The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by applechip.minute, 2021-09-19 22:39:26

อารยธรรมลุ่มน้ำไนล์

3DA23A8D-508C-4FE7-9543-54B9C1373D81

อารยธรรม

ลุ่มนําไนล์



1

1. ท่ีตัง้ ทางภมู ิศาสตร

อารยธรรมลุม แมน้ําไนลหรืออารยธรรมอยี ปิ ตโ บราณกอกาํ เนิดบรเิ วณดนิ
แดนสองฝั่ง แมน้ําไนล ตัง้ แตปากแมน้ําไนลจ นไปถึงตอนเหนือของประเทศซูดานใน
ปั จจุบนั

ทิศเหนือ ตดิ กับ ทะเลเมดเิ ตอรเ รเนียนและคาบสมทุ รไซนายอยี ิป
ทิศตะวันตก ติดกับ ทะเลทรายลเิ บียและทะเลทรายซาฮารา
ทศิ ตะวันออกและทิศใต ตดิ กับทะเลทรายนูเบียและทะเลแดง

จากสภาพภูมอิ ากาศดงั กลาวจะเหน็ วาบริเวณลมุ แมน้ําไนลเ ปรียบเสมอื น
โอเอซิสทามกลางทะเลทราย จงึ เป็นปราการธรรมชาตปิ  องกนั การรุกรานจากภายนอก
ได

สภาพภูมิประเทศของลมุ แมน้ําไนลก อนที่จะรวมเป็นปึกแผน ไดแ บงออกเป็น
บรเิ วณลุมน้ําออกเป็น 2 สวน ไดแ ก สว นท่เี ป็นบรเิ วณอียปิ ตลาง (Lower Egypt) อยู
บรเิ วณทร่ี าบลมุ ปากแมน้ําไนล ซ่งึ เป็นบริเวณที่แมน ้ําไนลแยกเป็นแมน้ําสาขาทีม่ ี
ลกั ษณะเป็นรปู พดั แลวไหลลงทะเลเมดิเตอรเรเนียน ชาวกรีกโบราณเรียก บรเิ วณนี้
วา เดลตา และบริเวณอยี ปิ ตบน (Upper Egypt) ไดแก บริเวณทแ่ี มน้ําไนลไหลผา น
หบุ เขา เป็นทรี่ าบแคบๆ ขนาบดวยหน าผาท่ีลาดกวา งใหญ ถัดจากหน าผา คอื ทะเล
ทราย ตอมาเมเนส (Menes) ประมุขแหงอยี ิปตล างจึงไดรวมดนิ แดนทัง้ สองเขา ดว ย
กนั

2 2. ปั จจัยท่สี ง ผลตอ การเกดิ อารยธรรมลมุ นํ้าไนล

2.1 ท่ีตงั้
2.1.1 เน่ืองจากหิมะละลายในเขต

ท่ีราบสูงเอธโิ อเปีย ทําใหบรเิ วณแมน ้ําไนลม ีดินตะกอนมา
ทับถมจึงเป็นพ้นื ที่มีความอดุ มสมบรู ณ

2.1.2 มคี วามไดเปรยี บทางธรรมชาติ
เน่ืองจากประเทศอียิปตเ ป็นดินแดนทลี่ อมรอบดวยทะเล
ทรายทําใหม ปี ราการธรรมชาตใิ นการป องกนั ศตั รูภายนอก

2.2 ทรพั ยากรธรรมชาติ
แมอ ยี ปิ ตจ ะแหงแลง แตส องฝั่งแมน ้ํา

ไนลก ็ประกอบดว ยหนิ แกรนิตและหินทราย ซ่ึงใชกอ สรา ง
และพฒั นาความเจริญรงุ เรอื งดา นสถาปัตยกรรม วัสดุ
เหลานี้มีความแขง็ แรงคงทนแขง็ แรงและชว ยรกั ษามรดก
ทางดา นอารยธรรมของอยี ิปตใ หป รากฏแกช าวโลกมาจน
กระทงั่ ปัจจุบนั

