The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กรอบความคิดแบบเติบโต

จัดทำโดย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2020-04-03 12:02:31

กรอบความคิดแบบเติบโต

กรอบความคิดแบบเติบโต

จัดทำโดย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ

Keywords: Growth Mindset

เปล่ียนโรงเรียนธรรมดา เป็นโรงเรียนปฏิรูป โดยใช้ผลการวิจัย

ไอมัจฉ่สริยำ�ะหครัืญอพร.ส..วเทรร่าค์

GROWTH
MINDSET

จัดทำ�โดย สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ

ให้ใจ

เขปองน็ กาหรศัวึกใษจา

เป้าหมายสุดท้ายของการปฏิรูปการศึกษาคือ การสร้างคนเพื่ออนาคต
เป็นการพัฒนาเด็กเยาวชนและคนไทย ให้เป็นผู้มีใจรักที่จะเรียนรู้สามารถ
กำ�กับและพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สั่งสมความรู้และ
ทักษะที่จำ�เป็นเพื่อพร้อมเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตอย่างรู้เท่าทัน
และพร้อมแก้ปัญหาที่ยังไม่เกิดขึ้น ซึ่งผลการวิจัยของศาตราจารย์
คารอล ดเว็ค (Carol S. Dweck) แห่งมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด พิสูจน์ว่า
บุคคลจะมีคุณลักษณะข้างต้นเกิดขึ้นเพราะมี Growth Mindset เป็น
ฐานสำ�คัญ ดังนั้นการนำ�ผลการวิจัยเกี่ยวกับเทคนิควิธีการเสริมสร้าง
Growth Mindset ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคลและทุกๆ
คน จึงเป็นเรื่องที่มีความสำ�คัญจำ�เป็นยิ่ง

ขอขอบคุณ นายแพทย์ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ ผู้ช่วยรัฐมนตรี
ประจำ�กระทรวงศึกษาธิการ และผู้อำ�นวยการศูนย์จิตวิทยาการศึกษา
มูลนิธิยุวสถิรคุณ ที่เอื้ออำ�นวยและให้การสนับสนุนการนำ�ผลการวิจัย
เรื่อง Growth Mindset สู่การปฏิบัติ และขอขอบคุณคณะทำ�งาน
มูลนิธิยุวสถิรคุณและสำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ที่ร่วมมือ
รวมพลังจัดทำ�หนังสือเล่มนี้จนสำ�เร็จและเผยแพร่ให้โรงเรียนนำ�ไปใช้อย่าง
ทั่วถึง

(นายกมล รอดคล้าย)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

“Mindset” เปน็ เร่อื งท่แี พรห่ ลายในวงการจิตวิทยา และวงการอ่ืนๆ มา

โดยตลอด การที่คนๆ หนึ่งมี Mindset อย่างไรน้นั จะสง่ ผลตอ่ ความส�ำ เร็จหรือ
ความล้มเหลวในชีวิตของเขา แม้แต่วงการศึกษาระดับโลกก็ให้ความส�ำ คญั กบั
เรอ่ื ง Mindset เป็นอยา่ งมาก จากผลงานวิจยั ของ ศาสตราจารย์ คารอล ดเวค็
(Carol S. Dweck) ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการพฒั นาศกั ยภาพของมนษุ ยแ์ หง่ มหาวทิ ยาลยั
สแตนฟอรด์  ได้พสิ จู น์แล้ววา่

“คุณเกิดมาอย่างไรนั้นไม่สำ�คัญ... Mindset ต่างหากที่สำ�คัญ”
หนังสือเล่มนี้ได้หยิบยกเทคนิคการสร้าง Growth Mindset ให้กับเด็กที่
สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ในห้องเรียนได้ทันที พร้อมกรณีศึกษาการนำ�
Growth Mindset มาใช้พัฒนาโรงเรียนที่เคยอยู่ในเกณฑ์ต่ำ�กว่ามาตรฐาน
จนประสบความสำ�เร็จได้ภายใน 3 ปี
ขอขอบคุณท่านเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ
สำ�นักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาที่ได้เห็นความสำ�คัญของการ
พัฒนา Growth Mindset และให้โอกาสร่วมกันจัดทำ�หนังสืออันเป็น
ประโยชน์ในครั้งนี้

