The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Mama Admission 2560 วิชา เคมี-ชีววิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-16 07:17:48

Mama Admission 2560 วิชา เคมี-ชีววิทยา

Mama Admission 2560 วิชา เคมี-ชีววิทยา

Keywords: ชีววิทยา,เคมี

ครั้งที่20

PAT2วิทยาศาสตร(เคม)ี

อ.เคนอรรถเวชกุล(พเี่คน)OnDemand
อ.เดอืนเพ็ญฉายทองดี(พี่ไผ)WebyTheBrain

PAT2วิทยาศาสตร(ชวีวทิยา)

อ.นพ.วีรวชัเอนกจำนงคพร(พวี่ิเวียน)OnDemand
ดร.ณัฐชยัเกงพพิฒัน(พีบ่ก๊ิ)WebyTheBrain

รวมเปดโอกาสสเูยาวชนไทย

ทกั ทาย

โครงการ “Sahapat Admission ครั้งท่ี 20” (ทบทวนความรู้สู่มหาวิทยาลัยกับสหพัฒน์) จัดโดย
บริษัท สหพัฒนพิบูล จ�ำกัด (มหาชน) โดยผลิตภัณฑ์ มาม่า บิสชิน มองต์เฟลอ ริชเชส ร่วมมือกับ บริษัท
เนชน่ั บรอดแคสตง้ิ คอรป์ อเรชนั่ จำ� กดั (มหาชน) และ บรษิ ทั ดาตา้ โปร คอมพวิ เตอร์ ซสิ เตม็ ส์ จำ� กดั รว่ มสนบั สนนุ
โดย มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย จัดข้ึนเพือ่ เตรยี มความพรอ้ มให้แกน่ ักเรียนทก่ี ำ� ลงั เตรยี มตัวเขา้ สู่มหาวทิ ยาลยั
ซง่ึ ปนี จ้ี ัดเป็นปที ่ี 20 นบั เป็น “2 ทศวรรษ แห่งการสรา้ งโอกาสทางศกึ ษาใหก้ บั เยาวชนไทย” สำ� หรบั การจัด
ทบทวนความรูใ้ นครง้ั นี้ มคี วามเขม้ ขน้ เปน็ อยา่ งมาก เพ่อื รบั มอื ระบบการคดั เลือกเข้าศึกษาในสถาบนั การศกึ ษา
ระบบใหม่ “Thai University Central Admission System” (TCAS) ซึ่งมีหลักการที่สําคัญ คือ ให้นักเรียน
อยู่ในห้องเรียนจนจบหลักสูตร จะจัดการสอบเพ่ือการคัดเลือกได้หลังจากท่ีนักเรียนเรียนจบหลักสูตรแล้ว
ดงั นนั้ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นมธั ยมปลายไดม้ คี วามพรอ้ มอยา่ งเตม็ ท่ี กอ่ นการสอบเขา้ มหาวทิ ยาลยั การจดั ทบทวนความรู้
ในคร้งั นี้ จึงรวบรวมแนวขอ้ สอบจากทุกสนาม ทง้ั O-Net, GAT, PAT และสอบตรงวิชาสามัญ รวมทัง้ เทคนคิ พชิ ิต
TCAS61 ซงึ่ จดั ขึ้นระหวา่ งวนั ท่ี 2 - 7 ตุลาคม 2560 ท่มี หาวิทยาลยั หอการค้าไทย และสง่ สญั ญาณบรอดแบนด์
ไปยังโรงเรียนทุกภูมิภาคท่ัวประเทศ เพื่อการกระจายโอกาสทางการศึกษาที่เท่าเทียมโดยได้รับการสนับสนุน
การถา่ ยทอดสญั ญาณบรอดแบนด์ จากบริษัท ดาต้าโปร คอมพิวเตอร์ ซสิ เตม็ ส์ จ�ำกดั
คู่มอื ทบทวนความรฉู้ บับน้ี คณาจารยผ์ ้เู ช่ยี วชาญในแตล่ ะวชิ า ได้จัดเตรียมเนอื้ หาสาระส�ำคญั ๆ ไว้ใหน้ อ้ งๆ
เพื่อเข้าฟงั คำ� บรรยายในแตล่ ะวนั ตลอดระยะเวลาการตวิ โดยคณาจารยใ์ นแตล่ ะวชิ าจะอธบิ ายและขยายความ
ให้น้องๆ ได้เข้าใจถึงแก่นสาร และเติมเต็มส่ิงที่ขาดหายให้กับน้องๆ ได้มีความพร้อมในการพิชิตข้อสอบเข้า
มหาวิทยาลยั ในฝันดังท่ีปรารถนา
การท่ีจะก้าวไปสู่เส้นทางแห่งความส�ำเร็จได้น้ัน น้องๆ ต้องตั้งใจเก็บเกี่ยวความรู้ในช่วงเวลาอันสั้นนี้
ใหไ้ ดม้ ากทส่ี ดุ พๆี่ ขอเปน็ กำ� ลงั ใจใหน้ อ้ งๆ ทกุ คนสมหวงั ดงั ทต่ี ง้ั ใจและใฝฝ่ นั และขออวยพรใหโ้ ชคดใี นทกุ สนามสอบ

กองบรรณาธกิ าร
โครงการ Sahapat Admission
(ทบทวนความรู้สู่มหาวทิ ยาลัยกับสหพฒั น)์

สารบัญ

PAT2 วทิ ยาศาสตร์ (เคม)ี : อ.เคน อรรถเวชกุล (พเ่ี คน OnDemand) 3
ไฟฟา้ เคมี 12
เคมอี นิ ทรีย์

PAT2 วทิ ยาศาสตร์ (เคมี) : อ.เดอื นเพญ็ ฉายทองดี (พีไ่ ผ่ We by The Brain) 18
พันธะเคม ี 24
ปรมิ าณสารสัมพันธ ์ 25
กรดเบส

PAT2 วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) : อ.นพ. วรี วชั เอนกจำ� นงค์พร (พี่วเิ วียน OnDemand) 30
พืน้ ฐานการสังเคราะหด์ ้วยแสง
กลไกสงั เคราะหด์ ้วยแสง 32

PAT2 วิทยาศาสตร์ (ชวี วิทยา) : ดร.ณัฐชัย เก่งพิพฒั น์ (พ่บี ๊กิ We by The Brain) 42
ระบบเลือด และภมู คิ ุม้ กนั 46
ระบบขับถา่ ย และการรกั ษาดลุ ยภาพ 50
ระบบหายใจ

PAT2 วทิ ยาศาสตร์ (เคมี) อ.เคน อรรถเวชกลุ (พเ่ี คน OnDemand)

จงหาเลขออกซเิ ดชนั ของโลหะแทรนซชิ นั ในสารประกอบตอ่ ไปนี ้

ZnO Cr2O3 Fe3O4
KMnO4 ZrCl2O.8H2O [FeSCN]2+

3 โครงการ Sahapat Admission ครัง้ ที่ 20

ทบทวนความรู้สมู่ หาวิทยาลยั กบั สหพฒั น์ ครัง้ ที่20

ปฏกิ ริ ิยารีดอกซ์

ปฏิกิริยารีดกั ชนั ปฏิกิริยาออกซเิ ดชนั

1. รับอเิ ล็กตรอนจากสารอ่ืน 1. ให้อเิ ลก็ ตรอนแก่สารอื่น
2. เลขออกซเิ ดชนั ลด 2. เลขออกซเิ ดชนั เพ่มิ
3. ตวั ออกซิไดส์ = ตวั ถกู รีดิวซ์ 3. ตวั รีดวิ ซ์ = ตวั ถูกออกซไิ ดส์
4. ขัว้ แคโทด 4. ขัว้ แอโนด
5. เชน่ ไอออนบวก 5. เชน่ โลหะ