3

2.3 ระบบการปกครอง
ชาวอยี ปิ ตย อมรับอํานาจและเคารพนับถอื กษตั ริยฟ าโรหดุจเทพเจา องค
หน่ึง จงึ มีอาํ นาจในการปกครองและบริหารอยา งเต็มทท่ี ัง้ ดานการเมืองและศาสนา
โดยมีขนุ นางเป็นผชู วยในการปกครอง และพระเป็นผูชว ยดานศาสนา ซ่ึงการที่พา
โรหม ีอาํ นาจเด็ดขาดทาํ ใหอยี ปิ ตส ามารถพฒั นาอารยธรรมของตนไดอยา งเต็มท่ี

2.4 ภมู ิปั ญญาของชาวอยี ิปต
ชาวอียปิ ตส ามารถคดิ คนเทคโนโลยแี ละวทิ ยาการความเจริญดา น
ตา งๆเพ่อื ตอบสนองการดาํ เนินชวี ิต ความเช่อื ทางศาสนาและการสรางความเจริญ
รุงเรืองใหแกอียปิ ต เชน ความรทู างคณิตศาสตร เรขาคณิต และฟิสิกส ไดส งเสริม
ความเจรญิ ในดา นการกอสรางและสถาปัตยกรรม เป็นตน

4 3. สมัยอาณาจักรอียปิ ต

3.1 สมยั อาณาจกั รเกา มคี วามเจริญในชว งประมาณปี
2,700 – 2,200 กอนคริสตศ ักราช เป็นสมัยทอ่ี ยี ปิ ตมคี วามเจริญ
กา วหน าในดานวทิ ยาศาสตรแ ละศลิ ปกรรม มกี ารกอ สรางพรี ะมดิ
ซ่ึงถอื วา เป็นเอกลกั ษณโดดเดนของอารยธรรมอียิปต

3.2 สมัยอาณาจักรกลาง ฟาโรหมอี าํ นาจปกครองอยูใน
ชวงราวปี 2050 – 1652 กอนคริสตศักราช ในสมยั นี้อียปิ ตมี
ความเจริญกา วหน าทางดานทางวทิ ยาการและภูมปิ ัญญามากโดย
เฉพาะดา นการชลประทาน จงึ ไดรบั การยกยองวาเป็นยุคทองของ
อยี ปิ ต อยา งไรก็ตาม ในชวงปลายสมยั เกดิ ความวนุ วายภายใน
ประเทศ จนตา งชาติเขา มารกุ รานและปกครองอียิปต

3.3 สมยั อาณาจักรใหม ชาวอยี ิปตส ามารถขับไลช าวตาง
ชาติ และกลับมาปกครองดินแดนของตนอีกครงั้ หน่ึง ในชวง
ประมาณปี 1567 – 1085 กอนครสิ ตศักราช สมยั นี้ฟาโรหมี
อํานาจเด็ดขาดในการปกครองและขยายอาณาเขตเหนือดินแดน
ใกลเ คียงจนเป็นจักรวรรดิ

3.4 สมยั เส่อื มอาํ นาจ จกั รวรรดอิ ยี ปิ ตเร่ิมเส่อื มอาํ นาจ
ตงั้ แตประมาณปี 1,100 กอนคริสตศกั ราช ในสมัยนี้ชาวตา งชาติ
เชน พวกอัสซีเรียนและพวกเปอรเ ซยี จากเอเชยี รวมทัง้ ชนชาติ
ในแอฟรกิ าไดเ ขามายึดครอง จนกระทงั่ เส่อื มสลายในที่สุด

5

4. ดานการเมอื งการปกครอง

4.1 สมยั อาณาจกั รเกา กษตั รยิ ห รือฟาโรห (Pharaoh) มีอาํ นาจสงู สดุ
โดยมีผูช วยในการปกครองคอื ขุนนาง หัวหน าขนุ นางเรยี กวา “วเิ ซียร” และมี
หนวยงานยอย ๆ ในการบริหารประเทศ แตล ะเมอื งแตล ะหมูบา นมผี ปู กครองระดบั
ตาง ๆ ดูแลเป็นลาํ ดับขนั้ แตล ะชมุ ชนถกู เกณฑแ รงงานมาทํางานใหแกท างการซ่ึง
สวนใหญคอื การสรา งพรี ะมิดแตล ะอาณาจักรมีอาํ นาจปกครองเหนือมณฑลตา ง ๆ
หรอื เรียกวา โนเมส ซ่ึงแตล ะโนเมสมีสัญลักษณแตกตางกนั ตอมามกี ารรวมกนั เป็น
อาณาจักรใหญ 2 แหง คอื อียปิ ตบ นและอียปิ ตลา ง ตอ มาทงั้ 2 อาณาจกั รไดถกู รวม
เขาดว ยกันเกิดราชวงศอ ียิปตโดยประมขุ แหง อยี ิปต (เมเนสหรือนารเ มอร) ความ
เส่ือมของอารยธรรมสมยั กอ นประวตั ิศาสตร การสรา งพรี ะมิดขนาดใหญ เป็นการ
บัน่ ทอนเศรษฐกจิ และแรงงานของอยี ปิ ต ซ่ึงนําความเส่อื มมาสูราชวงศอยี ิปต

