The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by husna, 2024-02-08 21:38:27

แก๊สและสมบัติของแก๊ส

กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก

ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส ก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาเคมี 3 รหัสวิชา ว 32233 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง แก๊สและสมบัติของแก๊ส ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ฮุสนา ฮามะ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ โรงเรียนท่าข้ามวิทยาคาร อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปัตตานี


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส ก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่อง แก๊สและสมบัติของแก๊สนี้ สร้างขึ้นมาเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาและพัฒนาการเรียนการสอน สาระการเรีย นรู้ วิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สามารถช่วยให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ เป็นไปตามขั้นตอนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยชุดกิจกรรมเรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊สที่จัดทำขึ้น ทั้งหมด มีจำนวน 5 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 สมบัติของแก๊สและกฎของบอยล์ ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดที่ 3 กฎรวมแก๊สและกฎของอาโวกาโดร ชุดที่ 4 กฎแก๊สอุดมคติและกฎความดันย่อยของดอลตัน ชุดที่ 5 ทฤษฎีจลน์ การแพร่ของแก๊สและการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสมบัติของแก๊ส แต่ละชุดกิจกรรมเน้นการจัดการเรียนรู้ ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ไปตามลำดับขั้นตอน อย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณภาพมาตรฐานการเรียนรู้และพัฒนาสมรรถนะสำคัญให้เกิดกับนักเรียน ทั้งด้านความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี ตลอดจนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้ คงจะเกิดประโยชน์ต่อนักเรียน ครูผู้สอน และผู้สนใจ ตลอดจนสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้ดีขึ้น ควบคู่ กับการพัฒนาจิตวิทยาศาสตร์และสามารถนำไปประยุกต์ใช้อย่างมีเหตุผล มีคุณธรรม และ ดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข นางฮุสนา ฮามะ คำนำ


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส ข เรื่อง หน้า คำนำ..........................................................................................................................................ก สารบัญ.......................................................................................................................................ข สารบัญรูปภาพ...........................................................................................................................ค คำชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้...........................................................................................1 คำแนะนำสำหรับครู....................................................................................................................2 คำแนะนำสำหรับนักเรียน............................................................................................................3 สาระวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม สาระสำคัญ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้..............................4 ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์........................................................................6 แบบทดสอบก่อนเรียน.................................................................................................................7 กระดาษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน.....................................................................................10 กิจกรรมที่ 2.1 การทดลองเรื่องปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศ ............................................11 ใบความรู้ที่ 2.1 กฎของชาร์ล ..................................................................................................15 ใบงานที่ 2.1 กฎของชาร์ล........................................................................................................21 ใบงานที่ 2.2 คำนวณปริมาตรหรืออุณหภูมิโดยใช้ความสัมพันธ์ตามกฎของชาร์ล.....................22 ใบความรู้ที่ 2.2 กฎของเกย์-ลูสแซก.........................................................................................25 ใบงานที่ 2.3 กฎของเกย์-ลูสแซก..............................................................................................31 ใบงานที่ 2.4 คำนวณความดันหรืออุณหภูมิโดยใช้ความสัมพันธ์ตามกฎของเกย์-ลูสแซก..........32 กิจกรรมที่ 2.2 คำถามชวนคิด..................................................................................................35 แบบทดสอบหลังเรียน ..............................................................................................................37 กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน .....................................................................................40 บรรณานุกรม............................................................................................................................41 ภาคผนวก.................................................................................................................................43 สารบัญ


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส ค เรื่อง หน้า ภาพที่ 2.1 การจุ่มปากขวดพลาสติกลงในน้ำผสมน้ำยาล้างจาน ..............................................12 ภาพที่ 2.2 วางขวดพลาสติกลงใบบีกเกอร์น้ำร้อน ...................................................................12 ภาพที่ 2.3 จาค อเล็กซองดร์ เซซา ชาร์ล................................................................................15 ภาพที่ 2.4 ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับอุณหภูมิเคลวินของแก๊ส.....................................16 ภาพที่ 2.5 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง V กับ T ( 0C) (ซ้าย) และ V กับ T (K) (ขวา) ......17 ภาพที่ 2.6 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับอุณหภูมิ (เคลวิน) ณ ความดันต่าง ๆ18 ภาพที่ 2.7 ความสัมพันธ์ระหว่างมาตราส่วนเซลเซียสกับมาตราส่วนเคลวินที่อุณหภูมิต่าง ๆ...18 ภาพที่ 2.8 การขยายตัวของโคมลอยเมื่อได้รับความร้อน.........................................................20 ภาพที่ 2.9 โชแซฟ-ลุยส์ เกย์-ลูสแซก......................................................................................25 ภาพที่ 2.10 ความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับอุณหภูมิของแก๊สเมื่อโมลและปริมาตรคงที่ ......26 ภาพที่ 2.11 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง P กับ T (0C) (ซ้าย) และ P กับ T (K) (ขวา) ....27 ภาพที่ 2.12 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง P กับ T (K) ณ ปริมาตรต่าง ๆ........................27 ภาพที่ 2.13 ข้าวโพดคั่ว..........................................................................................................30 ภาพที่ 2.14 ลูกปิงปองที่บุบกลับมากลมใหม่เมื่อเอาไปต้ม.......................................................35 ภาพที่ 2.15 แก๊สหุงต้มในท้องตลาด........................................................................................36 สารบัญรูปภาพ


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 1 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่อง แก๊สและสมบัติของแก๊ส สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เป็นเอกสารที่ใช้ประกอบการเรียนรู้มีทั้งหมด 5 ชุดกิจกรรม ดังนี้ ชุดที่ 1 สมบัติของแก๊สและกฎของบอยล์ ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดที่ 3 กฎรวมแก๊สและกฎของอาโวกาโดร ชุดที่ 4 กฎแก๊สอุดมคติและกฎความดันย่อยของดอลตัน ชุดที่ 5 ทฤษฎีจลน์ การแพร่ของแก๊ส และการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสมบัติของแก๊ส ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ฉบับนี้เป็นชุดกิจกรรมชุดที่2เรื่อง กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ใช้ประกอบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาเคมี 3 รหัสวิชา ว 32223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลา 3 ชั่วโมง 2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 ชุดนี้ประกอบด้วย 2.1 คำชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.2 คำแนะนำสำหรับครู 2.3 คำแนะนำสำหรับนักเรียน 2.4 โครงสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 2.5 ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 2.6 แบบทดสอบก่อนเรียน 2.7 ใบกิจกรรม 2.8 ใบความรู้ 2.9 ใบงาน 2.10 แบบทดสอบหลังเรียน 2.11 บรรณานุกรม 2.12 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 2.13 เฉลยใบกิจกรรม 2.14 เฉลยใบงาน 2.15 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน คำชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 2 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่อง แก๊สและสมบัติของแก๊ส รายวิชาเคมี 3 รหัสวิชา ว 32223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบด้วย 5 ชุดกิจกรรม ดังนี้ ชุดที่ 1 สมบัติของแก๊สและกฎของบอยล์ ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดที่ 3 กฎรวมแก๊สและกฎของอาโวกาโดร ชุดที่ 4 กฎแก๊สอุดมคติและกฎความดันย่อยของดอลตัน ชุดที่ 5 ทฤษฎีจลน์ การแพร่ของแก๊ส และการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสมบัติของแก๊ส ซึ่งชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์วิชาเคมี 3 เล่มนี้เป็นชุดที่ 2 เรื่อง กฎของชาร์ลและ กฎของเกย์-ลูสแซก ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3 ชั่วโมง ครูควรเตรียมความพร้อมและปฏิบัติ ตามคำแนะนำ ดังต่อไปนี้ 1. ครูผู้สอนศึกษาเนื้อหา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 ให้เข้าใจก่อนโดยละเอียด 2. ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์และห้องเรียนให้เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.1 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 ตามจำนวนนักเรียนและตามกลุ่ม 2.2 วัสดุอุปกรณ์ตามที่ระบุไว้ในแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.3 แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน 3. ครูชี้แจงให้นักเรียนเข้าใจบทบาทของตนเอง แนะนำขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 แนวปฏิบัติในระหว่างการดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ 4. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 ใช้ควบคู่กับแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยครูใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ดังนี้ 4.1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 4.2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 4.3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 4.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 4.5 ขั้นประเมินผล (Evaluation) 5. ครูมีบทบาทให้คำแนะนำและเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้นย้ำให้นักเรียน ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนด้วยความตั้งใจ ซื่อสัตย์ มีวินัย และมีความรับผิดชอบ จะทำให้การเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เกิดประโยชน์สูงสุด คำแนะนำสำหรับครู