ขวั ้ แคโทดจะเกิดปฏิกิริยารีดกั ชนั ขวั ้ แอโนดจะเกิดปฏิกิริยาออกซเิ ดชนั เสมอ
สว่ นขวั ้ บวกและขวั ้ ลบนนั ้ ต้องพจิ ารณาเป็นกรณีไป ห้ามจาํ เดด็ ขาด

ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของคร่ึงเซลล์ (Eo) เป็นคา่ ท่ีใช้ในการบอกความสามารถในการชิง
หรือจา่ ยอเิ ล็กตรอน มี 2 ชนิด คือ

1. Ero หรือ Eored คอื ศกั ย์ไฟฟ้ามาตรฐานของคร่ึงเซลล์ท่ีเกิดปฏิกิริยารีดกั ชนั
เชน่ Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s) Eor = 0.34 V

2. Eoo คือ ศกั ย์ไฟฟ้ามาตรฐานของคร่ึงเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชนั
เชน่ Cu(s) → Cu2+(aq) + 2e- Eoo = -0.34 V

ทบทวนความรู้สมู่ หาวทิ ยาลยั กบั สหพฒั น์ ครัง้ ที่20

4 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ท่ี 20

Zn มีคา่ Ero ต่าํ กวา่ จงึ เสียอิเล็กตรอน เกิดการผกุ ร่อน
Cu2+ มีคา่ Eor สงู กวา่ จงึ รับอิเล็กตรอน เกิดเป็นโลหะทองแดงเคลือบที่ผวิ
ข้อควรรู้
1. Eor โลหะ < Eor สารละลายไอออนของโลหะ → โลหะจะผกุ ร่อน
2. ความสามารถในการชิงอเิ ลก็ ตรอนของไอออนของโลหะ (ตวั ออกซไิ ดส์) ท่ีควรจํา
สามารถเรียงลําดบั ได้ดงั นี ้

Ag+ > Cu2+ > Pb2+ > Zn2+ > Mg2+

ทบทวนความรู้สมู่ หาวทิ ยาลยั กบั สหพฒั น์ ครัง้ ท่ี20

5 โครงการ Sahapat Admission ครงั้ ท่ี 20

6 โครงการ Sahapat Admission ครั้งท่ี 20

ข้อควรรู้
1. ขัว้ แอโนด (Anode) คือ ขวั้ ท่ีเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชนั มคี า่ Eor ต่าํ กวา่

ทําให้โลหะท่ีใช้ทําขวั้ ไฟฟ้าเกิดการผกุ ร่อน
2. ขัว้ แคโทด (Cathode) คอื ขวั้ ท่ีเกิดปฏิกิริยารีดกั ชนั มีคา่ Eor สงู กวา่

ทําให้เกิดการสะสมตวั ของโลหะที่ใช้ทําขวั้ ไฟฟ้า
3. สาํ หรับเซลล์กัลวานิก ขวั้ แคโทดเป็นขวั้ บวก ขวั้ แอโนดเป็นขวั้ ลบ
4. กระแสอิเล็กตรอนจะไหลออกจากขวั้ แอโนดซง่ึ เกิดปฏิกิริยาออกซเิ ดชนั ไปยงั

ขวั้ แคโทด และมีทิศทางเดียวกบั เขม็ ของโวลตม์ ิเตอร์
5. กระแสไฟฟ้าท่ีเกิดขึน้ เป็นไฟฟา้ กระแสตรง

ทบทวนความรู้สมู่ หาวทิ ยาลยั กบั สหพฒั น์ ครัง้ ท่ี20

7 โครงการ Sahapat Admission ครง้ั ท่ี 20

จากข้อมลู ท่ีกําหนดให้ จงเขียนปฏิกิริยาที่เกิดขนึ ้ ที่ขวั้ แอโนดและขวั้ แคโทด
1. 2. Sn2+ (aq) + Fe3+(aq) → Sn4+(aq) + Fe2+(aq)

Anode | | Cathode

ข้อควรรู้
1. กรณีสารมีสถานะตา่ งกนั ให้ใช้เครื่องหมาย | คน่ั

Pt(s)|H2(g)|H+(aq)||Pt2+(aq)|Pt(s)
2. ถ้าคร่ึงเซลล์ไมม่ ีโลหะในสถานะของแข็งเป็นขวั้ ไฟฟ้า ให้ใช้ขวั้ เฉื่อยเป็นขวั้ ไฟฟา้
3. กรณีทราบความเข้มข้นของสารละลายหรือความดนั ของแก๊ส ต้องระบคุ วามเข้มข้น

และความดนั ด้วย Pt(s)|H2(1 atm)|H+(1 mol/dm3)||Pt2+(1 mol/dm3)|Pt(s)
4. กรณีท่ีครึ่งเซลล์มีสารละลายมากกวา่ 1 ชนิด ให้ใช้เคร่ืองหมาย , คนั่

Pt(s)|H2(g)|H+(aq)||Fe3+(aq), Fe2+(aq)|Pt(s)

ทบทวนความรู้สมู่ หาวทิ ยาลยั กบั สหพฒั น์ ครัง้ ที่20

8 โครงการ Sahapat Admission ครั้งท่ี 20

9 โครงการ Sahapat Admission ครั้งท่ี 20

ข้อสอบเข้ามหาวทิ ยาลัยล่าสุดเร่ืองไฟฟ้าเคมี

1. (กสพท. 60) กําหนดให้

ปฏกิ ริ ิยาคร่ึงเซลล์ Eo (V)

Ag+ + e- → Ag +0.80

Cu2+ + 2e- → Cu +0.34

Pb2+ + 2e- → Pb -0.13

Ni2+ + 2e- → Ni -0.27

Mg2+ + 2e- → Mg -2.36

เมื่อจมุ่ โลหะชนิดหนงึ่ ลงในสารละลายของไอออนของโลหะอีกชนิดหนงึ่

โลหะในข้อใดสามารถรีดวิ ซ์ไอออนของโลหะในสารละลายได้

1. โลหะ Pb ในสารละลาย Ni2+ 2. โลหะ Ag ในสารละลาย Cu2+

3. โลหะ Ni ในสารละลาย Mg2+ 4. โลหะ Cu ในสารละลาย Ni2+

5. โลหะ Mg ในสารละลาย Pb2+

2. (กสพท. 60) จากแผนภาพของเซลล์กลั วานิกที่กําหนดให้

X(s) | X2+(0.1 mol/dm3) | | Y3+(0.1 mol/dm3) | Y(s)

เม่ือเซลล์กลั วานิกนีเ้ริ่มทํางาน ข้อใดถกู ต้อง

1. ขวั ้ X เป็นแคโทด และความเข้มข้นของ Y3+ ลดลง

2. ขวั้ X เป็นแอโนด และความเข้มข้นของ Y3+ เพิ่มขนึ ้

3. ขวั้ Y เป็นแคโทด และอเิ ล็กตรอนเคลื่อนท่ีออกจากขวั้ Y

4. ขวั้ Y เกิดปฏิกิริยาออกซเิ ดชนั ศกั ย์ รีดกั ชนั ของขวั้ X สงู กวา่ ขวั้ Y

5. ขวั้ X มีศกั ย์ รีดกั ชนั ตา่ํ กวา่ ขวั้ Y และ X2+ มีความเข้มข้นเพิม่ ขนึ ้

ทบทวนความรู้สมู่ หาวิทยาลยั กบั สหพฒั น์ ครัง้ ท่ี20

10 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ที่ 20

3. (PAT2 ต.ค. 59) พจิ ารณาศกั ย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ รีดกั ชนั ตอ่ ไปนี ้

