IDENTITY
อัตลักษณ์ลวดลาย
เบญจรงค์ไทย
THAI BENJARONG PATTERN
อัตลักษณล์ วดลายเบญจรงค์ไทย
ชยั ภัทร เนตรกาศักด์ิ เลขที่ 21
พรรณศิ า รตั นภกั ดี เลขท่ี 31
ภูริชาติ แต่งเกลี้ยง เลขที่ 20
อรจิรา พฒั ชนะ เลขท่ี 43
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/6
รายงานนี้เปน็ ส่วนหนงึ่ ของการศึกษาตามหลักสูตรการเรยี นรู้ในโรงเรียนมาตรฐานสากล
วิชา การสอ่ื สารและการนำเสนอ (Communication and Presentation: IS2)
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนศรียาภัย จงั หวัดชุมพร
สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 11
บทคดั ยอ่
ชือ่ การศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตวั เอง อัตลักษณ์ลวดลายเบญจรงค์ไทย
ช่อื ผูศ้ ึกษา
นายชยั ภทั ร เนตรกาศกั ด์ิ เลขที่ 21
ระดบั ชนั้ เลขที่ 31
โรงเรียน นางสาวพรรณิศา รตั นภักดี
ปกี ารศึกษา เลขท่ี 20
ครูผู้สอนและครูทีป่ รึกษา นายภูรชิ าติ แต่งเกล้ียง เลขท่ี 43
นางสาวอรจิรา พฒั ชนะ
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5/6
ศรียาภัย
2564
ครูรัตน์ตกิ านต์ สนั ติบำรุง
การศึกษา เรื่องอัตลักษณ์ลวดลายเบญจรงค์ไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาความเป็นมาและ
วิวัฒนาการของลวดลายเบญจรงค์ ค้นหาอัตลักษณ์ลวดลายเบญจรงค์ไทย และจัดทำภาพต้นแบบ
ลวดลายเบญจรงค์ไทย ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลใช้การวิเคราะห์จากลวดลายบนเคร่ืองเบญจรงค์จริง
และภาพถา่ ยจากหนงั สอื พพิ ธิ ภณั ฑ์ สถานประกอบการ ร้านจำหนา่ ย และจากการสมั ภาษณ์ นำไปสู่
การ ค้นหาอตั ลักษณ์ของลวดลายเบญจรงค์ หลงั จากน้นั จดั ทำภาพตน้ แบบลายเบญจรงค์ไทย
จากการศึกษาพบว่า เครื่องเบญจรงค์เป็นศิลปะไทย-จีนที่มีเอกลักษณ์ความเป็นไทยมาตั้งแต่
สมยั กรุงศรอี ยุธยา โดยในสมัยแรกน้ลี วดลายของเครื่องเบญจรงค์ได้รับอิทธพิ ลตามแบบศิลปะของจีน
มีการประยุกต์ ลวดลายแบบจีนร่วมกับแบบของไทย ซึ่งลวดลายที่มีความนิยมมากในสมัยกรุงศรี
อยุธยาได้แก่ลายเทพพนม และลายนรสิงห์ มีลายประกอบคือลายช่อเปลวที่มีลักษณะเหมือนลาย
เปลวไฟของจนี พ้นื ลายนิยม ลงสีดำ เขียนลายลกู คน่ั ท่ีขอบปากเป็นแถบสีแดง ลายดอกไม้สลับใบไม้
และที่สำคัญคือนิยมเขียนลาย ลูกคั่นที่ขอบปากด้านในของชาม และยังคงลักษณะเช่นนี้จนถึงสมัย
รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์แต่ มีการประดิษฐ์ลวดลายใหม่ประกอบลายเทพพนม ได้แก่ ลาย
ครุฑ ลายราชสีห์ ลายหน้าสิงห์ รวมทั้งมีลาย หลักที่มีการผกู ลายข้ึนใหม่ได้แก่ ลายกินรี ลายหนุมาน
ลายกลีบบัว ส่วนภาพประกอบลายที่นยิ มคือ ลายก้านขดสีเขียวอมฟ้า และไม่เขียนลายลูกคั่นที่ปาก
ชามด้านใน สมัยรัชกาลที่ 2–3 แห่งกรงุ รัตนโกสินทรเ์ ริม่ มีความนิยมเครือ่ งลายนำ้ ทอง จึงมีลวดลาย
ใหม่สำหรับการเขียนเครื่องลายน้ำทอง ซึ่งเป็นลายที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะของจีน เช่น ลายดอก
กหุ ลาบ ประกอบลายผเี สือ้ นก และดอกไม้ ใบไม้ ทีม่ ลี กั ษณะเลยี นแบบธรรมชาติเพิ่มมากข้นึ ในสมัย
รัชกาลที่ 4 เครื่องเบญจรงค์ลดความนิยมลง และในสมัยรัชกาลที่ 5 ถือเป็นยุคสุดท้ายของเครื่อง
เบญจรงค์แต่ก็มีการผลิตเครื่องเบญจรงค์ได้ในประเทศไทย ซึ่งลวดลายในสมัยนี้เป็นลายน้ำทอง
ประเภทลาย เครอื เถา ลายดอกพุดตาน และลายเกล็ดกระดองเตา่ รวมท้งั ลวดลายที่เป็นเรอ่ื งราวตาม
แบบตะวนั ตก แต่มีเอกลักษณค์ วามเปน็ ไทยคือเป็นลายไทยจากเร่ืองราวของวรรณคดีไทย
(1)
คำนำ
รายงานการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง เรือ่ ง อตั ลกั ษณล์ วดลำยเบญจรงค์ไทย เล่มน้ีจัดทาขึ้น
เพ่ือนาเสนอผลการเรียนรู้ ตามแนวทางจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนมาตรฐานสากล ของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรียนศรียาภัย ในรายวิชาการสื่อสารและการนาเสนอ (Communication and Presentation:
IS2)
อัตลักษณ์ลวดลายเบญจรงค์ไทย เป็นผลงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองมีวัตถุประสงค์เพ่ือ
ค้นหาความเป็นมาและ วิวัฒนาการของลวดลายเบญจรงค์ ค้นหาอัตลักษณ์ลวดลายเบญจรงค์ไทย
และจัดทาภาพตน้ แบบ ลวดลายเบญจรงค์ไทย
คณะผู้จัดทาฯ ขอขอบคุณ คณุ ครูรตั นต์ ิกานต์ สันติบารุง ครูผู้สอนและครูท่ีปรึกษา ผู้ถ่ายทอด
ความรู้ ให้คาแนะนา ตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องตา่ งๆ ด้วยความเอาใจใส่ทุกข้ันตอน ท้ังรูปแบบ
การเขียนและการจัดทารายงานเชิงวิชาการท่ีถูกต้อง เพ่ือให้การรายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
เล่มน้ีสมบูรณ์ที่สุด ตลอดจนวิธีการส่ือสารและการนาเสนอท่ีมีประสิทธิภาพ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า