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 3 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่อง แก๊สและสมบัติของแก๊ส ชุดที่ 2 เรื่อง กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก รายวิชาเคมี 3 รหัสวิชา ว 32223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ใช้เวลา 3 ชั่วโมง ให้นักเรียนอ่านคำแนะนำและปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้ 1. จัดกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน โดยคละความสามารถของนักเรียน ในระดับเก่ง ปานกลาง และอ่อน และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบภายในกลุ่ม 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาและทำความเข้าใจมาตรฐานการเรียนรู้ สาระสำคัญ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 อย่างละเอียด 3. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่อง กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก จำนวน 10 ข้อ 4. นักเรียนศึกษาหาความรู้จากใบความรู้โดยครูจะคอยให้คำแนะนำเพิ่มเติมกรณีนักเรียน มีข้อสงสัยหรือต้องการคำปรึกษา 5. นักเรียนตอบคำถามในกิจกรรมและใบงาน โดยตอบคำถามหรือแสดงวิธีทำอย่างละเอียด ลงในชุดกิจกรรม ให้นักเรียนทำด้วยตนเอง อย่าเปิดข้ามหน้าใดหน้าหนึ่งโดยเด็ดขาด และให้มี ความซื่อสัตย์ ไม่ควรเปิดดูเฉลยก่อน เมื่อทำเสร็จแล้วจึงตรวจคำตอบกับเฉลยใบกิจกรรมและใบงาน 6. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี3 เรื่อง กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก จำนวน 10 ข้อ 7. ตรวจคำตอบของแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จากเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและ หลังเรียน เพื่อเปรียบเทียบความก้าวหน้าทางการเรียน 8. เมื่อนักเรียนคนใดสงสัยหรือมีปัญหาที่ไม่เข้าใจ สามารถขอคำปรึกษาและคำแนะนำ จากครูผู้สอนได้ตลอดเวลา 9. เมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรมการเรียนรู้ ให้นักเรียนจัดเก็บอุปกรณ์ พร้อมทั้งทำความสะอาดบริเวณ ทำกิจกรรมให้เรียบร้อย คำแนะนำสำหรับนักเรียน


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 4 สาระวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม สาระสำคัญ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม สาระเคมี ข้อ 1 เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมีและสมบัติของสาร แก๊สและสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์ และพอลิเมอร์ รวมทั้งการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระสำคัญ แก๊สที่มีมวลและความดันคงที่ ปริมาตรของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิในหน่วย เคลวิน ความสัมพันธ์นี้เรียกว่า กฎของชาร์ล กล่าวคือ เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ปริมาตรของแก๊สจะ เพิ่มขึ้น เมื่อลดอุณหภูมิปริมาตรของแก๊สจะลดลง เมื่อปริมาตรคงที่ความดันของแก๊สใด ๆ ที่มีมวลคงที่จะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน ความสัมพันธ์นี้เรียกว่า กฎของเกย์-ลูสแซก ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายความสัมพันธ์และคำนวณปริมาตร ความดัน หรืออุณหภูมิของแก๊สที่ภาวะ ต่างๆ ตามกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของเกย์-ลูสแซก


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 5 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและอุณหภูมิของแก๊ส เมื่อมวลและความดัน คงที่ได้ 2. คำนวณปริมาตรหรืออุณหภูมิโดยใช้ความสัมพันธ์ตามกฎของชาร์ลได้ 3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันและอุณหภูมิของแก๊ส เมื่อมวลและปริมาตร คงที่ได้ 4. คำนวณความดันหรืออุณหภูมิ โดยใช้ความสัมพันธ์ตามกฎของเกย์-ลูสแซกได้ 1. ทำการทดลองเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศได้ 1. ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. มุ่งมั่นในการทำงาน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เวลาที่ใช้ในการเรียน เวลาที่ใช้ในการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 2 จำนวน 3 ชั่วโมง ความรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทักษะกระบวนการ


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 6 ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ศึกษาผลการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่ 3 เรื่อง กฎรวมแก๊สและกฎของอาโวกาโดร ทำแบบทดสอบหลังเรียน ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 7 คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ เวลาในการสอบ 20 นาที 1. กระป๋องสเปรย์ระเบิดเมื่อใกล้เปลวไฟเป็นไปตามกฎของใคร ก. กฎของชาร์ล ข. กฎของบอยล์ ค. กฎอาโวกาโดร ง. กฎของเกย์-ลูซแซก 2. เมื่อมวลและปริมาตรของแก๊สคงที่ปรากฎว่า 1. อุณหภูมิจะไม่มีผลต่อความดัน 2. ความดันจะเพิ่มเมื่ออุณหภูมิเพิ่ม 3. ความดันจะแปรผกผันกับอุณหภูมิ 4. ความดันจะไม่เปลี่ยนหากอุณหภูมิคงที่ ข้อสรุปใดถูกต้อง ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 และ 4 ค. ข้อ 3 และ 4 ง. ข้อ 1 2 และ 4 แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 ข้อสอบจำนวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 8 3. แก๊สจำนวนหนึ่งที่ความดันคงที่ ถ้าอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงจาก 200 เคลวิน เป็น 400 เคลวิน ปริมาตรของแก๊สนี้จะเป็นอย่างไร ก. ลดลง 2 เท่า ข. เพิ่มขึ้น 2 เท่า ค. ลดลง 0.5 เท่า ง. เพิ่มขึ้น 0.5 เท่า 4. การทดลองเกี่ยวกับแก๊สของชาร์ลตรงกับข้อใด ก. แก๊สทุกชนิดจะมีปริมาตรเป็นศูนย์เมื่อลดอุณหภูมิถึง -273 องศาเซลเซียส ข. เมื่ออุณหภูมิและมวลของแก๊สคงที่ ปริมาตรของแก๊ส จะแปรผกผันกับความดัน ค. เมื่อความดันและมวลของแก๊สคงที่ ปริมาตรของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน ง. เมื่อปริมาตรและมวลของแก๊สคงที่ ความดันของแก๊ส จะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน 5. จากคำว่ากล่าว ที่ “ปรากฎการณ์ที่แก๊สมีปริ มาตรเป็น ศูนย์ เป็นเพียงผลการคาดคะเน ตามทฤษฎีเท่านั้น” หมายความว่าอย่างไร ก. ตามทฤษฎี แก๊สจะมีปริมาตรเป็นศูนย์ เมื่อลดอุณหภูมิถึง -273 เคลวิน ข. ในทางปฏิบัติแก๊สจะมีปริมาตรเป็นศูนย์ เมื่อลดอุณหภูมิถึง -273 องศาเซลเซียส ค. ตามทฤษฎี แก๊สทุกชนิดควรมีปริมาตรเป็นศูนย์ เมื่อลดอุณหภูมิ 0 เคลวิน แต่ในทางปฏิบัติแก๊สจะ เปลี่ยนเป็นของเหลวก่อนที่อุณหภูมิถึง 0 เคลวิน ง. ตามทฤษฎี แก๊สทุกชนิดควรมีปริมาตรเป็นศูนย์ เมื่อลดอุณหภูมิ -273 เคลวิน แต่ในทางปฏิบัติ แก๊สจะเปลี่ยนเป็นของเหลวก่อนถึง -273 เคลวิน 6. “เมื่อปริมาตรและจำนวนโมลของแก๊สคงที่ อัตราส่วนความดันต่ออุณหภูมิในหน่วยเคลวิน เป็นค่าคงที่” จากคำกล่าวนี้ เป็นกฎของใคร ก. บอยล์ ข. ชาร์ล ค. เกย์-ลูสแซก ง. กฎรวมแก๊ส