4.2 สมยั อาณาจกั รกลาง ฟาโรหเ ปลยี่ นภาพลักษณจากผูป กครองทีอ่ ยูหาง
ไกลประชาชนมาเป็นผูป กป องประชาชน ลดการสรา งพรี ะมดิ แตประชาชนตอ ง
ตอบแทนดวยการทาํ งานสาธารณะตาง ๆ เชน การระบายน้ําในบรเิ วณสามเหลยี่ ม
ปากแมน้ําเพ่อื ชว ยการเกษตร การขุดคลองเช่ือมแมน ้ําไนลก บั ทะเลแดงเพ่อื การ
สะดวกในการคาและขนสง

4.3 สมัยอาณาจักรใหมฟ าโรหอเมนโฮเตปที่ 4 ทรงเปลี่ยนแปลงความเช่อื
ในเร่อื งการนับถอื เทพเจาหลายองคม าเป็นการนับถอื เทพเจา องคเดยี ว คอื เทพเจา
แหง ดวงอาทิตย ทาํ ใหเ กิดความไมพอใจในหมขู ุนนางและประชาชน รชั กาลนี้จงึ
ตกต่าํ แตเม่อื ฟาโรหตตุ นั คาเมนข้นึ ครองราชยจงึ เปลยี่ นกลบั ไปนับถือเทพเจา
หลายองคเชน เดมิ ตัง้ แตศตวรรษท่ี 11 กอนคริสตศกั ราช อยี ปิ ตสูญเสยี ความเขม
แขง็ ชนเผา ตา ง ๆ สลบั กันมีอํานาจปกครองอยี ิปต เชน อัสซีเรีย ลเิ บีย เปอรเ ซีย
สุดทายอยี ิปตกลายเป็นสวนหน่ึงของอาณาจักรโรมัน

6

5. ดา นเศรษฐกิจ
อาชพี หลักของชาวอียปิ ต คอื เกษตรกรรม เพราะวา ดินอุดมสมบรู ณ

ทาํ ใหผ ลิตอาหารเกนิ ความตอ งการ การผลติ ทางการเกษตรทีเ่ ป็นหลักของอยี ิปต
คอื ขาวสาลี บารเลย ขา วฟาง ถัว่ ฝักยาว ถวั่ ผักและผลไม และตอ มาชวี ติ ที่
มงั่ คงั่ และฟุมเฟือยของบางคนนําไปสกู ารพฒั นางานหตั ถกรรมและอุตสาหกรรม
บางสว นทอผา บางสวนผลิตเคร่อื งตกแตง หมอ ลินิน และอัญมณี เหลก็ และ
ทองแดงมกี ารถลุง นํามาใชในการทําเคร่ืองมอื แกว และเคร่อื งปั้นดินเผา มีการ
ผลิตทัง้ แบบเรยี บ ๆ และวาด ทงั้ ยังมีวิศวกร จิตรกร ประติมากร และสถาปนิก
อีกดว ย

