ไขให้ Albert หายกลวั สิง่ ใดเลย

การทดลองที่ยกมา แสดงให้เหน็ วา่ การมีอารมณ์จากการเรียนรู้ของคนเรานนั้ จะเกิดขนึ ้ เมื่อไร ก็ได้
โดยไมม่ ีใครทราบ เดก็ อาจจะตกใจเสียงดงั พร้อมกบั เห็นต๊กุ ตาหมี แล้วเกิดกลวั ต๊กุ ตาหมีทงั้ ท่ีไมค่ วรกลวั ได้
ขณะเดียวกนั อารมณ์อ่ืน เชน่ โมโห ดใี จ เสียใจ กงั วล ก็อาจจะเกิดในลกั ษณะเดียวกนั

ในผ้ปู ่ วย ASD ความกลวั ความโกรธ ก็นา่ จะเกิดได้จากกระบวนการเดียวกนั ซงึ่ มีทงั้ ท่ีเกิดอยา่ ง
สมเหตสุ มผล และไมส่ มเหตสุ มผล เชน่ การกลวั กระป๋ องเจาะรู กลวั การลงบนั ได กลวั รถสิบล้อที่จอดน่ิง ๆ
โกรธเวลาถกู ขดั ใจหรือขดั ขวางพฤตกิ รรมซํา้ ซาก เป็นต้น

การแก้ปัญหาพฤตกิ รรมเหลา่ นี ้ใช้หลกั การปรับพฤตกิ รรม เพ่ือสร้างการเรียนรู้ใหม่ และบางครัง้
ต้องอาศยั ยา ทางจิตเวช ชว่ ยเพื่อลดผลของปัจจยั ทางชีวภาพด้วย ขณะเดยี วกนั ความกลวั บางอยา่ งก็ไม่
ควรแก้ไข เพราะอาจจะเกิดอนั ตรายได้ เชน่ ความกลวั รถสิบล้อที่จอดอยู่ เพราะเมื่อผ้ปู ่ วยหายกลวั อาจจะ
ไมก่ ลวั คนั ท่ีวิง่ อยดู่ ้วย

การแก้ปัญหาลกั ษณะนี ้ใช้ model: SR หรือ SORC ในการวเิ คราะห์ โดย

1.หาสิ่งเร้าให้ได้วา่ คืออะไร

2.ประเมินปริมาณอารมณ์ที่ทําให้เกิด พฤตกิ รรมท่ีไมเ่ หมาะสม

3.ลองปรับลดเงื่อนไข ให้พฤตกิ รรมเกิดน้อยครัง้ ลง

36

4.คอ่ ย ๆ เพิ่มเงื่อนไขเดมิ ให้ผ้ปู ่ วยปรับตวั จนไมเ่ กิดอารมณ์เดมิ

กรณีตวั อย่าง

เดก็ กลัวการลงบันได
ผ้ปู ่ วยรายหนง่ึ อายุ 5 ปี จะกลวั การลงบนั ไดสะพานลอยหน้าโรงพยาบาล มารดาสงั เกตเห็นวา่

ลกั ษณะบนั ได จะคอ่ นข้างสงู และชนั กบั มีสายไฟระเกะระกะและก่ิงไม้มาเกะกะที่ราวบนั ไดทําให้เกาะราว
ไมส่ ะดวก ผ้ปู ่ วยจะแสดงทา่ ทีหวาดกลวั และไมย่ อมก้าวขาเดนิ ลงบนั ไดเฉพาะอนั นีเ้ทา่ นนั้ บนั ไดอ่ืน ๆ ลง
ได้เป็ นปกติ

รายนีเ้หน็ ได้วา่ stimulus นา่ จะเป็น ความสงู และความหวาดเสียว สว่ น response คือ การไมย่ อม
ลงบนั ได สามารถใช้ model SR หรือ SORC ชว่ ยวิเคราะห์ดงั ภาพ การแก้ไข ได้ให้แมย่ ืนหน้าผ้ปู ่ วย เอาตวั
บงั ไมใ่ ห้ผ้ปู ่ วยเหน็ ภาพท่ีนา่ หวาดเสียวแล้วคอ่ ย ๆ ลงด้วยกนั พอถึงกลางบนั ไดให้แมเ่ ปลี่ยนตาํ แหนง่ ยืน ให้
ผ้ปู ่ วยเหน็ ความสงู ท่ีพอทนเดนิ ได้เอง จากนนั้ คอ่ ย ๆ เพิ่มความสงู ท่ีให้ผ้ปู ่ วยมอง

