The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรียนรู้วิธีปฐมพยาบาลอาการบาดเจ็บเบื้องต้นหากเกิดอุบัติเหตุหรือประสบเหตุร้ายที่อาจเกิดขึ้นกับตัวคุณ ครอบครัว หรือคนใกล้ชิด ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งที่บ้านหรือนอกบ้าน เพราะเมื่อเรารู้จักวิธีการปฐมพยาบาลที่ถูกต้องแล้ว เราก็จะสามารถผ่อนหนักให้เป็นเบาได้ไม่มากก็น้อยก่อนจะไปถึงโรงพยาบาล สิ่งเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ในยามคับขัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BS_Library, 2019-12-02 02:21:25

ปฐมพยาบาลคู่บ้าน

เรียนรู้วิธีปฐมพยาบาลอาการบาดเจ็บเบื้องต้นหากเกิดอุบัติเหตุหรือประสบเหตุร้ายที่อาจเกิดขึ้นกับตัวคุณ ครอบครัว หรือคนใกล้ชิด ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งที่บ้านหรือนอกบ้าน เพราะเมื่อเรารู้จักวิธีการปฐมพยาบาลที่ถูกต้องแล้ว เราก็จะสามารถผ่อนหนักให้เป็นเบาได้ไม่มากก็น้อยก่อนจะไปถึงโรงพยาบาล สิ่งเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ในยามคับขัน

Keywords: การปฐมพยาบาล

ปฐมพยาบาลคู่บา้ น

เรยี นรวู้ ธิ ปี ฐมพยาบาลอาการบาดเจบ็ เบอ้ื งตน้ หากเกดิ อบุ ตั เิ หตหุ รอื ประสบเหตรุ า้ ย
ที่อาจเกิดขึ้นกับตัวคุณ ครอบครัว หรือคนใกล้ชิด ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งท่ีบ้านหรือ
นอกบา้ น เพราะเมอ่ื เรารจู้ กั วธิ กี ารปฐมพยาบาลทถี่ กู ตอ้ งแลว้ เรากจ็ ะสามารถผอ่ นหนกั
ให้เป็นเบาได้ไม่มากก็น้อยก่อนจะไปถึงโรงพยาบาล สิ่งเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ในยาม
คบั ขนั

หลักการชว่ ยเหลอื ผ้ปู ว่ ยเบือ้ งตน้
ตอ้ งค�ำ นึงถงึ สิง่ ใดบา้ ง

1. ผ้ชู ว่ ยเหลอื ควรมีหลกั การช่วยเหลอื ดังน้ี

ความปลอดภยั ของสถานท่ีเกดิ เหตุ

เปน็ สง่ิ สาํ คญั ทต่ี อ้ งคาํ นงึ ถงึ เปน็ อนั ดบั แรกกอ่ นการเขา้ ไปชว่ ยเหลอื
เพราะอาจถูกลกู หลงไปด้วย เช่น เหตไุ ฟช็อต เป็นตน้

ใชส้ ายตาส�ำ รวจดู

โดยสํารวจตามส่วนต่างๆ ของร่างกายอย่างมีสติ และห้าม
เคลื่อนย้ายถ้าผู้ป่วยมีอาการบาดเจ็บของอวัยวะต่างๆ ซึ่ง
ผู้ช่วยเหลืออาจมองไม่เห็น การเคล่ือนย้ายผู้ป่วยทันทีโดยไม่ถูก
วิธีอาจยิ่งทำ�ให้ผู้ป่วยบาดเจ็บมากข้ึนหรือร้ายแรงกว่านั้นได้

ผบู้ าดเจบ็ ต้องอยู่ในที่ปลอดภัยกอ่ น

ค ว ร ป ฐ ม พ ย า บ า ล ต่ อ เ มื่ อ ไ ด้ นำ� ตั ว ผู้ ป่ ว ย อ อ ก ม า จ า ก
สถานท่ีเหล่าน้ี เช่น ในน้ำ� หรือในกองไฟ เพ่ือความ
ปลอดภัยของทั้งตัวผู้ป่วยและตัวผู้ช่วยเหลือเอง เป็นต้น