E° (V)

Au3+(aq) + 3e- → Au(s) +1.50

Cl2(g) + 2e- → 2Cl-(aq) +1.358
+1.229
O2(g) + 4H+(aq) + 4e- → 2H2O(l) +1.20

Pt2+(aq) + 2e- → Pt(s)

NO-3(aq) + 4H+(aq) + 3e- → NO(g) + 2H2O(l) +0.96

Ag+(aq) + e- → Ag(s) +0.80

[PtCl4]2-(aq) + 2e- → Pt(s) + 4Cl- +0.73
Cu+(aq) + e- → Cu(s) +0.521

Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s) +0.337

Cu2+(aq) + e- → Cu+(aq) +0.153

2H+(aq) + 2e- → H2(g) 0

อาศยั ข้อมลู ข้างต้น ปฏิกิริยาในข้อใดไม่สามารถเกิดขึน้ ได้เอง

1. การสลายตวั ของ Cu+ 1 mol/dm3 ให้ Cu2+ และ Cu

2. การละลายโลหะทองแดงในกรดไฮโดรคลอริก 1.0 mol/dm3

3. การละลายโลหะเงินด้วยกรดไนตริก 1.0 mol/dm3

4. การละลายแพลทนิ มั ด้วยกรดไนตริก 1.0 mol/dm3 เมื่อมี Cl- ผสมอยดู่ ้วย

5. ถกู ทงั้ ข้อ 2 และ 4

ทบทวนความรู้สมู่ หาวิทยาลยั กบั สหพฒั น์ ครัง้ ท่ี20

11 โครงการ Sahapat Admission คร้ังที่ 20

ประเภทของ สตู รโมเลกลุ ช่อื หม่ฟู ังก์ชนั สตู รท่วั ไป สตู รโครงสร้าง
สารประกอบ (กรณีโซ่เปิ ด)
- RH2CCH2R' CH3CH3
แอลเคน CnH2n+2 พนั ธะครู่ ะหวา่ ง C RHC=CHR' CH2=CH2
แอลคนี CnH2n พนั ธะสามระหวา่ ง C
แอลไคน์ CnH2n-2 ROH CH3CH2OH
แอลกอฮอล์ CnH2n+2O ไฮดรอกซิล ROR' CH3OCH3
อเี ทอร์ CnH2n+2O แอลคอกซี

แอลดีไฮด์ CnH2nO คาร์บอกซาลดไี ฮด์
CnH2nO คาร์บอนลิ
คโี ตน CnH2nO2 คาร์บอกซิล
กรดคาร์บอกซิลกิ
(กรดอนิ ทรีย์)

เอสเทอร์ CnH2nO2 แอลคอกซีคาร์บอนิล RNH2 CH3NH2
เอมีน อะมโิ น
เอไมด์ CnH2n+3N

(กรณี N1อะตอม)

CnH2n+1NO เอไมด์

ทบทวนความรู้สมู่ หาวทิ ยาลยั กบั สหพฒั น์ ครัง้ ที่20

12 โครงการ Sahapat Admission คร้ังที่ 20

จาํ นวนอะตอม C Greek prefix หมู่ฟังก์ชัน Suffix
-ane
1 meth- RH2CCH2R' -ene
2 eth- RHC=CHR' -yne
3 prop- -ol
4 but- ROH -oic acid
5 pent-
6 hex- RNH2 -oate
7 hept-
8 oct- -anal
9 non-
10 dec- -one
11 undec-
12 dodec- -amine
-amide
จงอา่ นชื่อสารประกอบอินทรีย์ตอ่ ไปนี ้

1. CH3CH2CH3
2. CH2=CHCH3
3. CH3CH2OH
4. CH3CH2NH2

ทบทวนความรู้สมู่ หาวทิ ยาลยั กบั สหพฒั น์ ครัง้ ที่20

13 โครงการ Sahapat Admission ครั้งท่ี 20

1. เรียงชื่อหมแู่ ทนท่ีตามตวั อกั ษรภาษาองั กฤษ 2. ระบตุ ําแหนง่ ของหมแู่ ทนที่
(ไมน่ บั รวม prefixes, sec-, tert-)
4-ethyl-2-methylhexane
Number Prefix
3-ethyl-3-methylhexane
2 di- 4. ใช้ prefixes นําหน้าหมแู่ ทนท่ี
3 tri-
4 tetra- ตามจํานวนของหมแู่ ทนที่ท่ีซํา้ กนั
5 penta- 2, 3, 4-trimethylpentane
6 hexa-
7 hepta-
8 octa-
9 nona-
10 deca-

3. ถ้าเลขประจําตําแหนง่ เทา่ กนั และมีคา่ น้อยที่สดุ
เมื่ออา่ นจากทงั้ สองทศิ ทาง ให้หมแู่ ทนที่ที่ต้องอ่าน
ชื่อกอ่ น มีตําแหนง่ ที่ต่ํากวา่

3-bromo-5-chloroheptane

ทบทวนความรู้สมู่ หาวทิ ยาลยั กบั สหพฒั น์ ครัง้ ท่ี20

14 โครงการ Sahapat Admission คร้ังที่ 20

สาร ท่มี ืด Br2
แอลเคน ท่ีสว่าง

แอลคีน

แอลไคน์

อะโรมาตกิ

แอลคีน

แอลไคน์

แอลไคน์ท่วั ไป

เทอร์มนิ ัลแอลไคน์

ทบทวนความรู้สมู่ หาวิทยาลยั กบั สหพฒั น์ ครัง้ ท่ี20

15 โครงการ Sahapat Admission คร้ังที่ 20

ข้อสอบเข้ามหาวทิ ยาลัยล่าสุด เร่ืองเคมีอนิ ทรีย์

1. (กสพท. 60) สารประกอบ X และ Y ซง่ึ แตล่ ะสารมีเพียง 1 หมฟู่ ังก์ชนั และมีจํานวนอะตอม
ของคาร์บอนเทา่ กนั สารประกอบ X และ Y ในข้อใดไม่มีโอกาสเป็นไอโซเมอร์กนั

X Y

1. อีเทอร์ แอลกอฮอล์
2. เอสเทอร์ กรดคาร์บอกซลิ ิก
3. เอไมด์
4. แอลดีไฮด์ เอมีน
5. แอลคนี คีโตน
ไซโคลแอลเคน

2. (กสพท. 59) พิจารณาสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (CxHy) 4 ชนิด คือ A, B, C และ D
ถ้ามวลโมเลกลุ ของ A = 58, B = 56, C = 44 และ D = 42 การเปรียบเทียบจํานวนโครงสร้าง
ไอโซเมอร์ที่เป็นไปได้ของสารทงั้ 4 ชนิด ข้อใดถกู ต้อง
1. A > B > C > D
2. B > A > D > C
3. A = B > C = D
4. B > A > C = D
5. B > A = D > C

ทบทวนความรู้สมู่ หาวิทยาลยั กบั สหพฒั น์ ครัง้ ท่ี20

16 โครงการ Sahapat Admission ครงั้ ท่ี 20

3. (กสพท. 57) เม่ือสารตงั้ ต้นท่ีกําหนดให้ทําปฏิกิริยากบั โบรมีน
ผลิตภณั ฑ์ที่ได้ในข้อใดถกู ต้อง

สารตงั้ ต้นท่กี าํ หนดให้ ผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้

1.