เทคนิคนีเ้รียกวา่ systematic desentization ซง่ึ ใช้เป็นมาตรฐานในการจดั การกบั อารมณ์ทกุ ชนิด
สว่ นมากใช้กบั ความกลวั

37

เดก็ โมโหอาละวาด
เป็นพฤตกิ รรมท่ีพบได้บอ่ ยในผ้ปู ่ วย ASD บางรายต้องใช้ยาทางจติ เวชชว่ ยเพื่อควบคมุ อารมณ์ไม่

ให้เกิดง่ายและรุนแรง แตจ่ ะไมม่ ียาใดที่ สามารถทําให้คนอารมณ์ดตี ลอดเวลา ต้องปรับส่ิงเร้าด้วยโดยมี
วตั ถปุ ระสงค์ทางการเรียนรู้ที่สําคญั คอื ไมใ่ ห้ผ้ปู ่ วยระเบดิ อารมณ์บอ่ ยจนเคยชนิ หรือเคยตวั

วธิ ีเก็บข้อมลู ลกั ษณะแบบนีค้ วรเก็บข้อมลู ด้วย การบนั ทกึ พฤตกิ รรมแบบบนั ทกึ ประจําวนั เพื่อให้
เห็นสิง่ เร้า ปริมาณอารมณ์ในแตล่ ะครัง้ การตอบสนองเชิงพฤตกิ รรมเม่ือโกรธเงื่อนไขเฉพาะอื่น เชน่ มกั เกิด
อาการตอนงว่ งนอน

การวิเคราะห์ใช้ model: SORC จะได้ข้อมลู ท่ีมีความหลากหลาย คอื ส่งิ เร้าจะมีตา่ ง ๆ กนั และมกั
จดั ได้วา่ เป็นการขดั ใจ การตอบสนองมีพฤตกิ รรมหลายแบบ เชน่ กรีดร้อง กระทืบเท้า ขว้างปา ผลสดุ ท้าย
มกั จะเป็นพอ่ แมย่ อมแพ้ทําให้พฤตกิ รรมคงอยู่

38

การแก้ไข สามารถดาํ เนินการโดยตดั เง่ือนไขท่ีไม่จําเป็นออก เชน่ การขดั ใจ บางครัง้ พอ่ แมอ่ าจจะ
ขดั ใจโดยไมจ่ ําเป็น หรือแก้ปัญหาด้วยวิธีอื่นก็ได้การตดั เง่ือนไขนี ้ ชว่ ยลดจํานวนครัง้ ของการอาละวาด เม่ือ
ผ้ปู ่ วยควบคมุ อารมณ์ดีขนึ ้ แล้ว คอ่ ยนําสิง่ เร้าเดมิ กลบั มา เชน่ จากการวิเคราะห์พบวา่ เดก็ ASD จะโมโห
และอาละวาดจากสถานการณ์ที่เป็น สิ่งเร้า 3 แบบ คือ

การขดั ใจในการเข้าร้านสะดวกซือ้ โดย ผ้ปู ่ วยชอบเดนิ ร้านสะดวกซือ้ ทกุ ครัง้ ท่ีไมไ่ ด้เข้าจะกรีดร้อง
อาละวาด กระทืบเท้าตหี วั ตีคน

การขดั ใจ เวลาผ้ปู ่ วยจะเอาของจะยกมือขอแตไ่ มย่ อมออกเสียงพอคนเลีย้ งไมย่ อมให้บงั คบั ให้ออก
เสียงจะโมโหและกรีดร้องกระทืบเท้า เข้าตคี นที่บงั คบั

เวลาเลน่ ของอนั ตราย เชน่ ปลก๊ั ไฟ มีด ของตกแตกได้ ถ้าถกู ห้ามจะลงมือลงเท้าเชน่ กนั

39

สง่ิ เร้าทงั้ สามมีลําดบั ความสําคญั ในการสร้างประสบการณ์การเรียนรู้และ ความเร่งดว่ นไมเ่ ทา่ กนั
ในกรณีนี ้ส่งิ เร้าท่ีสําคญั ต่ํา เชน่ การเข้าร้านสะดวกซือ้ หรือการบงั คบั ให้ เดก็ พดู เป็นสิ่งยงั คอยได้ ไมจ่ ําเป็น
ต้องห้าม หรือฝึกในทนั ที แตก่ ารเลน่ ของอนั ตรายต้องรีบจดั การ