ช่วยเหลือด้วยความนุ่มนวลและระมัดระวงั

โดยใหก้ ารชว่ ยเหลอื ตามลำ�ดบั ความสำ�คญั ของการมชี วี ติ หรอื ตาม
ความรนุ แรงทีไ่ ด้รับบาดเจบ็ เปน็ ต้น

2. พจิ ารณาอาการบาดเจบ็ ของผ้ปู ว่ ย โดยเรยี งล�ำ ดบั
ความรา้ ยแรงของอาการบาดเจ็บไดด้ ังนี้

หยดุ หายใจ เสียเลือด กระดกู หัก ความเจบ็ ปวด
เป็นจํานวนมาก หมดความรสู้ ึก
อยา่ งรวดเร็ว

วธิ สี ำ�รวจการบาดเจบ็ เบ้ืองตน้

ตรวจดูความรูส้ ึกตวั
โดยการเรยี กหรอื ตีท่ีไหล่เบาๆ ว่าผปู้ ่วยร้สู กึ ตวั ไหม
ตรวจดทู างเดินหายใจ
ดูว่ามีเศษอาหารหรือฟันปลอมอยู่ในปากหรือเปล่า
และถ้าหายใจไม่สะดวกให้เปิดทางเดินหายใจ โดย
ใช้มือข้างหน่ึงดันหน้าผาก และมืออีกข้างเชยคาง
ให้หน้าผู้ป่วยแหงนขึ้นข้างบน ส่วนผู้ป่วยที่ได้รับ
บาดเจ็บหรือหมดสติให้ตรึงกระดูกสันหลังส่วนคอ
และใชว้ ิธยี กขากรรไกรขน้ึ เพ่อื เปดิ ทางเดนิ หายใจ
ตรวจดกู ารหายใจ
สำ�หรับผู้ป่วยที่ไม่ได้รับบาดเจ็บท่ีกระดูกสันหลังหรือคอให้ใช้มือข้างหน่ึงดันหน้าผาก
และมอื อีกข้างเชยคางใหห้ น้าผปู้ ว่ ยแหงนข้นึ ข้างบน จากน้ันตรวจดโู ดยการเอยี งหน้า
ก้มลงไปเอาแก้มเข้าไปใกล้จมูกผู้ป่วยและสังเกตว่า มีลมมาสัมผัสไหม หูฟังเสียงการ
หายใจ รวมถึงใช้ตามองดูหน้าอกว่ากระเพื่อมขึ้นลงตามการหายใจไหม และดูว่า
คนปว่ ยมกี ารหายใจเรว็ หรือชา้ ดว้ ย (ผูใ้ หญห่ ายใจ 12-20 ครง้ั ต่อนาที)

ตรวจชพี จร
ดูว่าหัวใจเต้นหรือไม่ (ผู้ใหญ่ 60-100 คร้ังต่อนาที)
ผู้ป่วยท่ีรู้สึกตัวให้จับชีพจรที่ข้อมือหรือข้อพับแขน
สว่ นผ้ปู ว่ ยท่ีไมร่ ูส้ กึ ตวั ให้จบั ชพี จรทค่ี อ
ขอความชว่ ยเหลอื
จากโรงพยาบาลใกล้บ้านหรอื ใกล้สถานท่ีเกดิ เหตุ
หรือโทร.1669 สถาบนั การแพทย์ฉกุ เฉนิ แห่งชาติ

