The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือฯ สำหรับการพัฒนาการให้บริการบำบัด/กำจัดกากของเสียแก่ผู้ประกอบการบำบัด/กำจัดกากของเสีย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wastewp.56, 2022-09-07 11:59:13

คู่มือการดำเนินการพัฒนายกระดับมาตรฐานการให้บริการบำบัด/กำจัดกากของเสีย

คู่มือฯ สำหรับการพัฒนาการให้บริการบำบัด/กำจัดกากของเสียแก่ผู้ประกอบการบำบัด/กำจัดกากของเสีย

Keywords: กรมโรงงาน,บำบัด/กำจัด,ยกระดับ,คู่มือ

แล้ว เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านที่ดี
ลว้ ข้ันต้น สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคิล และบำบัด/กำจดั สิ่งปฏิกลู

หรอื วัสดุทไ่ี มใ่ ช้แลว้
สว่ นท่ี 1 การประเมินการรบั สง่ิ ปฏกิ ูลหรอื วสั ดุท่ไี ม่ใช้แลว้ ขน้ั ตน้

กรณีโรงงาน สว่ นท่ี 2 การขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว กรณีโรงงานเป็น
ทน ผรู้ วบรวมและขนส่ง หรือเป็นผูแ้ ต่งต้งั ตวั แทน
บริเวณโรงงาน ส่วนที่ 3 การรบั สง่ิ ปฏิกลู หรือวสั ดุที่ไมใ่ ชแ้ ลว้ เข้ามาไวใ้ นบรเิ วณโรงงาน
พื่อรอนำเข้าสู่ ส่วนท่ี 4 การจัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วไว้ในพื้นที่เก็บกาก
เพ่อื รอนำเข้าสกู่ ระบวนการรีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั กากของเสีย
แก่ผู้ที่จะนำไป ส่วนที่ 5 การบำบดั /กำจดั สงิ่ ปฏกิ ลู หรอื วัสดุทไ่ี ม่ใช้แล้วโดยวธิ กี ารฝงั กลบ
ส่วนท่ี 6 การบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วโดยวิธีการ
เผาในเตาเผา
ส่วนที่ 7 การรไี ซเคิลสิง่ ปฏิกลู หรือวสั ดุท่ีไม่ใชแ้ ลว้

รงงาน สว่ นท่ี 8* ระบบบำบัดมลพิษ และสาธารณูปการอ่นื ๆ ในโรงงาน
ลอดภัย และ สว่ นท่ี 9 การจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และการจัดการ

อสังคม ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม
ส่วนที่ 10 การสือ่ สารตอ่ สาธารณะและความรับผิดชอบตอ่ สงั คม

รรม รวมอยู่ในข้อกำหนดวิธกี ารปฏิบตั งิ านที่ดี ส่วนท่ี 8 ข้อ 8.5 การจดั การนำ้ เสยี และระบบบำบัดน้ำเสยี

กเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสรู่ ะบบการอนุญาตอัตโนมตั ิ (AI)

ค่มู อื การดำเนินการพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบัด/กำจดั กากของเสีย 47

2.2.1.3 ระดับความสำคญั ของข้อกำหนดการปฏิบตั ิงาน
ขอ้ กำหนดวธิ ีการปฏิบตั งิ านท่ีดที ่วั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะสำหรับการเขา้ สูร่ ะบบ

การอนุญาตอัตโนมัติ (AI) ที่เสนอแนะไว้ในแต่ละขั้นตอนหรือกิจกรรมของโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรม
ทั้ง 4 ประเภทนั้น จะมีข้อกำหนดของแต่ละประเภทเกณฑ์แตกต่างกัน กล่าวคือ เกณฑ์มาตรฐาน
การปฏิบัติงานที่ดีทั่วไปสำหรับโรงงานคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตราย มีจำนวน
ข้อกำหนด 113 ข้อ เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดีทั่วไปสำหรับโรงงานรีไซเคิล และบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกลู
หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว มีจำนวนข้อกำหนด 325 ข้อ ส่วนเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ระบบ
การอนุญาตอัตโนมัติ (AI) สำหรับโรงงานคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตราย
มีจำนวนข้อกำหนด 91 ข้อ และเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับการเขา้ สู่ระบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI) สำหรบั
โรงงานรีไซเคิล และบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว มีจำนวนข้อกำหนด 236 ข้อ ซึ่งจะช่วยลด
โอกาสที่การปฏิบัติงานในกิจกรรมนั้นๆ อาจจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรืออาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัยของประชาชน ซึ่งข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานในกรณีกากของเสียที่เป็นอันตรายกับของเสีย
ที่ไม่เป็นอันตรายแตกต่างกัน เนื่องจากของเสียแต่ละประเภทมีโอกาสที่จะก่อให้เกิดผลกระทบแตกต่างกัน
อีกทั้งระดับของผลกระทบที่เกิดขึ้นหากเกิดกรณีของเสียรั่วไหลออกสู่ภายนอกก็จะแตกต่างกันมากระหว่าง
กากของเสียที่เป็นอันตรายกับกากของเสียที่ไม่เป็นอันตราย นอกจากนี้ กากของเสียแต่ละประเภทยังมีกฎหมาย
ควบคุมแตกต่างกนั ด้วย โดยในการปฏบิ ัตงิ านกบั กากของเสียทเ่ี ปน็ อันตรายจะมีกฎหมายควบคมุ มากกวา่

ดังนั้น ในแต่ละข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่เสนอแนะไว้จึงได้ระบุความสำคัญซึ่งโรงงาน
ควรนำไปปฏิบัติ เพื่อให้โรงงานท่ตี ้องการท่ีจะมีมาตรฐานการปฏิบัติงานทีด่ ีได้ใช้ประกอบการวางแผนปรับปรงุ
วิธีการปฏิบัติงานของโรงงาน โดยหากเป็นวิธีปฏิบัติซึ่งกฎหมายควบคุมหรือกำหนดให้ต้องปฏิบัติอยู่แล้ว
โดยเฉพาะกฎหมายที่ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติส่งเสริมและรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 รวมถึงกฎหมาย
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีผลบังคับใช้เฉพาะกับกิจการโรงงาน จะถือว่าเป็นข้อกำหนดท่ีมีระดับความสำคัญสูงสุด
ที่โรงงานจะต้องปฏิบัติอย่างครบถ้วนและสม่ำเสมอ ในขณะที่บางข้อกำหนดแม้จะไม่เป็นข้อกฎหมายที่ต้องปฏิบัติ
แต่หากไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดที่เสนอแนะนั้นๆ แล้ว การปฏิบัติงานของโรงงานจะมีความเสี่ยงในการ
ก่อให้เกิดอุบัติเหตุหรือเกิดผลกระทบในระดับที่มีความรุนแรงแตกต่างกัน จึงได้จัดให้ข้อกำหนดวิธีการ
ปฏิบัตงิ านนัน้ ๆ มรี ะดับความสำคัญแตกต่างกนั ดว้ ย โดยได้จำแนกออกเป็น 3 ระดับ ดงั นี้

คำจำกัดความของระดับความสำคัญของข้อกำหนดวิธีปฏิบัติงานที่ดีทั่วไป และข้อกำหนด
วิธีการปฏิบตั ิงานเฉพาะสำหรับการเข้าสูร่ ะบบการอนญุ าตอัตโนมตั ิ (AI)

คู่มือการดำเนนิ การพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบดั /กำจดั กากของเสีย 48

ระดบั ความสำคัญ สญั ลักษณ์ ความหมาย
ของข้อกำหนด *
AI เป็นข้อกำหนดขั้นพนื้ ฐานทีเ่ ปน็ ข้อกำหนดทางกฎหมายท่โี รงงานตอ้ งปฏบิ ตั ใิ หค้ รบถ้วน
ขอ้ บงั คับ 3 เปน็ ข้อกำหนดวิธีการปฏบิ ัติงานเฉพาะสำหรับการเขา้ สู่ระบบการอนุญาตอัตโนมัติ (AI)
เกณฑฯ์ เฉพาะ เป็นหลักปฏิบัติขั้นพื้นฐานที่โรงงานต้องดำเนินการมิเช่นนั้นจะมีโอกาสสูงมาก
2 ท่กี ารปฏิบัตงิ านในข้ันตอนนน้ั ๆ ของโรงงานจะเกิดอนั ตรายหรอื สง่ ผลกระทบในดา้ นต่างๆ
มาก เป็นหลักปฏิบัติที่โรงงานควรจะต้องดำเนินการเนื่องจากมีโอกาสที่จะเกิดอันตราย
1 หรอื สง่ ผลกระทบในดา้ นต่างๆ หากไมป่ ฏิบัติ
ปานกลาง เป็นหลักปฏิบัติที่โรงงานควรดำเนินการเพื่อลดโอกาสในการเกิดอันตรายหรือส่งผล
กระทบจากการปฏิบตั งิ านซึ่งไมร่ นุ แรง
น้อย

ทั้งนี้ ในการแสดงระดับความสำคัญของ นอกจากนี้ ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงาน
แต่ละข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานในเกณฑ์มาตรฐาน ในส่วนที่ 1 ถึงส่วนที่ 4 ของโรงงานทั้ง 2 ประเภท
การปฏิบัติงานที่ดีทั่วไป และเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ กิจการ มีบางส่วนที่เหมือนและแตกต่างกัน
สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาตอัตโนมัติ (AI) เนื่องจากประเภทและชนิดกากของเสียที่เกี่ยวข้อง
สำหรับแต่ละประเภทกิจการโรงงาน จะใช้สัญลักษณ์ กับโรงงานในแต่ละประเภทกิจการมีความแตกต่างกัน
“*” สำหรับข้อกำหนดขั้นพื้นฐานที่เป็นข้อกำหนด รวมถึงแนวทางและวัตถุประสงค์ในการรับกากของเสีย
ทางกฎหมายที่โรงงานต้องปฏิบัติให้ครบถ้วน เข้ามาในโรงงานก็แตกต่างกันด้วย ดังตัวอย่าง
ใช้อักษรย่อ “AI” สำหรับข้อกำหนดเฉพาะสำหรับ เปรียบเทียบข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานระหว่าง
การเข้าสู่ระบบการอนุญาตอัตโนมัติ (AI) และใช้ โรงงานคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็น
ตัวเลข 3, 2 และ 1 สำหรับข้อกำหนดที่มีระดับ ของเสียอันตราย กับโรงงานรีไซเคิล และบำบัด/
ความสำคญั ระดับมาก ปานกลาง และน้อย ตามลำดบั กำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดทุ ี่ไม่ใชแ้ ล้ว ดงั รูปท่ี 14

คู่มอื การดำเนนิ การพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบัด/กำจดั กากของเสีย 49

โรงงานคัดแยกส่ิงปฏกิ ูลหรอื วัสดุทไี่ ม่ใช้แลว้ ท่ีไมเ่ ปน็ ของเสียอันตราย

ข้อกำหนดวิธกี ารปฏบิ ตั ิงาน ระดับเกณฑ์
ไมอ่ ันตราย เกณฑ์เฉพาะ

โรงงานมีการแจ้งเป็นหนังสือให้ลูกค้าทราบถึงประเภทกิจการที่ได้รับอนุญาตและประเภท ขอ้ บังคับ AI

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใชแ้ ลว้ ที่สามารถรับดำเนินการได้ พร้อมแนบสำเนาใบอนุญาตประกอบ *e

กิจการโรงงาน

มีการรับเฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ได้รับอนุญาตตามเงื่อนไขการประกอบ ข้อบังคับ AI

กจิ การโรงงานท่ีกำหนดไว้ในใบอนญุ าตประกอบกจิ การโรงงานเท่านน้ั *e

โรงงานต้องมีการตรวจสอบเพื่อยืนยันว่าเป็นประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 3 AI

ที่โรงงานสามารถรับมาคดั แยกในโรงงานไดก้ ่อนตกลงให้บริการ

โรงงานรบั รไี ซเคิล และบำบัด/กำจัดสง่ิ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ไี่ มใ่ ชแ้ ล้ว

ข้อกำหนดวิธกี ารปฏิบัตงิ าน ระดับเกณฑ์
ไม่อันตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

โรงงานมกี ารแจ้งเป็นหนงั สือใหล้ ูกค้าทราบถึงประเภทกิจการที่ได้รับอนุญาต ขอ้ บงั คบั ข้อบังคับ AI

และประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่สามารถรับดำเนินการได้ *k *k

พรอ้ มแนบสำเนาใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน

มีการรับบำบัด กำจัดเฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ได้รับอนุญาต ขอ้ บงั คับ ข้อบังคับ AI

ตามเงื่อนไขการประกอบกิจการโรงงานที่กำหนดไว้ในใบอนุญาตประกอบ *k *k

กิจการโรงงานเท่านนั้

โรงงานได้รับเอกสารข้อมูลสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทุกชนิดที่ทำการ 2 3 AI

บำบัดจากลูกค้า เช่น ชื่อกระบวนการเฉพาะที่ก่อให้เกิด ปริมาณที่คาดว่า

จะเกิดขึ้นต่อปี สถานะ (ของแข็ง ของเหลว ตะกอน) ผลวิเคราะห์ทางเคมี

ความเปน็ อนั ตราย และวธิ ีการเก็บ เปน็ ต้น

มีการตรวจสอบวิเคราะห์คุณสมบัติสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเพื่อยืนยัน 2 3 AI

ว่าเป็นประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่โรงงานสามารถรับมาบำบัด

กำจัดในโรงงานได้กอ่ นตกลงใหบ้ รกิ าร

มีการบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วให้สอดคล้องกับ 3 3 AI

ขดี ความสามารถในการจัดการสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี มใ่ ช้แล้ว

หมายเหตุ : * เปน็ ขอ้ กำหนดด้านกฎหมายออกตามความในพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 โรงงานต้องมีการดำเนินการให้ครบถ้วน
กอ่ นเขา้ รบั การประเมินระดับมาตรฐานการปฏิบัตงิ านทดี่ ีของโรงงานผรู้ ับบำบดั /กำจัดสิง่ ปฏกิ ูลหรือวสั ดุทีไ่ ม่ใช้แลว้

*e,*k เปน็ รายช่อื กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานน้นั ๆ

รปู ที่ 14เปรียบเทียบขอ้ กำหนดวธิ ีการปฏิบัตงิ านในสว่ นท่ี 1 การประเมินการรับกากของเสียข้ันตน้
ระหว่างโรงงานคัดแยกกากของเสียท่ีไมเ่ ป็นอันตรายเพ่อื จำหน่ายต่อกบั โรงงานรับรีไซเคลิ
และบำบดั /กำจดั ส่ิงปฏกิ ูลหรอื วสั ดุท่ีไม่ใช้แล้ว

คู่มือการดำเนินการพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบัด/กำจัดกากของเสีย 50

2.2.2 การนำเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัติงานท่ดี ีไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นโรงงาน
เพื่อลดโอกาสที่การปฏิบัติงานในขั้นตอนต่างๆ ของโรงงานจัดการกากอุตสาหกรรมจะก่อให้เกิดอันตราย

หรือผลกระทบใดๆ ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย รวมถึงความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน

ของประชาชนให้เหลอื น้อยทส่ี ุด ซึง่ หากเกิดปญั หาข้ึนก็จะสามารถควบคุมให้อยูใ่ นระดับทไ่ี มร่ ุนแรงและไม่ลุกลาม

โรงงานควรมีการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการประกอบ
กิจการของโรงงานตามที่ระบุไว้ในเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดี โดยแนวทางหรือเป้าหมายของการดำเนินการ

เพอื่ ยกระดบั มาตรฐานการปฏิบตั งิ านของโรงงาน ควรปฏิบตั ิดังนี้

พิจารณาว่าการประกอบกิจการของโรงงาน นำข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง

เกี่ยวข้องกับข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานในส่วน กับโรงงาน ไปตรวจสอบเปรียบเทียบกับการ

ใดบา้ ง (เกณฑม์ าตรฐานฯ สำหรบั แตล่ ะประเภท ปฏิบัติงานของโรงงานในแต่ละขั้นตอนว่าโรงงาน

แบ่งเป็น 10 ส่วน) ทั้งนี้ ในส่วนที่เป็นระบบ และพนักงานของโรงงานได้มีการปฏิบัติงานตาม
บำบัดมลพิษและสาธารณูปการต่างๆ ในโรงงาน ข้อกำหนดเหล่านั้นอย่างครบถ้วนและสม่ำเสมอ
อาจแตกต่างกันไป หรือไม่

ตรวจสอบว่าในแต่ละส่วนของเกณฑ์มาตรฐานฯ รวบรวมข้อกำหนดที่โรงงานไม่ได้ปฏิบัติหรือมี

ซึ่งเกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการของโรงงาน การปฏิบัติเพียงบางส่วน และไม่สม่ำเสมอ

มีข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานใดบ้างที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดเป็นภารกิจเป้าหมายที่จะต้อง

กับลักษณะการประกอบกิจการของโรงงาน ดำเนินการ เพื่อยกระดับวิธีการปฏิบัติงาน
เนื่องจากบางข้อกำหนดเป็นวิธีปฏิบัติเฉพาะกับ ของโรงงานให้มมี าตรฐานในระดบั ทีด่ ขี นึ้