การแก้ไขในระยะแรก จงึ ควรงดเว้นการบงั คบั ให้พดู ไปก่อน สว่ นการไปร้านสะดวกซือ้ ให้เดนิ เล่ียง
หากเล่ียงไมไ่ ด้ก็ไมค่ วรขดั ใจ มาตรการนีจ้ ะทําให้ จํานวนครัง้ ของการอาละวาดลดลง เพ่ือลดการพฒั นาไป
เป็น ความเคยชนิ หรือเคยตวั

การจดั การกบั การเลน่ ของอนั ตรายเป็นมาตรการที่เว้นไมไ่ ด้ ต้องจดั การทนั ที แม้จะมีพฤตกิ รรมไม่
เหมาะสมก็ต้องยอม ซงึ่ พฤตกิ รรมท่ีไมเ่ หมาะสมแตล่ ะครัง้ จะมีการกระทําตา่ งกนั เชน่ หากถกู ห้ามแล้วจะ ตี
คน ก็ต้องจดั การไมใ่ ห้ตีตอ่ อีกแตถ่ ้าแคก่ รีดร้องเสียงดัง ก็ไมต่ ้องจดั การกบั พฤตกิ รรมนีเ้ ก็บไว้ให้เป็นชอ่ งทาง
ระบายอารมณ์ของผ้ปู ่ วย ซง่ึ ในทางปฏิบตั จิ ริง ปัญหาเหลา่ นีจ้ ะแก้ไขได้คอ่ นข้างยากเพราะผ้ปู ่ วย ASD จะ
มีอารมณ์ที่คอ่ นข้างรุนแรง

ในภาพรวมพฤตกิ รรม ท่ีเก่ียวกบั อารมณ์นี ้ ปัจจยั ทางชีวภาพจะมีบทบาทมากกวา่ การเรียนรู้ การ
แก้ไขนอกจากจะใช้กระบวนการทางพฤตกิ รรมศาสตร์แล้ว การใช้ยา ก็เป็นการรักษาอีกวิธีหนงึ่ ท่ีต้องใช้ร่ วม
ด้วยเสมอ หากเทียบกบั เดก็ ปกติจะพบวา่ การมีอารมณ์ของเดก็ ปกตนิ นั้ มีได้ตัง้ แตแ่ รกเกิด สว่ นการพฒั นา
วธิ ีจดั การกบั อารมณ์นนั้ จะทําได้เป็นลําดบั ตามการพฒั นาความคดิ ท่ีเป็นเหตผุ ลเมื่อวฒุ ภิ าวะถงึ ระดบั หนง่ึ
การมีความคดิ ท่ีมีเหตผุ ลจะเป็นกลไกที่ทําให้เดก็ ปกติสามารถจดั การกบั อารมณ์และความปรารถนาตา่ ง ๆ
ได้อยา่ งเหมาะสม พฤตกิ รรมที่แสดงออกก็จะเหมาะสมตามไปด้วย

การมีความคดิ ที่เป็นเหตเุ ป็นผลนนั้ จะเกิดได้ก็ตอ่ เมื่อมีภาษา เพราะเมื่อเดก็ เข้าใจภาษา พอ่ แมก่ ็
จะสามารถอธิบายเหตผุ ลให้ฟังและสร้างความเข้าใจและพฒั นาความคดิ ของเดก็ ได้ การจดั การกบั อารมณ์
หรือพฤตกิ รรมที่เกี่ยวกบั อารมณ์ของผ้ปู ่ วย ที่ยงั ไมม่ ีภาษา หรือพฒั นาภาษาไมไ่ ด้นนั้ จงึ อาจจะต้องยอมรับ
พฤตกิ รรมท่ีไมเ่ หมาะสมบ้างในระยะเร่ิมแรก หากมีปัญหาหรือมีอนั ตรายมาก อาจจะต้องใช้การรักษาแบบ
ผ้ปู ่ วยใน ที่มีการควบคมุ พฤตกิ รรมที่เป็นอนั ตรายอยา่ งเตม็ ท่ี