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 9 7. แก๊สชนิดหนึ่งที่ 35 องศาเซลเซียส และ 1 บรรยากาศ มีปริมาตร 3.76 ลิตร ที่อุณหภูมิใดที่แก๊สนี้ ถูกรีดิวซ์ให้มีปริมาตรเหลือ 3 ลิตร ที่ความดันเดิม ก. 0.00 องศาเซลเซียส ข. 3.98 องศาเซลเซียส ค. -27.25 องศาเซลเซียส ง. -35.20 องศาเซลเซียส 8. แก๊ส A มีปริมาตร 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ความดัน 1.5 บรรยากาศ ถ้าเราเพิ่มอุณหภูมิดังกล่าวเป็น 2 เท่าของอุณหภูมิเดิม โดยควบคุมมวลและความดันของแก๊สให้คงที่ ปริมาตรของแก๊สจะเป็นเท่าใด ก. 21.98 ลูกบาศก์เซนติเมตร ข. 37.50 ลกบาศก์เซนติเมตร ค. 40.00 ลูกบาศก์เซนติเมตร ง. 45.05 ลูกบาศก์เซนติเมตร 9. ขวดสเปรย์ยาฆ่าแมลงขนาด 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร ความดัน 1.2 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ถ้าขวดสเปรย์นี้ตกลงไปในไฟที่มีอุณหภูมิ 327 องศาเซลเซียส ขวดจะระเบิดหรือไม่ เพราะเหตุใด (ขวดความดันไอไม่เกิน 2.5 บรรยากาศ) ข. ระเบิด เพราะความดันมีค่าเพิ่มขึ้นเป็น 12.1 บรรยากาศ ซึ่งมากกว่าความดันที่ขวดทนได้ ก. ระเบิด เพราะ ความดันมีค่าเพิ่มขึ้นเป็น 14.5 บรรยากาศ ซึ่งมากกว่าความดันที่ขวดทนได้ ค. ไม่ระเบิด เพราะความดันมีค่าเพิ่มขึ้นเป็น 2.0 บรรยากาศ ซึ่งน้อยกว่าความดันที่ขวดทนได้ ง. ไม่ระเบิด เพราะความดันมีค่าเพิ่มขึ้นเป็น 2.4 บรรยากาศ ซึ่งน้อยกว่าความดันที่ขวดทนได้ 10. แก๊ส X ปริมาตร 60 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ถ้าเพิ่มอุณหภูมิเป็น 47 องศาเซลเซียส จะมีปริมาตรเท่าไร ก. 64 ลูกบาศก์เซนติเมตร ข. 84 ลูกบาศก์เซนติเมตร ค. 90.44 ลูกบาศก์เซนติเมตร ง. 144.44 ลูกบาศก์เซนติเมตร


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 10 ชื่อ – สกุล.................................................... ชั้น.......... เลขที่.......... เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป (8 คะแนนขึ้นไป) ลงชื่อ……………………………………………..ผู้ประเมิน ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 การประเมินผล คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ได้......................................... คะแนน ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน ชุดที่2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก กระดาษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 11 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวิธีการทำกิจกรรมให้เข้าใจ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมตามขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. ………………………………………………………….……………………………………… 2. ………………………………………………………….……………………………………… 3. ………………………………………………………….……………………………………… 4. ………………………………………………………….……………………………………… 5. ………………………………………………………….……………………………………… 1. ทำการทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศได้ สารเคมี ปริมาณต่อกลุ่ม 1. น้ำ 5 mL 2. น้ำยาล้างจาน 2.5 mL 3. น้ำร้อน (อุณหภูมิประมาณ 60 0C) 100 mL 3. น้ำแข็ง 60 g อุปกรณ์ 1. ขวดพลาสติกใสชนิดไม่ยุบตัวเมื่อถูกความร้อน ขนาด 500 mL 1 ขวด 2. บีกเกอร์ ขนาด 500 mL 2 ใบ กิจกรรมที่ 2.1 การทดลองเรื่องปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศ คำชี้แจง รายชื่อสมาชิก กลุ่มที่ …………… จุดประสงค์ของการทดลอง อุปกรณ์การทดลอง


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 12 1. ผสมน้ำกับน้ำยาล้างจานในอัตราส่วน 2 : 1 ใส่ในบีกเกอร์ใบที่ 1 2. จุ่มปากขวดพลาสติกลงในบีกเกอร์ใบที่ 1 ดังรูป เพื่อให้เกิดแผ่นฟิล์มบาง ๆ ของน้ำยา ล้างจานปิดที่ปากขวด สังเกตลักษณะของฟิล์มที่ปากขวด ภาพที่ 2.1 การจุ่มปากขวดพลาสติกลงในน้ำผสมน้ำยาล้างจาน ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2562 3. เทน้ำร้อนใส่ในบีกเกอร์ใบที่ 2 โดยให้น้ำร้อนมีระดับความสูงประมาณ 2 เซ็นติเมตร แล้ว วางขวดพลาสติกที่เตรียมไว้ในข้อ 2 ลงในบีกเกอร์ โดยหงายขวดขึ้น ดังรูป สังเกตการเปลี่ยนแปลงและ บันทึกผลโดยการวาดรูปประกอบ 4. ทำการทดลองซ้ำตั้งแต่ข้อ 2-3 แต่เปลี่ยนจากน้ำร้อนเป็นน้ำผสมน้ำแข็งแทน ภาพที่ 2.2 วางขวดพลาสติกลงใบบีกเกอร์น้ำร้อน ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2562 วิธีการทดลอง


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 13 การทดลอง ผลการเปลี่ยนแปลง รูปภาพประกอบ ครั้งที่ 1 วางขวดพลาสติกในบีกเกอร์ บรรจุน้ำร้อน ครั้งที่ 2 วางขวดพลาสติกในบีกเกอร์ บรรจุน้ำผสมน้ำแข็ง 1. เมื่อวางขวดพลาสติกลงในบีกเกอร์ที่มีน้ำร้อน ปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างไร และทราบได้อย่างไร ………………………………………………………………………..………………………………………………………..……………… …………………………………………………………………………………………………………..……………………..……………… 2. เมื่อวางขวดพลาสติกลงในบีกเกอร์ที่มีน้ำผสมน้ำแข็ง ปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลง อย่างไร และทราบได้อย่างไร ………………………………………………………………………..………………………………………………………..……………… …………………………………………………………………………………………………………..……………………..……………… 3. การทดลองนี้มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมอะไรบ้าง ………………………………………………………………………..………………………………………………………..……………… …………………………………………………………………………………………………………..……………………..……………… …………………………………………………………………………………………………………..……………………..……………… แบบบันทึกผลการทดลอง คำถามท้ายกิจกรรม ทดลอง