กากของเสียบางชนิดหรือบางประเภทซึ่งเสี่ยง จัดลำดับภารกิจที่จะต้องดำเนินการ โดยพิจารณา
ต่อการก่อให้เกิดอันตรายในบางสภาวะการณ์ จากระดับความสำคัญของแต่ละข้อกำหนดซึง่ ยัง
ข้อกำหนดนั้นๆ จึงไม่ได้เกี่ยวข้องกับโรงงาน ไม่ได้ปฏิบัติ หรือปฏิบัติยังไม่ครบถ้วนและไม่
ทุกแห่ง เช่น โรงงานที่ไม่ได้รับของเสียที่เป็น สม่ำเสมอ ซึ่งโรงงานควรเลือกดำเนินการ
สารไวไฟหรือตัวทำละลายใช้แล้วเข้ามา ในขอ้ กำหนดทม่ี ีระดบั สงู ไปหาระดับตำ่
ดำเนินการในโรงงาน ก็จะไม่เกี่ยวข้องกับ
ข้อกำหนดที่ว่า “บริเวณที่จัดเก็บสารไวไฟหรือ จัดทำแนวทางการดำเนินงานสำหรบั แตล่ ะภารกจิ
ตัวทำละลายใช้แล้วต้องไม่มีแหล่งกำเนิด ที่กำหนดไว้ในข้อ 4 และปฏิบัติตามแนวทาง
ประกายไฟ หรือความร้อนในบรเิ วณเพื่อป้องกัน ที่กำหนดไว้ และหลังการดำเนินงานในแต่ละ
การลุกไหม้หรือการระเบิด และทำป้ายเตือน ภารกิจควรตรวจสอบเปรียบเทียบวิธีการ
อันตรายติดไว้ในตำแหน่งที่เห็นได้ชัดเจน” ปฏิบัติงานของโรงงานกับข้อกำหนดที่ระบุไว้ใน
เป็นต้น เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดีอีกครั้ง ทั้งนี้
ภายหลังการดำเนินงานในแต่ละภารกิจแล้ว

โรงงานและพนักงานควรต้องมีการปฏิบัติ
ที่สอดคล้องกับขอ้ กำหนดนัน้ ๆ

คู่มือการดำเนนิ การพฒั นายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบดั /กำจัดกากของเสีย 51

สำหรับแผนผังสรุปขั้นตอนการนำเกณฑ์มาตรฐานฯ ไปใช้เพื่อการยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติงาน
ของโรงงานท่ีกลา่ วแล้วขา้ งตน้ ดงั รปู ท่ี 15

ข้อกำหนดวธิ ีปฏิบัติงานทุกข้อในทกุ สว่ นท่ีระบุไว้ในเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ี
กลั่นกรองคดั เลอื กเฉพาะขอ้ กำหนดวธิ ีการปฏบิ ัติงานที่เก่ียวข้องกับโรงงาน
ขอ้ กำหนดวธิ ีการปฏิบัติงานเฉพาะสว่ นที่เกี่ยวขอ้ งกับโรงงาน
ตรวจประเมิน/เปรยี บเทียบกับวิธีปฏิบตั งิ านของโรงงาน

ขอ้ กำหนดที่โรงงานปฏบิ ตั ิ ข้อกำหนดท่ีโรงงานปฏบิ ตั ิ ข้อกำหนดที่โรงงาน
ครบถว้ นและสมำ่ เสมอ เพียงบางส่วนหรือไมส่ มำ่ เสมอ ยงั ไมไ่ ด้ปฏิบัติ

ดำเนินการตอ่ กำหนดเปา้ หมายและภารกจิ ทตี่ ้องดำเนินการ
และปรบั ปรงุ ให้ดีข้ึน เพ่ือยกระดบั มาตรฐานการปฏบิ ัติงานของโรงงาน

จดั ลำดับภารกิจทตี่ ้องดำเนินการโดยพจิ ารณา
จากระดับความสำคัญของแตล่ ะข้อกำหนด

ลงมอื ปฏบิ ัตภิ ารกิจตามลำดับความสำคัญที่กำหนด

ตรวจสอบเปรยี บเทยี บวิธกี ารปฏิบตั งิ านของโรงงาน
กบั ขอ้ กำหนดท่ีระบุไวใ้ นเกณฑ์มาตรฐานฯ

ทบทวนและปรบั ปรุง ไม่ใช่ โรงงานปฏบิ ตั ิครบถ้วน
แนวทางปฏบิ ัตภิ ารกจิ และสมำ่ เสมอ

ใช่
ดำเนนิ การตอ่ และปรบั ปรุงให้ดขี ้ึน

รูปท่ี 15 ขัน้ ตอนการนำเกณฑม์ าตรฐานฯ ไปใช้เพื่อการยกระดบั มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานทีด่ ขี องโรงงาน

คูม่ ือการดำเนนิ การพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจัดกากของเสยี 52

2.3 หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ
สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI) สำหรบั โรงงานคดั แยก
สง่ิ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดทุ ไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ ทไี่ มเ่ ปน็ ของเสยี อนั ตราย
หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดีทั่วไปสำหรับโรงงานคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็น

ของเสียอันตราย มีข้อกำหนดจำนวนทั้งสิ้น 113 ข้อ และหลักเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ระบบ
การอนุญาตอัตโนมัติ (AI) มีข้อกำหนดจำนวนทั้งสิ้น 91 ข้อ ตามลำดับ ซึ่งประกอบด้วยข้อกำหนดวิธีการ
ปฏิบตั ิงาน 10 สว่ น (ข้ันตอนการประกอบกิจกรรม) ดังน้ี

ส่วนท่ี 1 การประเมินการรับสิ่งปฏกิ ูลหรือวสั ดทุ ่ไี ม่ใชแ้ ลว้ ขน้ั ตน้
ส่วนท่ี 2 การขนส่งสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี ม่ใชแ้ ลว้ กรณโี รงงานเป็นผรู้ วบรวมและขนส่ง หรอื เป็นผู้แต่งต้งั ตัวแทน
สว่ นท่ี 3 การรับสงิ่ ปฏิกลู หรอื วัสดทุ ่ีไมใ่ ช้แลว้ เข้ามาไวใ้ นบริเวณโรงงาน
ส่วนท่ี 4 การจดั เก็บสิง่ ปฏกิ ลู หรือวสั ดุทีไ่ ม่ใชแ้ ลว้ ไวใ้ นพ้นื ท่เี ก็บกากเพื่อรอนำเขา้ สกู่ ระบวนการคัดแยก

ส่วนท่ี 5 การคัดแยกสงิ่ ปฏิกูลหรอื วัสดุที่ไมใ่ ช้แลว้
สว่ นท่ี 6 การลดขนาดหรอื บีบอดั วสั ดุท่คี ดั แยกแลว้
สว่ นท่ี 7 การจัดเกบ็ วัสดทุ ค่ี ดั แยกแลว้ เพอ่ื รอส่งไปใหแ้ กผ่ ้ทู จ่ี ะนำไปใช้ประโยชน์
ส่วนท่ี 8 ระบบบำบัดมลพษิ และสาธารณปู การอืน่ ๆ ในโรงงาน
สว่ นท่ี 9 การจดั การด้านอาชวี อนามยั และความปลอดภัย และการจัดการด้านสงิ่ แวดลอ้ ม
ส่วนท่ี 10 การสื่อสารตอ่ สาธารณะและความรับผิดชอบตอ่ สงั คม

ในการนำเสนอเกณฑ์มาตรฐานฯ แต่ละส่วนนั้นจะแสดงทั้งข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดี ทั้ง 10 ส่วนหรือ
ขั้นตอนการประกอบกิจกรรมนั้นๆ และระดับความสำคัญของแต่ละข้อกำหนดในรูปแบบของตาราง โดยใน
คอลัมน์ระดบั ความสำคญั ของขอ้ กำหนดจะใชต้ วั เลขและสญั ลกั ษณท์ ีส่ ่ือความหมาย ดงั นี้

คู่มอื การดำเนินการพฒั นายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบัด/กำจัดกากของเสยี 53

สญั ลกั ษณ์ *X ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดีนั้น เป็นข้อกำหนดด้านกฎหมายที่ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ 2535 โดย x เป็นรายชื่อกฎหมาย
ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับขอ้ กำหนดวิธปี ฏิบตั ิงานท่ีดีน้นั ๆ

อักษรย่อ AI ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดีเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาต
อัตโนมัติ (AI)

ตวั เลข 3, 2 และ 1 ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดีนั้น มีระดับความสำคัญระดับมาก ปานกลาง
และนอ้ ย ตามลำดับ

สญั ลกั ษณ์ รายชอื่ กฎหมาย

a กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
b กฎกระทรวงกำหนดมาตรการความปลอดภยั เก่ยี วกับระบบไฟฟา้ ในโรงงานพ.ศ. 2550
c กฎกระทรวง ควบคมุ การปนเป้อื นในดนิ และนำ้ ใต้ดินภายในบรเิ วณโรงงาน พ.ศ. 2559
d ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งปฏิกูล
หรอื วสั ดุทไ่ี ม่ใช้แล้วจากโรงงานโดยทางสือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Internet) พ.ศ. 2547
e ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เร่อื ง การกำจัดส่ิงปฏกิ ูลหรือวสั ดทุ ไ่ี มใ่ ช้แลว้ พ.ศ. 2548
f ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เรื่อง การป้องกันและระงับอัคคภี ัยในโรงงาน พ.ศ. 2552
g ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เรือ่ ง กำหนดเกณฑก์ ารปนเปือ้ นในดินและนำ้ ใต้ดิน การตรวจสอบ
คุณภาพดินและน้ำใต้ดิน การแจ้งข้อมูลรวมทั้งการจัดทำรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดิน
h และน้ำใต้ดินและรายงานเสนอมาตรการควบคุมและมาตรการลดการปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดิน
i พ.ศ. 2559
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การกาํ จัดสิง่ ปฏิกูลหรอื วัสดุทีไ่ ม่ใช้แลว้ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560
j ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูล
หรอื วัสดุท่ีไมใ่ ช้แล้วของผู้ประกอบกจิ การบำบดั และกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แลว้ พ.ศ. 2550
เง่ือนไขการประกอบกิจการโรงงานซึ่งกำหนดไว้ในใบอนญุ าตประกอบกจิ การโรงงาน

คู่มือการดำเนินการพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ ริการบำบัด/กำจัดกากของเสีย 54

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทดี่ ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบ
การอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI) สำหรบั โรงงานคดั แยกสงิ่ ปฏิกลู หรอื วสั ดทุ ไี่ มใ่ ชแ้ ล้วทไ่ี มเ่ ปน็ ของเสยี อันตราย

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทดี่ ที ั่วไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานคดั แยกส่งิ ปฏกิ ูลหรือวัสดุท่ไี ม่ใช้แล้วทไี่ มเ่ ปน็ ของเสยี อนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 1 การประเมนิ การรบั สงิ่ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ล้วขนั้ ตน้

ข้อ เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
เกณฑ์ท่ัวไป เกณฑ์เฉพาะ

1.1 โรงงานมีการแจ้งเป็นหนังสือให้ลูกค้าทราบถึงประเภทกิจการที่ได้รับอนุญาต ขอ้ บงั คับ AI

และประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่สามารถรับดำเนินการได้พร้อมแนบ *e

สำเนาใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงงาน

1.2 มีการรับเฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ได้รับอนุญาตตามเงื่อนไข ข้อบงั คับ AI

การประกอบกิจการโรงงานที่กำหนดไวใ้ นใบอนญุ าตประกอบกจิ การโรงงานเท่านนั้ *e

1.3 โรงงานต้องมีการตรวจสอบเพื่อยืนยันว่าเป็นประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 3 AI

ทโ่ี รงงานสามารถรบั มาคดั แยกในโรงงานได้ก่อนตกลงใหบ้ รกิ าร

คูม่ ือการดำเนินการพฒั นายกระดับมาตรฐานการใหบ้ ริการบำบัด/กำจดั กากของเสีย 55

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัติงานท่ดี ีทั่วไป และหลักเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สู่ระบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานคัดแยกส่ิงปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้ ท่ีไมเ่ ปน็ ของเสียอนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 2 การขนสง่ ส่ิงปฏกิ ูลหรือวสั ดุที่ไม่ใช้แลว้ กรณโี รงงานเปน็ ผรู้ วบรวมและขนสง่
หรอื เปน็ ผู้แตง่ ต้งั ตัวแทน

ข้อ เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑ์ท่ัวไป เกณฑ์เฉพาะ

2.1 ก่อนการขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วมีการทำสัญญาหรือหนังสือยินยอม 3 AI

การให้บริการระหว่างผู้ให้บริการรับบำบัด กําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

(Waste Processor) กับโรงงานผู้ก่อกำเนิดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (Waste

Generator) ทกุ ราย

2.2 มีระบบควบคุมตรวจสอบสภาพรถขนส่งและภาชนะบรรจุให้มีสภาพดีก่อนออกไป 3 AI

ปฏิบตั ิงานทุกคร้งั เพอื่ ป้องกันไมใ่ ห้มีการหกหล่นหรือร่ัวไหลของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ

ที่ไมใ่ ชแ้ ลว้ ในระหวา่ งการขนส่ง

2.3 มีระบบควบคุมตรวจสอบความพร้อมของคนขับรถขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ 3 AI

ใชแ้ ล้วทกุ ครง้ั ก่อนออกปฏบิ ตั ิงาน

2.4 มีการตรวจสอบว่าสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่จะทำการขนส่งมีความถูกต้อง 3 AI

ทงั้ ชนดิ และปริมาณตามทไ่ี ด้รบั อนญุ าต

2.5 สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่จะขนส่งต้องมีลักษณะการบรรทุกและบรรจุ 3 AI

ในภาชนะที่เหมาะสม หรือมีการติดฉลากบนภาชนะซึ่งระบุชื่อลูกค้าที่ส่งสิ่งปฏิกูล

หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ชนิด และปริมาณสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว วันที่รับ

สิง่ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ี่ไม่ใช้แล้ว เป็นต้น

2.6 มีมาตรการป้องกันการร่วงหล่นหรือรั่วไหลของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 3 AI

ระหว่างการขนส่ง

2.7 มีมาตรการและแผนฉุกเฉินกรณีเกิดการร่วงหล่นรั่วไหลของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ 3 -

ใชแ้ ลว้ ในระหวา่ งการขนส่ง

2.8 มีระบบควบคุมตรวจสอบรถที่ใช้ในการขนส่ง หรือมีระบบติดตามยานพาหนะ 2 AI

โดยใช้เทคโนโลยีผ่านสัญญาณดาวเทียม (Global Positioning System : GPS)

เพื่อควบคุมรถขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตลอดเส้นทางที่ใช้ขนส่งเพื่อให้

มั่นใจว่าจะไม่มีการลักลอบนำสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วไปทิ้งหรือกำจัดอย่างไม่

ถกู ตอ้ ง

คู่มอื การดำเนนิ การพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบัด/กำจัดกากของเสยี 56

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั ิงานทด่ี ที ว่ั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานคดั แยกสง่ิ ปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ีไ่ มใ่ ช้แล้วทไ่ี ม่เปน็ ของเสียอันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 3 การรบั สิ่งปฏิกลู หรอื วสั ดทุ ี่ไม่ใชแ้ ลว้ เขา้ มาไวใ้ นบรเิ วณโรงงาน

ข้อ เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั ิงานที่ดี ระดับความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑ์เฉพาะ

3.1 มีการรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากโรงงานลูกค้าที่ได้รับใบอนุญาตนำ ข้อบังคบั AI

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอกโรงงานตามรายชื่อและปริมาณสิ่งปฏิกูล *i

หรือวัสดุทไ่ี ม่ใช้แล้วท่ีระบุไวใ้ นใบอนุญาตเท่านนั้

3.2 การรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเข้ามาในโรงงานต้องแจ้งข้อมูลต่อกรมโรงงาน ขอ้ บงั คับ AI

อุตสาหกรรมทางสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทุกคร้งั *d,e

3.3 ถนนหรือเส้นทางเดินรถขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วภายในโรงงานจะต้อง 2 AI

แข็งแรง (เช่น พื้นคอนกรีตหรือลาดยาง) มีการแบ่งช่องจราจรชัดเจน และมีป้าย

เตือนในบริเวณที่เป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุตั้งแต่ปากทางเข้าโรงงานจนถึง

พ้นื ทปี่ ฏิบัตงิ านคดั แยก

3.4 มกี ารตรวจสอบและบันทกึ การเข้า-ออกของรถขนสง่ สิง่ ปฏิกูลหรอื วสั ดุท่ีไมใ่ ช้แล้ว 2 -

3.5 มีการตรวจสอบสมบัติ ลักษณะ น้ำหนักหรือปริมาตรสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 3 AI

กอ่ นทำการรบั เขา้ มาในโรงงาน ใหม้ คี วามถกู ต้องตามทไี่ ดร้ ับอนุญาต

3.6 มีการปฏิเสธการรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่โรงงานไม่สามารถรับมาคัดแยก 2 AI

ได้ และมีมาตรการตอบสนองกรณีที่มีสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วดังกล่าวเข้ามา

ในบรเิ วณโรงงาน

คูม่ อื การดำเนินการพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจัดกากของเสีย 57

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัติงานทด่ี ีทั่วไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานคัดแยกสงิ่ ปฏิกลู หรอื วัสดทุ ี่ไมใ่ ช้แล้วทีไ่ ม่เปน็ ของเสยี อนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 4 การจัดเก็บสง่ิ ปฏกิ ลู หรอื วัสดุท่ไี มใ่ ชแ้ ลว้ ไวใ้ นพ้นื ทเี่ ก็บกากเพ่ือรอนำเขา้ สู่
กระบวนการคัดแยก

ขอ้ เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
เกณฑ์ทั่วไป เกณฑ์เฉพาะ

4.1 มีการจัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วไว้ภายในอาคาร หรือบริเวณที่จัดไว้ ข้อบังคับ AI

