The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาเศรษฐกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khuanrean2524, 2021-03-24 10:04:02

วิชาเศรษฐกิจพอเพียง

วิชาเศรษฐกิจพอเพียง

วิชาเศรษฐกิจพอเพียง
รหัสวิชา ทช21001
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ความพอเพียง

ความเป็นมา ความหมายแนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เ ป็ น ป รั ช ญ า ที่
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ
ดุลยเดชมีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนับต้ังแต่
พ.ศ. 2517 เป็นต้นมาและถูกพูดถึงอย่าง
ชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อ
เ ป็ น แ น ว ท า ง ก า ร แ ก้ ไ ข วิ ก ฤ ต ก า ร ณ์ ท า ง
การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 ให้สามารถ
ดารงอยู่ได้อย่างม่ันคงและย่ังยืนในกระแส
โลกาภวิ ัตนแ์ ละความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ

ความพอเพียง

ห ลั ก ก า ร ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง

1. ความพอประมาณ ซ่งึ หมายถึงความพอดๆี ไมม่ าก มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า น
เกินไป ไมน่ ้อยเกินไป ไม่สุดโต่งและไมเ่ ตบิ โตเรว็ เกินไป
2. ความมเี หตมุ ีผล คอื ทุกอย่างตอ้ งมที ี่มาท่ีไป สามารถ ค ว า ม มี ภู มิ คุ้ ม กั น คุ ณ ธ ร ร ม
อธิบายได้ มีเหตมุ ผี ลรับกนั
3. ความรอบรู้ คือ ต้องมีความรอบคอบ มีการใชค้ วามรู้
วิชาการดว้ ยความระมัดระวัง ไมบ่ ุม่ บ่าม ดาเนินการ
อยา่ งรอบคอบ
4. ความมภี มู คิ มุ้ กนั ทด่ี ี คอื ตอ้ งปกป้องคุ้มครอง ไมใ่ ห้
กระทาสง่ิ ทเี่ สี่ยงเกินไป ไมเ่ สย่ี งในเรอ่ื งทไ่ี มค่ วรเส่ียง
5. คุณธรรมความดี ซง่ึ หมายถึงความซือ่ สัตยส์ จุ รติ
ประกอบด้วยความมานะอดทนและพากเพียร คุณธรรม
เป็นพน้ื ฐานของความมัน่ คงและความม่ันคงของสรรพส่งิ

ความพอเพียง

ประการทสี่ าคญั ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
พอมพี อกนิ ปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง

ปลกู ไม้ผลไว้หลังบา้ น 2-3 ตน้ พอทจี่ ะมไี ว้กนิ เอง
ในครัวเรือน เหลอื จงึ ขายไป

พออยพู่ อใช้ ทาให้บา้ นนา่ อยู่ ปราศจาก
สารเคมี กลนิ่ เหมน็ ใชแ้ ตข่ องทเ่ี ปน็ ธรรมชาติ (ใช้
จุลนิ ทรยี ผ์ สมนา้ ถูพื้นบ้านจะสะอาดกว่าใช้นา้ ยา
เคม)ี รายจา่ ยลดลง สุขภาพจะดีขนึ้ (ประหยัดค่า
รกั ษาพยาบาล)

พออกพอใจ เราตอ้ งรู้จกั พอ รูจ้ ักประมาณ
ตน ไม่ใคร่อยากใคร่มเี ชน่ ผอู้ ่ืน เพราะเราจะหลง
ติดกับวตั ถุ ปญั ญาจะไม่เกิด


Click to View FlipBook Version