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 14 4. จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง การทดลอง การเปลี่ยนแปลงของแก๊สในขวดพลาสติก โมล อุณหภูมิ ความดัน ปริมาตร ครั้งที่ 1 เมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอร์บรรจุน้ำร้อน ครั้งที่ 2 เมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอร์บรรจุน้ำ ผสมน้ำแข็ง ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………… อภิปรายผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 15 กฎของชาร์ล (Charles’law) ภาพที่ 2.3 จาค อเล็กซองดร์เซซา ชาร์ล ที่มา : http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/285/22/gas1/charlelaw.htm การศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ของปริมาตรของแก๊ส เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป พบว่า ถ้าอุณหภูมิของแก๊สเพิ่มขึ้น ปริมาตรของแก๊สจะเพิ่มขึ้น และถ้าอุณหภูมิของแก๊สลดลง ปริมาตรของแก๊ส จะลดลงด้วย ดังนั้น เขาจึงสรุปและนำเสนอเป็นกฎของชาร์ล (Charles’ Law) กฎของชาร์ล กล่าวว่า “เมื่อมวลและความดันของแก๊สคงที่ ปริมาตรของแก๊ส จะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน” ซึ่งสามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้ V T เมื่อ มวลและความดันคงที่ ดังนั้น V = kT จะได้ = k กำหนดให้ V = ปริมาตรของแก๊ส T = อุณหภูมิของแก๊ส (เคลวิน) k = ค่าคงที่ ใบความรู้ที่ 2.1 กฎของชาร์ล ในปี พ.ศ. 2330 จาค อเล็กซองดร์ เซซา ชาร์ล (Jacques Alexandre César Charles) ได้ทดลอง หาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับอุณหภูมิของ แก๊สจำนวนหนึ่งเมื่อความดันคงที่ พบว่าทุก ๆ หนึ่งองศาเซลเซียสที่เพิ่มขึ้น ปริมาตรของแก๊สจะ เพิ่มขึ้น 1 273 เท่าของปริมาตรเดิมที่ 0 องศาเซลเซียส V T


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 16 จากสมการ เมื่อความดันและมวลของแก๊สมีค่าคงที่ อัตราส่วนระหว่างปริมาตรกับอุณหภูมิ ของแก๊สจะมีค่าคงที่เสมอ ดังนั้น จะได้ว่า ความสัมพันธ์ตามกฎของชาร์ล อาจเขียนในรูปที่สามารถใช้คำนวณปริมาตรหรืออุณหภูมิ ของแก๊สที่สองสภาวะได้ดังนี้ เมื่อ V1 และ V2 คือ ปริมาตรของแก๊สที่มีปริมาตร T1 และ T2 ตามลำดับ ที่ความดันและ มวลคงที่ ภาพที่ 2.4 ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับอุณหภูมิเคลวินของแก๊ส ที่มา : https://shorturl.asia/J6PjI = = = … = = k = V2 T2 V1 T1 V 1 T V 2 T V 3 T V n T V จะใช้หน่วยอะไรก็ได้แต่ต้องเหมือนกันทั้งสองข้างของสมการ ส่วน T ต้องใช้หน่วยเคลวินเท่านั้นจ๊ะ ข้อควรระวัง


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 17 จากความสัมพันธ์ จะสามารถเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร (แกน Y) และอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส (แกน X) ได้ ดังภาพที่ 2.5 (ซ้าย) และเมื่อต่อปลายกราฟ ออกไปกราฟจะตัดแกน y ที่ประมาณ -273 องศาเซลเซียส หมายความว่า เมื่ออุณหภูมิลดลงถึง -273 องศาเซลเซียส แก๊สจะมีปริมาตรเป็น 0 แต่ในทางปฏิบัติ แก๊สจะไม่มีโอกาสมีปริมาตรเป็น 0 เพราะเมื่ออุณหภูมิลดลง แก๊สจะเปลี่ยนเป็นของเหลวและของแข็งก่อนที่อุณหภูมิจะลดลง ถึง -273 องศาเซลเซียส และสามารถเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตร (แกน Y) และอุณหภูมิในหน่วยเคลวิน (แกน X) ได้ดังภาพที่ 2.5 (ขวา) ภาพที่ 2.5 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง V กับ T ( 0C) (ซ้าย) และ V กับ T (K) (ขวา) ที่มา : https://citly.me/PxNmr ดังนั้น นักวิทยาศาสตร์จึงกําหนดให้อุณหภูมิ-273 องศาเซลเซียส มีค่าเท่ากับ 0 เคลวิน และ เรียกอุณหภูมิ0 เคลวิน นี้ว่า อุณหภูมิศูนย์สมบูรณ์ นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาปริมาตรของแก๊สที่อุณหภูมิและความดันต่าง ๆ (P1 P2 P3และ P4 ) แล้วนำมาเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับอุณหภูมิของแก๊ส จะได้ดังภาพที่ 2.6 จากกราฟ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก 100 K เป็น 200 K และ 400 K จะพบว่าแก๊สที่มีมวล เท่าเดิม มีปริมาตรเพิ่มขึ้นตามลำดับ คือเพิ่มจาก 2 dm3 เป็น 4 dm3 และ 8 dm3 ถ้าเพิ่มอุณหภูมิของแก๊สเป็น 2 เท่าในหน่วยเคลวินปริมาตรของแก๊สจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 18 ภาพที่ 2.6 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับอุณหภูมิ (เคลวิน) ณ ความดันต่าง ๆ ที่มา : https://chemistrygod.com/charles-law/graph ข้อสังเกตหนึ่งจากกราฟที่สร้างจากกฎของชาร์ล นั่นคือ เมื่อทำการทดลองโดยใช้แก๊สชนิด เดียวกัน แต่ความดันต่างกัน จะได้กราฟที่มีความชันต่างกันคือ ถ้าทำการทดลองที่ความดันต่ำ จะได้ กราฟที่มีความชันมากกว่าเมื่อทำการทดลองที่ความดันสูง ความสัมพันธ์ระหว่างมาตราส่วนเซลเซียสกับมาตราส่วนเคลวินที่อุณหภูมิต่าง ๆ แสดงได้ดัง รูปที่ 2.7 ภาพที่ 2.7 ความสัมพันธ์ระหว่างมาตราส่วนเซลเซียสกับมาตราส่วนเคลวินที่อุณหภูมิต่าง ๆ ที่มา : https://byjus.com/physics/relation-between-celsius-and-kelvin/ ศึกษาตัวการค านวณ ในหน้าถัดไปได้เลยจ๊ะ extrapolation