โดยเฉพาะที่มีความมั่นคงแข็งแรง มีการระบายอากาศที่พอเพียง และมีพื้นท่ี *i

เพียงพอต่อการจัดเก็บอย่างปลอดภัยกรณีจัดเก็บไว้นอกอาคารต้องได้รับ

ความเห็นชอบจากกรมโรงงานอตุ สาหกรรม หรอื หน่วยงานทไ่ี ด้รบั มอบหมายก่อน

4.2 ระยะเวลาท่ีใช้ในการบำบัด กำจัดสิง่ ปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แลว้ ท่ีไม่อันตรายภายใน ข้อบงั คับ AI

30 วัน นับจากวันที่รับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเข้ามาในบริเวณโรงงาน ทั้งน้ี *i

หากจำเป็นต้องขยายเวลาการบำบัด หรือกำจัด ต้องแจ้งต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม

หรือหน่วยงานท่ีไดร้ บั มอบหมายภายใน 5 วนั กอ่ นครบเวลาท่กี ำหนด

4.3 พื้นที่เก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วต้องเรียบ มีความลาดเอียงเหมาะสม 2 AI

ไม่แตกร้าว ทำความสะอาดง่าย และไม่ดูดซับหรือสะสมสารที่อาจหกหรือรั่วไหล

(กรณีขอรับการตรวจประเมินรับรองระบบอนุญาตอัตโนมัติ (AI) จะพิจารณา

เฉพาะเศษโลหะจากการกลึง (Scrap))

4.4 มีการป้องกันสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเหลว หรือน้ำชะสิ่งปฏิกูล 3 AI

หรอื วัสดุทไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้ ร่วั ไหลออกนอกพื้นท่โี รงงานโดยไมผ่ ่านการบำบัด

4.5 มีการกำหนดพื้นที่จัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตามประเภทสิ่งปฏิกูลหรือ 2 -

วัสดุที่ไม่ใช้แล้วให้ชัดเจน เช่น เศษกระดาษ เศษพลาสติก เศษโลหะ เป็นต้น

และติดตั้งปา้ ยสัญลักษณ์แสดงประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทีจ่ ัดเกบ็ ท่ีเห็น

ไดช้ ัดเจน

4.6 มีการเลือกวิธีการจัดเก็บรวมถึงประเภทภาชนะที่จัดเก็บให้เหมาะสมกับประเภท 3 AI

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และปริมาณสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เก็บกัก

ต้องไม่เกินความสามารถในการรองรับของภาชนะบรรจุหรือสถานที่จัดเก็บ

และติดตงั้ ป้ายสัญลกั ษณท์ ภี่ าชนะแสดงประเภทวสั ดทุ ่จี ัดเก็บทีเ่ ห็นไดช้ ดั เจน

4.7 การจัดเก็บหรือเรียงซ้อนสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วต้องคำนึงถึงความปลอดภัย 2 AI

เป็นหลกั

4.8 มีการแบ่งพื้นที่จราจรและกำหนดเส้นทางท่ีเหมาะสมในการขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือ 2 -

วสั ดุทไ่ี มใ่ ช้แลว้ ไปยงั จดุ เก็บต่างๆ

คู่มือการดำเนนิ การพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจดั กากของเสยี 58

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัติงานท่ดี ีท่ัวไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ ส่รู ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานคดั แยกสิง่ ปฏิกลู หรอื วัสดุท่ไี ม่ใช้แลว้ ทไ่ี ม่เป็นของเสียอันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 4 การจัดเก็บสง่ิ ปฏกิ ลู หรอื วัสดุทีไ่ มใ่ ชแ้ ลว้ ไวใ้ นพน้ื ท่เี กบ็ กากเพ่ือรอนำเข้าสู่
กระบวนการคัดแยก (ต่อ)

ข้อ เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั ิงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ั่วไป เกณฑ์เฉพาะ

4.9 มีการบันทึกข้อมูลทั้งประเภทและปริมาณสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่นำมา 2 -

จดั เกบ็ ทกุ ครั้งหรอื นำออกไปคัดแยก

4.10 มีการตรวจสอบสถานที่จัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และกำหนด 2 -

ผู้รับผดิ ชอบอย่างชัดเจน

4.11 สถานที่จัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นวัตถุที่ติดไฟได้ ที่มีพื้นที่ต่อเนื่อง 3 AI

ติดต่อกันตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องติดตั้งระบบดับเพลิงอัตโนมัติ เช่น

ระบบหัวกระจายน้ำหรือสารเคมีดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinkler

System) หรือระบบอืน่ ท่เี ทยี บเท่าให้ครอบคลุ มพนื้ ท่ี

คูม่ อื การดำเนินการพฒั นายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบดั /กำจัดกากของเสีย 59

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั ิงานทด่ี ีทั่วไป และหลักเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานคัดแยกสิง่ ปฏกิ ูลหรอื วัสดุทไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ ที่ไม่เปน็ ของเสยี อันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 5 การคัดแยกสิง่ ปฏิกลู หรอื วสั ดทุ ่ไี มใ่ ชแ้ ล้ว

ขอ้ เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ั่วไป เกณฑ์เฉพาะ

5.1 อาคารโรงงานต้องมีแสงสว่างเพียงพอ มีการระบายอากาศเหมาะสม มีหลังคาคลุม ข้อบงั คบั AI

ป้องกันน้ำฝนสัมผัสกับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พื้นที่มั่นคงแข็งแรง และไม่มี *a

นำ้ ขัง

5.2 จัดให้มีพื้นที่สำหรับคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วในบริเวณที่เหมาะสม 1 -

กับการทำงานของพนกั งาน

5.3 พน้ื ทคี่ ัดแยกสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ล้วตอ้ งมีขนาดเหมาะสมกบั ปริมาณสิ่งปฏิกูล 2 -

หรือวสั ดทุ ่ีไมใ่ ชแ้ ลว้ ทจ่ี ะคดั แยก เครอ่ื งจักรทใี่ ช้ และจำนวนพนักงานที่ปฏบิ ัติงาน

5.4 มีการติดตั้งเครื่องจักรในตำแหน่งที่เหมาะสม พนักงานสามารถเข้าปฏิบัติงาน 3 AI

ได้สะดวกและมีความปลอดภัย

5.5 เครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใช้ปฏิบัติงานคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วต้องอยู่ใน 2 -

สภาพท่ีพรอ้ มใช้งาน และง่ายต่อการทำความสะอาด

5.6 มีคู่มือการทำงานหรือคำแนะนำในการปฏิบัติงานกับเครื่องจักร เพื่อให้พนักงาน 2 -

สามารถปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม

5.7 มีป้ายสัญลักษณ์แจ้งเตือนอันตรายจากการทำงานของเครื่องจักรไว้ในบริเวณพื้นท่ี 3 AI

ปฏบิ ัติงานในตำแหนง่ ท่ีเห็นได้ชดั เจน เช่น “ระวงั อันตรายจากเครื่องจักร” “โปรดสวมใส่

อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล” “ระวังเสียงดังจากการทำงาน

ของเครื่องจกั ร” เป็นต้น

5.8 มีห้องอาบน้ำ ที่ล้างมือและห้องผลัดเปลี่ยนชุดทำงานที่เพียงพอเหมาะสมกับ 2 -

พนักงาน

5.9 พนักงานที่ปฏิบัติงานคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจะต้องได้รับ 2 -

การฝึกอบรมในการคดั แยกส่งิ ปฏิกูลหรอื วสั ดุท่ีไมใ่ ช้แล้วอย่างถกู ตอ้ ง

5.10 มีการรวบรวมส่ิงปฏกิ ูลหรือวัสดทุ ่ีไม่ใชแ้ ล้วทเ่ี หลือจากการคัดแยกจัดเก็บในภาชนะ 3 AI

และสถานท่ที เี่ หมาะสมเพื่อรอนำไปบำบดั กำจดั ต่อไป

คู่มอื การดำเนินการพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจัดกากของเสีย 60

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานทด่ี ที ่วั ไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานคดั แยกส่ิงปฏกิ ูลหรือวัสดทุ ไี่ มใ่ ช้แลว้ ทไี่ ม่เปน็ ของเสียอนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 6 การลดขนาดหรือบบี อดั วัสดุทค่ี ดั แยกแล้ว

ขอ้ เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดี ระดับความสำคัญ
เกณฑ์ทั่วไป เกณฑเ์ ฉพาะ

6.1 มกี ารดำเนนิ การบดย่อยวัสดทุ ค่ี ัดแยกแล้วภายในหอ้ งทบ่ี ดุ ้วยวสั ดกุ นั เสยี ง มแี สงสวา่ ง 3 AI

และการระบายอากาศท่ีเพียงพอ

6.2 มีการดำเนินการบีบอัดวัสดุที่คัดแยกแล้วภายในอาคาร โดยแบ่งพื้นที่ให้เหมาะสม 2 -

และมีแสงสว่างท่ีเพียงพอ

6.3 มกี ารติดต้งั อุปกรณ์ปอ้ งกันอนั ตรายจากเครื่องจกั ร (Machine Guarding) เพ่ือเป็น 3 AI

การป้องกนั ใหก้ ับพนกั งานท่ีทำงานกบั เครือ่ งจกั รโดยตรง

6.4 มีระบบหรือวิธีการป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่วและต้องต่อสายดินกับเครื่องจักร 3 AI

เพอื่ ป้องกันกระแสไฟฟา้ ร่ัวจากการทำงานของเครอ่ื งจกั ร

6.5 มีคู่มือการปฏิบัติงานหรือข้อแนะนำการปฏิบัติงานกับเครื่องจักรให้กับพนักงาน 2 -

ทปี่ ระจำอยกู่ บั เครื่องจักรแตล่ ะชนดิ

6.6 มีมาตรการป้องกันผลกระทบที่เกิดจากการปฏิบัติงานของพนักงาน เช่น การเกิด 2 -

ประกายไฟจากการตัดโลหะ การฟุ้งกระจายของฝุ่นละออง เสียงดังจากการทำงาน

ของเครอ่ื งจักร การระคายเคอื งผิวหนังและดวงตา เปน็ ตน้

6.7 ตอ้ งมกี ารฝกึ อบรมให้ความรู้กับพนักงานที่ปฏิบัตงิ านเก่ียวกับเคร่ืองบีบอัดวัสดุหรือ 3 AI

เครอื่ งบดยอ่ ยวัสดุ เพ่อื ให้พนกั งานมีความปลอดภัยในการทำงาน

คูม่ อื การดำเนนิ การพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบดั /กำจัดกากของเสีย 61

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ที ่วั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานคดั แยกสิง่ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ไ่ี มใ่ ช้แลว้ ท่ีไม่เป็นของเสยี อันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 7 การจัดเกบ็ วสั ดทุ ่ีคัดแยกแล้วเพอ่ื รอสง่ ไปใหแ้ กผ่ ู้ทีจ่ ะนำไปใชป้ ระโยชน์

ข้อ เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑ์ท่ัวไป เกณฑเ์ ฉพาะ

7.1 อาคารจัดเก็บวัสดุที่คัดแยกแล้วต้องมีแสงสว่างเพียงพอ มีการระบายอากาศดี ขอ้ บังคับ AI

มีหลังคาคลุม ป้องกันน้ำฝนสัมผัสกับวัสดุที่คัดแยกแล้ว พื้นที่มั่นคงแข็งแรงและไม่ *a

มีนำ้ ขงั

7.2 จัดใหม้ พี ้ืนทีส่ ำหรบั จัดเก็บวสั ดทุ ี่คัดแยกแลว้ 2-

7.3 พื้นที่จัดเก็บวัสดุที่คัดแยกแล้ว ต้องมีมาตรการป้องกันน้ำเสีย/น้ำชะรั่วไหล 2 -

ออกนอกพืน้ ท่โี รงงานโดยไม่ผา่ นการบำบดั

7.4 มีการกำหนดพื้นที่จัดเก็บวัสดุที่คัดแยกแล้วตามประเภทของวัสดุ เช่น กระดาษ 2 -

พลาสติก โลหะ และเศษไม้ เป็นต้น และติดป้ายสัญลักษณ์แสดงประเภทวัสดุ

ทจ่ี ัดเกบ็ ที่เห็นไดช้ ดั เจน

7.5 มีการตรวจสอบสถานท่ีจดั เกบ็ วสั ดุทค่ี ัดแยกแลว้ อยา่ งสมำ่ เสมอเพอ่ื ความปลอดภยั 1 -

7.6 ประเภทภาชนะที่จัดเก็บต้องมีความเหมาะสมกับประเภทวัสดุที่คัดแยกแล้ว 2 -

และปรมิ าณวสั ดุทีค่ ัดแยกแล้วที่นำมาจัดเก็บตอ้ งไม่เกินความสามารถในการรองรับ

ของภาชนะบรรจหุ รอื สถานท่จี ดั เกบ็

7.7 การจัดเก็บหรือเรียงซ้อนวัสดุที่คัดแยกแล้ว ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก 2 AI

โดยต้องมีการตรวจสอบสภาพของภาชนะบรรจุ ความเรียบร้อยในการจัดวาง

และความถกู ต้องในการจดั เกบ็ อย่างสม่ำเสมอ

7.8 มีการตรวจสอบและบันทึกข้อมูลทั้งประเภทและปริมาณวัสดุที่คัดแยกแล้วที่นำมา 2 -

จัดเกบ็ ไวท้ กุ ครงั้ ท่ีมีการนำมาจดั เก็บ

คู่มอื การดำเนนิ การพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบัด/กำจัดกากของเสยี 62

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัติงานที่ดีทวั่ ไป และหลักเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ ส่รู ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานคัดแยกสง่ิ ปฏกิ ูลหรือวัสดุท่ีไมใ่ ช้แลว้ ที่ไมเ่ ปน็ ของเสียอนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 8 ระบบบำบดั มลพษิ และสาธารณปู การอนื่ ๆ ในโรงงาน

8.1 การซอ่ มบำรุง

ขอ้ เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ั่วไป เกณฑ์เฉพาะ

8.1.1 ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องจัดให้มีการตรวจสอบระบบไฟฟ้าในโรงงาน ข้อบังคบั AI

และรบั รองความปลอดภยั ของระบบไฟฟ้าในโรงงานเป็นประจำทกุ ปี *b

8.1.2 จัดทำแผนซ่อมบำรุงเชิงป้องกันซึ่งรวมถึงการสอบเทียบเครื่องมือเครื่องจักรที่ใช้ 2 -

ในการผลิตและระบบบำบดั มลพษิ ตา่ งๆ ภายในโรงงาน

8.1.3 จดั ใหม้ กี ารตรวจทดสอบความปลอดภัยในการใช้อปุ กรณเ์ ครอ่ื งจักรทอ่ี าจก่อให้เกิด 3 AI

อันตรายได้โดยสภาพ เช่น รถยก เครน ลิฟท์ เครื่องตัดหรือบดย่อยวัสดุ เป็นประจำ

ทกุ ปี

8.1.4 มีการรวบรวมของเสียจากการซ่อมบำรุงจัดเก็บในภาชนะและสถานที่ที่เหมาะสม 3 AI

เพื่อรอนำไปบำบัดกำจัดตอ่ ไป

คู่มอื การดำเนนิ การพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจัดกากของเสยี 63

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ีดีทั่วไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานคดั แยกสงิ่ ปฏิกลู หรอื วัสดทุ ่ีไมใ่ ช้แลว้ ทีไ่ ม่เปน็ ของเสยี อนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 8 ระบบบำบัดมลพิษและสาธารณปู การอ่นื ๆ ในโรงงาน (ตอ่ )

8.2 การจัดการของเสยี

ขอ้ เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
เกณฑ์ท่ัวไป เกณฑเ์ ฉพาะ

8.2.1 มีการส่งรายงานประจำปีตามแบบใบแจ้งเกี่ยวกับรายละเอียดสิ่งปฏิกูลหรือ ขอ้ บงั คับ AI

วัสดุที่ไม่ใช้แล้วสำหรับผู้ก่อกำเนิดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (สก.3) ให้แก่ *e

กรมโรงงานอตุ สาหกรรม ภายในวนั ท่ี 1 มนี าคม ของปีถัดไป

8.2.2 ต้องไม่ครอบครองสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วภายในโรงงานเกินระยะเวลา 90 วัน ขอ้ บงั คบั AI

หากเกินกว่าระยะเวลาที่กำหนดไว้นี้ ต้องขออนุญาตต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม *e,h

ตามแบบ สก.1

8.2.3 กรณีส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกไปกำจัดนอกบริเวณโรงงานต้องขอ ขอ้ บังคบั AI

อนุญาตและได้รับอนุญาตนำของเสียออกนอกบริเวณโรงงานตามแบบ สก.2 *d,e,h

และแจ้งข้อมูลการขนส่งของเสียทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หากเป็นของเสียอันตราย

ต้องจัดทำใบกำกับการขนส่ง

8.2.4 ในกรณีทที่ ำการบำบดั หรือกำจัดส่ิงปฏกิ ูลหรอื วสั ดุทีไ่ มใ่ ช้แล้วภายในบริเวณโรงงาน ข้อบังคับ AI

ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมก่อนกำจัด และต้องปฏิบัติ *e

เกี่ยวกับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมโรงงาน

อตุ สาหกรรมกำหนด

8.2.5 มีการเก็บรวบรวมของเสียที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสม เช่น แบ่งประเภทชนิดของเสีย 3 AI

เกบ็ ในภาชนะท่แี ขง็ แรง มฝี าปดิ มดิ ชดิ

8.2.6 มีการจัดเก็บของเสียในอาคารมีหลังคาคลุมและพื้นคอนกรีต มีการป้องกันการทำ 3 AI