วิธหี า้ มเลอื ดท่ถี กู ตอ้ ง
การบาดเจ็บใดๆ ที่แม้จะเห็นเพียงบาดแผล
ภายนอกเล็กน้อย แต่อาจเป็นสาเหตุให้อวัยวะ
ภายในบาดเจบ็ รนุ แรงได้ และทำ�ใหเ้ ลอื ดออกมาก
จนช็อก หรือเลวร้ายกว่าน้ัน หากปล่อยให้ผู้ป่วย
เลือดไหลไม่หยดุ
1. ต้องคํานึงถึงความปลอดภัยของตัวเองก่อน
และป้องกันการติดเชื้อโดยสวมถุงมือยางหรือหา
วัสดใุ กลต้ วั เช่น ถงุ พลาสตกิ มาหุ้มมอื เปน็ ตน้
2. แผลเล็กกดโดยตรงลงบนบาดแผล ถ้าแผล
ใหญ่ให้ใช้ฝ่ามือกดปลายแผลไว้ แต่วิธีท่ีดีที่สุดคือ
ใชผ้ า้ สะอาดพบั หนาๆ กดลงบนบาดแผล หากเปน็
กรณีฉกุ เฉนิ ให้ใช้เสื้อหรือผา้ เช็ดหนา้ ถ้าไมม่ ีจริงๆ
ใหใ้ ช้ฝา่ มอื กดลงไปตรงๆ นานประมาณ 10 นาที
3. หากมีผ้ายืด ให้ใช้ผ้ายืดพันทับผ้าที่ปิดกด
บาดแผล
4. แตถ่ ้าเลอื ดออกมาก อย่าเสยี เวลาทำ�แผล ให้
ใชม้ ือกดบาดแผล พร้อมยกส่วนน้ันให้สงู ขึน้ เหนือ
ระดบั หวั ใจ

การปฐมพยาบาลเมอื่ เกดิ เหตกุ ารณ์
ต่างๆ
อุบัติเหตุเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นกับเราได้ทุกขณะ
ไม่ว่าจะเป็นอาการบาดเจ็บเล็กน้อยไปจนถึง
อาการสาหัสท่ีคร่าชีวิตเราได้ มาเรียนรู้วิธีการ
ปฐมพยาบาลที่ถกู ตอ้ งหากเกดิ เหตกุ ารณเ์ หล่าน้ี

เลอื ดก�ำ เดาไหล
เป็นอาการท่ีเกิดจากเส้นเลือดในจมูก
แตก ซึ่งอาจเกิดจากการโดนกระแทก
สั่งน้ำ�มูกแรง แคะจมูก หรือเพราะความ
หนาวเย็นของอากาศ เปน็ ตน้
วิธปี ฐมพยาบาล
1. ใหผ้ บู้ าดเจบ็ นง่ั โนม้ ตวั ไปดา้ นหนา้ โดย หา้ มแหงนหนา้ เพราะเลอื ดจะไหลลงคอแลว้ อาเจยี นได้
2. ใช้มือบบี ปลายจมูกและหายใจทางปาก โดยบีบปลายจมูกไว้ 10 นาทีแล้วคลายมือออก
ถา้ เลือดยังไหลต่อให้บีบต่ออีก 10 นาที แต่หากเลือดยังไม่หยุดไหลใน 30 นาทีให้รีบนำ�
ตัวสง่ โรงพยาบาล
3. เม่ือเลือดหยดุ แล้วใหใ้ ช้ผา้ อุน่ เชด็ บริเวณจมูกและปาก
4. หากมีนำ้ �ใสๆ ไหลออกจากจมูกผู้บาดเจ็บหลังการบาดเจ็บบริเวณศีรษะต้องรีบนำ�ส่ง
โรงพยาบาลทนั ที

แผลฟกชำ�้
ลักษณะแผลจะเหมือนถูกของแข็งหนีบ
หรือกระทบกระแทก ไม่มีบาดแผลฉีกขาด
หรอื เลอื ดออกใหเ้ หน็ จากภายนอก แตม่ กี าร
ฉกี ขาดของเนอื้ ใตผ้ วิ หนงั และเสน้ เลอื ดฝอย
ใต้ผวิ หนงั
วิธปี ฐมพยาบาล
1. ประคบด้วยน้ำ�เย็นหรือนำ้ �แข็งเป็นระยะในช่วง 24 ช่ัวโมงแรก เพอ่ื ห้ามเลอื ด
2. หลัง 24 ชัว่ โมงต่อมา ประคบดว้ ยนำ้ �อุ่นเพ่ือลดอาการชำ้ �บวม
ขอ้ ห้าม
หา้ มคลงึ ขย้ี หรอื นวดดว้ ยความรอ้ น เชน่ ยาหมอ่ ง ยาแกเ้ คลด็ ขดั ยอก เปน็ ตน้
เพราะจะทำ�ให้เลอื ดออกมากขึน้