รายงานน้ีจะเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจศึกษาสาระสาคัญในเรื่อง อัตลักษณ์ลวดลายเบญจรงค์ไทย และ
แบบแผนการเขยี นรายงานเชงิ วิชาการไดใ้ นโอกาสตอ่ ไป
คณะผู้จัดทา
(2)
สารบัญ
บทคัดย่อ หนา้
(1)
คำนำ
อัตลักษณ์ลวดลายเบญจรงค์ไทย (2)
บทนำ 1
1
เบญจรงค์
ววิ ัฒนาการของเบญจรงค์แตล่ ะสมัย 2
4
ลวดลายเบญจรงค์
บทสรปุ 5
บรรณานุกรม 12
13
ประวตั ิผ้ศู กึ ษาและจัดทำรายงาน
15
สารบญั ภาพ หนา้
5
ภาพท่ี 1 ลายเทพนมจีน 6
ภาพท่ี 2 ลายเทพนม–นรสิงห์ 6
ภาพที่ 3 ลายเทพนม–ครฑุ 7
ภาพที่ 4 เบญจรงค์ลายเทพนมพงุ พลุ้ย 7
ภาพที่ 5 เบญจรงค์ลายหนมุ าน 8
ภาพท่ี 6 เบญจรงค์ลายเทพพนม–หน้ากาล 8
ภาพท่ี 7 เบญจรงค์ลายพมุ่ ข้าวบิณฑส์ ีแดง 9
ภาพท่ี 8 เบญจรงค์ลายเดซี่ 9
ภาพท่ี 9 เบญจรงค์ลายเกล็ดเต่า 10
ภาพที่ 10 เบญจรงคล์ ายลายครฑุ ยุดนาค 10
ภาพที่ 11 เบญจรงค์ ลายกา้ นตอ่ ดอก 11
ภาพท่ี 12 เบญจรงค์ ลายก้านขดสเี ขียว 11
ภาพที่ 13 เบญจรงค์ลายเถากุหลาบชมพูบนพ้ืนสที องทงั้ ตวั ถว้ ย 11
ภาพที่ 14 เบญจรงค์ ลายเทวดา
อตั ลกั ษณล์ วดลายเบญจรงคไ์ ทย
ชัยภัทร เนตรกาศกั ดิ์ *
พรรณิศา รตั นภักดี
ภูรชิ าติ แต่งเกลยี้ ง
อรจิรา พฒั ชนะ
บทนำ
ประเทศไทยเป็นชาติท่ีมีศิลปะและวัฒนธรรมอีกประเทศหนึ่ง โดยปรากฏให้เห็นเด่นชัดเป็น
หลักฐานทั้งที่เป็นโบราณสถานและโบราณวัตถุ เป็นงานศิลปะที่ประณีตที่ผ่านการคิดค้นสร้างสรรค์
และสืบตอ่ กันมาโดยเครอ่ื งปัน้ ดินเผาของไทยก็เปน็ งาน ประณีตศลิ ปท์ ่ีมลี กั ษณะเฉพาะตัวอีกงานหนึ่ง
เช่นกนั ในสมัยกอ่ นประวตั ิศาสตร์เคร่อื งปั้นดินเผาเป็นเพียงภาชนะดนิ เผาทว่ั ไป บนเครื่องปั้นดินเผา
จะมีลวดลายสีแดงเขียนทับลงไปจากสีของดิน ต่อมาความประณีตของลวดลาย สีสัน และ
กระบวนการผลิตมีเพิ่มมากขึ้นและซบั ซอ้ นข้นึ จนกระทัง่ มภี าชนะเคร่ืองป้นั ดินเผาทมี่ ีสสี นั หลากหลาย
รปู ทรงแตกตา่ งมคี วามสวยงาม ซ่งึ ผลิตภัณฑ์ทีม่ ีเอกลักษณ์ชนิดหน่งึ ที่มชี ื่อเสียงของไทยก็คือ “เคร่ือง
เบญจรงค์” เครือ่ งเบญจรงคห์ มายถงึ เครอื่ งปนั้ ดินเผาสีขาวนำมาเขียนลวดลายทผี่ ิวและลงสี 5 สีคือ สี
แดง เขียว เหลือง ดำ และขาว ตามความหมายของชื่อ “เบญจ” ที่แปลว่าห้า และ “รงค์” แปลว่าสี
เป็นงานศิลปหตั ถกรรมของไทยมีความเป็นเอกลกั ษณ์ที่มมี าจากความนิยมและความเช่ือในอดีต เช่น
ลายเทพนม นยิ มใชใ้ นพิธีบูชาเทวดา จากววิ ัฒนาการของเครอื่ งเบญจรงค์ในประเทศไทยท่ียาวนาน มี
ความผูกพันกับชาวไทยจากเฉพาะระดับชนชั้นสูงในอดีต จนถึงสามัญชนในปัจจุบนั มีความเชื่อและ
ความนิยมในการใช้งาน จากลักษณะรูปทรง ลวดลาย และสีสัน ที่แตกต่างแปรเปลี่ยนไปตาม
กาลเวลา มีการสร้างสรรค์ลวดลาย ให้เกิดความมีเอกลักษณ์เฉพาะตน แต่ยังคงพยายามรักษาไวซ้ ่งึ
เอกลักษณ์ของความสวยงาม ประณีต อ่อนช้อย ของลายไทยโบราณ เบญจรงค์ และสถาบนั การศึกษา
นำข้อค้นพบไปใช้ ประโยชน์ในการสร้างลวดลาย ฝึกฝน รวมทั้งการประชาสัมพันธ์เอกลักษณ์ความ
เป็นไทยได้ตอ่ ไป
ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจศึกษาเรื่อง อัตลักษณ์ลวดลายเบญจรงค์ไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ
ศกึ ษาลวดลายของเครือ่ งเบญจรงค์ที่เป็นเอกลกั ษณ์ทัง้ น้ผี เู้ ขยี นไดน้ ำเสนอและเผยแพร่ประเด็นสำคัญ
ประกอบด้วย ความรทู้ ่ัวไปของเคร่ืองเบญจรงค์ ความเป็นมา ลวดลายท่ีไดร้ ับความนิยม ดังท่ีปรากฏ
ในเนือ้ ความตอ่ ไป
*นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาระดบั ชั้น 5/6 ปีการศกึ ษา 2564
2
เบญจรงค์
“เบญจรงค”์ หมายถึง ภาชนะเคร่ืองปั้นดินเผาที่เขยี นลวดลายด้วยสีทง้ั 5 อันไดแ้ ก่ สดี าํ แดง ขาว
เหลือง และเขยี วหรือสีคราม หรือ เรียกวา่ “ลงยาส”ี สว่ น “เครอื่ งลายคราม” เป็นเครื่องปั้นดินเผา
ที่ ใชส้ ีน้ำเงนิ หรือสคี รามในการเขียนลาย และ “เครอ่ื งลายน้ำทอง” กเ็ ป็นเคร่อื งปัน้ ดนิ เผาที่ใช้สีทอง
ประกอบกับสีของเบญจรงค์หรือใช้สีทองล้วนในการเขียนลวดลาย ซึ่งการเรียกชื่อมีความคล้ายกับ
ประเทศจีนที่เรียกภาชนะเครื่องปั้นดนิ เผาในช่ือท่ีแตกต่างกันตามลักษณะของสแี ละลวดลายที่เขยี น
เช่น “อู๋ไฉ่” หมายถึงเครื่องปั้นดินเผาที่ใช้สี 5 สี เป็นหลักในการเขียนลาย “โต้วไฉ่” หมายถึง
เครื่องปั้นดินเผาที่ใชส้ ีเขียวเป็นส่วนใหญ่ในการเขียนลาย “เฝินไฉ่” หมายถึงเครื่องปั้นดนิ เผาที่ใชส้ ี
แดง สเี หลือง สีเขียว และสีฟาู ในการเขยี นลาย โดย นยิ มเขยี นเป็นลายดอกไม้ และ “ฝาหลั่งไฉ่”
หมายถึงเครื่องปั้นดินเผาที่ใช้สีแดง สีเหลือง สีเขียว และสีขาว ในการเขียนลาย โดยมีสีทอง
ประกอบ หากแปลความหมายของ “เคร่ืองเบญจรงค”์ แบบแยกคําแลว้ อาจแยกเปน็ คําว่า “เครื่อง”
ที่ แปลว่าสิ่งของเครื่องใช้ คําว่า “เบญจ” แปลว่า ห้า และคําว่า “รงค์” แปลว่าสี “เครื่องเบญจ