ปฏิกิริยาตอ่ กนั มปี า้ ยเคร่ืองหมายและคำเตอื นชดั เจน

8.2.7 มีการจดบันทึกข้อมูลของเสีย เช่น ชื่อ ปริมาณสถานะของเสีย (ของแข็ง ของเหลว 2 -

ตะกอน) วันที่จัดเก็บ และติดป้ายบ่งชี้ไว้ที่ภาชนะจัดเก็บของเสียในตำแหน่งที่เห็น

ได้อยา่ งชัดเจน

คู่มือการดำเนินการพฒั นายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบดั /กำจดั กากของเสยี 64

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ีดีทวั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานคดั แยกส่ิงปฏิกูลหรอื วัสดุทไี่ มใ่ ช้แล้วที่ไมเ่ ปน็ ของเสยี อันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 9 การจัดการดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั และการจดั การด้านส่ิงแวดล้อม

9.1 การปอ้ งกนั อคั คีภยั

ขอ้ เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั ิงานที่ดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑ์เฉพาะ

9.1.1 ติดตั้งเครื่องดับเพลิงและอุปกรณ์ดับเพลิงตามบริเวณต่างๆ อย่างเพียงพอ ข้อบงั คับ AI

และเหมาะสมกบั ความเส่ยี งของพ้นื ทีน่ นั้ ๆ ในการเกิดอคั คีภยั *f

9.1.2 มีการตรวจสอบ ทดสอบและบำรุงรักษาระบบและอุปกรณ์สำหรับการป้องกัน ขอ้ บังคบั AI

และระงับอัคคีภยั ให้สามารถพรอ้ มทำงานไดต้ ลอดเวลาอยา่ งนอ้ ยเดอื นละคร้งั *f

9.1.3 มีการจัดเส้นทางหนีไฟที่อพยพพนักงานทั้งหมดออกจากบริเวณที่ทำงานสู่บริเวณ ขอ้ บังคับ AI

ทป่ี ลอดภยั เช่น ถนนหรอื สนามนอกอาคารโรงงานได้ภายใน 5 นาที *f

9.1.4 อาคารโรงงานจัดให้มีอุปกรณ์ตรวจจับและแจ้งเหตุเพลิงไหม้ครอบคลุมทั่วทั้ง ข้อบงั คับ AI

อาคารตามความเหมาะสมกับสภาพพื้นท่ี โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ไม่มีพนักงาน *f

ปฏบิ ตั งิ านประจำ

9.1.5 มีการจัดเตรียมน้ำสำรองสำหรับดับเพลิงในปริมาณที่เพียงพอที่จะส่งจ่ายน้ำให้กับ 3 AI

อุปกรณฉ์ ีดน้ำดับเพลิงไดอ้ ย่างต่อเนือ่ งเป็นเวลาไมน่ ้อยกวา่ 30 นาที

9.1.6 จัดให้พนักงานได้รับการฝึกอบรม เรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัยอย่างน้อย ข้อบังคบั AI

ปีละครั้ง *f

9.1.7 ติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ป้ายทางออกฉุกเฉินที่ประตูหนีไฟ ป้ายสัญลักษณ์บ่งชี้ 2 AI

ตำแหน่งเครื่องดับเพลิง หรืออุปกรณ์ดับเพลิง รวมถึงสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้

และไฟฉกุ เฉนิ บอกทางหนไี ฟ

คูม่ อื การดำเนนิ การพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจัดกากของเสยี 65

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานที่ดที ัว่ ไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสูร่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานคัดแยกส่งิ ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใชแ้ ล้วทไี่ มเ่ ปน็ ของเสียอนั ตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 9 การจัดการดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภัย และการจัดการดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม (ต่อ)

9.2 การรองรบั เหตุฉกุ เฉนิ

ขอ้ เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
เกณฑ์ท่ัวไป เกณฑ์เฉพาะ

9.2.1 จัดให้มีบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยของโรงงานดำเนินการตรวจ ข้อบงั คับ AI

ความปลอดภัยด้านอัคคีภัยเป็นประจำอยา่ งน้อยเดอื นละครั้ง *f

9.2.2 มีการจัดทำแผนป้องกันอุบัติภัยเพื่อรองรับเหตุฉุกเฉินในกรณีเกิดเหตุรั่วไหล ข้อบังคับ AI

อคั คภี ัย การระเบดิ ของสิ่งปฏกิ ูลหรือวัสดทุ ่ไี มใ่ ชแ้ ล้วหรอื เหตุทคี่ าดไมถ่ ึง *e

9.2.3 จัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน ประกอบด้วย แผนการตรวจสอบ ขอ้ บังคบั AI

ความปลอดภัยด้านอัคคีภัย แผนการอบรม เรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัย *f

แผนการดับเพลงิ และแผนการอพยพหนีไฟ รวมถงึ ต้องปฏิบตั ใิ หเ้ ปน็ ไปตามแผน

9.2.4 มีการระบุตำแหน่งผู้รับผิดชอบในแต่ละแผนและผู้ที่อยู่ในแผนฉุกเฉินจะต้องได้รับ 3 AI

การฝึกอบรม

9.2.5 มีการซ้อมแผนฉุกเฉินที่ไม่ใช่อัคคีภัย เช่น กรณีเกิดเหตุสารเคมีรั่วไหล อุทกภัย 3 AI

วาตภยั หรือเหตุท่ีคาดไม่ถงึ อยา่ งนอ้ ยปีละครัง้

คูม่ อื การดำเนนิ การพัฒนายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบดั /กำจัดกากของเสีย 66

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั งิ านทด่ี ีทว่ั ไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานคัดแยกสิ่งปฏิกลู หรือวัสดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ล้วท่ีไม่เป็นของเสียอันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 9 การจดั การดา้ นอาชวี อนามัยและความปลอดภยั และการจัดการด้านส่ิงแวดลอ้ ม (ต่อ)

9.3 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ขอ้ เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัตงิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
เกณฑ์ทั่วไป เกณฑ์เฉพาะ

9.3.1 จัดให้มีสิ่งจำเป็นในการปฐมพยาบาลและการรักษาพยาบาลให้กับพนักงาน เช่น 3 AI

เวชภณั ฑ์และยาเพือ่ ใชใ้ นการปฐมพยาบาล

9.3.2 มีการตรวจสุขภาพประจำปีให้แก่พนักงาน และการตรวจพิเศษตามปัจจัยเสี่ยง 3 AI

ใหแ้ ก่พนกั งานทีป่ ฏิบัตงิ านเกี่ยวข้องกบั ความเส่ยี งตา่ งๆ

9.3.3 มีการจัดและดูแลให้พนักงานใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ได้ 3 AI

มาตรฐานและเหมาะสมกับประเภทและชนิดของงาน รวมถึงมีมาตรการเข้มงวด

กำชับให้พนกั งานสวมใส่ทุกครัง้ ท่ีปฏิบัตงิ าน

9.3.4 มีการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทำงานเกี่ยวกับระดับความร้อน แสงสว่าง 3 AI

หรือเสยี งในพ้นื ที่เสี่ยงภายในสถานประกอบการอยา่ งนอ้ ยปีละ 1 คร้งั

9.3.5 พนักงานที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับรถโฟล์คลิฟท์หรือเครื่องจักรที่อาจก่อให้เกิดอันตราย 3 -

ตอ้ งผา่ นการฝึกอบรมการใชง้ านเครือ่ งจกั รนนั้

9.3.6 มีการควบคุมดูแลการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับรถโฟล์คลิฟท์เพื่อให้เกิดความ 3 -

ปลอดภัยระหว่างการใช้งานโดยมีป้ายบอกพิกัดน้ำหนักยก มีการควบคุมความสูง

และตำแหน่งการจัดวางวัสดุที่จะยก มีการติดสัญญาณเสียงหรือสัญญาณไฟเตือน

ในขณะทำงาน และการควบคมุ ดูแลไม่ใหบ้ คุ คลอ่นื โดยสารไปกับรถโฟล์คลฟิ ท์

9.3.7 โรงงานท่ีมีกิจกรรมที่ทำให้เกิดประกายไฟหรือความร้อนที่เป็นอันตราย ต้องจัดทำ 3 AI

ระบบการอนุญาตทำงานที่มีประกายไฟหรือความร้อนที่เป็นอันตราย (Hot Work

Permit System)

9.3.8 มีระบบตรวจติดตามภายในด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และดำเนินการ 2 -

ปรบั ปรุงแก้ไขอย่างต่อเน่ือง

9.3.9 ได้รับการรับรองมาตรฐานการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 -

(OHSAS 18001/TIS 18001/ISO 45001)

คูม่ อื การดำเนนิ การพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ ริการบำบัด/กำจดั กากของเสยี 67

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านทด่ี ที ั่วไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ ส่รู ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานคดั แยกสงิ่ ปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ล้วทไ่ี ม่เป็นของเสยี อันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 9 การจัดการดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภัย และการจัดการด้านสิง่ แวดลอ้ ม (ต่อ)

9.4 การจัดการดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม

ขอ้ เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑ์ท่ัวไป เกณฑเ์ ฉพาะ

9.4.1 มีการกำหนดนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม โดยผู้บริหารสูงสุดขององค์กร และสื่อสาร - AI

นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมให้กับบุคลากรขององค์กรทราบ พร้อมเปิดเผยต่อผู้มี

สว่ นได้เสยี

9.4.2 มีการชี้บ่งประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดจากกิจกรรม ผลิตภัณฑ์ และการบริการ - AI

ของโรงงาน รวมถึงพิจารณาประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมที่ทำให้เกิดผลกระทบ

ทมี่ นี ยั สำคญั ตอ่ ส่ิงแวดล้อม และกำหนดวัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายด้านสง่ิ แวดล้อม

ของโรงงาน

9.4.3 มีการจัดทำแผนงานด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องกับประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมที่มี - AI

นัยสำคัญ และเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อมของโรงงาน รวมถึงมีการช้ีแจงทำความเข้าใจ

กับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อใหม้ ีการดำเนนิ การตามแผนงานทกี่ ำหนดไว้

9.4.4 มกี ารดำเนนิ การตามแผนงานด้านสง่ิ แวดลอ้ ม - AI

9.4.5 มแี ผนการตรวจตดิ ตามการดำเนนิ การดา้ นส่งิ แวดล้อม 2 AI

9.4.6 มีระบบตรวจติดตามภายในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและมีการปรับปรุงแก้ไข 2 AI

อย่างตอ่ เนือ่ ง

9.4.7 มกี ารตรวจวัดคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อมท่เี กดิ จากกจิ กรรมของโรงงานอยา่ งสม่ำเสมอ 2 AI

9.4.8 มีมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมป้องกันการเกิดกลิ่นเหม็น แมลงพาหะนำ 2 -

โรคและก่อเหตุเดือดร้อนรำคาญในพื้นที่เก็บกักสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พื้นที่

คัดแยกและพื้นที่จัดเก็บวัสดุที่คัดแยกแล้วเพื่อป้องกันผลกระทบต่อสขุ ภาพอนามัย

ของพนกั งานและชมุ ชนข้างเคยี ง

9.4.9 มีมาตรการควบคุมตรวจสอบป้องกันไม่ให้มีการระบายมลพิษผ่านทางลัด (By- 3 AI

pass) หรือปล่อยให้มลพิษแพร่กระจายสู่สิ่งแวดล้อมโดยไม่ผ่านระบบบำบัดมลพิษ

ทงั้ ในสถานการณป์ กตแิ ละสถานการณ์ฉกุ เฉิน

9.4.10 ได้รับการรับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาด 1 -

กลางและขนาดยอ่ ม (EMS for SMEs) ขน้ั ท่ี 1 ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม

คู่มือการดำเนนิ การพัฒนายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจดั กากของเสยี 68

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานที่ดที ่ัวไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานคัดแยกสงิ่ ปฏกิ ูลหรือวัสดทุ ี่ไมใ่ ช้แลว้ ท่ีไมเ่ ป็นของเสียอันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 9 การจดั การดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และการจัดการดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม (ต่อ)

9.4 การจดั การดา้ นส่งิ แวดล้อม (ต่อ)

ข้อ เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ีดี ระดับความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑ์เฉพาะ

9.4.11 ได้รับรางวัลสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 1 และ 1 -

ระดับที่ 2 โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด โครงการศึกษาศักยภาพ

ในการลดปริมาณน้ำในโรงงาน โครงการยกระดับผู้ประกอบการจัดการของเสีย

โครงการพัฒนาศักยภาพการใช้ประโยชน์กากของเสีย โครงการความรับผิดชอบตอ่

สังคม ฉลากสิ่งแวดล้อม โครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม โครงการธงขาวดาวเขียว

โครงการธงขาวดาวทอง ระบบการผลิตแบบลีน และคาร์บอนฟุตพริ้นท์

ของผลิตภัณฑ์ เป็นตน้

9.4.12 ได้รับการรับรองระบบมาตรฐานต่างๆ เช่น ISO 14001, ISO 5001, ISO 26000, - AI

Eco Factory, อุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 3 ขึ้นไป, CSR–DIW/CSR–DIW

Continuous, CSR–DPIM, เหมืองแร่สีเขียว, ผลิตภัณฑ์ฉลากเขียว, รางวัล

อุตสาหกรรมดีเด่นประเภทการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม และระบบการจัดการ

สิ่งแวดล้อมสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (EMS for SMEs)

ขน้ั ที่ 2 ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม

คู่มอื การดำเนินการพัฒนายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจดั กากของเสีย 69

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทีด่ ที ่ัวไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สู่ระบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานคัดแยกส่งิ ปฏกิ ูลหรอื วัสดทุ ไี่ ม่ใช้แล้วท่ีไมเ่ ป็นของเสยี อันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 9 การจัดการดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภยั และการจัดการดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม (ตอ่ )

9.5 การเตรยี มความพรอ้ มตอ่ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดตอ่ รา้ ยแรง

ขอ้ เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั งิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
เกณฑ์ทั่วไป เกณฑ์เฉพาะ

9.5.1 จัดให้มีการคัดกรองผู้ที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงงานและบุคคลภายนอกที่มาติดต่อ 2 AI

ในโรงงาน โดยมกี ารตรวจวดั อุณหภูมิของรา่ งกายก่อนเขา้ พ้ืนทข่ี องโรงงาน

9.5.2 จัดให้มีเจ้าหน้าที่ทําความสะอาดบริเวณที่มีการใช้งานร่วมกันของคนจำนวนมาก 2 AI

เช่น จุดที่มีการเข้า-ออกจากอาคาร หน้าลิฟต์ ห้องประชุม ห้องน้ำ-ห้องส้วม

โรงอาหาร ฯลฯ โดยมคี วามถ่ที ีส่ อดคล้องกบั การใช้งาน แต่ไมค่ วรน้อยกว่า 2 ครง้ั /วนั

9.5.3 จัดให้มีแนวปฏิบัติด้านการป้องกันโรคติดต่อร้ายแรง กรณีพบพนักงานหรือ 2 AI

เจ้าหนา้ ท่ี หรือบคุ คลอนื่ ทเ่ี ขา้ มาในโรงงาน มีอาการบ่งชี้ถงึ การตดิ เชอ้ื

คู่มอื การดำเนนิ การพฒั นายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบัด/กำจดั กากของเสีย 70

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ดี ีทัว่ ไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สรู่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานคดั แยกส่ิงปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ไ่ี ม่ใช้แล้วทีไ่ มเ่ ปน็ ของเสยี อันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 10 การสอื่ สารต่อสาธารณะและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม

10.1 ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม

ขอ้ เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานที่ดี ระดับความสำคัญ
เกณฑท์ ั่วไป เกณฑ์เฉพาะ

10.1.1 มีระบบการรับเรื่องร้องเรียนหรือช่องทางการรับเรื่องร้องเรยี น และตรวจสอบเรื่อง 2 AI

ร้องเรียนจากชุมชน รวมถึงมีการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างเป็น

ระบบ

10.1.2 มีการประกอบกิจการที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยคำนึงถึงคุณภาพและ 1 AI

มาตรฐานการให้บริการ และมีการป้องกันหรือกำจัดมลพิษในกระบวนการผลิต

เพื่อไมใ่ ห้สง่ ผลกระทบตอ่ ชุมชน (In Process)

10.1.3 มีการดำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1 AI

และสิ่งแวดล้อมของโรงงาน เช่น มีการดูแลสวัสดิการของพนักงาน และมีความ

รับผดิ ชอบตอ่ ลูกคา้ และชมุ ชน (Out Process)

10.1.4 มีการดำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม 1 -

ที่ไม่เกี่ยวกับการดำเนินงานของโรงงานโดยตรง เช่น การปลูกป่า การบริจาค

ทุนการศกึ ษา การรณรงค์สร้างจิตสำนึก การชว่ ยเหลือผู้ประสบภัย เป็นตน้

10.1.5 มีการแสดงข้อมูลเบื้องต้นโดยการติดตั้ง QR Code ที่หน้าโรงงาน เพื่อให้ประชาชน ข้อบงั คับ -

สามารถเข้าถึงข้อมูลการประกอบกิจการโรงงานที่เป็นข้อมูลสาธารณะ รวมท้ัง *j

สามารถแจ้งข้อคดิ เห็นหรือขอ้ รอ้ งเรยี นผา่ นการสแกน QR Code ได้

คู่มอื การดำเนินการพฒั นายกระดับมาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจัดกากของเสยี 71

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัตงิ านท่ีดที ั่วไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสู่ระบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานคดั แยกสิ่งปฏกิ ูลหรอื วัสดทุ ่ไี ม่ใช้แล้วท่ีไม่เปน็ ของเสียอันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 10 การส่อื สารตอ่ สาธารณะและความรบั ผิดชอบต่อสงั คม (ตอ่ )