2.การไม่มีพฤตกิ รรมปกติ
พฤตกิ รรมในกลมุ่ นี ้ได้แก่ การสบตา การเข้าหาคน การเลน่ กบั พอ่ แม่ การมีอารมณ์ตอบสนองตอ่
คนใกล้ชดิ พฤตกิ รรมเหลา่ นีเ้ป็นพฤตกิ รรมที่เหมาะสม และเป็นสว่ นหนง่ึ ของพฒั นาการ ทงั้ ทางสตปิ ัญญา

40

และอารมณ์ ซง่ึ จะพบในเดก็ ปกติ แตไ่ มพ่ บในผ้ปู ่ วย ASD เม่ือมีความพยายามจะศกึ ษาอาการ และอาการ
แสดงในผ้ปู ่ วยที่อายนุ ้อย ๆ เพื่อให้วนิ ิจฉยั ได้เร็วขึน้ จงึ มีการค้นพบพฤตกิ รรมทํานองนีเ้พิ่มขนึ ้ และถือเป็น
อาการและอาการแสดงเพ่ือการวนิ จิ ฉยั

เพ็ญแข ลม่ิ ศลิ า (2540)(33) ได้รวบรวมอาการทางพฤตกิ รรม ที่พบในขวบปี แรก และมีโอกาสเกิด
ASD ในเวลาตอ่ มา โดยไมจ่ ําเป็นต้องมีทกุ อาการพฤตกิ รรมชดุ นีเ้ป็นข้อท่ีควรเฝ้ าระวงั หรือให้การชว่ ยเหลือ
ไปพลางก่อน พฤตกิ รรมของเดก็ จะมีดงั นี ้

1.ดดู นมไมด่ ี เหมือนไมม่ ีแรงดดู กลืนนํา้ นมไมเ่ ป็น ทําให้นํา้ นมไหลออกจากมมุ ปาก

2.เงียบเฉย ไมเ่ คยเรียกร้อง หรือร้องไห้ ทงั้ ในเวลาหิว เปี ยกปัสสาวะ หรือเลอะอจุ จาระ ในทางตรง
ข้ามบางคนก็ต้องโดยไมย่ อมหยดุ และหาสาเหตขุ องการร้องไมไ่ ด้

3.ไมช่ อบ และไมส่ นใจ ท่ีจะให้คนอ้มุ หรือกอด

4.ไมช่ อบอยา่ งมากถ้าถกู เปล่ียนผ้าอ้อม หรืออาบนํา้ สระผม

5.ไมส่ นใจคนที่มาดแู ล ทกุ คน ไมว่ า่ จะเป็นพอ่ แม่ หรือพี่เลีย้ ง

6.ไมม่ องตาแม่ หรือบคุ คลอื่นแม้ขณะท่ีอ้มุ ให้ดม่ื นม

7. เวลาคนเลีย้ งเข้าใกล้ จะมองเลยไปไมแ่ สดงปฏิกิริยาอยากให้อ้มุ เชน่ ไมย่ กแขนหรือแอน่ ตวั ขนึ ้
เหมือนเดก็ ปกติ

8.ไมม่ ีการตอบสนองด้านอารมณ์

9.ไมส่ ามารถดงึ คนเลีย้ งให้สนใจในสงิ่ ของท่ีกําลงั สนใจ

10.ไมม่ ีปฏิกิริยาตอบสนองเมื่อคนเลีย้ ง ชวนให้ดหู รือเลน่

อาการทางพฤตกิ รรมในชดุ นีเ้ป็น พฤตกิ รรมที่ควรมีในเดก็ ปกติ แตไ่ มม่ ีในผ้ปู ่ วย ASD พฤตกิ รรม
เหลา่ นีเ้คยมีผ้สู นใจ และศกึ ษามากอ่ นแล้ว คือ John Bowlby (1997)(34) เขาได้ใช้แนวทางการสงั เกตทาง
พฤตกิ รรมศาสตร์ ในการศกึ ษาปรากฏการณ์ท่ีเรียกวา่ attachment แล้วพบวา่ มีพฤตกิ รรมชดุ หนง่ึ ที่เกิดได้
โดยไมต่ ้องเรียนรู้ เรียกวา่ instinctive behavior ซงึ่ จะมีในสิง่ มีชีวติ ชนั้ สงู ทกุ ชนดิ


Click to View FlipBook Version