2.
3.
4.

5.

4. (PAT2 พ.ย. 58) แอลไคน์ทําปฏิกิริยากบั สารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต จะได้
ผลติ ภณั ฑ์ที่เป็นสารประกอบกรดคาร์บอกซิลิก หรือไดคีโตน ขนึ ้ กบั ตําแหนง่ ของพนั ธะสาม
ถ้าเตมิ สารละลายโพเทสเซียมเปอร์แมงกาเนตที่ความเข้มข้นเดียวกนั ด้วยปริมาตรเทา่ กนั
สารประกอบแอลไคน์ในข้อใดจะให้สารละลายมีคา่ pH ต่ําสดุ

ทบทวนความรู้สมู่ หาวทิ ยาลยั กบั สหพฒั น์ ครัง้ ท่ี20

17 โครงการ Sahapat Admission ครั้งท่ี 20

PAT2 วิทยาศาสตร์ (เคม)ี อ.เดอื นเพ็ญ ฉายทองดี (พ่ไี ผ่ We by The Brain)


 
 
 

 

พนั ธะ
 เคมี



1. โครงสร้างสารประกอบไอออนกิ

สารประกอบไอออนกิ มโี ครงสร้างที่แนน่ อน มไี อออนบวกและไอออนลบเรยี งสลบั กนั
อย่างมรี ะเบียบ เรยี ก จํานวนไอออนที่ห้อมลอ้ มไอออนอนื่ วา่ เลขโคออดเิ นชันนัมเบอร์
(Coordination number)

1.1 โครงสร้างแบบโซเดยี มคลอไรด์ (NaCl)

Cl- มีเลขโคออดเิ นชันแบบ 6 : 6 น่นั คอื ไอออนลบ
Na+ แต่ละตัวจะถกู ไอออนบวกล้อมรอบ 6 ไอออน และ
ไอออนบวกแต่ละตวั กจ็ ะถูกไอออนลบล้อมรอบ 6
รปู โครงสรา้ งผลึกของ NaCl ไอออน เชน่ กัน

ตวั อย่าง NaF, NaBr, NaI, KBr, KCl, KI,
MgO, MgS, CaO, CaS, PbS, CdO, AgCl, MnS,
MnO, NH4I

1.2 โครงสรา้ งแบบซีเซียมคลอไรด์ (CsCl)

Cl- มเี ลขโคออดิเนชันแบบ 8 : 8 น่ันคอื ไอออนลบ
Cs+ แต่ละตวั จะถกู ไอออนบวกลอ้ มรอบ 8 ไอออน และ
ไอออนบวกแต่ละตัว ก็จะถกู ไอออนลบลอ้ มรอบ 8
รปู โครงสร้างผลกึ ของ CsCl ไอออน

ตวั อยา่ ง CsCl, CsI, NH4Cl

1.3 โครงสร้างแบบแคลเซยี มฟลูออไรด์ (CaF2)

F- มเี ลขโคออดเิ นชันแบบ 4 : 8 น่นั คือ ไอออนลบ
แต่ละตัวจะถกู ไอออนบวกล้อมรอบ 4 ไอออน และ
Ca2+ ไอออนบวกแต่ละตัว กจ็ ะถกู ไอออนลบลอ้ มรอบ 8
ไอออน

รปู โครงสรา้ งผลกึ ของ CaF2 ตัวอย่าง SrF2, SrCl2, SrF2, BaCl2, CdF2,
PbF2, ZrO2, HfO2


 

ทบ1ท8วนคโวคารมงรูส้กมู่าหราSวทิ aยhาaลpัยaกtับสAหdพmัฒisนs์ คioร้งัnท่ี2ค0ร ัง้
  ที่ 20

 
 
 

 

1.4 โครงสรา้ งแบบซิงค์ซัลไฟด์ (ZnS)

S2- มเี ลขโคออดิเนชันแบบ 4 : 4 นน่ั คือ ไอออนลบ
Zn2+ แต่ละตัวจะถกู ไอออนบวกล้อมรอบ 4 ไอออน และ
ไอออนบวกแตล่ ะตัว กจ็ ะถกู ไอออนลบลอ้ มรอบ 4
รปู โครงสรา้ งผลกึ ของ ZnS ไอออน

ตวั อย่าง CuCl, BeS, CuBr, CdS, AgI, HgS

สารประกอบไอออนิกไม่มีสตู
 รโมเลกลุ มแี ตส่ ตู รอย่างง่าย
โดยอัตราส่วนอยา่ งต่ําของจํานวนไอออนบวกกับไอออนลบ

จะเป็นสตู รสารประกอบไอออนิกนัน้ ๆ

1. พจิ ารณาโครงสร้างของสารประกอบไอออนกิ Na2O ดงั รูป

จาํ นวนไอออนทีล่ ้อมรอบ Na+ และ O2-
และ คา่ อัตราสว่ นอย่างต่ําของ Na+ : O2-
เป็นไปตามข้อใด (สามัญ 2559)
กำหนด ลกู กลมสีขาวแทน Na+, สดี ําแทน O2-

จาํ นวนไอออนท่ี อัตราส่วนอย่างต่าํ
ลอ้ มรอบ Na+ และ O2- ของ Na+ : O2-
1. 4 และ 4 1:1
2. 4 และ 8 1:2
3. 4 และ 8 2:1
4. 8 และ 4 1:2
5. 8 และ 4 2:1


 


 
ทบทวนความรูส้ ่มู หาวิทยาลัยกบั สหพัฒน์ คร้งั ท่2ี 0
 

19 โครงการ Sahapat Admission คร้ังที่ 20

 
 
 

 

2. พจิ ารณาโครงสร้างของสารประกอบออกไซดข์ องธาตสุ มมติ A, B, C และ D
ซึง่ เปน็ ธาตใุ นคาบท่ี 3 ในตารางตอ่ ไปน้ี

ออกไซด์ของธาตุ รายละเอียดของโครงสร้าง
A A แตล่ ะตวั มี O ลอ้ มรอบ 4 ตัว และ
B
C O แตล่ ะตวั มี A ล้อมรอบ 2 ตวั
D B แตล่ ะตัวมี O ล้อมรอบ 6 ตวั และ

O แตล่ ะตัวมี B ลอ้ มรอบ 4 ตวั
C แต่ละตัวมี O ล้อมรอบ 4 ตัว และ

O แต่ละตวั มี C ล้อมรอบ 8 ตัว
D แตล่ ะตวั มี O ลอ้ มรอบ 6 ตัว และ

O แตล่ ะตัวมี D ล้อมรอบ 6 ตวั

หมายเหตุ มีธาตุ 3 ตัวเป็นโลหะ และธาตุ 1 ตัวเป็นก่งึ โลหะ ข้อใดถกู
1. ขนาดของ A > B > C > D
2. ความสามารถในการรับอิเลก็ ตรอนของ A > B > C > D
3. ค่าพลังงานไอออไนเซชันอนั ดบั 1 ของ D > C > B > A
4. เลขออกซเิ ดชันของ A, B, C และ D ในสารประกอบออกไซดเ์ หลา่ น้ีเป็น +2, +3, +4

และ +1 ตามลาํ ดับ


  EN IE1


  ความเปน็ โลหะ


 


  IE1 EN


 


 