6. ดานสงั คม
เป็นสังคมแบบลําดบั ชัน้ ผูปกครองสงู สุด คอื ฟาโรห และชนชัน้ ปกครอง

อ่นื ๆ คือ ขุนนางและนักบวช ชนชนั้ รองลงมาคือ พอ คาและชางฝีมือ ชนชนั้ ลาง
คือ ชาวนา และทาส ซ่งึ เป็นคนสว นใหญ ที่ดนิ ทัง้ หมดเป็นของฟาโรห สําหรับ
ขนุ นางและนักบวชกไ็ ดค รอบครองท่ีดินจํานวนมาก ชาวนาอาศัยอยใู นหมบู า น
หรอื เมืองเลก็ ๆ และเสียภาษเี ป็นผลผลติ ใหฟาโรห ขุนนาง และพระ รวมทงั้ ตอ ง
ถกู เกณฑแรงงานไปทํางานใหร ัฐ และเป็นทหารสตรีมบี ทบาทสูงไมน  อยกวา
ผูช าย คือ ใหสถานภาพแกสตรสี ูง ยอมใหสตรขี ้นึ ครองราชบัลลงั กได มีสทิ ธิใน
การมีทรัพยสินและมรดก ราชินีท่มี ีช่ือเสียงของอยี ปิ ต คือ แฮตเชพซตุ
(Hatchepsut) ซ่ึงปกครองในศตวรรษที่ 15 กอ นคริสตศกั ราช และทําความ
งดงามใหก บั เมืองคารนัก

ชาวอียิปตไมยอมใหชายแตง งานกับสตรีเป็นภรรยามากกวา 1 คน
แมว าการมีเมยี น อยเป็นเร่ือง ปกติและยอมรับทัว่ ไป ลกั ษณะทแี่ ปลกของ
ระเบยี บสงั คมนี้ คอื ชอบใหพ ่ีชาย-น องสาวแตงงานกนั หรือแตงงานภายใน
ตระกลู ฟาโรหแ ตงงานกบั ตระกลู ของตน เพ่อื รักษาความบรสิ ุทธิข์ องสายเลือด
ประเพณีนี้ไดมีผอู ่ืนนําไปใชต อมา

7. ดานศาสนา 7

ชาวอียปิ ตน ับถือเทพเจาหลาย

องคท ีเ่ ก่ียวของกับอาํ นาจธรรมชาติ

โดยเทพเจา ทไ่ี ดรับการเคารพสูงสุด คอื

เร หรอื รา (Re or Ra) เทพเจาแหง

ดวงอาทิตย และเป็นหวั หน าแหง

เทพเจา ทัง้ ปวง ซ่งึ ปรากฏในหลายช่อื

และหลายรปู ลกั ษณ เชน ผูม ีรา งกาย

เป็นมนษุ ย มีหวั เป็นเหยยี่ ว และในรูป

ของมนษุ ยค อื ฟาโรห ผูไ ดร ับการ

ยกยองวา เป็นบุตรของเร และมี

เทพเจา สําคญั องคอ ่ืน ๆ อกี เชน

เทพเจา แหงแมน ้ําไนลหรือโอซริ สิ และ

ยงั เป็นผูพ ทิ กั ษด วงวญิ ญาณหลงั ความ

ตาย เทพเจาแหง พ้นื ดินหรือไอซสิ เป็น

ผสู รางและชบุ ชีวติ คนตาย เป็นตน

การยกยอ งกษตั รยิ ใ หเทียบเทา เทพเจา

ทาํ ใหสถาบันกษตั ริยมีความศกั ดสิ์ ิทธิ์

ประดุจเป็นเทพเจา ความเช่อื นี้มผี ลตอ

การสรา งอารยธรรมดังเชน การสราง

พรี ะมิด

8. ดา นภาษาและวรรณกรรม

ชาวอียิปตไดพฒั นาระบบการ

เขยี นทเี่ รยี กวา เฮยี โรกริฟิค

(Hieroglyphic) เป็นคาํ ภาษากรกี มี

ความหมายวา การจารึกอนั ศกั ดิส์ ิทธิ์

เร่ิมตนดว ยการเขียนอกั ษรภาพแสดง

สญั ลกั ษณตางๆ แลวคอ ย ๆ พัฒนาข้ึน

มาเป็นรปู แบบพยญั ชนะ ในระยะแรก

ชาวอยี ปิ ตจ ารึกเร่อื งราวดวยการแกะ

สลกั อกั ษรไวต ามกําแพงและผนังของ

สง่ิ กอสราง เชน วิหารและพีระมดิ ตอ

มาจึงคนพบวธิ ีการทํากระดาษจากตน

ปาปิรุส ทําใหมีการบันทึกแพรห ลาย

มากข้ึน

8

9. ดา นศลิ ปวิทยาการ
9.1 ดานดาราศาสตร
ความรทู างดา นดาราศาสตรเ กิดจากการสงั เกตปรากฏการณจากการ