10.2 การรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน

ข้อ เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัติงานที่ดี ระดับความสำคัญ
เกณฑ์ท่ัวไป เกณฑเ์ ฉพาะ

10.2.1 มกี ารประกอบกิจการตามทไ่ี ด้รับอนญุ าตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมเทา่ นนั้ ขอ้ บงั คับ AI

*k

10.2.2 มีข้อมูลผลวิเคราะห์ทางเคมีและกายภาพของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วก่อน ข้อบงั คับ AI

การดำเนินการบำบัดหรือกำจัดจากห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ของสถานประกอบการ *e

ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ของทางราชการหรือห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ที่ขึ้นทะเบียน

ไว้กับกรมโรงงานอุตสาหกรรม และให้จัดเก็บข้อมูลผลวิเคราะห์ไว้อย่างน้อย 3 ปี

(ต้องพจิ ารณาตามประเภทลกั ษณะเฉพาะของส่งิ ปฏิกลู หรือวสั ดทุ ีไ่ ม่ใช้แล้ว)

10.2.3 มีการส่งรายงานประจำปีตามแบบใบแจ้งเกี่ยวกับรายละเอียดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ ข้อบงั คบั AI

ที่ไม่ใช้แล้ว สำหรับผู้บำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (สก.5) ให้แก่ *e

กรมโรงงานอุตสาหกรรม ภายในวันที่ 1 มีนาคม ของปีถดั ไป

10.2.4 มีการจัดทำบัญชีแสดงรายการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่รับบำบัดหรือกำจัด ขอ้ บังคับ AI

ตามแบบ (สก.6) โดยต้องจัดทำในวันที่รับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเข้ามา *i

ภายในบรเิ วณโรงงานในแตล่ ะวันและต้องจัดเกบ็ ไว้เป็นหลักฐานแสดงต่อพนักงาน

เจ้าหนา้ ที่เพื่อตรวจสอบไมน่ ้อยกว่า 1 ปี

10.2.5 มีการจัดทำบัญชีแสดงรายการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เข้าสู่กระบวนการ ข้อบงั คับ AI

บำบัดหรือกำจัดตามแบบ (สก.7) โดยต้องจัดทำในวันที่ทำการบำบัดหรือกำจัด *i

ในแต่ละวัน และต้องจัดเก็บไว้เป็นหลักฐานแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี

เพ่อื ตรวจสอบ ไม่น้อยกวา่ 1 ปี

10.2.6 มกี ารแจ้งรายงานข้อมูลการจัดการสิง่ ปฏิกูลหรือวสั ดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ล้วตามแบบ สก.3-สก.7 3 AI

ทางระบบอเิ ล็กทรอนกิ สต์ อ่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม

10.2.7 จัดให้มีระบบการสอบกลบั สมดลุ มวลสาร (Material Balance) ของสิ่งปฏิกูลหรอื 3 AI

วัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่รับเข้ามาจัดการภายในโรงงาน โดยมีการรายงานผลอย่างน้อย

เดือนละ 1 ครงั้

คู่มอื การดำเนนิ การพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจัดกากของเสีย 72

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัติงานทดี่ ีทัว่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สูร่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานคัดแยกสิ่งปฏิกลู หรอื วัสดุท่ไี มใ่ ช้แลว้ ที่ไมเ่ ป็นของเสียอันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 10 การส่ือสารตอ่ สาธารณะและความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม (ตอ่ )

10.2 การรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน (ตอ่ )

ขอ้ เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั ิงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
เกณฑท์ ่ัวไป เกณฑเ์ ฉพาะ

10.2.8 ใช้วิธีกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ชนิดและประเภทของเสียตรงกับท้าย 3 AI

ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดชนิด และประเภทของ

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และวิธีการกำจัด สำหรับการขออนุญาต และ

การอนุญาตให้นำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอกบริเวณโรงงานแบบ

อัตโนมัติผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2561 (ตามประเภทกิจกรรมที่โรงงาน

เขา้ ร่วมโครงการ)

10.2.9 มีการแจ้งต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเกี่ยวกับ ขอ้ บังคับ AI

ข้อมูลของสารเคมีที่ใช้หรือเก็บรักษาภายในบริเวณโรงงาน และข้อมูลอื่นที่จำเป็น *g

ที่เกี่ยวข้องกับการติดตามตรวจสอบการปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดิน หรือเหตุผล

ท่ไี ม่ขอดำเนนิ การเก็บตัวอย่างดนิ และน้ำใตด้ นิ ตามทีป่ ระกาศกระทรวงฯ ระบุ

10.2.10 กรณีประกอบกิจการโรงงานอยู่ก่อนวันที่กฎกระทรวงควบคุมการปนเปื้อนในดิน ขอ้ บงั คับ AI

และน้ำใต้ดินภายในบริเวณโรงงาน พ.ศ. 2559 ใช้บังคับตอ้ งจดั ให้มกี ารตรวจสอบ *c

คุณภาพดินและน้ำใต้ดินครั้งแรกภายใน 180 วัน นับแต่วันท่ีกฎกระทรวงนี้ใช้

บังคับพร้อมทั้งจัดทำและส่งรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดิน

ให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่ภายใน

180 วัน นับแต่วันครบกำหนดการตรวจสอบครั้งแรกและจัดให้มีการตรวจสอบ

คุณภาพดินและน้ำใต้ดินครั้งที่ 2 เมื่อครบกำหนด 180 วัน นับแต่วันที่ได้

ตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดินในครั้งแรก พร้อมทั้งจัดทำและส่งรายงานผล

การตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดินให้กรมโรงงานอตุ สาหกรรม หรือสำนักงาน

อุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่ภายใน 120 วัน นับแต่วันครบกำหนด

การตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใตด้ ินครัง้ ที่ 2

10.2.11 ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องจัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพดินต่อไปทุก 3 ปี ขอ้ บงั คับ AI

และตรวจสอบคุณภาพน้ำใต้ดินต่อไปทุก 1 ปี และต้องจัดทำและส่งรายงานผล *c

การตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดินให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสำนักงาน

อุตสาหกรรม จังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่ภายใน 120 วัน นับแต่วันครบกำหนดการ

ตรวจสอบคณุ ภาพดนิ และนำ้ ใต้ดนิ ในแต่ละกรณี

คูม่ อื การดำเนนิ การพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบัด/กำจัดกากของเสีย 73

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั ิงานที่ดีทว่ั ไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สูร่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานคดั แยกสง่ิ ปฏิกลู หรือวัสดุทีไ่ มใ่ ชแ้ ล้วท่ไี มเ่ ป็นของเสียอันตราย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 10 การส่อื สารต่อสาธารณะและความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม (ต่อ)

10.2 การรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน (ตอ่ )

ข้อ เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานที่ดี ระดับความสำคัญ
เกณฑท์ ั่วไป เกณฑ์เฉพาะ

10.2.12 การตรวจสอบคุณภาพดนิ และน้ำใต้ดนิ ต้องดำเนินการโดยห้องปฏบิ ัตกิ ารวิเคราะห์ ขอ้ บงั คับ AI

เอกชนที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้กบั กรมโรงงานอตุ สาหกรรมหรือห้องปฏบิ ัติการวิเคราะห์ *c

อ่นื ที่กรมโรงงานอตุ สาหกรรมเห็นชอบ

10.2.13 กรณีที่มีผลการตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดิน มีการปนเปื้อนสูงกว่าเกณฑ์ ขอ้ บังคับ AI

การปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดินต้องจัดทำรายงานเสนอมาตรการควบคุม *c,g

การปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดินและมาตรการลด การปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดิน

ให้ไม่สูงกว่าเกณฑ์ฯและส่งรายงานให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสำนักงาน

อุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่ภายใน 180 วัน นับแต่วันที่ตรวจพบว่ามีการ

ปนเปอ้ื นในดนิ และน้ำใต้ดนิ สูงกว่าเกณฑ์ฯ

คูม่ ือการดำเนนิ การพฒั นายกระดับมาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจดั กากของเสีย 74

2.4 หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ
สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI) สำหรบั โรงงานรบั รไี ซเคลิ

และบำบดั /กำจดั สงิ่ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดทุ ไี่ มใ่ ชแ้ ลว้

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั ิงานทีด่ ีทั่วไปสำหรับโรงงานรับรไี ซเคิล และบำบดั /กำจัดส่ิงปฏิกลู หรือวสั ดุ
ที่ไม่ใช้แล้ว มีข้อกำหนดจำนวนทั้งสิ้น 325 ข้อ และหลักเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ระบบ
การอนุญาตอัตโนมัติ (AI) มีข้อกำหนดจำนวนทั้งสิ้น 236 ข้อ ตามลำดับ ซึ่งประกอบด้วยข้อกำหนดวิธีการ
ปฏบิ ตั ิงาน 10 ส่วน (ข้ันตอนการประกอบกิจกรรม) ดังนี้

ส่วนท่ี 1 การประเมนิ การรบั สิ่งปฏกิ ูลหรือวสั ดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้ ขน้ั ตน้
ส่วนท่ี 2 การขนส่งสง่ิ ปฏิกลู หรอื วัสดุท่ไี ม่ใช้แลว้ กรณโี รงงานเป็นผรู้ วบรวมและขนส่ง หรือเปน็ ผแู้ ตง่ ตัง้ ตวั แทน
ส่วนท่ี 3
ส่วนท่ี 4 การรับสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี ม่ใช้แลว้ เข้ามาไว้ในบริเวณโรงงาน
การจัดเกบ็ สง่ิ ปฏิกูลหรือวสั ดุที่ไม่ใช้แลว้ ไวใ้ นพน้ื ทีเ่ กบ็ กากเพื่อรอนำเข้าสู่กระบวนการรไี ซเคลิ
ส่วนท่ี 5 และบำบดั /กำจดั ส่ิงปฏกิ ูลหรือวสั ดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ล้ว
ส่วนท่ี 6 การบำบัด/กำจัดส่งิ ปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วโดยวิธีการฝงั กลบ
สว่ นท่ี 7 การบำบดั /กำจดั สิ่งปฏกิ ูลหรือวสั ดทุ ี่ไมใ่ ช้แลว้ โดยวิธีการเผาในเตาเผา
ส่วนท่ี 8 การรไี ซเคิลสง่ิ ปฏกิ ูลหรอื วัสดทุ ไี่ มใ่ ช้แล้ว
สว่ นท่ี 9 ระบบบำบดั มลพิษและสาธารณปู การอืน่ ๆ ในโรงงาน
ส่วนท่ี 10 การจดั การดา้ นอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และการจดั การดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม
การสื่อสารตอ่ สาธารณะและความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม

ในการนำเสนอเกณฑ์มาตรฐานฯ แต่ละส่วนนั้นจะแสดงทั้งข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดี ทั้ง 10 ส่วนหรือ
ขั้นตอนการประกอบกิจกรรมนั้นๆ และระดับความสำคัญของแต่ละข้อกำหนดในรูปแบบของตาราง
โดยในคอลมั น์ระดบั ความสำคญั ของขอ้ กำหนดจะใชต้ วั เลขและสญั ลกั ษณท์ ี่ส่อื ความหมาย ดงั นี้

คู่มอื การดำเนินการพัฒนายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบัด/กำจัดกากของเสีย 75

สัญลักษณ์ *X ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดีนั้น เป็นข้อกำหนดด้านกฎหมายที่ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติโรงงานพ.ศ 2535 โดย x เป็นรายชื่อกฎหมาย
ทเี่ กี่ยวข้องกับขอ้ กำหนดวธิ ปี ฏบิ ตั งิ านทดี่ นี ้นั ๆ

อักษรย่อ AI ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดีเฉพาะสำหรับการเข้าสู่ระบบการอนุญาต
อตั โนมตั ิ (AI)

ตัวเลข 3, 2 และ 1 ข้อกำหนดวิธีการปฏิบัติงานที่ดีนั้น มีระดับความสำคัญระดับมาก ปานกลาง
และน้อย ตามลำดับ

สญั ลกั ษณ์ รายชอื่ กฎหมาย

a กฎกระทรวงฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535
b กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบญั ญัติวตั ถอุ นั ตราย พ.ศ. 2535
c กฎกระทรวง กำหนดมาตรการความปลอดภยั เก่ียวกับระบบไฟฟา้ ในโรงงาน พ.ศ. 2550
d กฎกระทรวง ควบคมุ การปนเปอื้ นในดนิ และน้ำใต้ดินภายในบริเวณโรงงาน พ.ศ. 2559
e ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การรายงานข้อมูลต่างๆ ของโรงงานหลอมตะกั่ว
จากแบตเตอรเี่ กา่ พ.ศ. 2544
f ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดให้โรงงานประเภทต่างๆ ต้องติดตั้งเครื่องมือ
หรือเครอื่ งอุปกรณ์พเิ ศษเพ่อื ตรวจสอบคณุ ภาพอากาศออกจากปลอ่ งแบบอัตโนมตั ิ พ.ศ. 2544
g ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน
หลอมตะกวั่ จากแบตเตอร่ีเก่า พ.ศ. 2544
h ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดปริมาณสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากปล่อง
เตาเผาส่งิ ปฏกิ ลู หรือวสั ดุทไี่ มใ่ ช้แล้วทเี่ ป็นอนั ตรายจากอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2545
i ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง ระบบเอกสารกำกบั การขนสง่ ของเสียอนั ตราย พ.ศ. 2547
j ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งปฏิกูล
หรือวัสดทุ ไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ จากโรงงานโดยทางสอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ (Internet) พ.ศ. 2547
k ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เร่อื ง การกำจัดส่ิงปฏิกูลหรือวสั ดทุ ีไ่ มใ่ ชแ้ ล้ว พ.ศ. 2548
l ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง กำหนดคา่ ปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน
พ.ศ. 2549
m ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เรอื่ ง กำหนดคา่ ปริมาณของสารเจอื ปนในอากาศท่ีระบายออกจาก
โรงงานปนู ซเี มนต์ พ.ศ. 2549
n ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับหม้อน้ำและหม้อต้มที่ใช้
ของเหลวเปน็ ส่ือนำความร้อน พ.ศ. 2549

คูม่ ือการดำเนนิ การพฒั นายกระดับมาตรฐานการใหบ้ ริการบำบัด/กำจดั กากของเสยี 76

สญั ลกั ษณ์ รายชอื่ กฎหมาย

o ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดให้สถานประกอบการวัตถุอันตรายมีบุคลากร
เฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ
p พ.ศ. 2551
q ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง การทำรายงานเก่ียวกบั การศึกษามาตรการปอ้ งกันและแก้ไข
r ผลกระทบต่อคณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภัย พ.ศ. 2552
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรอ่ื ง การปอ้ งกนั และระงับอคั คีภัยในโรงงาน พ.ศ. 2552
s
t ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดชนิดและขนาดของโรงงาน กำหนดวิธีการควบคุม
u การปล่อยของเสีย มลพิษ หรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กำหนดคุณสมบัติของ
v ผู้ควบคมุ ดูแล ผู้ปฏิบัติงานประจำ และหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนผู้ควบคุมดูแลสำหรับระบบป้องกนั
ส่งิ แวดล้อมเปน็ พิษ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2554
w ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การจัดทำรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออก
x จากโรงงาน พ.ศ. 2558
y ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขนส่งวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ
z พ.ศ. 2558
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การขึ้นทะเบียนภาชนะบรรจุที่ใช้ขนส่งวัตถุอันตราย
aa ทีก่ รมโรงงานอตุ สาหกรรมรบั ผดิ ชอบ พ.ศ. 2558
ab ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เรื่อง กำหนดเกณฑก์ ารปนเปอื้ นในดินและนำ้ ใตด้ ิน การตรวจสอบ
ac คุณภาพดินและน้ำใต้ดิน การแจ้งข้อมูลรวมทั้งการจัดทำรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดิน
และน้ำใต้ดินและรายงานเสนอมาตรการควบคุมและมาตรการลดการปนเปื้อนในดินและน้ำใต้ดิน
พ.ศ. 2559
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับหม้อน้ำและหม้อต้มที่ใช้
ของเหลวเปน็ ส่อื นำความร้อน (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2559
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากโรงงาน
พ.ศ. 2560
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรอ่ื ง การกาํ จดั สง่ิ ปฏิกลู หรือวัสดทุ ่ีไม่ใช้แลว้ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560

ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณา การแต่งตั้งตัวแทนเพื่อเป็นผู้
รวบรวมและขนส่งของเสียอันตราย ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำจัดสิ่งปฏิกูล
หรอื วสั ดุทีไ่ มใ่ ช้แล้ว พ.ศ. 2548
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูล
หรือวัสดุทไี่ มใ่ ชแ้ ล้วของผู้ประกอบกิจการบำบัดและกำจัดส่งิ ปฏกิ ลู หรือวสั ดทุ ี่ไมใ่ ช้แล้ว พ.ศ. 2550
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง คูม่ อื การเกบ็ รกั ษาสารเคมแี ละวัตถอุ ันตราย พ.ศ. 2550

ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบตรวจสอบคุณภาพอากาศ
จากปลอ่ งแบบอตั โนมัติอย่างต่อเนอื่ ง พ.ศ. 2550

คู่มือการดำเนนิ การพัฒนายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบดั /กำจัดกากของเสยี 77