รงค์” จึง หมายถึงสงิ่ ของเครื่องใช้ทม่ี หี ้าสี แต่ดว้ ยเครือ่ งเบญจรงค์เป็นเครื่องปัน้ ดนิ เผาที่นิยมทําเป็น
ถว้ ย ชาม โถ จึงนิยมเรยี กตามลกั ษณะวา่ “เคร่อื งถ้วยเบญจรงค”์ แม้เบญจรงค์จะแปลว่าห้าสี แต่
การใช้สีบนเครื่องเบญจรงค์ส่วนใหญ่จะมีตั้งแต่ห้าสี เจ็ดสี แปดสี หรือมากกว่า โดยสีหลักที่ใช้
สำหรับเครื่องเบญจรงค์ได้แก่ แดง เหลือง ขาว ดำ เขียว หรือสีน้ำเงิน หรือสีคราม ส่วนสีอื่น ๆ ที่ใช้
เช่น ชมพู ม่วง แสด และน้ำตาล เป็นต้น จึงนิยมเรียกเป็นกลุ่มสี หรือ โทนสี ที่มีสีหลากหลายที่
ใกล้เคียงกัน ทั้งสีอ่อน และสีเข้ม เครื่องเบญจรงค์ผลิตเปน็ ภาชนะเคร่ืองใช้หลายประเภทได้แก่ ชาม
จาน โถ จานเชิง ชามเชิง ช้อน กระโถน กาน้ำ ชุดถ้วยชา และชุดเครื่องโต๊ะบูชา โดยรูปทรงมีทั้ง
รูปทรง จีน ทรงไทย และรูปทรงที่ได้อิทธิพลจากอินเดีย เนื่องในพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์
เครื่องเบญจรงค์เป็นเครื่องปั้นดินเผาหรือเซรามิก นิยมใช้เนื้อดินประเภทปอร์ซเลน เป็น
เคร่ืองป้ันดนิ เผาชนดิ เคลอื บผวิ และเขียนสีเขียนลายบนผวิ เคลือบ เครื่องเบญจรงค์ผ่านการเผาหลาย
ครั้ง ตั้งแต่ขั้นตอนการทําเครื่องปั้นดินเผาสีขาว แล้วจึงลงสีต่าง ๆ ตามลวดลายไทยที่นิยมเขียนมี
ที่ว่างเหลือไว้เฉพาะภายในชาม และก้นชาม เครื่องเบญจรงค์เป็นงานที่มีต้นกำเนิดในประเทศจีน
ประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 20 สมัยราชวงศ์ หมิง ตรงกับแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
และแผน่ ดินสมเด็จพระเจ้าปราสาททองแห่งกรุงศรีอยธุ ยา ในรชั สมัยสมเด็จพระจกั รพรรดิซวนเต๊อะ
มกี ารผลติ ครงั้ แรกในแคว้นกังไซ มณฑลเจียงซี หรือที่คนไทยเรยี กว่า แควน้ กังไส และพฒั นาจนเป็นท่ี
นิยมอย่างมากในสมัยสมเด็จพระจักรพรรดิเฉิงฮั่ว (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงรา
ชานุภาพ) ในประเทศไทยมีเครือ่ งเบญจรงค์ใช้ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยราชสำนักไทยได้ สั่งซื้อ
เครื่องปั้นดินเผาเขียนสีซึ่งเป็นเครื่องถ้วยที่ทำเป็นพิเศษจากประเทศจีน ต่อมามีการสั่งทำ โดย
สันนิษฐานว่าช่างไทยเป็นผู้ออกแบบให้ลายให้สีตามรสนิยมของคนไทย ส่งไปให้ช่างจีนผลิตใน
ประเทศจีน จงึ นิยมเรยี กเครอื่ งเบญจรงค์ว่าเปน็ “เคร่อื งถว้ ยจนี –ไทย” สำหรับเคร่ืองลายน้ำทองท่ีมี
ลักษณะการผลิตและการเขียนลวดลายเหมือนเครื่องเบญจรงค์ มีการสั่งทำจากประเทศจีนในสมัย
3
ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชท่ีมีการติดต่อเจริญการค้ากับ ต่างประเทศ พบหลักฐานว่าน่าจะมี
การสั่งทำเครื่องลายน้ำทองจากประเทศญ่ีปุ่นด้วย โดยเฉพาะรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีน้ัน
พบว่าในราชสำนักญี่ปุ่นใช้เครื่องถ้วยจากประเทศไทย เรียกว่า “เครื่องถ้วยดนบูริ” ซึ่งน่าจะเป็น
เคร่อื งเบญจรงค์ หรอื เคร่ืองลายน้ำทองท่ีสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบรุ พี ระราชทานเปน็ เครือ่ งบรรณาการ
การสั่งทำเครื่องเบญจรงค์ และเครื่องลายน้ำทองจากประเทศจีน มีมาอย่างต่อเน่ืองจากสมัยกรุงศรี
อยุธยา กรุงธนบรุ ี จนถงึ กรุงรตั นโกสินทร์ โดยมีการปรับปรุงและคดิ ค้นรปู แบบและลวดลายใหม่ๆ
เพิ่มจวบจนสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์จึงได้มีการผลิตเครื่องเบญจรงคข์ ึ้นเป็นคร้ังแรกใน
ประเทศไทย โดยใชเ้ ตาเผาของกรมพระราชวงั บวรวิไชยชาญ เน่อื งจากเครื่องเบญจรงค์ของไทยได้รับ
อทิ ธพิ ลจากประเทศจีนมากจนเรียกว่าเปน็ เคร่ืองถว้ ย ไทย–จีน โดยระยะแรกทม่ี ีการบันทึกไว้ว่าไทย
ได้มีการสั่งทำเครื่องเบญจรงค์ตามแบบ ลวดลายไทยจากจีน คือ สมัยกรุงศรีอยุธยาช่วงประมาณรชั
สมัยพระเจา้ ปราสาททอง และสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งตรงกับสมัยราชวงศ์ชิง ซึ่งเครื่องถ้วย
สมัยราชวงศ์ชิงยังคงผลิตที่เมืองจิงเต๋อเจิ้น แต่มีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการผลิต โดยส่งคนเข้าไป
ควบคุมการ ดําเนินงานตา่ งๆ ของเตาหลวงในการผลิตเครือ่ งป้นั ดนิ เผา เครอ่ื งถว้ ยสมัยราชวงศ์ชิงมี
เน้อื ดินขาว น้ำเคลือบเรยี บข้นึ มากกว่าของราชวงศ์หมิง โดยท่ัวไป ลวดลายจะแสดงให้เห็นถึงความ
งามสงา่ และมกั จะทำขนึ้ ซ้ำๆ กัน ท่ีสำคัญคือใช้เปน็ สีพื้นสำหรับตกแต่งในลายช่องกระจก ในสมัยนี้
มีเครื่องถ้วยลงยาชนิดที่สำคัญ คือ พวกที่เรียกว่า “พวกตระกูล เขียว” อาจเปรียบเทียบได้กับของ
สมัยราชวงศ์หมิง แต่ของสมัย ราชวงศ์ชิงจะมีสีใสกว่า อีกทั้งนิยมกันแพร่หลาย โดยใช้สีเขียวเข้มๆ
กบั สีแดงบางๆ เปน็ สีเด่น และมสี ี อื่นช่วยเปน็ สีประกอบใช้การเคลอื บภาชนะด้วยสีต่างๆ ที่นิยมมาก
ไดแ้ กส่ ขี าว สีเหลือง และสีมว่ งแบบสีมะเขอื มีการเขียนลายดว้ ยสดี ำ นอกจากน้ี มีเครอ่ื งเบญจรงค์ใน