ความเป็นโลหะ
 
ทบทวนความรู้ส่มู หาวทิ ยาลยั กบั สหพัฒน์ ครั้งท2่ี 0
 

20 โครงการ Sahapat Admission ครง้ั ที่ 20

 
 
 

 

3. 20Ca เกดิ สารประกอบไอออนิกกับ A, B และ C โดยมีรายละเอยี ดของโครงสรา้ งดังน้ี

สารประกอบไอออนิกระหว่าง รายละเอยี ดของโครงสรา้ ง
Ca กบั A Ca แต่ละตวั มี A ล้อมรอบ 8 ตัว และ
Ca กับ B A แตล่ ะตัวมี Ca ลอ้ มรอบ 4 ตัว
Ca กับ C
Ca แตล่ ะตวั มี B ลอ้ มรอบ 6 ตวั และ
B แต่ละตวั มี Ca ลอ้ มรอบ 6 ตัว

Ca แต่ละตวั มี C ลอ้ มรอบ 4 ตัว และ
C แตล่ ะตัวมี Ca ลอ้ มรอบ 6 ตัว

ธาตุ A, B และ C เปน็ ธาตใุ นคาบที่ 2 จากข้อมูลข้างตน้ ข้อใดผิด (PAT 2 มนี าคม 2556)

1. ขนาดอะตอม C > B > A
2. สารประกอบระหวา่ ง A และ B มีสูตรเปน็ BA2
3. คา่ EN C > B > A
4. ความเปน็ ไอออนกิ ของสาระกอบระหวา่ ง Ca และ A มมี ากทีส่ ดุ


 


 

2. การหาจํานวนอเิ ลก็ ตรอนคู่โดดเด่ยี วรอบอะตอมกลาง

หลกั อะตอมกลาง คือ อะตอมทมี่ ีคา่ EN ตา่ํ สุด หรอื มีแขนพันธะเยอะสดุ

ตัวอยา่ ง จงพิจาณาวา่ อะตอมใดเป็นอะตอมกลางในแต่ละสารประกอบ

ขอ้ สารประกอบ อะตอมกลาง ขอ้ สารประกอบ อะตอมกลาง

1. PCl5 3. CO2

2. HCN C 4. H2O O


 
ทบทวนความรู้สู่มหาวิทยาลยั กับสหพัฒน์ ครง้ั ที2่ 0
 

21 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ที่ 20

 
 
 

 

ตัวอยา่ ง จงหาจาํ นวนอิเลก็ ตรอนคโู่ ดดเดย่ี วรอบอะตอมกลาง

e- โดดเด่ยี ว = หมู่ - แขน
รอบอะตอมกลาง อะตอมกลาง อะตอมปลาย

1. CO2 2. H2O = 6 - 2 = 4 ตวั หรอื 2 คู่
3. H3O+ 4. SF4 = 6 - 4 = 2 ตัว หรือ 1 คู่

3. รปู ร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

รูปร่างโมเลกลุ รูปรา่ งโมเลกลุ รูปร่างโมเลกลุ

AX2 เส้นตรง AX3 สามเหล่ียมแบนราบ AX2E มุมงอ (ตวั ว)ี

AX4 ทรงส่หี น้า พีระมดิ ฐAานXส3Eามเหลี่ยม AX2E2 มุมงอ (ตัวว)ี

พรี ะมดิ คฐู่ AานXส5 ามเหลี่ยม AX4E (Seesew) AX3E2 ตัวที
ทรงสี่หน้าทีบ่ ดิ เบ้ียว

AX2E3 เส้นตรง AX6 ทรงแปดหนา้ AX5E พรี ะมิดฐานสเ่ี หลย่ี ม

กำหนด A = อะตอมกลาง
X = อะตอมปลาย
AX4E2 สี่เหลย่ี มแบนราบ E = อิเลก็ ตรอนคูโ่ ดดเด่ยี ว


 

ทบทวนความรู้สู่มหาวทิ ยาลยั กับสหพัฒน์ ครงั้ ท่ี20
 

22 โครงการ Sahapat Admission คร้ังที่ 20

 
 
 

 

วิธี TRANSFORMERS !! By เจ้ไผ่

สารประกอบ E AXmEn รปู ร่าง
1. H2O (e- คู่โดดเดีย่ ว)

2 คู่

2. BF3 0 คู่ AX3

3. CO2 0 คู่ AX2

4. H3O+ 1 คู่ AX3E

5. SF4 1 คู่ AX4E


 
ทบทวนความรู้สู่มหาวิทยาลัยกบั สหพัฒน์ ครัง้ ที่20
 

23 โครงการ Sahapat Admission ครงั้ ท่ี 20

 
 
 

 

1. พจิ ารณาโครงสรา้ งสารประกอบฟลอู อไรดข์ องธาตุ A, D, E, G (เลขอะตอมนอ้ ยกวา่ 55)

กระดานหก พิระมิดฐานสีเ่ หลีย่ ม พริ ะมดิ ฐานสามเหล่ยี ม พริ ะมิดฐานหา้ เหลี่ยม
จากข้อมลู ขา้ งต้นจงเปรียบเทยี บจํานวนวาเลนซอ์ ิเลก็ ตรอนของ ธาตุ A, D, E, G
(PAT 2 มนี าคม 2559)

ปรมิ าณสา
ร  สมั พันธ์

ผลได้จรงิ คือ ปริมาณผลิตภณั ฑ์ท่ไี ดม้ าจากการทดลอง (ชั่งมา วดั ได้ ทดลองได้)
ผลไดต้ ามทฤษฎี คือ ปริมาณผลติ ภัณฑ์ท่ไี ด้ตามทฤษฎซี ึง่ ได้มาจากการคํานวณ

1. ถ้าเผาโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต จะเกดิ ปฏกิ ิริยาดังนี้
NaHCO3(s) ! Na2CO3(s) + CO2(g) + H2O(g) (สมการยงั ไม่ดุล)

ถา้ กระบวนการนี้ให้ผลไดร้ ้อยละ 80 เมื่อเริม่ ดว้ ยโซเดยี มไฮโดรเจนคารบ์ อเนต 420 kg
จะไดโ้ ซเดยี มคาร์บอเนตก่กี ิโลกรมั (สามญั 2559)
1. 168
2. 212
3. 265
4. 424
5. 530


 

 

 


 
ทบทวนความรูส้ ูม่ หาวทิ ยาลยั กับสหพัฒน์ คร้ังที่20
 

24 โครงการ Sahapat Admission ครง้ั ท่ี 20

 
 
 

 
กรด
เ   บส


1. เบสแก่ กรดแก่

เบสแก่ คอื เบสทีแ่ ตกตวั ไดห้ มด (เบสท่ีมหี มู่ 1 หรือ หมู่ 2 ยกเว้น Be(OH)2)
ตัวอย่างเบสแก่ เชน่ LiOH, NaOH, KOH, Ca(OH)2, Ba(OH)2, Sr(OH)2

กรดแก่ คอื กรดท่แี ตกตวั ไดห้ มด เช่น HCl, HBr, HI, H2SO4, HNO3, HClO4


 

2. pH, pOH, [H+], [OH-]


 

log 2 = 0.3 log 3 = 0.5

  log 4 = 0.6 log 5 = 0.7

3. การคาํ นวณปฏิกิรยิ ากรดผสมเบส


 

1. กรด – เบส ทาํ ปฏกิ ิริยากันพอดี

สูตร คาํ นวณสารต้ังตน้ ที่ทําปฏิกริ ิยากนั พอดี


 