แผลโดนของมีคมบาด
ลักษณะแผลมักเป็นแผลขอบเรียบ
และอาจมีเลือดออกมากหรือน้อย
ขน้ึ กบั ขนาดของแผล
วธิ ปี ฐมพยาบาล
1. ห้ามเลือดโดยใช้ผา้ สะอาดวางทบั ท่ีปากแผลและใช้มือกด
2. ใช้ผ้าสะอาดพันทับแผลอกี ครั้ง
3. ใช้ผ้าสะอาดปิดบาดแผล
4. ถ้าแผลกว้างมาก มเี ลอื ดออกและจำ�เป็นต้องเย็บแผล ใหห้ า้ มเลือดก่อน
ตามขั้นตอนวธิ ีหา้ มเลอื ด โดยไม่ตอ้ งล้างแผล แล้วรีบนำ�สง่ โรงพยาบาล

แผลถูกแทง แผลถกู แทงที่ทอ้ ง
ความรุนแรงข้ึนอยู่กับบริเวณที่ถูกแทง
และหากถูกแทงลึกอาจถูกเส้นเลือด วิธปี ฐมพยาบาล
เส้นประสาท และเส้นเอ็น และแม้ 1. ใหผ้ ปู้ ว่ ยนอนหงายงอเขา่ เพอ่ื ใหห้ นา้ ทอ้ งหยอ่ น
ผู้บาดเจบ็ จะไมม่ อี าการกจ็ ำ�เปน็ ตอ้ งนำ� 2. ปิดบาดแผลด้วยผ้าสะอาดแล้วรีบนำ�ส่ง
ส่งโรงพยาบาลเพ่ือตรวจดูว่าแผลที่ถูก โรงพยาบาล
แทงถูกอวัยวะสำ�คัญหรอื ไม่ เช่น 3. ถ้ามีวัสดุหักคาห้ามดึงออกอย่างเด็ดขาด
แต่ให้ยึดตรึงวัสดุนั้นไว้ให้อยู่นิ่งที่สุด โดยใช้
แผลถูกแทงทห่ี น้าอก ผา้ สะอาดพันรอบวัสดุ
4. ถา้ ผู้ป่วยเปน็ ลม หนา้ ซดี ตัวเยน็ เหง่อื แตก
ถ้าถูกแทงด้านหลัง อาจถูกกระดูก อาจมเี ลอื ดตกใน ควรใหผ้ ปู้ ว่ ยนอนราบ ศรี ษะ
สันหลัง ทำ�ให้เป็นอัมพาตได้ หากถูก ตำ่ � และห้ามรบั ประทานอะไรท้งั สน้ิ
แทงด้านหน้ากลางอกอาจถกู หัวใจ 5. ถ้ามลี าํ ไสห้ รอื อวยั วะภายในโผลแ่ ลบออกมา
วิธปี ฐมพยาบาล ห้ามยัดกลับ แต่ให้ใช้ผ้าสะอาดปิดบาดแผล
1. หา้ มเลอื ดแล้วปิดบาดแผลให้สนิท แล้วรีบนำ�สง่ โรงพยาบาล
2. ถ้ามีวัตถุปักคา ห้ามดึงออก ควร
ยึดวัสดุนั้นให้อยู่นิ่ง แล้วรีบนำ�ส่ง
โรงพยาบาล