“ถ้าครูและเด็กมี Growth Mindset
การเรียนรู้จะเปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิง”

(นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์)

ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำ�กระทรวงศึกษาธิการ
คณะกรรมการนโยบายและพัฒนาการศึกษา
ผู้อำ�นวยการศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ





ศูนย์จิตวิทยาการศึกษา มูลนิธิยุวสถิรคุณ

ดำ�เนินงานเพื่อปฏิรูปการศึกษาตามแนวพระราชกระแสฯ ของ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ“ให้ครูรักเด็กและเด็กรักครู”

อันสอดคล้องกับงานวิจัยการพัฒนาการศึกษาระดับโลก มีเป้าหมาย
ให้สาธารณชนเกิดความเชื่อมั่นในครูและระบบการศึกษาไทย
โดยทำ�หน้าที่กระตุ้นและผลักดันให้ทุกภาคส่วนของสังคมปรับ
เปลี่ยนแนวทางการพัฒนาการศกึ ษา

“ให้ใจเป็นหัวใจของการศึกษา”

ด้วย 6 โครงการพัฒนาการศึกษาประสิทธิภาพสูง
ที่สถานศึกษาต่างๆ นำ�ไปปฏิบัติได้ทันที

1

จากผลงานวจิ ยั ดา้ นการศกึ ษาขนาดใหญร่ ะดบั โลก Visible Learning

ปี 2011 โดยศาสตราจารย์ John Hattieที่ได้รวบรวมผลงานวิจัยกว่า
57,600 ชิ้น และ 1,000 meta-analysis มาทำ�การสังเคราะห์
อย่างเป็นระบบ ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาใน
เดก็ นักเรียนกล่มุ ตวั อย่างกว่า 250 ลา้ นคนท่ัวโลกช้ีใหเ้ หน็ วา่

“เมรีปามรัวะสแิทตพ่ธภิัฒานพานสอ้ ง่ิ ยที่

หรอื ไม่ไดม้ ีผล

ตอ่ การพัฒนาการศกึ ษา

อย่างแท้จริง”

2

ปั้จจัยการพัฒนาการศึกษาที่มี ความคาดหวังของครู 0.43
หลักสกตู ารโรหรแลงลบเดรักบยี พสนบูตขฤกูรอารตณงรสกิรสฐัออารทนงรก่ ีมโมภากีดกาารยรใษ่อบชากรโ้สกหิ วตาานรทร0นัศบ.โน3ย้า0บูปน9.าก30ยร7อ.ณ3ย0า่4์ ง.2อ9ิส0ระ.22
ประสิทธิภาพต่ำ�

การปจรดัหะกสอ้ ลบง่มุ กเรตายีารนมณคคว์ใลนาะมหรสะลดาักกมบั สาาชรตู ร้ัเนรรถยี/นทอนอาาผงกย่ากโุนผราอูงร้เนิรศเรเยีทกึ ียนอษนราเ์ น็ต 0.48 แรง ูจงใจ
การซ้ําชั้นเรยี น 0.48 คุณภาพของก

0.180.20 Visib le Learni
0.12 size effect
0.09 ng
0.04 50
-0.13

โทรทศั น์ -0.18
ความรู้ขกอางกรคาวรหรนัใูใมชรหนปะุ้นยดัเญนเุดับวื้อหกภียาหาานเปารคข็นสศฤโอฐาปึการดงรษนแะบูรใากทนุ้อขคร่ีสกมอนลอาเงสารนครเกริมรยีหรู นลกัรู้ส-ูต00ร0..00.19-2200.1.534
ความคิดสร้าโงปสรคแรวกรราค์มม ่ีทกเถี่าแ่ีกรลยึศะกวผษ ักาลเบขีก่คยอววงากกักาบมาร ุคไํสราปทณเเธยีร็ด่รยสจรขมอมนบ้บจาา ิรดนยขธอ0ร.ง ้รัช30.มนเ530รี.ย42น09.24 0.210.190.39 ผูอ้ ํานวยการโรงเรยี น 0.40 การลดความวติ กกังวล 0.4
0.48