ตระกูลสีดำคือ และ ถ้ามีพื้นเป็นสีเหลืองกจ็ ัดอยู่ ในพวกตระกูลเหลือง คือ ซึ่งทั้ง 2 แบบ ได้พบมาก
โดยเฉพาะในรูป ของแจกันที่มีการตกแต่งด้วยการเขียนสี การตกแต่งเขียนสีที่สำคัญมีหลายแบบ
ส่วนมากให้ลักษณะสีทีเ่ ป็น สัญลักษณ์ตามแบบตะวันตก ลายที่นิยมอยูท่ ั่วไปคือ ลายต้นไม้และลาย
ดอกไม้สีฤ่ ดู ได้แก่ดอกโบตัน๋ ดอกบ๊วย ดอกบัว และดอกเบญจมาศ และยังมีลายช่องกระจกที่มีขอบ
และพื้นเป็นลายทิวทัศน์ ลายรูปสัตว์ในเทพนิยาย และ ฉากรูปคนที่เป็นลายภาพเล่าเรื่องใน
ประวัติศาสตร์และเทพนิยาย ในรัชกาลสมเด็จพระจักรพรรดิหย่งเจิ้น ได้ผลิตเครื่องเบญจรงค์ที่
สวยงามแบบของสมัยสมเด็จพระจกั รพรรดซิ วงเต๋อ ในสมัยราชวงศห์ มิง คือเครือ่ งลายครามกับเคร่ือง
ถ้วยแบบโต้วไฉ่ ของสมัยสมเด็จพระจักรพรรดเิ ฉงิ ฉวั้ ในยคุ นกี้ ารเปล่ียนแปลงทม่ี ีอิทธิพลมากที่สุดคือ
การยกเลิกการทํา เครื่องเคลือบแบบตระกูลเขียว และ ได้ทำเครื่องเคลือบแบบแฟมิลล์โรส แทน
ได้แก่เครื่องถ้วยเขียนสีชมพูดอกกุหลาบ ซึ่งวิธีนี้ถูกนําเข้ามาจากยุโรป มีการใช้สีขาว ทึบผสมกับสี
ต่างๆ ระยะแรกเป็นแจกันที่มีเครื่องหมายรัชกาลของสมเด็จพระจักรพรรดิหย่งเจิ้น มีการใช้สีชมพู
อ่อน สีเขียว สีเหลือง เขียน ลายภาพนกและดอกไม้ มีภาพภายในห้องที่มีสตรีในราชสำนักและเดก็
เล่น แสดงถึงการได้รับอิทธิพลจากยุโรป การสิ้นสุดในการสร้างสรรค์เครื่องถ้วยของจีนจากรัชกาล
4
สมเด็จพระจักรพรรดิจงจิ้งมา เนื่องจากการผลิตที่เพิ่มมากขึ้นจนทำให้เกิดความเสื่อมทั้งในคุณภาพ
และฝมี ือ
วิวฒั นาการของเบญจรงคแ์ ตล่ ะสมัย
เครื่องเบญจรงคส์ มยั กรงุ ศรอี ยุธยา สมยั กรุงศรอี ยธุ ยาเริม่ ตัง้ แต่ พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310
เป็นระยะเวลา 417 ปี สามารถแบ่งได้ ออกเป็น 3 ระยะคอื สมัยกรุงศรอี ยุธยาตอนตน้ สมัยสมเด็จพระ
รามาธิบดที ี่ 1 (พระเจา้ อทู่ อง) จนถงึ รัชสมยั ของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ใน
สมยั นถ้ี อื ได้วา่ เป็น ช่วงของการวางรากฐานความมน่ั คงของกรงุ ศรีอยธุ ยา โดยเริม่ ต้นจากการสถาปนา
อาณาจักรและการ สรา้ งความเป็นปกึ แผ่นมน่ั คงในดา้ นต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการปกครอง ด้านกฎหมาย
และความเป็น ระเบียบเรยี บร้อยของบา้ นเมือง ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 2 (เจา้ สามพระ
ยา) ซงึ่ เปน็ รัชกาลสดุ ท้ายของสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนต้น ตรงกับราชวงศห์ มิงรัชสมัยของสมเดจ็ พระ
จักรพรรดซิ วนเตอ๊ ะ ซงึ่ ประเทศจนี ผลติ เครอื่ งปัน้ ดนิ เผาเขยี นสไี ด้เปน็ ครั้งแรกท่เี มอื งกงั ไซ มณฑล
เจยี งซี แต่ในระยะน้ไี ทยยังไมม่ ีการสั่งทำเคร่อื งเบญจรงค์ไทยจากจีน สมยั กรุงศรอี ยุธยาตอนกลาง
คอื ช่วงตงั้ แต่สมยั สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงขนึ้ ครองราชยต์ ง้ั แต่ ซ่ึงเปน็ ปที ีส่ มเดจ็ พระบรม
ราชาธิราชที่ 2 สวรรคต จนถงึ สมยั ของสมเดจ็ พระนารายณ์ซ่งึ สวรรคตในชว่ งสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา
ตอนกลางน้ีเปน็ ยคุ ทก่ี รุงศรีอยธุ ยาเจริญรุ่งเรอื งมากทีส่ ุดทงั้ ทางด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ
สังคมและวฒั นธรรม โดยรัชสมยั ของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเปน็ ปฐมกษัตริยข์ องสมยั นี้ ทรง
ครองราชย์นานถึง 40 ปี ตรงกบั รัชสมยั ของสมเดจ็ พระจักรพรรดเิ ฉงิ ฮ่วั แหง่ ราชวงศห์ มงิ ของจนี ซึ่ง
เป็นช่วงที่เคร่ืองปั้นดินเผาเขยี นสีเป็นที่นยิ มมากในประเทศจีน แต่ในประเทศไทยเองอยูร่ ะหวา่ งการ
ศึกสงคราม กษัตริย์หลายพระองค์ทรงครองราชยใ์ นชว่ งระยะเวลาไมน่ าน แตอ่ ย่างไรกต็ ามประเทศ
ไทยมกี ารเจริญการคา้ กับตา่ งประเทศมากขึน้ โดยเฉพาะประเทศจีน จนกระท่งั ในชว่ งเวลาของ
ราชวงศ์ปราสาททอง ตรงกับการครองราชยข์ อง ราชวงศ์ชงิ ที่ประเทศจนี ราชสำนกั ในรชั สมยั สมเด็จ
พระเจา้ ปราสาททองปฐมกษัตรยิ แ์ ห่งราชวงศ์ ปราสาททอง มีการส่ังทำเครอื่ งเบญจรงคจ์ ากประเทศ
จีน และมวี ิวฒั นาการของลวดลาย สีสัน รปู ทรงที่เป็นการผสมผสานระหวา่ งศิลปวัฒนธรรมไทยและ
ของจีน จวบจนรัชสมยั ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชกษัตรยิ อ์ งคส์ ดุ ท้ายของสมัยกรุงศรีอยธุ ยา
ตอนกลาง ท่มี ีความนิยมเครอ่ื งเบญจรงค์ และในประเทศจนี กม็ ีความนิยมเครอ่ื งลายน้ำทองเชน่ กนั
เมอ่ื เขา้ สู่สมัยกรุงศรีอยธุ ยาตอนปลาย ตง้ั แต่คอื ตง้ั แต่สมัยสมเด็จพระเพทราชา จนถึงรชั สมยั พระเจา้
เอกทัศน์ เป็นชว่ งสมยั ทกี่ รุงศรีอยธุ ยาเริ่มเสอื่ มลงเป็นลำดับด้วยสาเหตทุ างดา้ นการปกครอง และการ
ศึกสงครามทง้ั ภายในและ ภายนอกประเทศ เมื่อประเทศไทยเสยี กรุงศรอี ยธุ ยาใหแ้ กพ่ มา่ ในปี พ.ศ.