แผลทมี่ อี วยั วะส่วนปลายถกู ตัดขาด
ต้องทำ�การหา้ มเลือดและเก็บช้นิ ส่วนอวัยวะท่ีถูกตดั ขาดด้วยวธิ ีดงั น้ี
วธิ ีปฐมพยาบาล
1. ห้ามเลือดโดยใช้ผ้าสะอาดกดบาดแผล แล้วพันด้วยผ้าอีกช้ันหน่ึง
และยกส่วนท่ีบาดเจ็บให้สูง
2. วางส่วนที่ขาดใส่ถุงพลาสติกท่ีแห้งสะอาด แล้วใส่กระติกนำ้ �แข็ง
หรือนำ้ �เย็น
3. รบี นำ�ผปู้ ว่ ยสง่ โรงพยาบาล

แผลท่ศี ีรษะ
เกิดจากแรงกระแทกท่ีรุนแรง จนทำ�ให้
เกิดการบาดเจ็บที่บริเวณศีรษะ และ
ถ้ามีการกระทบกระเทือนท่ีสมองอาจ
ทำ�ให้เกิดอนั ตรายถึงแก่ชีวติ ได้
วิธีปฐมพยาบาล
1. ถา้ แผลมีเลือดออกให้ใช้ผ้าสะอาดกดตรงแผลเพื่อห้ามเลือด แล้วใช้ผ้าพันทับ
ถ้าแผลกวา้ งหรือลึกมาก หลังจากห้ามเลือดให้รีบนำ�สง่ โรงพยาบาล
2. ถา้ ศีรษะไดร้ บั การกระแทกโดยไมม่ ีบาดแผลใหน้ อนพักนง่ิ ๆ ตะแคงหนา้ ไปด้านใด
ดา้ นหนง่ึ เพอ่ื ให้เลือดหรือเสมหะไหลออกสะดวก
3. สังเกตอาการอยา่ งใกลช้ ดิ เพราะสมองอาจไดร้ บั การกระทบกระเทอื น ใหส้ งั เกตวา่
มีอาการดงั ต่อไปน้ีหรือไม่ เชน่ ความรสู้ ึกตัวของผู้บาดเจ็บ ไมร่ ับรเู้ รอ่ื งบุคคล สถานที่
และเวลา ซึมลงหรืออาเจียน ปวดศรี ษะ เป็นต้น
4. รีบนำ�ส่งโรงพยาบาล

แผลไฟไหม้ น้ำ�รอ้ นลวก
แผลท่ีเกิดจากไฟไหม้ น้ำ�ร้อนลวกแขน
ขา หรอื เทา้ หากเปน็ แผลไฟไหมน้ ำ้ �รอ้ น
ลวกระดบั ที่ 2 และ 3 ตอ้ งไดร้ บั การดแู ล
อย่างใกล้ชิดจากแพทย์

วิธีปฐมพยาบาล
1. ให้ผู้ปว่ ยนอนราบ
2. ใชน้ ้ำ�สะอาดราดบรเิ วณบาดแผลมากๆ นานอยา่ งนอ้ ย 10 นาที หรอื จนกวา่
อาการปวดแสบปวดรอ้ นจะลดลง
3. ถอดเคร่อื งประดบั ออก
4. ปิดหรอื พนั แผลด้วยผ้าสะอาด
5. ถา้ เปน็ ท่ีมืออาจใช้ถงุ พลาสตกิ สะอาดหุ้ม กอ่ นนำ�สง่ โรงพยาบาล

สง่ิ ต้องห้าม
• หา้ มใช้น้ำ�แข็งหรือนำ้ �เย็นจัดราดบริเวณบาดแผล
• ห้ามดึงส่ิงทต่ี ดิ แน่นอยกู่ ับบาดแผลออก
• ห้ามจับตอ้ งบาดแผลโดยไมจ่ ำ�เปน็
• ห้ามทำ�ใหแ้ ผลที่พองน้ำ�แตก
• ห้ามทายา ข้ีผึง้ หรอื สงิ่ อืน่ นอกจากน้ำ�สะอาดเทา่ นัน้
• หา้ มถอดเสอ้ื ผา้ ให้ใช้วธิ ตี ดั ออก
• หา้ มใชผ้ ้าที่มีขนหรือสำ�ลีปดิ แผล