Visible Learning (2011), John Hattie การตงั้ คําถาม

แผนภมู ิวงกลมแสดงคา่ Effect Size ของแตล่ ะปัจจยั
คา่ ทเ่ี ปน็ ลบ แสดงถงึ ปจั จยั ท่ีลดผลสัมฤทธ์ทิ างการศกึ ษา
โดยปจั จัยท่ีดีคือ ปัจจัยที่มีคา่ Effecrt Size มากกว่าค่า
เฉล่ีย ซึ่งเท่ากบั 0.4

3

0.48 แรง ูจงใจ ป้จจัยการพัฒนาการศึกษาท่ีมี
0.61 0.05.250.02.ก4า4ร9ไ8 ่มกิ ีตจกตการกรารเราุคด็บรมกริณมีันพหก่สภาจเาวรีรยญัจนพนภั่รดขยวก/อามกงรขใลกอานางง ้หรแ ู้ผอสจ้งปองเกีรนยครนอง
ประสิทธิภาพสูง

rni 0.68 0.ก7า2ร0ส.7อ5บ0คเท.0ว8ีย.าบ29ม/เ0รสียัมกนพา1เน.รนัก2อื้ใธหห8าาร์รกฟ้ ทะอ่าีหีสทภรงูวแกจปิา่บวงัดรค่าคโใารปหระยดูรแใ้มบัลนแกีชะกหั้นนา้อรกัรงมเปรเกรรยี ะยีนาเนมรสนิ อคนวาตมากม้ารวะหดนับา้ พรัฒะหวนา่ างกกาารรใเนรยีกนารเรียนรู้ของเด็ก

1.44 การให้นกั เรยี นตง้ั เป้าหมายในการเรยี น
ng 00.5.55020.05.4ก0.4า8ร8ใสหภ้นากัเปพเสร้ากียแมหวนาามดสรธอาลต/ินย้อกงั้กมาคนั ทรเาํ่อีบมถง้าีคนาวมามเพยี รพยายาม/การมสี ่วนรว่ มsize
e c t 1.07 การสกอานรแจบดั บกกาลรุ่มเรยยี อ่ นยการสอนตามการตอบสนองของเด็กตอ่ การช่วยเหลอื
0.88
0.77
0.650.69ผ0ล.7ก4ารเรกยี านรทใชดี่ ้กีใกนราอะรดบกเตีรวายีนรนกชกา่วรายอรเภสหปิอลัญนือทอญมี่ยาีกา่ งารคสรือ่อสบาครลสุมอสงาํทหารงบัระเดหวก็ ่าทงีม่ คีครวูแาลมะนตกั อ้ เงรกยี นารพิเศษ

4

















จากการที่ทางศูนย์จิตวิทยาการศึกษาได้ลงพื้นที่เรียนรู้การเปลี่ยนแปลง
โรงเรียนทั้งสองด้วย Growth Mindset พบว่า
• ครูใหญ่ ครู และนักเรียนมีความเชื่อมั่นว่าทุกคนมีความสามารถและ

ศักยภาพที่จะเรียนรู้ได้ ทำ�ให้ทุกคนมีความมุ่งมั่นตั้งใจในการทำ�หน้าที่ของ
ตนเองอย่างเต็มที่
• ครูทุกคนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ  Mindset  เพื่อที่จะนำ�หลักการ
การสร้าง Growth Mindset ให้กับเด็กไปใช้ในห้องเรียน

โรงเรียน Wroxham โรงเรียน Prettygate Junior

• ในหอ้ งเรียนครตู ง้ั ค�ำ ถาม ให้เด็กชว่ ยกนั หาค�ำ ตอบ ให้ความสำ�คญั กบั กระบวนการ
และความพยายามในการเรียน ให้ Feedback ที่ดีกับเด็ก

• มีการสร้างโอกาสให้กับเด็กได้ทำ�กิจกรรมใหม่ๆ ที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
เช่น มีมุมกิจกรรมในโรงเรียนที่ท้าทายความสามารถของเด็กและให้
งานที่ยากขึ้นเรื่อยๆเพื่อดึงศักยภาพของเด็กออกมาพร้อมกับสร้าง
บรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ในโรงเรียน เด็กสามารถเรียนได้จากทุก
อย่างที่อยู่รอบตัว