สญั ลกั ษณ์ รายชอื่ กฎหมาย

ad ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งมีบุคลากรเฉพาะ การจด
ทะเบียนบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตรายที่กรมโรงงาน
ae อุตสาหกรรมรับผิดชอบ และการรายงานความปลอดภัยการเกบ็ รักษาวัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2551
af ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การกำหนดเงื่อนไขในใบอนุญาตมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุ
อนั ตรายเพอ่ื การขนสง่ พ.ศ. 2555
ag ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือ
ah ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอากาศ หรือผู้ควบคุมระบบการจัดการมลพิษกากอุตสาหกรรม
ai พ.ศ. 2556
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง แบบรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจาก
aj โรงงาน พ.ศ. 2559
ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการให้ความเห็นชอบในการตรวจสอบ
ภายในหมอ้ น้ำทกุ ระยะเวลาเกนิ กวา่ 1 ปี แต่ไมเ่ กิน 5 ปี ต่อการตรวจสอบ 1 คร้ัง พ.ศ. 2559
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดโครงการ กิจการ หรือการ
ดำเนินการ ซึ่งต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงือ่ นไขในการจดั ทำรายงานการประเมินผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม ลงวันท่ี 4 มกราคม 2562
เงือ่ นไขการประกอบกิจการโรงงานซง่ึ กำหนดไว้ทา้ ยใบอนุญาตประกอบกจิ การโรงงานหรือกำหนด
ไว้ในมาตรการป้องกันและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
(EIA)

คูม่ อื การดำเนินการพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบัด/กำจดั กากของเสีย 78

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ที วั่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะสำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบ
การอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI) สำหรบั โรงงานรบั รไี ซเคลิ และบำบดั /กำจดั สงิ่ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัติงานท่ีดีท่ัวไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 1 การประเมนิ การรับส่ิงปฏิกูลหรอื วัสดทุ ่ไี ม่ใชแ้ ลว้ ข้ันตน้

ขอ้ ข้อกำหนดวธิ ีปฏิบตั ิงานท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

1.1 โรงงานมีการแจ้งเป็นหนังสือให้ลูกค้าทราบถึงประเภทกิจการที่ได้รับ ขอ้ บังคับ ข้อบังคับ AI

อนุญาต และประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่สามารถรับ *k *k

ดำเนนิ การได้ พร้อมแนบสำเนาใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงงาน

1.2 มีการรับบำบัด กำจัดเฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ได้รับ ขอ้ บังคับ ข้อบังคบั AI

อนุญาตตามเงื่อนไขการประกอบกิจการโรงงานที่กำหนดไว้ใน *k *k

ใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงงานเทา่ น้ัน

1.3 โรงงานได้รับเอกสารข้อมูลสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทุกชนิดที่ทำ 2 3 AI

การบำบัดจากลูกค้า เช่น ชื่อกระบวนการเฉพาะที่ก่อให้เกิดปริมาณ

ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นต่อปี สถานะ (ของแข็ง ของเหลว ตะกอน)

ผลวิเคราะห์ทางเคมี ความเป็นอนั ตราย และวธิ ีการเก็บ เป็นตน้

1.4 มีการตรวจสอบวิเคราะห์คุณสมบัติสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 2 3 AI

เพื่อยืนยันว่าเป็นประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่โรงงาน

สามารถรบั มาบำบัดกำจัดในโรงงานไดก้ ่อนตกลงให้บริการ

1.5 มีการบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วให้สอดคล้องกับ 3 3 AI

ขีดความสามารถในการจัดการสิ่งปฏิกูลหรอื วสั ดทุ ่ีไม่ใช้แล้ว

คูม่ อื การดำเนินการพัฒนายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบัด/กำจดั กากของเสีย 79

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ีทั่วไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สู่ระบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบัด/กำจดั สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 2 การขนสง่ ส่ิงปฏกิ ูลหรอื วสั ดทุ ีไ่ มใ่ ชแ้ ลว้ กรณโี รงงานเปน็ ผรู้ วบรวมและขนส่ง
หรือเป็นผู้แต่งตง้ั ตัวแทน

ข้อ ขอ้ กำหนดวธิ ีปฏิบัตงิ านที่ดี ระดบั ความสำคญั
ไมอ่ นั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

2.1 กอ่ นการขนส่งสิ่งปฏิกูลหรอื วัสดุที่ไมใ่ ชแ้ ลว้ มีการทำสัญญาหรือหนังสือ 3 3 AI

ยินยอมการให้บริการระหว่างผู้ให้บริการรับบำบัด กําจัดสิ่งปฏิกูล

หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (Waste Processor) กับโรงงานผู้ก่อกำเนิดสิ่งปฏิกูล

หรือวัสดทุ ไี่ มใ่ ชแ้ ล้ว (Waste Generator) ทกุ ราย

2.2 มีระบบควบคมุ ตรวจสอบสภาพรถขนสง่ และภาชนะบรรจใุ ห้มีสภาพดี 3 ข้อบงั คบั AI

ก่อนออกไปปฏิบัติงานทุกครั้ง เพื่อป้องกันไม่ให้มีการหกหล่น *t

หรอื รว่ั ไหลของสง่ิ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี มใ่ ช้แล้วในระหวา่ งการขนสง่

2.3 มีระบบควบคุมตรวจสอบความพร้อมของคนขับรถขนส่งวัตถุอันตราย 3 ขอ้ บงั คับ AI

ทกุ ครั้งก่อนออกปฏบิ ัติงาน *t

2.4 มีการตรวจสอบว่าผู้ขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเสีย - 3 AI

อันตราย หรือผู้เก็บรวบรวม กำจัดหรือบำบัดสิ่งปฏิกูลฯ มีเลข

ประจำตัวที่ออกให้โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งตรวจสอบว่า

ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนเพื่อเป็นผู้รวบรวมขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือ

วัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเสียอันตรายอยา่ งถกู ตอ้ งตามหลักเกณฑ์และ

วิธีการที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกำหนด เฉพาะกรณีที่โรงงานไม่ได้

เป็นผู้ขนส่งเอง เพื่อใช้ในการติดตามการขนส่งของเสียอันตราย

ตามระบบเอกสารกำกับการขนส่งของเสยี อันตราย

2.5 จัดให้มีอุปกรณ์และเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย 3 ข้อบังคับ AI

หรือระงับอุบัติภัยไว้ประจำรถ และมีการตรวจสอบให้อยู่ในสภาพ *t

ที่พร้อมใช้งานอยเู่ สมอ

2.6 รถที่ใช้ขนส่งวัตถุอันตรายทุกคันมีการขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงาน - ขอ้ บังคบั AI

อุตสาหกรรม [ผู้ขนส่งของเสียอันตรายต้องได้รับใบอนุญาตมีไว้ใน *t

ครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย (วอ.8) เพื่อการขนส่ง และประเภท

ของเสียทีข่ นสง่ สอดคลอ้ งกับรายการท่ีระบุไวใ้ น วอ.8]

คูม่ ือการดำเนนิ การพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบัด/กำจัดกากของเสีย 80

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั ิงานท่ีดีทั่วไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั สงิ่ ปฏิกลู หรือวัสดุท่ีไม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 2 การขนส่งสงิ่ ปฏิกูลหรอื วสั ดุทไ่ี มใ่ ช้แลว้ กรณโี รงงานเป็นผูร้ วบรวมและขนส่ง
หรอื เป็นผู้แตง่ ต้งั ตวั แทน (ต่อ)

ขอ้ ข้อกำหนดวธิ ีปฏิบตั ิงานที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อันตราย เกณฑ์เฉพาะ

2.7 มีการตรวจสอบว่าสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่จะทำการขนส่ง 3 ขอ้ บังคับ AI

มีความถูกตอ้ งท้ังชนิดและปริมาณตามทไี่ ด้รบั อนุญาต *i

2.8 วัตถุอันตรายที่จะขนส่งต้องมีการบรรจุในภาชนะที่เหมาะสม หรือมี 3 ข้อบงั คับ AI

การติดฉลาก ป้าย หรือเครื่องหมายแสดงความเป็นอันตราย *t

บนภาชนะ ซึ่งระบุชื่อลูกค้าที่ส่งวัตถุอันตราย ชนิดและปริมาณ

วัตถอุ ันตราย วนั ที่รบั และเลขทใ่ี บกำกับการขนสง่

2.9 มีการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุหรือเหตุฉุกเฉินขณะเก็บรวบรวม 3 ขอ้ บงั คับ AI

และขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว เช่น การตรวจสอบการจัดวาง *z

การผูกรัด การติดตรึง หรือการบรรทกุ วตั ถอุ ันตรายบนรถ

2.10 มีการตรวจสอบเอกสารกำกับการขนส่งของเสียอันตรายให้มี - ขอ้ บงั คบั AI

ความถูกตอ้ งและครบถ้วนและลงนามโดยผมู้ ีอำนาจ *i,t

2.11 มีมาตรการและแผนฉุกเฉินกรณีเกิดการหกรั่วไหลของสิ่งปฏิกูลหรือ 3 3 AI

วัสดุที่ไม่ใช้แล้วขณะเกบ็ รวบรวมและขนสง่

2.12 มีมาตรการป้องกัน ควบคุมการลักลอบนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ 3 3 AI

ใช้แลว้ ออกไปจัดการในระหวา่ งการขนสง่

2.13 มีระบบติดตามยานพาหนะโดยใช้เทคโนโลยีผ่านสัญญาณดาวเทียม 2 ขอ้ บงั คบั AI

(Global Positioning System : GPS) เพื่อควบคุมรถขนส่งสิ่งปฏิกูล *ae

หรอื วัสดทุ ี่ไม่ใช้แล้วตลอดเส้นทางทใี่ ช้ขนสง่ เพอ่ื ใหม้ ่ันใจว่าจะไม่มีการ

ลักลอบนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วไปทิ้งหรือกำจัดอย่างไม่

ถกู ต้อง

2.14 กรณีที่มีการบรรทุกวัตถุอันตรายรวมกับสิ่งอื่นต้องแยกไว้เป็นส่วนหน่ึง - ขอ้ บังคับ AI

ต่างหากโดยมีสิ่งห่อหุ้มเพื่อป้องกันไม่ให้วัตถุอันตรายหกหรือรั่วไหล *t,a

ถ้าภาชนะบรรจเุ กดิ แตกหกั หรือชำรดุ

2.15 จัดทำเอกสารคำแนะนำเกี่ยวกับวัตถุอันตราย เพื่อใช้เป็นเอกสาร - ขอ้ บังคบั AI

ประจำยานพาหนะ *ae

คูม่ ือการดำเนนิ การพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบัด/กำจดั กากของเสีย 81

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏิบัติงานท่ีดีทว่ั ไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สู่ระบบการอนุญาตอัตโนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคิล และบำบดั /กำจัดสงิ่ ปฏกิ ูลหรือวัสดทุ ่ีไม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 2 การขนสง่ สง่ิ ปฏิกูลหรือวสั ดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ลว้ กรณีโรงงานเปน็ ผู้รวบรวมและขนส่ง
หรือเป็นผแู้ ตง่ ตงั้ ตัวแทน (ตอ่ )

ข้อ ขอ้ กำหนดวธิ ปี ฏบิ ตั งิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

2.16 ผู้ขนส่งต้องจัดให้มีการขึ้นทะเบียนภาชนะบรรจุและการประกัน - ข้อบงั คบั AI

ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมสุขภาพอนามัย ชีวิต *u,ae

หรอื ทรัพยส์ ินท่เี กดิ จากการขนสง่

2.17 จัดให้มีการฝึกอบรมแรกเข้าในหัวข้อการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย 1 3 -

ขณะขนถ่ายสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วให้กับพนักงานที่ปฏิบัติงาน

ด้านการขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และจัดให้มีการฝึกอบรม

อย่างน้อยปลี ะ 1 ครั้ง

2.18 มีการทำประกันภัยตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ 1 1 -

พ.ศ. 2535

2.19 มีการจัดทำประกันภัยความเสียหายจากอุบัติเหตุในการขนส่งวัตถุ - 3 AI

อนั ตราย การประกนั ภยั ความรบั ผดิ ตามกฎหมายจากอุบัติเหตุที่ทำให้เกิด

การรั่วไหล ระเบิดหรือการติดไฟของวัตถุอันตรายสำหรับค่าใช้จ่ายในการ

เคล่อื นยา้ ย บำบัด บรรเทาความเสียหาย การฟืน้ ฟูให้กลบั ส่สู ภาพเดิมหรือ

สภาพใกล้เคียง รวมถึงความเสียหายแก่สิ่งแวดล้อม สัตว์ พืช

ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพย์สินของแผ่นดินหรือทรัพย์ไม่มีเจ้าของโดยมี

จำนวนเงินเอาประกันภัยไม่น้อยกว่า 5 ล้านบาท สำหรับเหตุการณ์

แต่ละครงั้

คูม่ ือการดำเนินการพัฒนายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบัด/กำจดั กากของเสยี 82

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั งิ านท่ดี ที ่ัวไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สูร่ ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรับรีไซเคิล และบำบัด/กำจดั สิง่ ปฏกิ ลู หรอื วัสดทุ ไ่ี ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 3 การรับส่งิ ปฏกิ ูลหรอื วัสดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ลว้ เขา้ มาไว้ในบริเวณโรงงาน

ขอ้ ข้อกำหนดวิธีปฏิบัติงานที่ดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

3.1 มีการรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากโรงงานลูกค้าที่ได้รับ 2 ข้อบังคับ AI

ใบอนุญาตนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอกโรงงาน *aa

ตามรายชื่อ และปริมาณสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ระบุไว้ใน

ใบอนญุ าตเท่านน้ั

3.2 มีการตรวจสอบความถูกต้องของรายชื่อและปริมาณสิ่งปฏิกูลหรือ 3 ข้อบงั คับ AI

วัสดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้วใหถ้ ูกตอ้ งตรงกนั กับทรี่ ะบไุ ว้ในใบกำกับการขนสง่ *i,aa

3.3 มีเกณฑ์ในการปฏิเสธการรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และมี 2 ขอ้ บังคบั AI

มาตรการตอบสนองกรณีสิง่ ปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วทีข่ นส่งไม่ตรงกบั *i,aa

ในใบกำกับการขนส่งหรอื ตามท่ีตกลงกันไว้

3.4 ถนนหรือเส้นทางเดินรถขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วภายใน 2 3 AI

โรงงานจะต้องแข็งแรง (เช่น พื้นคอนกรีตหรือลาดยาง) มีการแบ่ง

ช่องจราจรชัดเจน และมีป้ายเตือนในบริเวณที่เป็นจุดเสี่ยงต่อ

การเกิดอุบัติเหตุตั้งแต่ปากทางเข้าโรงงานจนถึงพื้นที่ปฏิบัติงาน

รไี ซเคิลหรือกำจดั

3.5 มีการตรวจสอบและบันทึกการเข้า-ออกของรถขนส่งสิ่งปฏิกูล 2 2 AI

หรือวัสดุทไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้

3.6 มีการตรวจสอบลักษณะของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เข้ามา 3 3 AI

ในโรงงานก่อนทำการรบั แตล่ ะครัง้

3.7 มีจุดล้างล้อรถ และล้างกระบะรถขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แลว้ 1 2 AI

ก่อนออกนอกบริเวณโรงงานและมีระบบรวบรวมน้ำเสียจากการล้าง

รถ แยกจากระบบระบายน้ำฝน และนำน้ำเสียไปบำบัด (กรณีขอรับ

การตรวจประเมินรับรองระบบอนุญาตอัตโนมัติ (AI) จะพิจารณา

เฉพาะกิจกรรมฝงั กลบสิง่ ปฏิกูลหรอื วัสดทุ ่ีไมใ่ ชแ้ ล้ว)

3.8 การรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเข้ามาในโรงงาน ต้องแจ้งข้อมูล 2 ข้อบังคับ AI

ตอ่ กรมโรงงานอุตสาหกรรมทางสือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ทกุ คร้งั *j,k

คู่มอื การดำเนินการพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบัด/กำจดั กากของเสีย 83

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบตั ิงานท่ีดีท่วั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสู่ระบบการอนญุ าตอัตโนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคิล และบำบัด/กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดทุ ีไ่ ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 4 การจัดเก็บสง่ิ ปฏกิ ลู หรอื วัสดุท่ีไม่ใชแ้ ลว้ ไวใ้ นพ้นื ทเ่ี กบ็ กาก เพื่อรอนำเข้าสู่
กระบวนการรไี ซเคิล และบำบดั /กำจดั สิ่งปฏกิ ูลหรือวัสดุทีไ่ มใ่ ช้แลว้

ขอ้ ข้อกำหนดวธิ ีปฏิบัตงิ านที่ดี ระดับความสำคญั
ไม่อนั ตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

4.1 มีการจัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่รับมอบภายในอาคารหรือ ขอ้ บังคับ ข้อบงั คับ AI

บริเวณที่จัดไว้โดยเฉพาะ กรณีจัดเก็บไว้ในอาคาร สภาพอาคาร ต้องมี *aa *aa

ความมั่นคงแข็งแรง มีการระบายอากาศที่พอเพียง และมีพื้นท่ี

เพียงพอต่อการจัดเก็บอย่างปลอดภัย กรณีจัดเก็บไว้นอกอาคารต้องมี

มาตรการป้องกันและควบคุมด้านความปลอดภัยและด้านสิ่งแวดล้อม

โดยเฉพาะการปนเปื้อนและกระจายสู่ดิน น้ำ อากาศ โดยการจัดเก็บ

ไว้นอกอาคารต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม

หรือหน่วยงานที่ไดร้ ับมอบหมายกอ่ น

4.2 มีการแยกพื้นที่ส่วนที่จัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็น ขอ้ บังคบั ขอ้ บงั คบั AI

อันตรายและไมอ่ ันตราย หรือสงิ่ ปฏิกลู หรอื วสั ดทุ ี่ไม่ใชแ้ ลว้ ทีเ่ ป็นอนั ตราย *aa *aa