วิธีปฐมพยาบาลน้ี
สามารถใช้ได้กับ
แผลทีถ่ กู สารเคมี
เช่น กรดหรือดา่ ง

เปน็ ต้น

แผลไหมจ้ ากกระแสไฟฟา้
กระแสไฟฟ้าเป็นสิ่งที่มีทุกครัวเรือนและมักพบอุบัติเหตุได้เสมอ บาดแผลที่
เกดิ จากกระแสไฟฟา้ จะเปน็ รอยไหมส้ ดี ำ� และทอ่ี นั ตรายคอื เนอื้ เยอื่ ถกู ทำ�ลาย
อย่างรุนแรง หรอื หัวใจเตน้ ผิดปกตหิ รอื หยดุ เตน้
ส่ิงที่ผ้ชู ว่ ยเหลอื ตอ้ งระวงั ขณะช่วยชวี ิตผ้ปู ระสบเหตุคอื
1. หากผูบ้ าดเจ็บได้รบั อนั ตรายจากกระแสไฟฟา้ อยู่ ให้ผู้ช่วยเหลือรีบดึงปลก๊ั
เครื่องใชไ้ ฟฟา้ หรอื ตดั กระแสไฟฟา้
2. ใช้ไมแ้ ห้ง ผา้ แห้งเข่ยี หรือดงึ ผบู้ าดเจ็บออกจากกระแสไฟฟ้า
วธิ ปี ฐมพยาบาล
1. ตรวจสอบความร้สู กึ ตัว การหายใจ และชพี จร
2. ถ้ามสี ่ิงแปลกปลอมอยูใ่ นปากให้ลว้ งออกเพ่อื ให้ผบู้ าดเจบ็ หายใจสะดวก
3. ถ้าไมห่ ายใจให้เปา่ ปาก 2 ครัง้ สลบั กบั นวดหวั ใจ 15 ครง้ั จนกวา่ ผู้บาดเจบ็
จะฟนื้ หรอื ถึงโรงพยาบาล
4. ถา้ ผปู้ ว่ ยรสู้ กึ ตวั ดี ใหน้ อนตะแคงกง่ึ ควำ่ � เพอ่ื ปอ้ งกนั ลน้ิ ตกไปอดุ ทางเดนิ หายใจ
5. ปิดแผลด้วยผ้าสะอาด
6. นำ�ตวั ผปู้ ่วยสง่ โรงพยาบาล

สุนัขกัด
อยา่ มองขา้ มเดด็ ขาดเมอ่ื ถกู สนุ ขั กดั แมจ้ ะเปน็ สนุ ขั ทเ่ี ลย้ี งไว้
ควรรบี ไปโรงพยาบาล ฉดี วคั ซนี ป้องกันพิษสุนัขบา้

1ว.ธิ ปีลา้ฐงมแพผยลาทบนั าทลดี ว้ ยนำ้ �สะอาด ฟอกดว้ ยสบู่ 2-3 ครงั้
2. ทาแผลดว้ ยแอลกอฮอลห์ รอื ทงิ เจอรไ์ อโอดนี หรอื เบตาดนี

3. รีบพบแพทยท์ นั ทแี ละฉดี วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคพษิ สนุ ขั บา้ ไมค่ วรรอดอู าการอาจสายเกนิ ไป
4. ถ้าสนุ ัขตายใหต้ ดั หวั สุนัขไปตรวจ ถา้ สุนขั ไมต่ ายใหข้ ังไว้ดูอาการ 10 วนั
ถ้าเป็นสตั ว์ปา่ หรือสัตวท์ ่กี ัดแลว้ หนีไป จำ�เป็นต้องได้รบั การฉดี วคั ซีน
คนท่ตี ้องฉีดวคั ซีนคือ
• ผูม้ แี ผลถลอก • ผทู้ ่ีมบี าดแผลเป็นรอยชำ้ �เขยี ว
• ผทู้ ี่มีเลอื ดไหล • ผูม้ ีแผลลกึ