เมื่อ a, b = จาํ นวน H+ ในกรด หรือ จาํ นวน OH- ในเบส
pH หลังเกิดปฏิกริ ยิ าคดิ จากเกลอื ทเี่ กิดข้นึ ดังนี้

- เกลอื กลาง (เกิดจากกรดแก่ + เบสแก่) : pH = 7
- เกลือกรด (เกิดจากกรดแก่ + เบสออ่ น) : pH < 7 สตู ร
- เกลือเบส (เกิดจากกรดอ่อน + เบสแก)่ : pH > 7 สูตร


 
ทบทวนความรูส้ มู่ หาวิทยาลยั กับสหพัฒน์ คร้งั ที2่ 0
 

25 โครงการ Sahapat Admission ครงั้ ท่ี 20

 
 
 

 

2. กรด – เบส ทําปฏกิ ิรยิ ากันไมพ่ อดี

1) ถา้ ทาํ ปฏิกิริยาแล้ว แกเ่ หลือ pH คดิ จากตวั แก่ทเ่ี หลอื
กรดแก่ หรือ เบสแก่ หา [H+] หรอื [OH-] ไดเ้ ลย แคน่ บั จาํ นวน H+หรอื OH-
M[H+!] =[O…H-…] =……………………[H…2S…O…4]…=…0.…3 M…!……[H…+]…=…………………….……..…...
EX [HCl] = 0.2 M !
[Ca(OH)2] = 0.4

2) ถ้าทาํ ปฏิกริ ยิ าแลว้ อ่อนเหลือจะเกดิ บฟั เฟอร์

ถ้ากรดออ่ นเหลอื
จะเปน็ บฟั เฟอร์กรด

ถา้ เบสอ่อนเหลือ
จะเปน็ บฟั เฟอรเ์ บส


 

1. ทำการไทเทรตหาความเข้มขน้ ของสารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ ปริมาตร 20.00 cm3 ดว้ ย
การเติมสารละลายแอมโมเนยี 0.300 mol/dm3 ลงไปทำปฏิกริ ยิ า พบวา่ การไทเทรตถึงจดุ
สมมูลเม่อื ปรมิ าตรรวมของสารละลายในขวดรปู ชมพูเ่ ท่ากับ 30.0 cm3

ก. สารละลายทจ่ี ดุ สมมูล เปล่ยี นสีกระดาษลติ มัสจากนำ้ เงนิ เปน็ แดง
ข. ความเขม้ ข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอรกิ มีค่ ่า 0.450 mol/dm3
ค. ในการไทเทรตควรเลอื กใช้ฟนี อลฟ์ ทาลีน (ชว่ ง pH 8.3-10.0) เป็นอนิ ดเิ คเตอร์
จากข้อสรปุ ก, ข และ ค ทกี่ ำหนดให้ ตวั เลอื กขอ้ ใดกลา่ วได้ถูกต้อง (PAT 2 ต.ค. 59)

1. มีข้อถูกเพียงข้อเดยี ว
2. ขอ้ ก และ ข ถูก
3. ขอ้ ก และ ค ถูก
4. ขอ้ ข และ ค ถกู
5. ถูกทัง้ ก ข และ ค


 

 


 
ทบทวนความรู้สู่มหาวทิ ยาลยั กบั สหพัฒน์ ครั้งที2่ 0
 

26 โครงการ Sahapat Admission ครั้งท่ี 20

 
 
 

 

NOTE การเลอื กอนิ ดเิ คเตอรท์ ่ีใช้บอกจดุ ยุติในการไทเทรต

การไทเทรต เกลือท่ีเกดิ
ข   ้ึน pH ของอินดเิ คเตอร์ทใ่ี ช้
กรดแก่ + เบสแก่ เกลอื กลาง ประมาณ 7
กรดแก่ + เบสออ่ น เกลือกรด <7
กรดอ่อน + เบสแก่ เกลือเบส >7

2. ผสมสารละลาย NaOH 2 mol/dm3 จํานวน 100 cm3 กบั สารละลาย NaOH 3 mol/dm3
จํานวน 100 cm3 และสารละลาย HCl 2 mol/dm3 จาํ นวน 100 cm3 สารละลายทไ่ี ด้จะมีค่า
pH เทา่ ใด


 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


 
ทบทวนความรูส้ มู่ หาวทิ ยาลัยกับสหพัฒน์ คร้ังท่2ี 0
 

27 โครงการ Sahapat Admission ครง้ั ท่ี 20

 
 
 

 

3. NH3 เปน็ แกส๊ ท่ลี ะลายน้ําไดด้ ี และเกดิ ปฏิกิรยิ ากบั สารละลาย HCl ได้ดังสมการ
NH3(g) + HCl(aq) ! NH4Cl(aq)
ถา้ นาํ แกส๊ NH3 3.4 กรัม ทาํ ปฏกิ ิรยิ ากับสารละลาย HCl เข้มขน้ 0.20 mol/dm3 ปริมาตร
500 cm3 โดยท่แี กส๊ NH3 ไม่ทาํ ให้ปริมาตรของสารละลายเปลีย่ นแปลง
หลงั จากเกดิ ปฏิกริ ิยาสมบรู ณ์สารละลายมี pH เท่าใด
(กําหนดให้ Kb ของ NH3 = 2 × 10-5, log 2 = 0.3 , log 3 = 0.5 และ มวลอะตอมของ
N = 14 , H = 1 , Cl = 35.5) (PAT 2 ต.ค. 59)

1. 4.7
2. 5.0
3. 5.2
4. 9.0
5. 9.3


 


 


 


 


 


 


 

4. บฟั เฟอร์

ตวั อยา่ ง สารคู่ใดสามารถเป็นสารละลายบัฟเฟอรไ์ ด้

______ 1. HNO2 2 mol + NaOH 1 mol
______ 2. NH3 0.1 M 50 cm3 + Hl 0.1 M 30 cm3
______ 3. NaOH 0.01 M 100 cm3 + CH3COOH 0.05 M 20 cm3
______ 4. NaOH 0.1 M 100 cm3 + HCl 0.1 M 150 cm3


 
ทบทวนความรู้สูม่ หาวทิ ยาลยั กับสหพัฒน์ คร้ังที2่ 0
 

28 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ท่ี 20

 
 
 

 


 


 


 


 

ท2บ9ทวนโคครวางมกราู้สรู่มหSาaวhทิ aยpาaลtัยกAบั dสmหiพsัฒsiนo์nครคั้งรทง้ั่ี2ท0ี่
2  0

PAT2 วิทยาศาสตร์ (ชวี วิทยา) อ.นพ. วรี วชั เอนกจำ� นงคพ์ ร (พี่วเิ วียน OnDemand)