2310 ในรชั สมยั ของสมเด็จ พระทน่ี ัง่ สุรยิ าศน์อมรินทร์ (พระเจา้ เอกทศั น)์ ประเทศไทยกเ็ ขา้ สู่สภาวะ
การทำศกึ สงคราม ทำให้การค้าขายกับต่างประเทศเป็นไปอย่างไมส่ ะดวก จนกระทง่ั ขุนหลวงตากหรือ
สมเดจ็ พระเจ้าตากสิน มหาราชต้งั กรุงธนบรุ ีเปน็ ราชธานี จงึ ได้เริ่มทำการคา้ กับเมืองจีนอกี คร้ังหน่ึง
เคร่อื งเบญจรงค์สมยั กรุงธนบรุ ี กรงุ ธนบรุ เี ป็นอาณาจักรของคนไทยท่มี ีระยะเวลาเพียง 15 ปแี ละมี
พระมหากษตั ริย์ปกครองเพียงพระองค์เดียวคือสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ตรงกบั รัชสมัยของ
สมเดจ็ พระจกั รพรรดิเฉียนหลงของจนี ภายหลงั จากที่อาณาจกั รอยธุ ยาลม่ สลายสมเด็จเจ้าพระยามหา
กษตั ริยศ์ ึกไดส้ ถาปนาตนเองขนึ้ เป็นกษัตรยิ ์ และ ทรงยา้ ยเมืองหลวงไปยงั ฝ่งั ตะวนั ออกของแมน่ ำ้
5
เจา้ พระยา คือกรงุ ธนบุรี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรงุ ธนบุรี หรอื สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช หรอื
สมเด็จพระบรมราชาท่ี 4 เป็นยุคหัวเลยี้ วหวั ตอ่ ของการเปล่ยี นแปลงรูปแบบ ศิลปะจากอยธุ ยามาเปน็
รัตนโกสนิ ทรย์ ังคงมกี ารสงั่ เครอื่ งปั้นดนิ เผาต่าง ๆ รวมท้งั เคร่ืองเบญจรงค์จาก ประเทศจนี ตอ่ เน่อื งจาก
สมยั กรุงศรีอยธุ ยา แต่เครอื่ งเบญจรงคใ์ นสมยั นยี้ ังคงมคี วามเหมือนอยา่ งมากกับ ลวดลายและสีสนั ใน
สมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาจะมคี วามแตกต่างบา้ งในเรือ่ งความนยิ มของสเี คลอื บท่ีสมยั กรุงธนบรุ นี ิยมเคลอื บ
ภายในถ้วยชามสีขาวแทนสีเขียว และนิยมชามทรงบัวมากกวา่ ทรงมะนาวตดั
เคร่ืองเบญจรงค์สมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร์ ในสมยั กรงุ รตั นโกสินทร์ ไดม้ ีวิวฒั นาการด้านรปู ทรง
และลวดลายของเคร่อื งเบญจรงคแ์ ละลายน้ำทองสบื ตอ่ จากสมัยกรุงศรอี ยุธยาและกรุงธนบุรี ซึ่งใน
สมยั กรงุ รัตนโกสนิ ทร์นมี้ คี วามกา้ วหน้าในดา้ น การตดิ ตอ่ ทำการค้าและเจรญิ สมั พันธไมตรีกบั
ต่างประเทศเพิม่ มากข้ึน การศึกสงครามมลี ดนอ้ ยลง สง่ ผลใหว้ ัฒนธรรมความเปน็ อยู่ของคนไทย
เปล่ียนแปลงไปตามความนิยมของโลกตะวันตก และมอี ทิ ธพิ ลทำใหร้ ปู ทรงของเคร่ืองเบญจรงค์ และ
ลายนำ้ ทองเปลย่ี นแปลงไปตามวฒั นธรรมความเป็นอย่ทู เ่ี ปลย่ี นแปลงไป รวมท้ังมกี ารเปลยี่ นแปลง
ดา้ นลวดลาย โดยมีการคดิ ค้นลวดลายใหม่ ๆ มีความนิยม เครอ่ื งลายน้ำทองอย่างมากในสมยั รัชกาล
ท่ี 2 และพฒั นาถึงการทป่ี ระเทศไทยผลิตเครือ่ งเบญจรงค์และลายน้ำทองได้เองในสมยั รัชกาลที่ 5 แต่
แม้ว่าประเทศไทยจะผลิตได้เอง ความนิยมในเครื่องเบญจรงค์ และลายน้ำทองในสมยั น้ันกล็ ดลง
แปรเปลย่ี นไปนิยมเครอ่ื งลายครามจากประเทศจีน และ เคร่อื งปัน้ ดนิ เผาเขียนสจี ากยุโรปแทน อาจ
เรียกไดว้ ่าในสมยั รชั กาลที่ 5 น้เี องท่เี ปน็ จุดเร่มิ ต้นของการ ผลติ เคร่ืองเบญจรงค์และลายน้ำทองใน
ประเทศไทย และเป็นจดุ สนิ้ สุดของความนิยมเครื่องเบญจรงค์ และลายน้ำทองเช่นกัน
ลวดลายเบญจรงค์
1.ลายเทพนมจีน สีขาว และลายดอกประจำยาม
1.1 ลายประกอบ เปน็ ลายเถา รปู คล้ายใบไมแ้ ละคลา้ ยลาย กระหนก สีแดง สีขาวและสี เขยี ว
อ่อน บนพืน้ สีเขียวเขม้
1.2 ลายลกู ค่นั เป็นลายดอกไมส้ ีเหลือง และสีขาว สลบั ใบไมส้ ีเขียว บนพ้ืนสีแดง
ภาพท่ี 1 : ลายเทพนมจนี
ที่มา : www.eresearch.library.ssru.ac.th
6
2.ลายเทพนม–นรสงิ ห์ โดยลายเทพนมสขี าวมีอาภรณ์ สีเหลอื งบนพ้นื สสี ม้ ในชอ่ งกระจกทรงกลบี บัว
ขอบลายเถา ใบไมค้ ลา้ ยลายกระหนกสแี ดงและสีดำส่วนลายนรสงิ ห์สีขาวอาภรณ์ สเี หลอื งรศั มีรอบ
ศรี ษะสสี ้มยนื หันไปทางเดยี วกัน
2.1 ลายประกอบ ได้แกล่ ายชอ่ เปลว หรอื ลายเปลวลอยสีแดง ในกรอบสขี าว บนพืน้ สดี ำ
2.2 ลายลูกค่นั ที่ฝาและทีโ่ ถเป็นลายเดียวกนั และใช้สเี ดยี วกนั คอื ลายดอกไม้–ใบไมส้ ีแดง บน
พ้นื สีเขยี ว สลบั กบั ลายดอกไม้และจดุ สีขาว บนพ้ืนสสี ม้ และเส้นสีเหลือง ยกเวน้ บรเิ วณขอบฝาขอบ
ปากด้านบนและ ด้านล่างใชเ้ ส้นทึบสีส้ม
ภาพท่ี 2 : ลายเทพนม–นรสิงห์
ท่มี า : www.eresearch.library.ssru.ac.th
3.ลายเทพนม–ครฑุ โดยลายเทพนมสขี าวมอี าภรณ์สเี หลอื งบนพ้ืนสีส้ม ในชอ่ งกระจกทรงรี มีขอบเปน็