ภาวะชอ็ ก
เปน็ สภาวะทเี่ ลอื ดไปเลย้ี งเซลลต์ า่ งๆ ของรา่ งกาย
ไมเ่ พยี งพอ มอี าการเหงอ่ื ออก ตวั เยน็ ซดี กระสบั
กระส่าย หายใจหอบหรือหายใจเร็ว ดิ้น ชีพจร
เบา และตอ่ มาจะไมร่ สู้ กึ ตวั และเสยี ชวี ติ หากชว่ ย
ไมท่ นั การ
วธิ ีปฐมพยาบาล
1. ถ้ามบี าดแผลให้รีบห้ามเลอื ด
2. จดั ทา่ ใหน้ อนราบ ตะแคงหนา้ ไปดา้ นใดดา้ นหนง่ึ
และยกปลายเทา้ สูง
3. คลายเสอ้ื ผา้ ใหห้ ลวมและหม่ ผา้ หม่ ใหค้ วามอบอนุ่
4. รบี นาํ ตวั ผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล

จเมม่ือรน่างำ�้ กายสำ�ลักน้ำ�จำ�นวนมากเข้าไปในปอด
จะทำ�ให้หายใจไม่ได้ เพราะร่างกายขาด
ออกซิเจน
วิธปี ฐมพยาบาล
1. ถ้าผู้บาดเจ็บหายใจได้เอง มีอาการไอหรืออาเจียน พยายามระมัดระวัง
อย่าใหส้ ำ�ลกั ส่งิ อาเจียน
2. ถ้าไมห่ ายใจ ไมม่ ชี พี จร ใหเ้ ปา่ ปาก 2 คร้ัง สลับกับนวดหัวใจ 15 คร้ัง จนกวา่
ผ้บู าดเจบ็ ฟ้นื หรือไปใหถ้ ึงโรงพยาบาล
3. ห่มผา้ ให้ความอบอ่นุ แก่ร่างกาย
4. รีบนำ�ส่งโรงพยาบาล
สิ่งทีต่ อ้ งคำ�นงึ
ไมค่ วรเสยี เวลากบั การพยายามเอาน้ำ�ออกจากปอดหรอื กระเพาะอาหาร เพราะ
จะทำ�ให้สมองขาดออกซิเจนนานเกนิ ไปจนสมองตาย การชว่ ยชีวติ จะไม่ได้ผล

ปฐมพยาบาล
คบู่ า้ น

จัดพิมพแ์ ละเผยแพร่โดย
SOOK PUBLISHING
เรียบเรียงขอ้ มลู บางสว่ นจาก

หนงั สอื ชวี ติ จะปลอดภยั ..ถา้ ใสใ่ จปฐมพยาบาล โดยศนู ย์
ฝึกอบรมปฐมพยาบาลสุขภาพอนามัย สภากาชาดไทย
โครงการพัฒนาระบบสุขภาพยามฉุกเฉินเพ่ือการสร้าง
เสริมสุขภาพในกรุงเทพมหานคร ภายใต้การสนับสนุน
ของสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
(สสส.) ดำ�เนินการโดยสมาคมเวชศาสตร์ฉกุ เฉิน
หนงั สอื คมู่ อื การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ (ฉบบั พกพา) โดย
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

สามารถสบื คน้ ข้อมลู และหนังสือเพม่ิ เตมิ ได้ท่หี ้องสร้างปญั ญา
ศนู ย์เรียนรู้สขุ ภาวะ สำ�นกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.)
หรือดาวน์โหลดไดท้ ่แี อปพลเิ คชนั SOOK Library และ resource.thaihealth.or.th

โทร. 02-343-1500 กด 3


Click to View FlipBook Version