30 โครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 20

31 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ท่ี 20

32 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ท่ี 20

33 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ท่ี 20

34 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ท่ี 20

35 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ท่ี 20

36 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ท่ี 20

37 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ท่ี 20

38 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ท่ี 20

39 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ท่ี 20

40 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ท่ี 20

1. ในกระบวนการถา่ ยทอดอเิ ล็กตรอนของปฏกิ ิริยาแสง การสญู เสียอเิ ลก็ ตรอนของศนู ย์กลางปฏกิ ิริยาของระบบแสง II
ซึง่ มีคลอโรฟิลล์เอเป็ นศนู ย์กลางปฏกิ ิริยาจะทาให้เกิดผลดงั ข้อใด (PAT2 ต.ค. 59)
1. อิเลก็ ตรอนมีพลงั งานลดลงและถกู ถ่ายทอดไปยงั ตวั รับอิเลก็ ตรอนตา่ งๆ จนถึงลเู มน
2. โปรตอนถกู กระต้นุ จงึ มีพลงั งานเพ่ิมขนึ ้ จนสามารถแยง่ ชิงอิเลก็ ตรอนจากเยอื่ ไทลาคอยด์
3. มีการดงึ อิเลก็ ตรอนจากนา้ ทาให้โมเลกลุ ของนา้ แยกสลายได้ออกซเิ จนและโปรตอน
4. โปรตอนเคลือ่ นย้ายจากลเู มนสสู่ โตรมา ทาให้เกิดความแตกตา่ งของความเข้มข้นของโปรตอนระหวา่ งลเู มนกบั สโตรมา
5. มีการเคลอื่ นย้ายอิเล็กตรอนไปสคู่ ลอโรฟิลล์เอทเ่ี ป็ นศนู ย์กลางของปฏิกิริยาของระบบแสง I และกลบั มาสรู่ ะบบแสง II
เป็ นวฏั จกั ร

2. ข้อใดเป็ นคใู่ ห้และรับอิเลก็ ตรอนโดยตรง ทีเ่ กิดขนึ ้ ใน light reaction ของกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง (วชิ าสามญั 58)

ตวั ให้อเิ ล็กตรอน ตัวรับอเิ ลก็ ตรอน

1. Carotene Xanthophyll

2. Chlorophyll b Chlorophyll a

3. Chlorophyll a NAD+

4. Chlorophyll a NADP+
5. Ferredoxin NADP+

3. หากนกั วิจยั ต้องการติดตามวา่ สารอินทรีย์ทข่ี ้าวโพดสร้างขนึ ้ จากกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงถกู นาไปเก็บไว้ในเมลด็

เป็ นสดั สว่ นเทา่ ใด นกั วจิ ยั ควรใช้สารกมั มนั ตรังสชี นิดใดสาหรับการตดิ ฉลากในการศกึ ษาดงั กลา่ ว (วชิ าสามญั 59)

1. 14CO2 2. C18O2
3. 3H2O 4. H218O
5. 14CO2 และ H218O

4. ในเวลากลางคนื เราจะตรวจพบการสะสมของกรดมาลกิ ซง่ึ เปล่ียนมาจากกรดออกซาโลแอซิตกิ ในพืชซีเอเอ็ม (CAM)

ท่บี ริเวณใดมากทีส่ ดุ (PAT2 พ.ย. 57)

1. แวคิวโอล (vacuole) 2. ไซโทซอล (cytosol)

3. คลอโรพลาสต์ (chloroplast) 4. ลวิ โคพลาสต์ (leucoplast)

ทบท41วนคโควารมงกรู้สารมู่ หSaาhวaทิ pยaาtลAยั dกmบั iสssหioพnฒั คนร์ ัง้คทรี่ัง้ 2ท0ี่20

PAT2 วิทยาศาสตร์ (ชวี วทิ ยา) ดร.ณัฐชยั เกง่ พพิ ฒั น์ (พี่บ๊กิ We by The Brain)

1. ระบบเลือด และภูมคิ มุ้ กนั

ระบบเลือดของปลา ระบบเลือดของกบ

ระบบเลือดของคน

ลำ� ดับการไหลเวียนของเลอื ด
เลอื ดด�ำจากส่วนตา่ งๆของร่างกาย

42 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ที่ 20

1. สตั วม์ กี ระดกู สันหลังชนดิ หนง่ึ มโี ครงสรา้ งหวั ใจแบง่ เปน็ 2 หอ้ ง
โดยมีตำ� แหน่งลำ� ตัวดงั แผนภาพ
ก�ำหนดใหแ้ สดงทศิ ทางการไหลของเลอื ด


ข้อใดกลา่ วถึงระบบหมุนเวียนเลือดในสัตวม์ กี ระดูกสันหลงั ชนดิ น้ไี ด้ถูกตอ้ ง (PAT ต.ค. 59)
1. หอ้ งหัวใจ ง คอื ห้องเอเตรยี ม
2. ต�ำแหนง่ ก แสดงอวยั วะแลกเปล่ียนแก๊ส
3. เลอื ดท่ีมอี อกซิเจนสงู ไหลเขา้ สู่หลอดเลอื ด ข
4. ห้องหัวใจ ค และ หอ้ งหวั ใจ ง เปน็ ทางผา่ นของเลือดท่ีมีออกซเิ จนต่�ำเทา่ น้ัน
5. การท่หี วั ใจไม่แบง่ เปน็ ห้องซา้ ย-ห้องขวา ท�ำใหเ้ กิดการผสมของ
เลอื ดแดงและเลือดดำ� ในหวั ใจ

2. ภายในหัวใจของสัตว์มีกระดูกสันหลังชนิดใด ที่ไม่พบการปนกันระหว่าง เลือดที่มีออกซิเจนต่�ำ
และเลอื ดทีม่ อี อกซเิ จนสูง (PAT ม.ี ค. 60)
1. เตา่ นา 2. ปลาดกุ
3. กบหนอง 4. คางคกบ้าน
5. งูสามเหล่ียม

3. เสน้ เลือดตอ่ ไปน้ี
เสน้ ใดเป็นเส้นเลือดแดง
(PAT มี.ค. 59)
เติมคำ� ตอบ .................................................................

43 โครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 20

Artery Capillary Vein
ลักษณะ

ชน้ั กลา้ มเนื้อ - จาก arteriole เห็น
ความหนา 20% ไป venule 75%
พ้นื ทผี่ วิ
ล้ินในเสน้ เลอื ด -
ทศิ ทางการไหล 5%

มองจากภายนอก
ปรมิ าณเลอื ด
ความเรว็
แรงดนั

ความดนั เลอื ดในเส้นเลือดต่างๆ Blood pressure VS Osmotic pressure

44 โครงการ Sahapat Admission ครงั้ ท่ี 20

4. ขอ้ ใดถกู เกี่ยวกบั ลักษณะของหลอดเลือดในสัตว์เล้ยี งลูกดว้ ยนม (PAT พ.ย. 58)
1. หลอดเลือด artery มีผนงั บางกวา่ หลอดเลอื ด arteriole
2. หลอดเลอื ด venule มีผนงั หนากว่า หลอดเลอื ด arteriole
3. เลอื ดในหลอดเลอื ดฝอย ไหลเรว็ กว่า ในหลอดเลือด venule
4. เลือดในหลอดเลือด vein มกี ารแลกเปล่ยี นสารกบั interstitial fluid
5. ความดันเลือดในหลอดเลือด vena cava มีค่าต่�ำกวา่ ในหลอดเลือดฝอย

5. ในภาวะทรี่ า่ งกายเกดิ การขาดโปรตนี อาจมผี ลทำ� ใหค้ วามดนั ออสโมตกิ ของของเหลวระหวา่ งเซลล์
มคี ่าลดลง หากความดนั ออสโมตกิ มคี า่ ต่�ำกว่าความดันเลือดบริเวณหลอดเลอื ดฝอยแล้ว จะท�ำให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงอยา่ งไรภายในร่างกาย (PAT ต.ค. 55)
1. ฮโี มโกลบนิ ไม่ปลดปลอ่ ยออกซเิ จน
2. ของเหลวระหว่างเซลล์มีคา่ pH สูงขน้ึ
3. เกดิ การสะสมของเหลวในเนือ้ เยอื่ ของร่างกาย
4. โปรตนี ในนำ�้ เลอื ดออกจากหลอดเลอื ดฝอยมาอยใู่ นของเหลวระหว่างเซลล์

6. กระทรวงสาธารณสขุ ไดแ้ นะน�ำตารางการฉีดวัคซนี ป้องกันโรคสำ� หรับเด็กไทย
ตัง้ แตแ่ รกเกิดจนถึงอายุ 4-6 ปี การท่ีทารกแรกเกดิ ไดร้ ับวคั ซนี BCG เพอ่ื ป้องกัน
วณั โรคจะมีผลกระตุ้นการท�ำงานของเซลล์เมด็ เลือดขาวชนดิ ใดมากทส่ี ดุ
(PAT ม.ี ค. 60)
1. เบโซฟิล 2. โมโนไซต์
3. ลมิ โฟไซต ์ 4. นิวโทรฟิล
5. อีโอซิโนฟิล

7. ร่างแหโปรตีนท่ีช่วยป้องกันการไหลของเลือดออกทางบาดแผลมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น
โปรตีนชนดิ ใด (PAT มี.ค. 58)

เตมิ ค�ำตอบ ..................................................................