• ทุกคนมีส่วนร่วมในการให้ Feedback เพื่อการพัฒนาโรงเรียน

• มีความร่วมมือกันระหว่าง ครู-ครู, ครู-นักเรียน และครู-ผู้ปกครอง
รวมทั้งคนในชุมชน เพื่อพัฒนาการเรียนของเด็กๆ โดยมีความสัมพันธ์อันดี
ในทุกกลุ่ม

13

บทสรุป

การสรา้ ง GROWTH MINDSET ใหก้ บั เดก็

DON'T DO

• ส น ใ จ • ใ ห้ ค ว า ม
แ ต่ ผ ล ลั พ ธ์ สำ�คัญกับ
และความสำ�เร็จ กระบวนการแ ล ะ
ความพยายามในการ
• ให้ Feedback ทเี่ ปน็ าม- เรียนรู้
ธรรมและคุณลักษณะไม่ • ให้ Feedback ที่
เจาะจงพฤติกรรม เช่น พฤติกรรมและให้ข้อมูล
ฉลาด เกง่ หรือโง่ ในการพัฒนาตนเองต่อ

• ไ ม่ ช อ บ ใ ห้ เ ด็ ก มี คำ � ถ า ม : • ใ น เ ด็ ก ท่ีข า ด แร ง จู ง ใจ ใ น
คำ � ถ า ม เ ป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น การเรียน ช่วยให้เด็กตั้ง
ของการเรียนรู้ เมื่อเด็กมี เป้าหมายด้วยงานท่ีง่ายๆ
ค�ำ ถาม ครูไม่จำ�เป็นตอ้ ง ก่อน แล้วค่อยเพิ่มความ
ตอบไดท้ ง้ั หมดอาจให้ ทา้ ทายขน้ึ เชน่ ท�ำ การบา้ น
เ ด็ ก ช่ ว ย กั น ห า 20 ข้อ แบ่งท�ำ ครง้ั ละ
คำ � ต อ บ ไ ด้ 5 ขอ้ กอ่ น แลว้ คอ่ ยๆ
เ พ่ิ ม จำ � น ว น จ น
ครบ

14

สรางหองเรยี นสง เสรมิ

GROWTH MINDSET

[email protected]

I. Mindset คอื อะไร II.GหrอoงwเรthียนMสiงnเสdรseมิ t III. Gmap

I. Mindset
มมุ มอง ความคิด ความเชอ่ื หรอื เจตคติ
ทส่ี ่งผลต่อพฤติกรรม และ การใชช้ วี ติ
Mindset มี 2 ประเภท ไดแ้ ก่

Fixed Mindset Growth Mindset

(Non-Learner mindset) (Learner mindset)

เชือ วา สติปญ ญา หรือ ความสามารถ เชื่อวาทกุ คนเรยี นรูมากข้ึนและพัฒนา
มีเทาไหรก็เทานัน้ ใหด ีขึน้ ได
ใหค ณุ คา กับ ภาพลกั ษณ หรอื คณุ สมบตั ิ ใหคณุ คากับความตั้งใจและพยายาม
ตดิ ตวั เชน ฉลาด เกง มองอปุ สรรคเปนโอกาส และ
มองวาอุปสรรคเปน ภาวะคกุ คาม และ ความผิดพลาดเปน ชองทางในการพัฒนา
ความผิดพลาดเปนความลม เหลว

II. หองเรียนสง เสรมิ

GROWTH MINDSET

ครู นักเรียน 1 2
ชัดเจนในเปาหมาย การเรยี นรู
มนั่ ใจในนักเรยี น อยางตอเนือ่ ง

3 4
Feedback หอ งเรยี น
เพ่อื พัฒนา ปลอดภยั

1. ชดั เจนในเปา หมาย มัน่ ใจในนักเรยี น แสดงใหเ ห็นวา ครูเชือ่ ม่นั วานกั เรียน
จะไปถึงเปา หมายได
ส่ือสารใหนักเรียนเหน็ ภาพเปา หมายชดั เจน
เรื่องนีอ้ าจตองใชเวลา
ใชภาษาที่เขาใจงาย เปนรูปธรรม เชน ทำความเขาใจมากหนอ ย
แตครมู ่นั ใจวาไมเ กินความสามารถ
คาบน้พี วกเราจะเรียนเรอ่ื ง... และความพยายามของเราทกุ คน
หลงั จากจบคาบเราจะสามารถตอบคำถาม...น้ีได