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 19 ตัวอย่างที่1 ตัวอย่างที่2 ตัวอย่างการคำนวณโดยใช้กฎของชาร์ล (Charle’s Law) แก๊สไนโตรเจนที่อุณหภูมิ 273 เคลวิน มีปริมาตร 450 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะต้องมี อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจากเดิมเท่าใด จึงจะมีปริมาตรเพิ่มขึ้นเป็น 467 ลูกบาศก์เซนติเมตร โดยความดัน ไม่เปลี่ยนแปลง ปริมาตรของแก๊ส A ที่ 0 องศาเซลเซียส เท่ากับ 450 ลูกบาศก์เซนติเมตร ปริมาตรของ แก๊ส A จะเป็นเท่าไรที่ 10 องศาเซลเซียส ถ้าความดันคงที่ วิธีทำ โจทย์กำหนด V1 = 450 cm3 T1 = 0 + 273 = 273 K V2 = ? T2 = 10 + 273 = 283 K จากสูตร แทนค่า V2 V2 = = = = 466.48 cm3 ดังนั้น แก๊ส A จะมีปริมาตร 466.48 ลูกบาศก์เซ็นติเมตร ตอบ วิธีทำ โจทย์กำหนด V1 = 450 cm3 T1 = 273 K V2 = 467 cm3 T2 = ? จากสูตร แทนค่า T2 T2 = = = = 283.31 K อุณหภูมิเพิ่มขึ้น = 283.31 - 273 = 10.31 K ดังนั้น แก๊สไนโตรเจนต้องมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจากเดิมประมาณ 10 เคลวิน ตอบ V1 T1 V2 T2 450 cm3 273 K 467 cm3 T2 V1 T1 V2 T2 450 cm3 273 K V2 283 K 467 cm3 × 273 K 450 cm3 467 cm3 × 273 K 273 K


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 20 ตัวอย่างที่ 3 ไอน้ำปริมาตร 2 ลูกบาศก์เดซิเมตรที่อุณหภูมิ100 องศาเซลเซียส ต้องนำไปไว้ที่ อุณหภูมิเท่าไร จึงจะมีปริมาตรเท่ากับ 5 ลูกบาศก์เดซิเมตร เมื่อความดันคงที่ วิธีทำ โจทย์กำหนด V1 = 2 dm3 T1 = 100 + 273 = 373 K V2 = 5 dm3 T2 = ? จากสูตร แทนค่า = = T2 = 5 dm3 × 373 K 2 dm3 T2 = 932.5 K อุณหภูมิ = 932.5 - 273 = 659.5 0C ดังนั้น ไอน้ำจะมีปริมาตร 5 ลูกบาศก์เดซิเมตร ที่อุณหภูมิ659.5 องศาเซลเซียส ตอบ กฎของชาร์ล (Charle’s Law) ที่พบในชีวิตประจำวัน กฎของชาร์ลที่พบในชีวิตประจำวัน เช่น การขยายตัวของยางรถยนต์เมื่อวิ่งไปบนถนน การขยายตัวของบอลลูน การให้ความร้อนแก่โคมลอย ซึ่งเมื่ออากาศได้รับความร้อนอากาศจะมีปริมาตร เพิ่มขึ้น เป็นต้น ภาพที่ 2.8 การขยายตัวของโคมลอยเมื่อได้รับความร้อน ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/โคมลอย V1 T1 V2 T2 2 dm3 373 K 5 dm3 T2


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 21 กฎของชาร์ล คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 1. จากกฎของชาร์ล จะสรุปความสัมพันธ์ของอุณหภูมิและปริมาตรของแก๊สได้ว่าอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… 2. จงเขียนความสัมพันธ์ตามกฎของชาร์ล ในรูปที่สามารถใช้คำนวณหาความดันหรืออุณหภูมิของแก๊ส ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..………………… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..………………… 3. จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง V กับ T (0C) และ V กับ T (K) เมื่อความดันคงที่ 3.1 ความสัมพันธ์ระหว่าง V กับ T (0C) 3.2 ความสัมพันธ์ระหว่าง V กับ T (K) 4. ยกตัวอย่างกฎของชาร์ลที่พบได้ในชีวิตประจำวัน ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ใบงานที่ 2.1 -273 0 0 V T ( 0C ) V T ( K ) EMBED


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 22 คำนวณปริมาตรหรืออุณหภูมิโดยใช้ความสัมพันธ์ตามกฎของชาร์ล คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง พร้อมแสดงวิธีทำอย่างละเอียดเป็นรายบุคคล (20 คะแนน) 1. แก๊สนีออนมีปริมาตร 0.2 ลูกบาศก์เดซิเมตร ที่ 100 องศาเซลเซียส จงหาปริมาตรของแก๊สนีออนที่ 0 องศาเซลเซียส ถ้าความดันคงที่ ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……….…...… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……….…….... ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… 2. กระบอกสูบอันหนึ่ง บรรจุอากาศ 600 ลูกบาศก์เซ็นติเมตร ที่ 20 องศาเซลเซียส ต้องเพิ่มอุณหภูมิ อีกเท่าใด อากาศจึงจะมีปริมาตรเท่ากับ 641 ลูกบาศก์เซ็นติเมตร ที่ความดันคงที่ ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……….…...… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……….…….... ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ใบงานที่ 2.2


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 23 3. ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส แก๊ส X มีปริมาตร 586 ลูกบาศก์เซ็นติเมตร ถ้าอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเป็น 70 องศาเซลเซียส แก๊ส X จะมีปริมาตร เท่าไร ถ้าความดันคงที่ ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……….…...… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……….…….... ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… 4. ถ้าต้องการให้แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ปริมาตร 2.4 ลิตร ที่อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส มีปริมาตร เป็น 1.5 ลิตร จะต้องทำให้อุณหภูมิของระบบเป็นเท่าไร เมื่อกำหนดให้ความดันคงที่ ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……….…...… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……….…….... ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..…


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 24 ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……….…...… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……….…….... ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..…….………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… ………………………………………………………………………………………………………………………………..…….……..… ……………………………………………………………………………………………………………………………..………….…..… ……………………………………………………………………………………………………………………………...…………....… ……………………………………………………………………………………………………..………………………..……………..… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………....… ……………………………………………………………………………………………………………………………..……………..… 5. แก๊สไนโตรเจนปริมาตร 3.5 ลิตร มีอุณหภูมิ -63 องศาเซลเซียส ทำให้ร้อนขึ้นจนมีอุณหภูมิ 225 องศาเซลเซียส ปริมาตรจะขยายออกไปเป็นเท่าใดเมื่อความดันคงที่ 700 มิลิเมตรปรอท สู้ๆ นะคะ


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 25 กฎของเกย์-ลูสแซก (Gay-Lussac’s law) ภาพที่ 2.9 โชแซฟ-ลุยส์ เกย์-ลูสแซก ที่มา : https://www.sciencehistory.org/historical-profile/joseph-louis-gay-lussac กฎของเกย์-ลูสแซก กล่าวว่า “เมื่อปริมาตรคงที่ความดันของแก๊สใด ๆ ที่มีมวลคงที่ จะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน” ซึ่งสามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้ P T เมื่อ มวลและปริมาตรคงที่ ดังนั้น P = kT จะได้ = k กำหนดให้ P = ความดันของแก๊ส T = อุณหภูมิของแก๊ส (เคลวิน) k = ค่าคงที่ ใบความรู้ที่ 2.2 กฎของเกย์-ลูสแซก ในปี พ.ศ. 2345 โชแซฟ-ลุยส์ เกย์-ลูสแซก (Joseph-Loius Gay-Lussac) นักเคมีชาวฝรั่งเศส ได้ศึกษาทดลอง วัดปริมาตรของแก๊สที่ทำปฏิกิริยาและที่ได้ จากปฏิกิริยาจนสามารถสรุปและตั้งเป็น กฎของเกย์-ลูสแซก (Gay-Lussac’s Law) P T