45 โครงการ Sahapat Admission ครั้งท่ี 20

2. ระบบขบั ถา่ ย และการรกั ษาดลุ ยภาพ

• ของเสยี ท่มี ธี าตุ N เป็นองคป์ ระกอบ (Nitrogenous waste หรอื N–waste)
เกิดมาจากการสลายสารประเภท …………………………………………………..
การขับ N-waste ชนดิ ตา่ งๆจะพบแตกต่างกนั ไปในสัตว์แตล่ ะประเภทเช่น

• โครงสรา้ งในการขบั ถ่ายของเสยี ของสัตว์ตา่ งๆ

พารามีเซยี ม แมลง

ไสเ้ ดือน

46 โครงการ Sahapat Admission คร้ังท่ี 20

• ระบบขับถา่ ยของคน

• การท�ำงานของหน่วยไต

- การกรองสารออกจากเลอื ด …………………………………...........................................………………..

- การดดู กลับสาร ……………………………...........................................……………………..

- การขบั สารเขา้ สูท่ อ่ หนว่ ยไต …………………...........................................………………………………..

47 โครงการ Sahapat Admission ครัง้ ที่ 20

8. ข้อใดไมใ่ ช่ความแตกต่างระหวา่ งการขับถา่ ยของเสียผ่านมลั พเิ กียนทิวบูล
ของแมลง กบั การขบั ถ่ายของเสยี ผ่านไตของคน (PAT ต.ค. 59)
1. ปรมิ าณน�ำ้ ท่ีขับถา่ ย
2. บทบาทในการควบคมุ สมดลุ น้�ำ
3. การเช่อื มตอ่ กบั ระบบทางเดนิ อาหาร
4. ชนดิ ของเสียที่มีไนโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบ
5. การขับสารออกจากหลอดเลอื ดเข้าสอู่ วยั วะขับถ่าย

9. สตั ว์ต่อไปน้ี กำ� จัดของเสียในรูปแบบใด (PAT ม.ี ค. 59)

- จงิ้ จก อาศยั บนบกไกลแหลง่ น้ำ� : …………………………...................................................….

- นกเปด็ นำ้� อาศยั บนบกใกล้แหล่งน�ำ้ : ……………............................................……………….

- คางคกบา้ น อาศัยบนบกใกลแ้ หล่งนำ�้ : …………………………..........................................….

- แมวนำ้� อาศยั ในทะเลมนี �้ำอย่รู อบตวั : ………………………............................................…….

- ปลาฉลาม อาศัยในทะเลมีน้�ำอยูร่ อบตัว : …………….......................................……………….

10. จากการสำ� รวจถำ้� ใตด้ นิ แหง่ หนงึ่ ทไี่ มม่ แี หลง่ นำ้� จดื อยภู่ ายใน นกั วทิ ยาศาสตรพ์ บวา่ มสี ตั วท์ อ่ี าศยั ใน
สง่ิ แวดลอ้ มดงั กลา่ วได้ โดยมลี กั ษณะทางชวี ภาพ คอื ไมม่ ตี า รา่ งกายปกคลมุ ดว้ ยขนเสน้ เดย่ี ว มรี ะบบ
ไหลเวยี นแบบปดิ และมหี วั ใจ 4 หอ้ ง หากตรวจสอบระบบขบั ถา่ ยของสตั วช์ นดิ นี้ นกั เรยี นคาดวา่
จะพบระบบขบั ถา่ ยเปน็ แบบใด (PAT ม.ี ค. 55)
1. metanephridia ทมี่ รี รู ะบายจำ� นวนมาก
2. Malpighiantubules ท่มี ีความยาวทอ่ มาก
3. ไตซึ่งมี nephron ท่ีมี loop of Henle ส้ัน
4. ไตซึง่ มี nephron ท่มี ี loop of Henle ยาว

11. เมอื่ นกั เรยี นรบั ประทานอาหารทมี่ เี กลอื มาก Na+ จะถกู ขนสง่ ผา่ นโครงสรา้ ง ของหนว่ ยไตดว้ ยวธิ กี าร
ต่างๆ ยกเว้นข้อใด (PAT มี.ค. 60)
1. ขับออกจากทอ่ รวม เขา้ สูก่ รวยไต
2. หลั่งออกจากกระแสเลอื ด เขา้ สู่ทอ่ ขดสว่ นต้น
3. ดดู กลบั จากท่อขดสว่ นปลาย เข้าสกู่ ระแสเลอื ด
4. ดูดกลบั จากห่วงเฮนเล โดยการล�ำเลียงแบบใชพ้ ลังงาน
5. กรองผา่ นหลอดเลอื ดฝอยโกลเมอรูลสั ไปยัง โบว์แมนแคปซลู

48 โครงการ Sahapat Admission คร้งั ท่ี 20

12. ในสภาพอากาศร้อน นักกีฬามีเหงื่อออกมากตลอดเวลา แต่กลับไม่มีความต้องการขับปัสสาวะ
เลยตั้งแต่เริ่มต้นแข่งแม้ว่าเขาจะได้ด่ืมน�้ำมากกว่า 1 ลิตร ก็ตาม เมื่อชั่งน้�ำหนักหลังการแข่งขัน
พบว่านำ�้ หนกั ตวั ลดลงถงึ 3 กิโลกรมั ข้อใดอธิบายไดด้ ีทส่ี ุด (PAT พ.ย. 58)
1. ไมม่ กี ารดดู น�้ำกลบั จากท่อของหน่วยไต
2. มกี ารเสยี เหง่อื ปริมาณมากเพอื่ ชว่ ยลดอุณหภูมริ า่ งกาย
3. น้�ำหนกั ตัวทีล่ ดลงเกดิ จากนำ้� หนักไขมนั ในร่างกายท่ีหายไป
4. ไมม่ ีการหลัง่ ฮอรโ์ มน antidiuretic hormone จากตอ่ มใตส้ มอง
5. ความเข้มขน้ เลือดภายหลังการแขง่ ขนั มคี ่าลดลงเมอื่ เทียบกบั ก่อนการแขง่ ขัน
13. ขอ้ ใดไม่ใช่หนา้ ทขี่ องไตของสตั ว์เลย้ี งลูกด้วยนม (PAT ม.ี ค. 58)
1. การกรองเลอื ด
2. การสงั เคราะหย์ ูเรีย
3. การขบั ของเสยี ทมี่ ีไนโตรเจน
4. การควบคมุ สมดลุ ของเกลอื ในเลอื ด

49 โครงการ Sahapat Admission ครั้งท่ี 20


Click to View FlipBook Version