ลายเถาใบไมค้ ล้ายลายกระหนกสีชมพู ส่วนลายครฑุ สขี าวอาภรณ์สีเหลืองปีกและครบี สีเขยี ว
3.1ลายประกอบ ไดแ้ ก่ลายช่อเปลวสีแดง ในกรอบสีขาว บนพ้ืนสีดำ
3.2ลายลูกคนั่ ไดแ้ ก่ลายดอกไม้ ใบไมส้ ีแดง บนพ้ืนสเี ขียว เขียว สลบั กบั ลายดอกไมแ้ ละจดุ สี
ขาว บนพ้ืนสสี ม้ และ เส้นสีเหลือง
ภาพที่ 3 : ลายเทพนม–ครุฑ
ทม่ี า : www.elfit.ssru.ac.th
7
4.ลายเทพนมพุงพลยุ้ สีขาว บนฐานดอกบวั และลายดอกประจ ายามสแี ดง
4.1ลายประกอบ เปน็ ลายเถา รปู คลา้ ยใบไม้และคลา้ ยลายกระหนก สแี ดง สีขาว สีเขียวอ่อน
และสชี มพูบนพนื้ สเี หลอื ง
4.2ลายลูกคั่น เป็นลายใบไมส้ ีเขียวคล้ายลายกระหนก และดอกไม้เป็นจุดสขี าวบนพนื้ สแี ดง
ภาพท่ี 4 : เบญจรงคล์ ายเทพนมพงุ พลุย้
ท่มี า : www.kaidee.com
5.ลายหนุมาน มอี าภรณ์สเี หลอื ง นุ่งผ้าสีแดงบนพืน้ สนี ้ำเงนิ
5.1ลายประกอบ เปน็ ลายก้านขดสแี ดง และสีเขียวในกรอบสขี าวบนพ้นื สีนำ้ เงิน
5.2ลายลูกคน่ั ท่ีขอบชามดา้ นบนเป็นลายจุดบนพนื้ สีแดงและสีเขียวสลบั กบั เส้นสเี หลอื ง มี
การเขยี นลายลูก คัน่ ทขี่ อบปากด้านในด้วยลายดอกไมส้ ดี ำบนพื้นสแี ดง
ภาพที่ 5 : เบญจรงค์ลายหนมุ าน
ทมี่ า : https://sites.google.com
6.ลายเทพนม–หน้ากาล โดยลายเทพนมสีขาวมีอาภรณ์สเี หลอื ง บนพื้นสฟี ้าออ่ น ส่วนลายหน้ากาล มี
รูปหนา้ คลา้ ยยักษ์
6.1ลายประกอบ ได้แก่ลายชอ่ ดอกไมแ้ ละใบไม้สีเหลอื ง สมี ่วง และสแี ดง บนพ้ืนสฟี า้ สดใส
6.2ลายลกู ค่ัน ทีข่ อบชามดา้ นบนเปน็ ลายดอกไม้ ใบไม้ สีชมพแู ละสีฟ้า บนพนื้ สีเหลือง สลับ
เสน้ สีแดงท้งั ขอบ ปากด้านบนและขาต้ังชามด้านล่าง มกี ารเขยี นลายลูก คน่ั ทข่ี อบปากด้านในดว้ ยลาย
เหมือนดา้ นนอกแต่ใช้สีแตกต่างกนั
8
ภาพท่ี 6 : เบญจรงคล์ ายเทพพนม–หน้ากาล
ที่มา : https://sites.google.com
7.ลายพมุ่ ขา้ วบณิ ฑ์สีแดง สีขาว และสเี หลือง ทัง้ ท่ีตัวชามและท่ีฝา
7.1ลายประกอบ ไมม่ ี
7.2ลายลูกค่ัน ใช้สีเขียว สแี ดง และสขี าว เขยี นลาย คล้ายลายเฟ่อื งอุบะท่ีขอบปากด้านบน
และขอบฝาด้านล่าง ส่วนบริเวณจุกทรงวงแหวนและขาต้งั ชามใช้เสน้ ทึบสีแดง
ภาพที่ 7 : เบญจรงค์ลายพ่มุ ข้าวบิณฑส์ แี ดง
ท่ีมา : https://shopee.co.th
8.ลายดอกเดซ่ี หรือลายจักรี ดอกสีขาว บนพ้ืนสฟี า้ ท้ังท่ีถว้ ยชา ฝา และจานรอง
8.1ลายประกอบ ไม่มี
8.2ลายลูกคน่ั เปน็ เส้นสีทอง โดยเฉพาะที่จกุ และขาตง้ั ของถว้ ย
9
ภาพที่ 8 : เบญจรงค์ลายเดซ่ี
ที่มา : https://gramho.com
9.ลายเกล็ดเต่าสีขาวและสนี ้ำเงิน มดี อกไม้สแี ดงและสเี ขยี วภายใน บนพนื้ สีทอง
9.1ลายประกอบ ไมม่ ี
9.2ลายลกู ค่ัน ที่ขอบของชามทัง้ ทป่ี ากชามด้านบน ด้านลา่ งชาม และท่ีฝาเขียนลายดอกไม้ มี
เกสรระหว่าง ดอกคลา้ ยลายเฟื่องอบุ ะ ใชเ้ ส้นสที องที่จุกทรงวงรี และ หุ้มดว้ ยทองเหลอื ง สว่ นที่ขาตั้ง
ชามเขยี นเสน้ ทึบสีเขียว
ภาพที่ 9 : เบญจรงคล์ ายเกลด็ เตา่
ที่มา : www.elfit.ssru.ac.th
10.ลายครฑุ ยุดนาค มอี าภรณ์ ครบถ้วน อยใู่ นช่องกระจกประดิษฐ์คล้ายเถา ใบไม้ พื้นสแี ดง เหมอื นกัน
ทัง้ ที่ตวั ชาม และทฝี่ าชาม
10.1ลายประกอบ เป็นลายเถาดอกไม้ สีทอง และชอ่ ใบไมส้ ีมว่ ง สีชมพู และสีเขยี ว บนพืน้ สี
ทอง
10.2ลายลกู คัน่ เปน็ ลายประเภทลายกระดาน มีลักษณะเป็นรปู ดอกไม้ สีทอง สมี ว่ ง และสี
ชมพู รวมท้งั ใบไม้สเี ขียว บนพนื้ สีทอง
10
ภาพท่ี 10 : เบญจรงคล์ ายลายครฑุ ยดุ นาค
ท่ีมา : www.facebook.com/baanbenjarongbangchang
11.ลายกา้ นตอ่ ดอก ในกรอบกระจกรปู กลีบบัวหงาย มีดอกไม้สตี า่ งๆบนพน้ื หลายสี
11.1ลายประกอบ ภายนอกกรอบกระจกมดี อกไมเ้ ล็ก ๆ สแี ดงท่ีช่องว่างระหว่างกรอบกระจก
ด้านบน พนื้ สเี ขยี ว
11.2ลายลกู ค่นั เปน็ ลายดอกไมส้ ีขาวและสีเหลอื งบนพน้ื สีแดง และมเี ส้นสีเหลือง ส่วนภายใน
ชามใช้แถบสี แดง มีลายจุดเล็ก ๆ สลับสีระหว่างสีขาว และสเี ขียว
ภาพท่ี 11 : เบญจรงค์ ลายก้านตอ่ ดอก
ทมี่ า : www.facebook.com/2364008530541158
12.ลายกา้ นขดสีเขียว และสีแดง บนพนื้ สีดำ
12.1ลายประกอบ ไม่มี
12.2ลายลูกคั่น เปน็ ลายดอกไม้ ใบไม้สี แดง และสเี ขยี ว มีเส้นสีเหลอื ง และลาย สีเขยี วอ่อน
บนพนื้ ท่ีเขียวอ่อนท่ขี อบ ด้านล่างของจกุ ทรงวงแหวน
11
ภาพท่ี 12 : เบญจรงค์ ลายกา้ นขดสีเขยี ว
ท่มี า : uauction4.uamulet.com