ที่อาจก่อ ปฏิกิริยาต่อกันออกจากกันเป็นสัดส่วน โดยต้องแสดงป้าย

เครื่องหมาย และคำเตือนความเป็นอันตรายติดตั้งไว้ในบริเวณ

ที่จดั เกบ็ ส่งิ ปฏกิ ูลหรือวสั ดุที่ไมใ่ ชแ้ ล้วอนั ตรายดว้ ย

4.3 ระยะเวลาที่ใช้ในการบำบัด กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่ ขอ้ บังคบั ขอ้ บังคบั AI

เป็นอันตรายภายใน 30 วัน และสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็น *aa *aa

อันตรายภายใน 15 วัน นับจากวันที่รับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

เขา้ มาในบรเิ วณโรงงานทั้งนี้ หากจำเปน็ ตอ้ งขยายเวลาการบำบัด หรือ

กำจัด ต้องแจ้งต่อกรมโรงงานอุตสาหกรร หรือหน่วยงานที่ได้รับ

มอบหมายภายใน 5 วัน ก่อนครบเวลาที่กำหนด โดยต้องแสดงเหตุผล

และความจำเปน็ ประกอบการพจิ ารณาอนุญาตดว้ ย

4.4 มีการเลือกวิธีการจัดเก็บรวมถึงประเภทภาชนะที่จัดเก็บให้เหมาะสม 3 ข้อบังคบั AI

กับประเภทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วและปริมาณสิ่งปฏิกูลหรือ *aa

วัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เก็บกักต้องไม่เกินความสามารถในการรองรับของ

ภาชนะบรรจุ กรณีเป็นภาชนะบรรจุสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

ที่เป็นอันตรายต้องมีสภาพมั่นคง แข็งแรง และเป็นไปตามมาตรฐาน

กำหนด และต้องติดฉลากป้าย หรือเครื่องหมายแสดงความเป็น

อันตราย

คูม่ อื การดำเนินการพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบดั /กำจดั กากของเสยี 84

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านที่ดีทัว่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั สิ่งปฏิกูลหรอื วัสดทุ ี่ไม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 4 การจดั เกบ็ สงิ่ ปฏกิ ลู หรือวสั ดุที่ไม่ใช้แล้วไวใ้ นพนื้ ทีเ่ กบ็ กาก เพือ่ รอนำเข้าสู่
กระบวนการรีไซเคิล และบำบดั /กำจดั ส่ิงปฏิกูลหรือวัสดทุ ไี่ ม่ใช้แลว้ (ตอ่ )

ข้อ ข้อกำหนดวิธปี ฏบิ ัติงานท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ ันตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

4.5 ภาชนะหรือบรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว - ขอ้ บังคับ AI

ที่อันตรายที่เป็นของเหลวที่มีขนาดภาชนะตั้งแต่ 25,000 ลิตรขึ้นไป *a

ต้องมีเขื่อนหรือกำแพงคอนกรีตโดยรอบ ให้มีขนาดที่สามารถกักเกบ็

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วได้ทั้งหมด เว้นแต่กรณีมีภาชนะบรรจุ

มากกว่า 1 ถัง ให้สร้างเขื่อนที่สามารถเก็บกักสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่

ใช้แล้วเท่ากับปริมาตรของถังเก็บที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และต้องจัด

ให้มีเคมีภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในการลดความรุนแรง

ของการแพร่กระจายสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตราย

ดงั กลา่ วอยา่ งเหมาะสมและเพยี งพอ

4.6 บริเวณที่จัดเก็บสิ่งปฏกิ ูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แลว้ ที่เป็นสารอันตราย เช่น 3 3 AI

สารไวไฟหรือตัวทำละลายต้องไม่มีแหล่งกำเนิดประกายไฟ หรือ

ความร้อนในบริเวณ และหากมีการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าจะต้องเป็นชนิด

ป้องกันการระเบิด (Explosion Proof) เพื่อป้องกันการลุกไหม้หรือ

การระเบดิ และทำป้ายเตือนอนั ตรายติดไว้ในตำแหน่งที่เห็นไดช้ ัดเจน

4.7 สถานที่จัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นวัตถุดิบซึ่งเป็น - ขอ้ บงั คับ AI

สารอันตราย เช่น สารไวไฟ ตัวทำละลาย ที่มีพื้นที่เกิน 14 ตารางเมตร *q

ต้องติดต้ังระบบดับเพลิงอัตโนมัติทเ่ี หมาะสมกับสภาพพื้นทนี่ นั้

4.8 สถานที่จัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นวัตถุที่ติดไฟได้ที่มี 3 3 AI

พื้นที่ต่อเนื่องติดต่อกันตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องติดตั้ง

ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ เช่น ระบบหัวกระจายน้ำหรือสารเคมี

ดับเพลิงอัตโนมัติ(Automatic Sprinkler System) หรือระบบอ่ืน

ท่ีเทยี บเท่าให้ครอบคลมุ พ้นื ที่

4.9 พื้นที่เก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วต้องมีความแข็งแรงทนทาน 2 2 AI

มีลักษณะเรียบและมีความลาดเอียงเหมาะสม ไม่แตกร้าว ทำความ

สะอาดงา่ ย และไม่ดูดซบั หรือสะสมสารทีอ่ าจหกหรอื ร่วั ไหล

คูม่ ือการดำเนินการพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจัดกากของเสยี 85

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานทด่ี ที ่วั ไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสรู่ ะบบการอนญุ าตอัตโนมัติ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคิล และบำบดั /กำจดั ส่งิ ปฏกิ ูลหรอื วัสดุท่ไี ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 4 การจัดเก็บสงิ่ ปฏิกูลหรอื วสั ดทุ ไี่ มใ่ ช้แลว้ ไวใ้ นพนื้ ท่ีเกบ็ กาก เพื่อรอนำเขา้ สู่
กระบวนการรีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั ส่ิงปฏกิ ูลหรอื วัสดทุ ่ไี มใ่ ช้แลว้ (ต่อ)

ขอ้ ข้อกำหนดวธิ ีปฏบิ ตั งิ านท่ีดี ระดบั ความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

4.10 มีการป้องกนั สิ่งปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ี่ไม่ใช้แล้วท่ีเป็นของเหลว หรือน้ำชะ 2 3 AI

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว รั่วไหลออกนอกพื้นที่โรงงานโดยไม่

ผา่ นการบำบดั

4.11 กรณเี กบ็ สง่ิ ปฏิกูลหรอื วสั ดุที่ไม่ใชแ้ ล้วทเ่ี ปน็ ของเหลวไว้ในบ่อ จะต้อง 3 3 AI

มีระบบป้องกันและตรวจสอบการรัว่ ซึมของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใชแ้ ล้ว

ที่เหมาะสมกับลักษณะความเป็นอันตรายของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ

ทไ่ี ม่ใชแ้ ล้วน้นั ๆ

4.12 มีมาตรการในการควบคุมและแก้ไขในกรณีที่บ่อจัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรอื 2 2 -

วสั ดทุ ่ีไมใ่ ชแ้ ล้วมกี ารรัว่ ซมึ

4.13 สภาพภาชนะบรรจุสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเหลวหรือ - 3 AI

กากตะกอน ต้องมีความเหมาะสมกับลักษณะของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ

ท่ีไมใ่ ชแ้ ลว้

4.14 อาคารขนาดใหญ่ และถัง (tank) ที่เก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 1 2 AI

ที่เป็นอันตรายที่อยู่ในที่โล่ง และไม่อยู่ในรัศมีการป้องกันอันตราย

จากฟ้าผ่าของอาคารอื่นภายในโรงงาน ต้องติดตั้งสายล่อฟ้าหรือ

ระบบปอ้ งกนั อันตรายจากฟ้าผ่า

4.15 ภาชนะบรรจุสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายที่เป็น - 2 AI

ของเหลวทุกประเภทที่มีขนาดภาชนะบรรจุตั้งแต่ 1,500 ลิตรขึ้นไป

ต้องมีการติดตั้งอุปกรณ์ควบคุม วัด ตรวจสอบระดับของเหลวภายในถัง

เช่น Level Gauge, Level Indicator, Level Switch ตามความ

เหมาะสม และอยู่ในสภาพพรอ้ มใชง้ าน

4.16 การจัดเก็บหรือเรียงซ้อนภาชนะบรรจุสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 2 3 AI

ตอ้ งคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั เป็นหลัก

4.17 มีการบันทกึ ข้อมลู ทั้งประเภท และปริมาณสิง่ ปฏิกูลหรอื วสั ดุทีไ่ ม่ใช้แล้ว 2 3 AI

ทนี่ ำมาจัดเก็บทุกคร้งั หรอื นำออกไปบำบัด กำจัด

คู่มอื การดำเนินการพัฒนายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบัด/กำจัดกากของเสีย 86

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัตงิ านที่ดที วั่ ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสู่ระบบการอนญุ าตอัตโนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบดั /กำจัดสง่ิ ปฏกิ ูลหรอื วัสดทุ ่ีไม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 4 การจดั เกบ็ สง่ิ ปฏิกลู หรอื วสั ดทุ ไี่ ม่ใช้แลว้ ไวใ้ นพน้ื ท่เี กบ็ กาก เพือ่ รอนำเข้าสู่
กระบวนการรีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั สิง่ ปฏิกูลหรือวสั ดทุ ไ่ี ม่ใช้แลว้ (ตอ่ )

ข้อ ขอ้ กำหนดวิธีปฏบิ ัตงิ านที่ดี ระดบั ความสำคัญ
ไม่อันตราย อันตราย เกณฑ์เฉพาะ

4.18 มีการแบ่งพื้นที่จราจรและกำหนดเส้นทางที่เหมาะสมในการขนส่ง 2 2 AI

ส่ิงปฏกิ ูลหรอื วัสดุทไ่ี ม่ใช้แลว้ ไปยังจดุ เก็บต่างๆ

4.19 มีการตรวจสอบสภาพภาชนะบรรจุสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว 1 2 -

อย่างสมำ่ เสมอเพอ่ื ปอ้ งกันการรั่วไหล

4.20 บริเวณพื้นที่เก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายจะต้อง 2 3 AI

จัดให้มีที่ล้างมือ ล้างตัวและล้างตาฉุกเฉิน (Emergency Shower &

Eyewash) และอยู่ในสภาพพรอ้ มใชง้ าน

4.21 การขนถ่ายสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเหลวจากถังหรือ 1 2 -

รถบรรทุกเพื่อจัดเก็บ โดยต้องมีขั้นตอนการตรวจสภาพถังและ

อุปกรณ์การขนถา่ ยทุกคร้งั

4.22 มีการกำหนดระดับสูงสุด (Max Level) ของการบรรจุสิ่งปฏิกูลหรือ 2 3 AI

วัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (ทั้งของแข็งและของเหลว) ในภาชนะขนาดใหญ่

ใหเ้ หมาะสมกบั คุณสมบตั ขิ องสิ่งปฏกิ ลู หรอื วสั ดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ล้วน้นั ๆ

4.23 การถ่ายเทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายที่เป็น - 2 AI

ของเหลวต้องมีระบบสัญญาณแจ้งเตือนภัยระดับของเหลวในถัง

(High-Level Alarm System) หรืออุปกรณ์ป้องกันวัตถุดิบล้นถัง

(High-Level Cut-off Device) เพื่อหยุดการทำงานของปั๊มโดย

อตั โนมตั ิ

4.24 การขนถ่ายสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายที่เป็น - 2 AI

ของเหลวจากถังหรือ Intermediate Bulk Containers (IBCs)

จะต้องกระทำผ่านระบบท่อจุ่มสูบเพื่อลดการกระเด็น, ควัน, ไอระเหย

และกลน่ิ

4.25 รถแท็งก์ที่ขนส่งตัวทำละลายต้องติดตั้งระบบการนำไอระเหยกลับ - 2 AI

(Vapor Return Pipeline) เพอื่ ลดไอระเหยทจี่ ะกระจายสูบ่ รรยากาศ

4.26 บริเวณที่มีการขนถ่ายสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตราย - 3 AI

ที่เป็นของเหลว และเป็นสารไวไฟต้องติดตั้งสายดิน เพื่อป้องกัน

การสะสมของไฟฟ้าสถิตขณะขนถา่ ย

คู่มอื การดำเนนิ การพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบดั /กำจดั กากของเสยี 87

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านท่ดี ีท่วั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสรู่ ะบบการอนญุ าตอัตโนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคิล และบำบัด/กำจดั ส่งิ ปฏิกูลหรอื วัสดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 4 การจดั เกบ็ สงิ่ ปฏิกูลหรอื วสั ดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ล้วไวใ้ นพน้ื ทเี่ ก็บกาก เพอื่ รอนำเขา้ สู่
กระบวนการรไี ซเคิล และบำบดั /กำจดั ส่งิ ปฏกิ ูลหรือวสั ดทุ ่ไี มใ่ ชแ้ ลว้ (ต่อ)

ข้อ ขอ้ กำหนดวิธีปฏบิ ตั ิงานท่ีดี ระดับความสำคญั
ไม่อันตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

4.27 มีการติดป้ายหรือเอกสารแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงานในการรับ - 2 -

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดทุ ี่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายเพ่ือให้คนงานปฏบิ ัติตาม

ข้นั ตอนตา่ งๆ อย่างครบถว้ น

4.28 มีมาตรการป้องกันฝุ่นละออง/กลิ่นที่เกิดขึ้นตามลักษณะคุณสมบัติ 3 3 AI

ของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วนั้นๆ ในระหว่างการจัดเก็บ

และขนถา่ ยสง่ิ ปฏกิ ูลหรอื วสั ดุทไี่ ม่ใช้แลว้ ท่ีเปน็ ของแขง็

4.29 ในทุกขั้นตอนของการจัดเก็บ ขนถ่าย และเตรียมการที่เกี่ยวข้องกับ - 3 AI

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเสียอันตรายก่อนเข้า

กระบวนการ (Pre-process) จะต้องดำเนินการโดยใช้อุปกรณ์ที่มี

ความปลอดภัยสำหรับผู้ปฏิบัติงาน หรือเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ

หรือเหตฉุ ุกเฉนิ รวมถงึ ไม่ก่อใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อม

คู่มอื การดำเนนิ การพฒั นายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบดั /กำจัดกากของเสยี 88

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านที่ดีท่วั ไป และหลักเกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ ส่รู ะบบการอนุญาตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรบั รีไซเคิล และบำบัด/กำจดั สิ่งปฏกิ ูลหรือวัสดทุ ีไ่ ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 5 การบำบดั /กำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวสั ดุทไ่ี ม่ใชแ้ ลว้ โดยวิธกี ารฝังกลบ

5.1 อาคารปรบั เสถยี รและการปรบั เสถยี รสงิ่ ปฏิกลู หรอื วสั ดทุ ่ไี มใ่ ชแ้ ล้วท่เี ปน็ อนั ตราย

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ีปฏบิ ตั ิงานที่ดี ระดับความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

5.1.1 ภายในอาคารมีการจัดให้มีระบบดูดอากาศและระบบบำบัดมลพิษ - ข้อบังคบั AI

อากาศท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ *aj

5.1.2 มีการรวบรวมไอระเหยที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีในบ่อหรืออาคารปรับ - ข้อบงั คบั AI

เสถียรไปบำบดั ด้วยระบบบำบัดมลพิษอากาศท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ *aj

5.1.3 โครงสร้างอาคารทำจากวสั ดทุ ่แี ขง็ แรงทนไฟและทนการกดั กร่อนไดด้ ี - 2 -

5.1.4 เป็นอาคารปิดที่มีระบบระบายอากาศ และแสงสว่างเพียงพอ รวมถึง - 3 AI

มีทางออกฉุกเฉินทเ่ี หน็ ชัดเจน

5.1.5 มีการจัดช่องทางเดินรถไว้ชัดเจนและแยกส่วนของบ่อปรับเสถียร - 2 -

ออกจากพืน้ ที่อ่ืนๆ อย่างชัดเจน

5.1.6 จดั ให้มที ล่ี า้ งตวั และลา้ งตาฉุกเฉิน (Emergency Shower & Eyewash) - 3 AI

และอยใู่ นสภาพพร้อมใชง้ าน

5.1.7 สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทุกชนิดที่จะทำการปรับเสถียรต้องมีผล - 3 AI

การทดสอบในห้องปฏิบัติการเพื่อนำมากำหนดวิธีในการปรับเสถียร

ที่เหมาะสมและต้องมีการบันทึกปริมาณสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

ในแตล่ ะรอบ รวมทั้งปรมิ าณสารเคมที ีใ่ ชท้ ุกคร้งั

5.1.8 การดำเนนิ การผสมสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุที่ไม่ใชแ้ ลว้ จะต้องกระทำในพ้ืนที่ - 3 AI

ปิดและให้ใช้เครื่องจักรปฏิบัติงานในทุกจุดที่เป็นไปได้หรือหลีกเลี่ยง

การใช้พนกั งานในจดุ ท่ีมีโอกาสไดร้ ับอนั ตรายสงู

5.1.9 การขนถ่ายถังสารเคมี (Bulk) ส่วนผสมที่แห้งหรือสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ - 2 -

ที่ไม่ใช้แล้ว จะต้องดำเนินการโดยเครื่องจักรในทุกจุดที่เป็นไปได้ เช่น

การลำเลียงโดยระบบสายพาน หรือท่อสูบสำหรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ

ที่ไม่ใช้แลว้ ท่ีเปน็ ของเหลวหรอื กากตะกอน

5.1.10 มีการนำตัวอย่างสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ผ่านการปรับเสถียรแล้ว - 3 AI