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 26 จากสมการ เมื่อมวลและปริมาตรของแก๊สมีค่าคงที่อัตราส่วนระหว่างความดันกับอุณหภูมิ ของแก๊สจะมีค่าคงที่เสมอ ดังนั้น จะได้ว่า ความสัมพันธ์ตามกฎของเกย์-ลูสแซก อาจเขียนในรูปที่สามารถใช้คำนวณหาความดันหรือ อุณหภูมิของแก๊สที่สองสภาวะได้ดังนี้ เมื่อ P1 และ P2 คือ ความดันของแก๊สที่มีปริมาตร T1 และ T2 ตามลำดับ ที่ปริมาตรและ มวลคงที่ ภาพที่ 2.10 ความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับอุณหภูมิของแก๊สเมื่อโมลและปริมาตรคงที่ ที่มา : https://citly.me/dswhv = = = … = = k = P2 T2 P1 T1 P1 T1 P2 T2 P3 T3 Pn Tn P จะใช้หน่วยอะไรก็ได้แต่ต้องเหมือนกันทั้งสองข้างของสมการ ส่วน T ต้องใช้หน่วยเคลวินเท่านั้นจ๊ะ ข้อควรระวัง T1 < T2 , P1 < P2 n and V are constant


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 27 จากความสัมพันธ์ จะสามารถเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความดัน (แกน Y) กับอุณหภูมิหน่วยองศาเซลเซียส (แกน X) ได้ ดังภาพที่ 2.11 (ซ้าย) และความดัน (แกน Y) กับ อุณหภูมิหน่วยเคลวิน (แกน X) ได้ ดังภาพที่ 2.11 (ขวา) ภาพที่ 2.11 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง P กับ T ( 0C) (ซ้าย) และ P กับ T (K) (ขวา) ที่มา : https://citly.me/PxNmr ภาพที่ 2.12 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง P กับ T (K) ณ ปริมาตรต่าง ๆ ที่มา : https://chemistrygod.com/gay-lussacs-law เรามาศึกษาตัวอย่าง การค านวณกันต่อนะคะ


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 28 ตัวอย่างที่4 ตัวอย่างที่5 ตัวอย่างการคำนวณโดยใช้กฎของเกย์-ลูสแซก (Gay-Lussac’s law) แก๊สบรรจุในภาชนะปิดที่มีความดัน 1 บรรยากาศ ที่ 30 องศาเซลเซียส จงหาความดัน ของแก๊สในภาชนะนี้เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นเป็น 90 องศาเซลเซียส วิธีทำ โจทย์กำหนด P1 = 1 atm T1 = 30 + 273 = 303 K P2 = ? T2 = 90 + 273 = 363 K จากสูตร แทนค่า = = P2 = P2 = 1.198 atm ดังนั้น ที่อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส แก๊สนี้มีความดันเท่ากับ 1.198 บรรยากาศ ตอบ ถังใบหนึ่งมีความดัน 640 มิลลิเมตรปรอท ที่ 23 องศาเซลเซียส เมื่อวางไว้กลางแดด อุณหภูมิเพิ่มเป็น 48 องศาเซลเซียส ความดันของอากาศในถังจะเป็นเท่าใด วิธีทำ โจทย์กำหนด P1 = 640 mmHg T1 = 23 + 273 = 296 K P2 = ? T2 = 48 + 273 = 321 K จากสูตร แทนค่า P2 = = = P2 = 694.05 mmHg ดังนั้น ความดันของอากาศในถังที่ 48 องศาเซลเซียส เท่ากับ 694 มิลลิเมตรปรอท ตอบ P1 T1 P2 T2 640 mmHg 296 K P2 321 K P1 T1 P2 T2 1 atm 303 K P2 363 K 640 mmg × 321 K 296 K 1 atm × 363 K 303 K


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 29 ตัวอย่างที่6 63 อ๋อ เข้าใจแล้วครับ แก๊ส X จำนวนหนึ่งบรรจุในถังซึ่งมีปริมาตร 2 ลิตร วัดความดันที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ได้เท่ากับ 800 มิลลิเมตรปรอท ถ้าต้องการให้ความดันของแก๊ส X ภายในถังเพิ่มขึ้น อีก 200 มิลลิเมตรปรอท จะต้องเพิ่มอุณหภูมิกี่องศาเซลเซียส วิธีทำ โจทย์กำหนด P1 = 800 mmHg T1 = 27 + 273 = 300 K P2 = 800 + 200 = 1,000 mmHg T2 = ? จากสูตร แทนค่า = = T2 T2 = = 375 K = 375 – 273 = 102 0C ดังนั้น จะต้องทำที่อุณหภูมิ 102 องศาเซลเซียส ตอบ P1 T1 P2 T2 800 mmHg 300 K 1,000 mmHg T2 1,000 mmHg × 300 K 800 mmHg


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 30 กฎของเกย์-ลูสแซก (Gay-Lussac’s law) ที่พบในชีวิตประจำวัน กฎของเกย์-ลูสแซกที่พบในชีวิตประจำวัน เช่น การระเบิดของกระป๋องสีสเปรย์หรือกระป๋อง สเปรย์น้ำหอมเมื่อได้รับความร้อน การเปิดฝากระป๋องก่อนอุ่นอาหาร การทำข้าวโพดคั่ว ซึ่งเมื่อปริมาตร ของแก๊สในกระป๋องคงที่ ถ้าอุณภูมิเพิ่มขึ้นความดันในกระป๋องก็จะเพิ่ม ความดันสูงมากจะทำให้กระป๋อง ระเบิดและเมล็ดข้าวโพดแตกบาน ภาพที่ 2.13 ข้าวโพดคั่ว ที่มา : https://www.9thaihealth.com/?p=4505 กฎของเกย์-ลูสแซก กฎของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของบอยล์ นักเรียนสามารถศึกษากฎของชาร์ล และกฎของเกย์-ลูสแซกเพิ่มเติม สแกน QR CODE ได้เลยจ๊ะ


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 31 กฎของเกย์-ลูสแซก คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 1. จากกฎของเกย์-ลูสแซก จะสรุปความสัมพันธ์ของอุณหภูมิและปริมาตรของแก๊สได้ว่าอย่างไร ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… 2. จงเขียนความสัมพันธ์ตามกฎของเกย์-ลูสแซก ในรูปที่สามารถใช้คำนวณหาความดันหรืออุณหภูมิ ของแก๊ส ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… 3. จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง P กับ T (0C) และ P กับ T (K) เมื่อปริมาตรและมวลคงที่ 3.1 ความสัมพันธ์ระหว่าง V กับ T (0C) 3.2 ความสัมพันธ์ระหว่าง V กับ T (K) 4. ยกตัวอย่างกฎของเกย์-ลูสแซกที่พบได้ในชีวิตประจำวัน ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ใบงานที่ 2.3 -273 0 0 P T ( 0C ) P T ( K ) EMBED


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 32 คำนวณความดันหรืออุณหภูมิโดยใช้ความสัมพันธ์ตามกฎของเกย์-ลูสแซก คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง พร้อมแสดงวิธีทำอย่างละเอียดเป็นรายบุคคล (20 คะแนน) 1. แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุในภาชนะที่มีปริมาตรคงที่ มีความดัน 750 ทอร์ ที่อุณหภูมิ 450 องศาเซลเซียส เมื่ออุณหภูมิของแก๊สนี้เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ความดันเพิ่มขึ้นเป็น 900 ทอร์ จงคำนวณหาอุณหภูมิใหม่ ของแก๊สนี้ 2. เมื่อนำของเหลว A 10 กรัม มาทำให้เป็นไอทั้งหมดที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ความดัน 380 มิลลิเมตรปรอท ในถังพลาสติกซึ่งไม่มีการขยายตัวขนาด 20 ลูกบาศก์เดซิเมตร ถ้าต้องการ ให้ความดันลดลง 120 มิลลิเมตรปรอท จะต้องทำที่อุณหภูมิเท่าใด ใบงานที่ 2.4 ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..………