13.ลายดอกกุหลาบ–ผีเสอ้ื ท้งั ตวั ชามและฝา
13.1ลายประกอบ ไม่มี
13.2ลายลกู คน่ั ใชเ้ ส้นสีเขยี วและเสน้ สี ทองทีข่ อบปาก ขาต้งั ดา้ นล่างของชาม และท่ีจกุ ทรง
วงแหวน
ภาพที่ 13 : เบญจรงค์ลายเถากหุ ลาบชมพูบนพน้ื สีทองท้ังตวั ถ้วย
ทม่ี า : www.elfit.ssru.ac.th
14.ลายเทวดา อาภรณ์สที อง ในกรอบกระจก พน้ื สดี ำ
14.1ลายประกอบ คล้ายลายช่อเปลวสแี ดง บนพน้ื สนี ้ำเงนิ
14.2ลายลูกค่ัน เป็นเสน้ ทบึ สเี ขียว และสีทอง
ภาพท่ี 14 : เบญจรงค์ ลายเทวดา
ทมี่ า : www.wangdermpalace.org
12
บทสรปุ
ความเปน็ มาและวิวฒั นาการของลวดลายเบญจรงค์ เคร่ืองเบญจรงคข์ องไทยมใี ชต้ งั้ แต่สมยั
กรงุ ศรีอยุธยาตอนปลายช่วงประมาณรัชสมยั พระเจา้ ปราสาททอง และ สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช
ซึ่งเครอื่ งเบญจรงค์ของไทยมีความผกู พนั กบั ลักษณะของเคร่ืองถ้วยของประเทศจนี สมยั อยธุ ยาไดร้ บั
อทิ ธพิ ลมากจากศิลปะของจีน มีการประยกุ ต์ลวดลายแบบจีนรว่ มกบั แบบของไทย ซึง่ ลวดลายที่มี
ความนิยมมากในสมยั กรงุ ศรอี ยุธยา ไดแ้ ก่ ลายเทพนม และลายนรสงิ ห์ประกอบกัน มีลายประกอบที่
นยิ มท่นี ิยมคอื ลายช่อเปลว สมัยกรงุ ธนบุรแี ละสมัยรชั กาลท่ี 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทรม์ ีการรวบรวมชา่ ง
ศลิ ป์สาขาต่างๆ เครื่องเบญจรงคแ์ ละลายน้ำทองสมัยน้ียงั คงสง่ั ทำจากจนี มกี ารคดิ ประดษิ ฐ์ลวดลาย
ใหมป่ ระกอบลายเทพนมทีน่ ยิ มใช้มากอ่ นหน้า ได้แก่ ลายครฑุ ลายราชสีห์ ลายหนา้ สงิ ห์ รวมทง้ั มลี าย
หลักท่ีมีการผกู ลายขนึ้ ใหม่ ได้แก่ ลายกนิ รี ลายหนมุ าน ลายกลีบบัว ส่วนภาพประกอบลายทีน่ ิยมคอื
ลายก้านขดสเี ขยี วอมฟ้า รูปแบบทน่ี ยิ มใช้ คือ ชามทรงบวั สขี าวและไม่เขียนลายลกู คน่ั ที่ปากชาม ใน
สมัยรชั กาลท2่ี –3 กรงุ รัตนโกสนิ ทรถ์ ือว่าเปน็ ยุคสมัยท่ีเคร่ืองเบญจรงค์และลายน้ำทองเจริญรงุ่ เรอื ง
มากที่สดุ เนื่องมาจากในระยะนี้ประเทศไทยวา่ งเวน้ จากการศกึ สงคราม มีการสร้างวดั และศาสนสถาน
หลายแห่ง มีการคดิ ลวดลายใหม่สำหรับการเขยี นเคร่อื งลายน้ำทอง ที่ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากศลิ ปะของจีน
เช่น ลายดอกกุหลาบประกอบลาย ผีเสือ้ นก และดอกไม้ ใบไม้ ทม่ี ลี ักษณะเลยี นแบบธรรมชาติเพ่ิม
มากขึ้น สมยั รชั กาลท่ี 4–5 กรุงรตั นโกสินทร์ เครอ่ื งเบญจรงคแ์ ละลายน้ำทองลดความนยิ มลงในสมยั
รชั กาลที่ 4 โดยนิยมเครือ่ งลายครามและ เคร่ืองปน้ั ดินเผาเขียนสีจากยโุ รปที่มสี ีสันอ่อนหวาน ลาย
ดอกไมเ้ ลียนแบบธรรมชาติ และถือเป็นยคุ สดุ ท้ายของเคร่ืองเบญจรงค์และลายน้ำทอง ในสมัยรัชกาล
ท่ี 5 กรมพระราชวงั บวรวิชยั ชาญ ได้ผลิตเคร่อื งเบญจรงคแ์ ละลายน้ำทองได้ในประเทศไทย ซึ่ง
ลวดลายที่นิยมในสมัยนเี้ ปน็ ลายน้ำทองประเภทลายเครอื เถา ลายดอกพดุ ตาน และลายเกลด็ กระดอง
เตา่ รวมทง้ั ลวดลายที่เปน็ เรื่องราวตามแบบตะวนั ตก แตม่ เี อกลกั ษณค์ วามเป็นไทยคอื เปน็ ลายไทยจาก
เร่ืองราวของวรรณคดไี ทย ลวดลายเบญจรงคข์ องไทยมลี กั ษณะเฉพาะท่เี รยี กวา่ อัตลกั ษณ์แบ่งเป็น 3
กลมุ่ คอื 1).กลุ่มเทพนมประกอบลายต่างๆ 2).ลวดลายเบญจรงค์ในกลุ่มลายพรรณพฤกษา และ 3).
ลวดลายเบญจรงค์ในกลุ่มลายผา้ ยก โดยการเขยี นลายและเขียนสีลงบนแผน่ กระเบ้ืองสขี าว เผาสี ตาม
กระบวนการของการผลติ เครื่องเบญจรงค์ไทย
บรรณานกุ รม
ฉลาดชาย รมวิ ตานนท.์ (2542). คนกบั อัตลักษณ์ 2 ในเอกสารประกอบการประชุมประจำปที าง
มนษุ ยวิทยา. วันท่ี 27–29 มีนาคม 2545 ศนู ยม์ านุษยวิทยาสิรนิ ทร. กรงุ เทพฯ: ศูนย์
มานษุ ยวิทยาสริ นิ ทร.
เถกิง พฒั โนภาษ และพมิ คงแสงไชย สุทธคิ า. (2548). โครงการวิจยั การออกแบบเครือ่ ง
เคลอื บเบญจรงคร์ ่วมสมยั สาหรบั การสง่ ออกเพอื่ ขยายโอกาสทางเศรษฐกิจของช่างฝีมอื
ในเขต อำเภออมั พวา จงั หวัดสมทุ รสงคราม. ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะ
สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
ธนกิ เสิศชาญฤทธ.์ (2550, สงิ หาคม 24). “คนกับดนิ (เผา) ว่าด้วยกาเนดิ ภาชนะดินเผา”.
ในมนษุ ย์ กับภาชนะดนิ เผา: จากอดีตกาลสโู่ ลกสมยั ใหม่. เอกสารประกอบการ
สมั มนาทางวิชาการ ณ หอประชมุ ศนู ยม์ านุษยวิทยาสิรนิ ธร.