เกิดน้ําทว มของแมน ้ําไนล ซ่ึงไดน ําความรูนี้มาคาํ นวณเป็นปฏิทินแบบสรุ ิยคตทิ แี่ บง
วนั ออกเป็น 365 วันใน 1 ปี ซ่ึงมี 12 เดือน และในรอบ 1 ปี ยงั แบงออกเป็น 3
ฤดกู าล ที่กําหนดตามวถิ กี ารประกอบอาชีพ คือ ฤดูน้ําทว ม ฤดูไถหวาน และฤดูเก็บ
เก่ียว

9.2 ดานคณิตศาสตร
ความรูทางคณิตศาสตรและเรขาคณิตทอ่ี ียิปตใ หแกช าวโลก เชน

การบวก ลบ และหาร และการคาํ นวณพ้ืนที่วงกลม ส่ีเหล่ยี ม และสามเหลีย่ ม ความรู
ดังกลาวเป็นฐานของวชิ าฟิสิกสทใี่ ชคํานวณในการกอสรางพรี ะมดิ วหิ าร และเสาหนิ
ขนาดใหญ

9.3 ดานการแพทย
ชาวอยี ิปตโ บราณมคี วามรูทางการแพทยส าขาทันตกรรม แพทยผู

เชี่ยวชาญหลายสาขา เชน กระเพาะอาหาร และศัลยกรรม ซ่ึงมหี ลักฐานการบันทึก
และตอมาถูกนําไปใชแพรห ลายในทวีปยโุ รป ตลอดจนวิธเี สริมความงามตา ง ๆ เชน
การรกั ษาริว้ รอยเหย่ี วยน การใชผ มมนุษยท ําวกิ ผม เป็นตน

9.4 ดานสถาปัตยกรรม
เอกลกั ษณของสถาปัตยกรรมอียิปต คือ พีระมิดทบ่ี รรจุศพของ

ฟาโรห ซ่ึงสรางข้ึนดวยจุดประสงคทางศาสนาและอํานาจทางการปกครอง นอกจาก
พรี ะมดิ แลว ยงั มกี ารสรางวิหารจํานวนมาก เพ่ือบูชาเทพเจา ในแตล ะองค และเป็น
สุสานของกษตั รยิ  เชน วหิ ารแหง เมอื งคารน ัก เป็นตน

9.5 ดานประติมากรรม
ชาวอยี ปิ ตส รางประติมากรรมไวจ าํ นวนมากทัง้ ทีเ่ ป็นรปู ปั้นและภาพ

สลักทปี่ รากฏในพรี ะมิดและวหิ าร ภาพสลักสว นใหญจะประดบั อยใู นพีระมิดและวิหาร
ในพรี ะมิดมกั พบรปู ปั้นของฟาโรหและพระมเหสี รวมทงั้ เร่อื งราววถิ ีชวี ิตของอยี ปิ ต
สวนภายในวหิ ารมกั จะเป็นรูปปั้นสญั ลักษณของเทพและสัตวศกั ดิส์ ิทธิ์ เชน สนุ ัข
แมว เหย่ยี ว เป็นตน และภาพสลกั ท่แี สดงเร่อื งราวและเหตุการณ

9.6 ดา นจิตรกรรม
ผลงานดา นจิตรกรรมมเี ป็นจาํ นวนมาก มกั พบในพรี ะมิดและสสุ าน

ตา งๆ ภาพวาดของชาวอยี ปิ ตส ว นใหญมสี ีสันสดใส มที งั้ ภาพสัญลักษณของเทพเจา ที่
ชาวอียิปตน ับถือ พระราชกรณียกิจของฟาโรหและสมาชกิ ในราชวงศ ภาพบคุ คล
ทวั่ ไปและภาพท่ีสะทอ นวถิ ชี วี ติ ของชาวอยี ิปต เชน ภาพการประกอบอาชพี เป็นตน

น.ส.ปณุ ยนุช ตว นววิ รรธน ม.6\6 เลขท่ี 23


Click to View FlipBook Version