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 33 ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… …………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… 3. แก๊ส X บรรจุในภาชนะปิดที่มีอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ความดัน 1.5 บรรยากาศ จงหาความดัน ของแก๊สนี้ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นเป็น 376 เคลวิน โดยแก๊สมีปริมาตรเท่าเดิม 4. แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุในภาชนะขนาด 1.5 ลูกบาศก์เดซิเมตร ความดัน 1 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จงคำนวณหาความดันว่าลดลงหรือเพิ่มขึ้นจากเดิมกี่มิลลิเมตรปรอท เมื่ออุณหภูมิ ลดลงเหลือ 0 องศาเซลเซียส เมื่อปริมาตรคงเดิม ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..………


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 34 ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… …………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… 5. แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 750 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส ความดัน 760 มิลลิเมตรปรอท ถ้าอุณหภูมิเพิ่มเป็น 45 องศาเซลเซียส โดยปริมาตรเท่าเดิมแก๊สชนิดนี้จะมี ความดันกี่บรรยากาศ สู้ๆ นะคะ


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 35 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน 2. นักเรียนร่วมกันอภิปรายกันในกลุ่มเกี่ยวกับกฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันระดมความคิดและค้นหาคำตอบจากคำถามต่อไปนี้ (10 คะแนน) 1. ลูกปิงปองในปัจจุบันทำจากเซลลูลอยด์ที่ทนความร้อนและมีการอัดแก๊สไว้ภายใน เมื่อลูกปิงปองบุบ เราสามารถซ่อมได้ด้วยการนำลูกปิงปองไปต้มในน้ำร้อน ให้นักเรียนอธิบายหลักการนี้โดยใช้กฎของชาร์ล ภาพที่ 2.14 ลูกปิงปองที่บุบกลับมากลมใหม่เมื่อเอาไปต้ม ที่มา : https://citly.me/WXf7G ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… กิจกรรมที่ 2.2 คำถามชวนคิด คำชี้แจง


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 36 2. เพราะเหตุใดจึงไม่ควรนําถังแก๊สหุงต้มไปวางไว้กลางแดด หรือวางไว้ในที่ร้อนจัด อธิบายโดย ใช้กฎของเกย์-ลูสแซก ภาพที่ 2.15 แก๊สหุงต้มในท้องตลาด ที่มา : https://www.tcijthai.com/news/2017/13/current/7416 ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………..…………..……… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….… ..…………………………………………………………………………………………………………………..………..……………….…


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 37 คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ เวลาในการสอบ 20 นาที 1. “เมื่อปริมาตรและจำนวนโมลของแก๊สคงที่ อัตราส่วนความดันต่ออุณหภูมิในหน่วยเคลวิน เป็นค่าคงที่” จากคำกล่าวนี้ เป็นกฎของใคร ก. บอยล์ ข. ชาร์ล ค. เกย์-ลูสแซก ง. กฎรวมแก๊ส 2. แก๊สจำนวนหนึ่งที่ความดันคงที่ ถ้าอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงจาก 200 เคลวิน เป็น 400 เคลวิน ปริมาตร ของแก๊สนี้จะเป็นอย่างไร ก. ลดลง 2 เท่า ข. เพิ่มขึ้น 2 เท่า ค. ลดลง 0.5 เท่า ง. เพิ่มขึ้น 0.5 เท่า 3. ขวดสเปรย์ยาฆ่าแมลงขนาด 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร ความดัน 1.2 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ถ้าขวดสเปรย์นี้ตกลงไปในไฟที่มีอุณหภูมิ 327 องศาเซลเซียส ขวดจะระเบิดหรือไม่ เพราะเหตุใด (ขวดความดันไอไม่เกิน 2.5 บรรยากาศ) ข. ระเบิด เพราะความดันมีค่าเพิ่มขึ้นเป็น 12.1 บรรยากาศ ซึ่งมากกว่าความดันที่ขวดทนได้ ก. ระเบิด เพราะ ความดันมีค่าเพิ่มขึ้นเป็น 14.5 บรรยากาศ ซึ่งมากกว่าความดันที่ขวดทนได้ ค. ไม่ระเบิด เพราะความดันมีค่าเพิ่มขึ้นเป็น 2.0 บรรยากาศ ซึ่งน้อยกว่าความดันที่ขวดทนได้ ง. ไม่ระเบิด เพราะความดันมีค่าเพิ่มขึ้นเป็น 2.4 บรรยากาศ ซึ่งน้อยกว่าความดันที่ขวดทนได้ แบบทดสอบหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 ข้อสอบจำนวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 38 4. เมื่อมวลและปริมาตรของแก๊สคงที่ปรากฎว่า 1. อุณหภูมิจะไม่มีผลต่อความดัน 2. ความดันจะเพิ่มเมื่ออุณหภูมิเพิ่ม 3. ความดันจะแปรผกผันกับอุณหภูมิ 4. ความดันจะไม่เปลี่ยนหากอุณหภูมิคงที่ ข้อสรุปใดถูกต้อง ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ข้อ 2 และ 4 ค. ข้อ 3 และ 4 ง. ข้อ 1 2 และ 4 5. แก๊ส A มีปริมาตร 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ความดัน 1.5 บรรยากาศ ถ้าเราเพิ่มอุณหภูมิดังกล่าวเป็น 2 เท่าของอุณหภูมิเดิม โดยควบคุมมวลและความดันของแก๊สให้คงที่ ปริมาตรของแก๊สจะเป็นเท่าใด ก. 21.98 ลูกบาศก์เซนติเมตร ข. 37.50 ลกบาศก์เซนติเมตร ค. 40.00 ลูกบาศก์เซนติเมตร ง. 45.05 ลูกบาศก์เซนติเมตร 6. การทดลองเกี่ยวกับแก๊สของชาร์ลตรงกับข้อใด ก. แก๊สทุกชนิดจะมีปริมาตรเป็นศูนย์เมื่อลดอุณหภูมิถึง -273 องศาเซลเซียส ข. เมื่ออุณหภูมิและมวลของแก๊สคงที่ ปริมาตรของแก๊ส จะแปรผกผันกับความดัน ค. เมื่อความดันและมวลของแก๊สคงที่ ปริมาตรของแก๊สจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน ง. เมื่อปริมาตรและมวลของแก๊สคงที่ ความดันของแก๊ส จะแปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน 7. กระป๋องสเปรย์ระเบิดเมื่อใกล้เปลวไฟเป็นไปตามกฎของใคร ก. กฎของชาร์ล ข. กฎของบอยล์ ค. กฎอาโวกาโดร ง. กฎของเกย์-ลูซแซก