ในการสงั่ งาน มตี วั อยาง
และเกณฑการประเมินที่ชัดเจน

ตวั อยางเกณฑการประเมิน

รายงานตอ งประกอบ ตองระบแุ หลงที่มา สะอาด
ดว ย 3 สว น บทนำ/ ของขอ มลู เรียบรอย
เนอื้ หา/สรุป

2. การเรยี นรอู ยา งตอ เนอ่ื ง การอภปิ รายกระบวนการ การกระตนุ ใหค ดิ ถึงวิธีใหมๆ
(process monitoring) (alternative thinking)
2.1 นกั เรยี นสรา งการเรียนรู
ครกู ระตุนและสงเสรมิ “หนูทำยังไงถึงไดคำตอบ “นอกจากวธิ นี ี้ เราทำวิธไี หนไดอีก ?”
ชว ยแสดงวิธที ำใหค รูกับเพอ่ื น ๆ ดูหนอ ยจะ ”
?
“เราตองรูอะไรบา ง และตอ งทำอะไรบาง
คำถาม จึงจะสามารถทำงานนี้ใหสำเร็จได ?”
(questioning)
“เรื่องทเ่ี ราเรยี นในวันนี้
เปน ประโยชนกับเราอยางไร ?”
“วันนนี้ กั เรยี นไดเรียนรอู ะไรเพม่ิ บาง ?”

วางแผนการประเมิน ใชวธิ ีท่หี ลากหลาย ไมประเมินเพอ่ื ตัดสิน
เปน ระยะ ระหวาง เหมาะสมกบั นกั เรยี น แตเพื่อการเรยี นรตู อเนอื่ ง
การเรยี นการสอน
และสอดคลอ ง ของนกั เรยี น และ
2.2 ประเมนิ สมำเสมอ กับเรอื่ งทป่ี ระเมิน เพอื่ ปรบั ปรุง
เพือ่ พัฒนาตอ เน่ือง
การสอนของครู

F3. eedback ใหข อ มลู เพ่อื การเรยี นรูตอเนอ่ื ง
eedback
eedback

1 2 34 5

ลักษณะ มีเปาหมายชดั เจน Feedback ใหขอมลู ทีเ่ ฉพาะเจาะจง เร่มิ ตน จากสงิ่ ที่ทำไดดี ทำทันที
Feedback เพอ่ื การพัฒนา ท่ีพฤตกิ รรม อยา งเปนรปู ธรรม ตามดว ยสิ่งทส่ี ามารถ
หรือ กระบวนการ อา งองิ ตามสิ่งที่เห็น
ท่ีดี ไม Feedback ปรับปรุงใหดียิ่งขึ้น
ท่ตี ัวบุคคล

1 ผรู ับ : ประเมินตนเองกอ น 2 ผูให : สรุปประเดน็ ที่ผูรบั ทำไดด ี
และประเดน็ ท่ีสามารถปรับใหด ีไดมากข้นึ
กระบวนการ
Feedback ผูรับ : สรปุ ประเดน็ และซักถาม ผใู ห- ผรู บั : รว มกนั วางแผนพฒั นา
ในสิ่งทไ่ี มเ ขาใจ
3 4 อยา งเปนรปู ธรรม เริม่ จากสง่ิ ทท่ี ำ

ไดจริงเพียง 1-2 ประเดน็

กระตุนใหตั้งเปา หมายทท่ี า ทายขึ้น หากบรรลุเปาหมายเดมิ แลว

4. สงิ แวดลอมปลอดภยั เตบิ โตไปดว ยกัน

สรา งบรรยากาศใหปลอดภยั ความผิดพลาด ทกุ คนเรียนรู
เพอ่ื ไมก ลัวทีจ่ ะผดิ พลาด คือโอกาสในการพฒั นา ไดไมจ ำกัด