น. ณ ปากน้ำ. (2550). วิวัฒนาการลายไทย (พิมพค์ รงั้ ที่ 4). กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.
นพพร ภาสะพงศ.์ (2548). ปั้นชา เสน่หางานศลิ ป์แห่งดินปนั้ . กรุงเทพฯ: เมอื งโบราณ.
บริษทั คอนซับแทนท์ ออฟ เทคโนโลยีจำกดั . (ม.ป.ป.). การประเมินการบริหารส่วนประสม
ทางการตลาดสนิ ค้าหัตถกรรมประเภทเครือ่ งเบญจรงค์ของลูกคา้ ชาวตา่ งชาติ กรณีศึกษา
ร้านสยาม เซรามิคแฮนด์ เมด. โครงการจัดทำข้อมูลงานศึกษาวจิ ยั ด้านศิลปหตั ถกรรมของ
ไทย. กรงุ เทพฯ: ผู้แตง่ .
ประสิทธ์ิ ลปี รชี า. (2547). การสร้างและสืบทอดอัตลกั ษณข์ องกลมุ่ ชาตพิ ันธ์มุ ง้ . ใน วาทกรรม
อัตลกั ษณ์.กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พรน้ิ ติง้ เฮ้าส.์
พฤทธิ์ ศภุ เศรษฐศิริ.(2548).งานวิจัยวัฒนธรรมเรื่องเครอ่ื งเบญจรงค์ไทยปจั จุบัน:กรณีศกึ ษาเครื่อง
เบญจรงคห์ นึ่งตำบลหน่ึงผลติ ภณั ฑ์ในเขตจงั หวัดสมทุ รสาคร. กรุงเทพฯ: สำนกั งาน
คณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ ส่วนวจิ ยั และพฒั นา สถาบนั วัฒนธรรมศกึ ษา.
ภชุ ชงค์ จันทวิช. (2551). เคร่ืองถ้วยเบญจรงค์. กรุงเทพ: เมอื งโบราณ.
ยุรฉตั ร บุญสนิท. (2546). ลักษณะความสมั พันธ์ของวรรณกรรมกับสงั คม. ใน พัฒนาการวรรณคดี.
นนทบรุ :ี มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมธริ าช.
ราชบัณฑติ ยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ:
นานมบี ุ๊คส์.
ศนู ย์สง่ เสริมศิลปาชพี ระหวา่ งประเทศ (องค์การมหาชน). (2551). เครอื่ งเบญจรงค์. ผแู้ ต่ง.
-----------. (2551). นทิ รรศการอลงั การแหง่ ผา้ ไทย 12 เดือน. ณ อาเภอบางไทร จงั หวดั
พระนครศรีอยธุ ยา.
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ. (2514). ตำนานเครือ่ งโตะ๊ และถ้วยป้ัน
(พิมพค์ ร้ังท่ี 9). พระนคร: มงคลการพมิ พ์ 101.
สันติ เลก็ สขุ มุ . (2545). กระหนกในดนิ แดนไทย (พมิ พ์คร้ังท่ี 2). กรงุ เทพ: เมืองโบราณ.
อภญิ ญา เฟ่อื งฟสู กลุ . (2541). อัตลกั ษณ.์ กรงุ เทพฯ: สานักงานคณะกรรมการวิจยั
แหง่ ชาติ Gorman, C. (1970). “Excavations at spirit cave, north Thailand: Some
interiminterpretations”. Asian perspective. 13: 79–109.McCall, G. J. (1987). The
structure, content, and dynamics of Self: Continuities in thestudy of role–
identities, in Yardley, K. and Honess, T. (Eds.). Self and identity: Psychosocial
perspectives. New York: John Wiley & Sons.
สำนักพิพิธภัณฑ์และวฒั นธรรมการเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. (2546, กุมภาพันธ์ 2).
โครงการ "สวนวฒั นธรรมไทยธรี ะ สตู ะบตุ ร" เน่ืองในวาระท่มี หาวทิ ยาลยั เกษตร
ศาสตร์ ครบ60 ปี และเปน็ ทร่ี ะลึกแดศ่ าสตราจารย์ ดร.ธีระ สูตะบตุ ร.
เครื่องถ้วยสมัยราชวงศ์เช็ง ค.ศ.1644–1912. (ม.ป.ป.). http://www.siamantique
.com/, 2008
พิพิธภณั ฑ์ผ้า มหาวิทยาลยั นเรศวร. (ม.ป.ป.). ความรเู้ กยี่ วกบั ผ้าไทย. สืบค้นเมื่อ 2554, มนี าคม
2 จากhttp://www.thaitextilemuseum.com
บรษิ ัทอนิ โฟซิสเทค จากดั . (2000). สินค้าและกลุ่มอาชพี : เครอ่ื งเบญจรงค์และลายน้ำทอง.
สบื ค้นเมอื่ 2554, พฤษภาคม 15 จาก http://www.thaitambon.com/
tambon/tcompsrc.asp?sSearch
ประวัติผู*ศกึ ษาและจัดทำรายงาน
ช่ือ-นามสกลุ นายภูรชิ าติ แตง5 เกล้ยี ง ชื่อ-นามสกุล นายชยั ภัทร เนตรกาศักดิ์
เกดิ เมอ่ื 16 ตลุ าคม 2545 เกดิ เม่ือ 27 กรกฎาคม 2547
ระดบั ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปทM ่ี 5/6 เลขท่ี 20 ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปทM ี่ 5/6 เลขที่ 21
ทอี่ ย5ูปจQ จุบัน บSานเลขที่ 32/2 หม5ู 11 ท่อี ยูป5 Qจจุบนั บาS นเลขที่ 81/6 หมู5
ตำบล ทง5ุ คา ตำบล วังไผ5
อำเภอ เมอื ง อำเภอ เมือง
จังหวดั ชมุ พร 86100 จังหวัดชุมพร 86000
โทรศพั ท]ตดิ ตอ5 09-5038-7975 โทรศัพทต] ิดตอ5 08-4925-6356
Email / Facebook Email / Facebook
[email protected] [email protected]
คตปิ ระจำใจ ไม5อยากแพSเพราะแพSมาเยอะแลSว คติประจำใจ ทำวันนีใ้ หSดที ่ีสุด
ประวัติผศ*ู ึกษาและจดั ทำรายงาน (ต;อ)
ชื่อ-นามสกลุ นางสาวพรรณิศา รตั นภักดี ช่ือ-นามสกลุ นางสาวอรจริ า พัฒชนะ
เกดิ เม่ือ 1 ตุลาคม 2547 เกิดเมอ่ื 12 ธนั วาคน 2547
ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปทM ี่ 5/6 เลขท่ี 22 ระดับช้ัน มธั ยมศึกษาปทM ่ี 5/6 เลขท่ี 28
ท่ีอยปู5 Qจจบุ นั บาS นเลขท่ี 107 หม8ู5 ทีอ่ ยู5ปQจจบุ ัน บาS นเลขท่ี 159 หม7ู5
ตำบล วงั ไผ5 ตำบล วิสยั ใตS
อำเภอ เมอื ง อำเภอ สวี
จังหวดั ชมุ พร 81960 จงั หวดั ชุมพร 86130
โทรศัพทต] ิดตอ5 09-9407-9973 โทรศัพทต] ิดต5อ 06-3604-7322
Email / Facebook Email / Facebook
[email protected] [email protected]
คตปิ ระจำใจ อย5ากลัวการผิดผลาด คติประจำใจ มนั สมควรจะยาก เพราะ
เพราะมนั จะทำใหเS ราเตบิ โต ถSามันงา5 ย ทกุ คนกท็ ำไดหS มดแลSว
identity
THAI BENJARONG
PATTERN