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 39 8. แก๊ส X ปริมาตร 60 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ถ้าเพิ่มอุณหภูมิ เป็น 47 องศาเซลเซียส จะมีปริมาตรเท่าไร ก. 64 ลูกบาศก์เซนติเมตร ข. 84 ลูกบาศก์เซนติเมตร ค. 90.44 ลูกบาศก์เซนติเมตร ง. 144.44 ลูกบาศก์เซนติเมตร 9. จากคำว่ากล่าว ที่ “ปรากฎการณ์ที่แก๊สมีปริ มาตรเป็น ศูนย์ เป็นเพียงผลการคาดคะเน ตามทฤษฎีเท่านั้น” หมายความว่าอย่างไร ก. ตามทฤษฎี แก๊สจะมีปริมาตรเป็นศูนย์ เมื่อลดอุณหภูมิถึง -273 เคลวิน ข. ในทางปฏิบัติแก๊สจะมีปริมาตรเป็นศูนย์ เมื่อลดอุณหภูมิถึง -273 องศาเซลเซียส ค. ตามทฤษฎี แก๊สทุกชนิดควรมีปริมาตรเป็นศูนย์ เมื่อลดอุณหภูมิ 0 เคลวิน แต่ในทางปฏิบัติแก๊สจะ เปลี่ยนเป็นของเหลวก่อนที่อุณหภูมิถึง 0 เคลวิน ง. ตามทฤษฎี แก๊สทุกชนิดควรมีปริมาตรเป็นศูนย์ เมื่อลดอุณหภูมิ -273 เคลวิน แต่ในทางปฏิบัติ แก๊สจะเปลี่ยนเป็นของเหลวก่อนถึง -273 เคลวิน 10. แก๊สชนิดหนึ่งที่ 35 องศาเซลเซียส และ 1 บรรยากาศ มีปริมาตร 3.76 ลิตร ที่อุณหภูมิใดที่แก๊สนี้ ถูกรีดิวซ์ให้มีปริมาตรเหลือ 3 ลิตร ที่ความดันเดิม ก. 0.00 องศาเซลเซียส ข. 3.98 องศาเซลเซียส ค. -26.60 องศาเซลเซียส ง. -35.20 องศาเซลเซียส ตั้งใจทำ ข้อสอบนะคะ ครับ


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 40 ชื่อ – สกุล.................................................... ชั้น.......... เลขที่.......... เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป (8 คะแนนขึ้นไป) ลงชื่อ……………………………………………..ผู้ประเมิน ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 การประเมินผล คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนที่ได้......................................... คะแนน ผลการประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 41 พงศธร นันทธเนศ และคณะ. (2563). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ และเจียมจิต กุลมาลา. (2562). หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : แมคเอ็ดดูเคชั่น. ศิริศักดิ์ โลลุพิมาน และคณะ. (ม.ป.ป.). แบบฝึกหัดรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคมี ม.5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). คู่มือครู รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. _______. (2560). คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ วิชาเคมี ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย . [เว็บบลอก]. เข้าถึงได้จาก https://www.scimath.org/e-books/8417/ flippingbook/132/. (10 ตุลาคม 2561) _______. (2562). หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระ การเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. สำราญ พฤกษ์สุนทร. (2550). หนังสือเรียน เคมี ม.4 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : พ.ศ. พัฒนา. _______. (2560). หนังสือเรียน เคมี ม.5 เล่ม 3. กรุงเทพฯ : พ.ศ. พัฒนา. สุทัศน์ ไตรสถิตวร และสมศักดิ์ วรมงคลชัย. (2556). เคมี ม.4-5-6 ฉบับสมบูรณ์. 00 กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง. บรรณานุกรม


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 42 ภาคผนวก


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 43 ข้อ ก ข ค ง 1 x 2 x 3 x 4 x 5 x 6 x 7 x 8 x 9 x 10 x เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 44 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวิธีการทำกิจกรรมให้เข้าใจ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมตามขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. ………………………………………………………….……………………………………… 2. ………………………………………………………….……………………………………… 3. ………………………………………………………….……………………………………… 4. ………………………………………………………….……………………………………… 5. ………………………………………………………….……………………………………… 1. ทำการทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศได้ สารเคมี ปริมาณต่อกลุ่ม 1. น้ำ 5 mL 2. น้ำยาล้างจาน 2.5 mL 3. น้ำร้อน (อุณหภูมิประมาณ 60 0C) 100 mL 3. น้ำแข็ง 60 g อุปกรณ์ 1. ขวดพลาสติกใสชนิดไม่ยุบตัวเมื่อถูกความร้อน ขนาด 500 mL 1 ขวด 2. บีกเกอร์ ขนาด 500 mL 2 ใบ ตัวอย่างแบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.1 การทดลองเรื่องปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศ คำชี้แจง รายชื่อสมาชิก กลุ่มที่ …………… จุดประสงค์ของการทดลอง อุปกรณ์การทดลอง


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 45 1. ผสมน้ำกับน้ำยาล้างจานในอัตราส่วน 2 : 1 ใส่ในบีกเกอร์ใบที่ 1 2. จุ่มปากขวดพลาสติกลงในบีกเกอร์ใบที่ 1 ดังรูป เพื่อให้เกิดแผ่นฟิล์มบาง ๆ ของน้ำยา ล้างจานปิดที่ปากขวด สังเกตลักษณะของฟิล์มที่ปากขวด ภาพที่ 2.1 การจุ่มปากขวดพลาสติกลงในน้ำผสมน้ำยาล้างจาน ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2562 3. เทน้ำร้อนใส่ในบีกเกอร์ใบที่ 2 โดยให้น้ำร้อนมีระดับความสูงประมาณ 2 เซ็นติเมตร แล้ว วางขวดพลาสติกที่เตรียมไว้ในข้อ 2 ลงในบีกเกอร์ โดยหงายขวดขึ้น ดังรูป สังเกตการเปลี่ยนแปลงและ บันทึกผลโดยการวาดรูปประกอบ 4. ทำการทดลองซ้ำตั้งแต่ข้อ 2-3 แต่เปลี่ยนจากน้ำร้อนเป็นน้ำผสมน้ำแข็งแทน ภาพที่ 2.2 วางขวดพลาสติกลงใบบีกเกอร์น้ำร้อน ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2562 วิธีการทดลอง


ชุดที่ 2 กฎของชาร์ลและกฎของเกย์-ลูสแซก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชาเคมี 3 เรื่องแก๊สและสมบัติของแก๊ส 46 เมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอร์ที่บรรจุน้ำร้อน แผ่นฟิล์มของน้ำยาล้างจานที่ปากขวด จะพองขึ้นมา แสดงว่าเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ปริมาตรของอากาศภายในขวดเพิ่มขึ้น เมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอร์ที่บรรจุน้ำผสมน้ำแข็ง แผ่นฟิล์มของน้ำยาล้างจานที่ ปากขวดจะยุบลงไป แสดงว่าเมื่ออุณหภูมิลดลง ปริมาตรของอากาศลดลง ตัวแปรต้น คือ อุณหภูมิ ตัวแปรตาม คือ ปริมาตรของอากาศ ตัวแปรควบคุม คือ ความดันและจำนวนโมลอากาศ การทดลอง ผลการเปลี่ยนแปลง รูปภาพประกอบ ครั้งที่ 1 วางขวดพลาสติกในบีกเกอร์ บรรจุน้ำร้อน ครั้งที่ 2 วางขวดพลาสติกในบีกเกอร์ บรรจุน้ำผสมน้ำแข็ง 1. เมื่อวางขวดพลาสติกลงในบีกเกอร์ที่มีน้ำร้อน ปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างไร และทราบได้อย่างไร ………………………………………………………………………..………………………………………………………..……………… …………………………………………………………………………………………………………..……………………..……………… 2. เมื่อวางขวดพลาสติกลงในบีกเกอร์ที่มีน้ำผสมน้ำแข็ง ปริมาตรและอุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลง อย่างไร และทราบได้อย่างไร ………………………………………………………………………..………………………………………………………..……………… …………………………………………………………………………………………………………..……………………..……………… 3. การทดลองนี้มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมอะไรบ้าง ………………………………………………………………………..………………………………………………………..……………… …………………………………………………………………………………………………………..……………………..……………… …………………………………………………………………………………………………………..……………………..……………… แบบบันทึกผลการทดลอง คำถามท้ายกิจกรรมทดลอง แผ่นฟิล์มของน้ำยาจ้างจานที่ปากขวด จะพองขึ้นมา แผ่นฟิล์มของน้ำยาจ้างจานที่ปากขวด จะยุบลงไป


Click to View FlipBook Version