ไมมี “ไมร ู” ยิ่งมงุ มัน่
มีแต “ยังไมร”ู ยง่ิ ใกลเ ปาหมาย

ยิง่ ชว ยกันเรยี น
ยง่ิ เรยี นรูไดม าก

III.แผนที่ Growth Mindset
Gmap: Growth Mindset Action Plan
นมักเามเดอรื่อดยีูงะเรูไหาไนวคสู้ดใรนา่จน็จครึกคนจ้ทาเูะวรยแารขักกร่าี่ทจูเปกงัาสู้เอขลาํะครจไึกเะารียงะรปแะไเยับยูนหรล็นังค้มิมน็ว้ ไคคงคีวเนดงวาุณแคาานิ มรมนรคกคคู สภสทแรทคงุขูมูนตผ่ี่าัมยสี่รขใิต่่ามจู้มิังจพใึน้จ้งัทะเหะกใเเาํันดพหจต้เทนิ็นอปธเหมาํใว์็นจง่า็นาาผนดนรคมะู กคปูรไลมูสรธบั่มุ่เองรนียรวบมทิ ย์
1
ต้ังเป้าหมายเแนปกักปล้ใเญีย่หั รตียน้ไอ้หดนยงาป้คแกังทือลญไัา่ีรงอะรบแอหใะกหทไยาวรเ้นาปคนเกคป็นะะ็นเกพคอลเอื่อลวยมุ่ ยนือาาว่กูกไกมทิ มลเไตยขดชุ่่มา้าอ้ว้เศกไหนงมลาลเกต่สขมุ่ ือา้าต้อทรๆงรเ่ี ์รไปา
สร้าง ความต้องการ
ใหเ้ ป็น คุณค่า

เมื่อได้อยกู่ ลุ่มที่ ผมกจ็ ะมี
เราอยากได้ตามที่ ความสุข ไม่
ต้องการ แลว้ จะมี เหงา สนุกใน
อะไรเปลี่ยนไปใน การเรียน น่าจะ

ทางท่ีดขี นึ้ ขยันขนึ้ ดว้ ย

2

สร้างทาง ระบุจุด ตัง้ ตน้ วางแผนปฏบิ ัติ

เมอื่ เขา้ กลมุ่ ทีเ่ ลอื กได้ มคี วามสุข 3 คะแนน เพื่อให้เกิดการ โทรไปขอเพอื่ น
สนุก และขยนั เรยี นขึน้ ด้วย สเปิ่งทเลรน่ีีย่มิ่ ันกทเแํารไปยี ดลนค้ งสนื ขานา้ มงี้หาตรร้นถอื คนทเ่ี ราอยากเขา้
ครสู อนวทิ ยก์ ็เห็นวา่ พรงุ่ นี้เลย 1 อย่าง กลุม่ ดว้ ยคราว
หน้า
เป็นคคทรว1ูพาที่ 0มอาํ นสใทจักเุขมี่เเคปรอื่ยวยี็นเิม้ าปนอม็นตยแภทั้งขู่ลูมใณุกะใิจเอจดทะยนินาํ มา่ งี้มงคีคาาแนะะดแบแกูงนนบลานนนนมุ่ ี้
เป็นเทา่ ไหร่จาก 1-10 คอื อะไรคะ ยอด หรอื ไม่ก็
กจิ จา
คือใครคะ

3 4

ทบทวนภาพความสําเร็จ ลงมือทาํ

กมเิจมีอจะอ่ื าไโรทขเปอรไเลปขยี่ า้หนกาไลดยปมุ่ ีขอใแนึ้ดนลบทห้วา้ าจรงงอืะ น่าจะมน่ั ใจขนึ้

ภแูมล้วใิ จคเะมแื่อเนททนา่ าํ ไคตหวารามเ่มทแสียผุขบนหจแราลอื ก้วคเเดวปาิม็นม คคะงแไนดน้ 6เลหยรอื 7

โทร. 02 282 0104




Click to View FlipBook Version