ไปตรวจสอบในห้องปฏิบัตกิ ารเพื่อยืนยันว่าสิ่งปฏกิ ูลหรือวัสดุที่ไมใ่ ช้แล้ว

ท่ปี รบั เสถยี รแลว้ มีคุณสมบตั ิตรงกับวตั ถปุ ระสงค์

คู่มอื การดำเนนิ การพัฒนายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจัดกากของเสยี 89

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ที ว่ั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรับรีไซเคิล และบำบดั /กำจัดส่ิงปฏกิ ลู หรอื วัสดุทไ่ี ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นที่ 5 การบำบดั /กำจดั สง่ิ ปฏิกูลหรือวัสดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ล้วโดยวิธกี ารฝงั กลบ (ตอ่ )

5.1 อาคารปรบั เสถียรและการปรับเสถยี รสงิ่ ปฏกิ ลู หรอื วัสดทุ ี่ไม่ใชแ้ ลว้ ท่เี ปน็ อนั ตราย (ตอ่ )

ข้อ ข้อกำหนดวิธีปฏิบตั งิ านที่ดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ
5.1.11 มีเอกสารระบุขั้นตอนและวิธีการจัดการ กรณีที่ผลการทดสอบ
คุณสมบัติสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ปรับเสถียรแล้วไม่ตรงตาม -2-
วตั ถุประสงค์
- 2 AI
5.1.12 ไม่นำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทีม่ ีสารอินทรีย์ระเหยงา่ ย (VOCs)
สูง หรอื สารประกอบทม่ี ีกลนิ่ รุนแรงมาดำเนนิ การปรับเสถียร - 3 AI

5.1.13 มีมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมป้องกันฝุ่นละออง และ
การตกหล่นรั่วไหลของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ผ่านการ
ปรบั เสถยี รแลว้ ระหวา่ งการขนส่งไปยังหลุมฝงั กลบ

คู่มือการดำเนนิ การพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบดั /กำจัดกากของเสีย 90

หลักเกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ตั ิงานท่ดี ที ัว่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเข้าสูร่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรบั รีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดสิง่ ปฏิกลู หรอื วัสดุที่ไม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 5 การบำบดั /กำจดั สง่ิ ปฏกิ ูลหรอื วสั ดุทไี่ ม่ใชแ้ ลว้ โดยวิธกี ารฝังกลบ (ตอ่ )

5.2 หลุมฝังกลบและการฝงั กลบสิ่งปฏกิ ูลหรือวสั ดุที่ไม่ใช้แลว้

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ีปฏบิ ตั งิ านท่ีดี ระดบั ความสำคญั
ไมอ่ ันตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

5.2.1 หลุมฝังกลบตามหลักสุขาภิบาลสามารถรับได้เฉพาะสิ่งปฏิกูล ข้อบังคบั - AI

หรอื วสั ดุทีไ่ ม่ใชแ้ ลว้ ทีไ่ มเ่ ปน็ อันตรายเท่านน้ั *al

5.2.2 บริเวณแนวอาณาเขตทั้ง 4 ด้านของสถานที่ฝังกลบ หลุมฝังกลบ ข้อบงั คับ - AI

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นอันตรายประเภทสารอินทรีย์ *al

ต้องมีการติดตามตรวจสอบปริมาณก๊าซมีเทนอย่างน้อย 6 เดือน/

ครั้ง หรือตามเงื่อนไขการประกอบกิจการ และผลการตรวจสอบต้อง

ไม่เกนิ กว่าจุดระเบิดข้นั ต่ำ (มปี ริมาณกา๊ ซมเี ทนไม่เกนิ 5%)

5.2.3 กรณีกำจัดก๊าซที่เกิดจากหลุมฝังกลบโดยการเผาไหม้ (Flaring) ขอ้ บงั คับ - AI

ต้องตรวจสอบคุณภาพอากาศจากการเผาไหม้อย่างน้อย 6 เดือน/คร้ัง *s,al

หรือตามเงื่อนไขการประกอบกิจการ และผลการตรวจสอบต้องอยู่

ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศ

5.2.4 หลุมฝังกลบแบบปลอดภัยสามารถรับได้ทั้งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ี - ข้อบงั คบั AI

ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นอันตรายและสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็น *al

อนั ตรายซึง่ ผา่ นการปรับเสถียรหรือทำลายฤทธ์แิ ล้วเท่าน้ัน

5.2.5 หลุมฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วแต่ละประเภทต้องเป็นไป ขอ้ บังคับ ขอ้ บังคบั AI

ตามข้อกำหนดของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (แบบของหลุมฝังกลบ *aj *aj

ต้องได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม และมีการตรวจสอบ

กอ่ นเปิดใช้งาน)

5.2.6 หลุมฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วแต่ละหลุมต้องมีระบบ ข้อบงั คบั ข้อบังคับ AI

รวบรวมน้ำชะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากหลุมฝังกลบ กรณี *al *al

หลุมฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายซึ่งผ่าน

การปรับเสถียรแล้วต้องมีบ่อสูบแยกกันระหว่างน้ำที่นำออกจาก

ช้นั กนั ซมึ ชั้นบน และชั้นลา่ ง

5.2.7 มีการรวบรวมน้ำชะที่เกิดขึ้นจากหลุมฝังกลบอย่างถกู หลักสุขาภิบาล ข้อบงั คบั - AI

ไปบำบัดให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้งก่อนระบายออกนอกโรงงาน *x,aj

(บางแหง่ อาจไม่สามารถระบายออกได้ข้ึนอย่กู ับเง่ือนไขในใบอนุญาต

ประกอบกจิ การโรงงาน)

คูม่ ือการดำเนนิ การพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจัดกากของเสีย 91

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏิบตั ิงานที่ดที ัว่ ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเขา้ สูร่ ะบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบัด/กำจัดสงิ่ ปฏกิ ลู หรอื วัสดทุ ี่ไม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

สว่ นท่ี 5 การบำบดั /กำจัดส่งิ ปฏิกูลหรอื วสั ดุทไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้ โดยวธิ กี ารฝงั กลบ (ตอ่ )

5.2 หลมุ ฝงั กลบและการฝังกลบสิง่ ปฏกิ ูลหรือวสั ดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้

ขอ้ ข้อกำหนดวธิ ปี ฏบิ ัติงานท่ีดี ระดับความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ

5.2.8 มกี ารรวบรวมนำ้ ชะท่เี กดิ ขึ้นจากหลุมฝังกลบอย่างปลอดภัยไปบำบัด - ข้อบงั คับ AI

ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้ง และห้ามมีการระบายน้ำที่ผ่าน *x,al

การบำบดั แลว้ ออกนอกโรงงาน

5.2.9 มีบ่อสังเกตการณ์คุณภาพน้ำใต้ดิน อย่างน้อย 3 บ่อ และมีการ ข้อบังคับ ขอ้ บงั คบั AI

ตรวจสอบคุณภาพน้ำในบ่อสังเกตการณ์และผลการตรวจสอบต้อง *al *al

อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพนำ้ บาดาลทใ่ี ชบ้ รโิ ภค

5.2.10 มีการแยกหลุมฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตราย ขอ้ บงั คบั ข้อบังคับ AI

และไม่เปน็ อนั ตรายออกจากกันอย่างชัดเจน *al *al

5.2.11 มีรางระบายน้ำโดยรอบหลุมฝังกลบ และแยกระบบรวบรวมน้ำฝน 3 3 AI

และนำ้ ทอ่ี าจปนเปอ้ื นออกจากกันอย่างชดั เจน

5.2.12 มีการจัดทำคันกั้นระหว่างเซลล์ที่ฝังกลบกับพื้นที่ที่ยังไม่ได้ฝังกลบ 3 3 AI

เพ่ือปอ้ งกันไมใ่ หน้ ำ้ ฝนปนกบั น้ำชะสิง่ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดุท่ีไมใ่ ช้แลว้

5.2.13 มกี ารกำหนดแผนเปดิ หนา้ งานให้เพยี งพอท่ีจะใชฝ้ ังกลบในแตล่ ะวัน 2 3 -

5.2.14 มีการบันทึกจุดลงสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วแต่ละประเภท 2 2 -

ตามประเภทของหลุมฝังกลบ

5.2.15 มีการกลบทับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วด้วยดินหรือวัสดุอ่ืน 2 2 AI

ให้แล้วเสร็จก่อนเลิกงานในแต่ละวันเพื่อลดผิวสัมผัสกับอากาศ

ลดโอกาสแพรก่ ระจายของฝุ่นละออง/กลิน่ ทเ่ี กดิ จากส่งิ ปฏกิ ลู หรอื วัสดุ

ที่ไมใ่ ชแ้ ลว้ ออกสู่บรรยากาศ

5.2.16 มีมาตรการป้องกันกลิ่นและฝุ่นละอองฟุ้งกระจายขณะเทสิ่งปฏิกูล 2 2 AI

หรือวัสดทุ ีไ่ มใ่ ชแ้ ล้วลงหลุม

5.2.17 มีการปลูกต้นไม้เป็นแนวกันชนและฉีดพ่นน้ำบริเวณโดยรอบพื้นที่ 3 3 AI

ฝงั กลบเพ่อื ลดปรมิ าณฝนุ่ ฟุง้ กระจาย

5.2.18 มีเอกสารระบุขั้นตอนและวิธีการจัดการ กรณีเกิดปัญหากลิ่นเหม็น 2 2 -

หรือฝุ่นละอองจากขั้นตอนการเทสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

ลงหลุมฝังกลบ

คู่มือการดำเนนิ การพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบัด/กำจดั กากของเสีย 92

หลกั เกณฑม์ าตรฐานการปฏบิ ัติงานที่ดีทวั่ ไป และหลักเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสู่ระบบการอนุญาตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั ส่ิงปฏกิ ูลหรือวัสดุทีไ่ ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนที่ 5 การบำบดั /กำจัดสงิ่ ปฏกิ ลู หรอื วัสดุทไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ โดยวธิ ีการฝังกลบ (ต่อ)

5.2 หลมุ ฝงั กลบและการฝงั กลบส่ิงปฏิกูลหรือวสั ดุทีไ่ มใ่ ชแ้ ลว้ (ตอ่ )

ขอ้ ขอ้ กำหนดวิธปี ฏบิ ัตงิ านท่ีดี ระดบั ความสำคญั
ไมอ่ นั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ
5.2.19 มีการจัดทำป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัยในบริเวณหลุมฝังกลบ เช่น
ป้ายห้ามสูบบุหร่ี ห้ามเข้าก่อนได้รับอนุญาต และทำให้เกิดประกาย 2 2 AI
ไฟ เปน็ ตน้ (ตามความเหมาะสมของแตล่ ะสถานท)ี่ 3 3 AI

5.2.20 หลุมฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นอันตราย ต้องมี 2 3 AI
ระบบท่อระบายก๊าซ (Vent) ครอบคลุมพื้นที่ที่จะเกิดก๊าซอย่างน้อย 3 3 AI
6-8 จุด (ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับขนาดของหลุมฝังกลบ) โดยขนาดของท่อ 22 -
ระบายต้องใหญ่เพียงพอที่จะระบายก๊าซได้หมด กรณีฝังกลบสิ่งปฏิกูล 3 3 AI
หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ย่อยสลายยากหรือไม่เกิดการเน่าเสียง่าย เช่น 2 2 AI
พลาสตกิ ยาง เศษแก้ว ฯลฯ ไม่ต้องมีระบบระบายก๊าซ
2 2 AI
5.2.21 มีเอกสารระบุขั้นตอนและวิธีการจัดการกรณีผลการตรวจสอบ
คุณภาพอากาศจากการเผาไหม้ไม่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐาน
คณุ ภาพอากาศ

5.2.22 บ่อ ถัง ระบบรวบรวมน้ำชะสิ่งปฏิกลู หรือวัสดุท่ีไม่ใช้แลว้ ต้องทนตอ่
การกัดกร่อน และมีอุปกรณ์วัดระดับน้ำ ระบบเตือนภัย และการปิด
วาล์วอัตโนมตั ิ

5.2.23 มีการควบคุมและแก้ไขระบบรวบรวมน้ำชะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้
แลว้ ในกรณีท่ีมีการร่ัวไหล

5.2.24 มีการตรวจสอบและบันทึกข้อมูลปริมาณน้ำชะและคุณภาพน้ำชะ
ทีเ่ กดิ ขึ้นในแตล่ ะหลุมทุกครัง้ กอ่ นระบายออก

5.2.25 มกี ารส่มุ เกบ็ ตัวอย่างและวิเคราะหค์ ณุ ภาพน้ำใตด้ ินจากบ่อสังเกตการณ์
(Monitoring Well) น้ำผิวดิน น้ำชะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
และน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสีย อย่างน้อย 6 เดือน/ครั้ง และ
วิเคราะห์แนวโน้มการปนเปื้อนสารมลพิษในน้ำใต้ดินเปรยี บเทียบกับ
ก่อนเริม่ การประกอบกจิ การโรงงาน

5.2.26 มีมาตรการตอบสนองที่มีประสิทธิภาพ กรณีพบแนวโน้ม
การปนเปือ้ นสารมลพษิ ในนำ้ ใต้ดนิ

คูม่ อื การดำเนนิ การพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบดั /กำจดั กากของเสยี 93

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ที ่ัวไป และหลกั เกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรบั การเข้าสรู่ ะบบการอนญุ าตอตั โนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคลิ และบำบดั /กำจดั ส่ิงปฏกิ ลู หรือวัสดุที่ไม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 5 การบำบดั /กำจัดสิง่ ปฏกิ ลู หรือวัสดทุ ไ่ี ม่ใชแ้ ล้วโดยวิธีการฝังกลบ (ต่อ)

5.2 หลุมฝังกลบและการฝังกลบสงิ่ ปฏกิ ูลหรือวสั ดทุ ไ่ี มใ่ ช้แลว้ (ต่อ)

ข้อ ข้อกำหนดวธิ ีปฏิบตั ิงานที่ดี ระดับความสำคัญ
ไมอ่ นั ตราย อันตราย เกณฑเ์ ฉพาะ
5.2.27 หลุมฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตรายที่ผ่านการ
ปรับเสถียรแล้วต้องมีการตรวจสอบการรั่วซึมของชั้นกันซึมชั้นบน - 3 AI
และมีมาตรการตอบสนองกรณีอัตราการรั่วซึมสูงกว่า 17 มิลลิลิตร/
ตารางเมตร/วนั 3 3 AI

5.2.28 จัดให้มีพื้นที่ฉนวน (Buffer Zone) โดยรอบพื้นที่โรงงาน และมี
ระยะห่างจากแนวเขตที่ดินไม่น้อยกว่า 25 เมตร โดยจัดให้เป็นพื้นท่ี
สำหรับถนน คูระบายน้ำ การปลูกต้นไม้สลับแถวโดยเลือกพันธุ์ไม้
ที่เหมาะสมในท้องถิ่นเพื่อปิดกั้นทางสายตาและลดปัญหากล่ิน
ส่ภู ายนอก

คูม่ อื การดำเนินการพฒั นายกระดบั มาตรฐานการใหบ้ ริการบำบัด/กำจดั กากของเสีย 94

หลกั เกณฑ์มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านทดี่ ีท่วั ไป และหลกั เกณฑม์ าตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สูร่ ะบบการอนญุ าตอัตโนมตั ิ (AI)

สำหรบั โรงงานรับรีไซเคิล และบำบดั /กำจดั สิ่งปฏกิ ลู หรือวัสดุท่ไี ม่ใช้แล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 6 การบำบดั /กำจดั สิ่งปฏิกลู หรือวัสดุทไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ โดยวธิ กี ารเผาในเตาเผา

6.1 การเตรยี มสง่ิ ปฏกิ ลู หรือวสั ดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ล้ว และการปอ้ นสงิ่ ปฏกิ ูลหรือวัสดุท่ีไม่ใชแ้ ลว้ เข้าเตาเผา

ขอ้ ขอ้ กำหนดวธิ ปี ฏบิ ัติงานท่ีดี ระดับความสำคญั
ไม่อันตราย อนั ตราย เกณฑเ์ ฉพาะ

6.1.1 มีการระบุชนดิ สง่ิ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดุที่ไม่ใช้แล้วทีส่ ามารถหรือไม่สามารถ 3 3 AI

ปอ้ นเข้าเตาเผาได้ ซงึ่ ผ่านการยนื ยนั จากห้องปฏบิ ัตกิ ารวเิ คราะห์

6.1.2 กรณีสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเป็นของแข็งหรือกากตะกอนแห้ง 1 1 -

ต้องมขี นาดเหมาะสมสำหรับปอ้ นเข้าเตาเผาได้

6.1.3 กรณีสง่ิ ปฏิกลู หรือวสั ดุที่ไมใ่ ช้แล้วที่เปน็ ของแขง็ หรอื กากตะกอนแห้ง 3 3 AI

ต้องมีมาตรการป้องกันฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นระหว่างการลำเลียง

ส่งิ ปฏิกลู หรอื วัสดทุ ไ่ี ม่ใช้แล้วเขา้ สเู่ ตาเผา

6.1.4 กรณีมีการบดย่อยสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเป็นของแข็งหรือ 2 3 AI

กากตะกอน ต้องมีมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน

ฝุ่นละอองที่เกิดจากการบดย่อย และระหว่างการลำเลียงสิ่งปฏิกูล

หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่บดย่อยแล้วไปยังที่เก็บวัตถุดิบ หรือไปยัง

เตาเผา

6.1.5 กรณีสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเหลวหรือกากตะกอน 3 3 AI

วัสดุที่เป็นส่วนประกอบของระบบป้อนและเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่

ใช้แล้ว เช่น ตัวถัง เครื่องสูบ เครื่องกวน ระบบท่อ วาล์ว และหัวฉีด

ต้องทนทานต่อการกัดกร่อนและไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีในสิ่ง

ปฏิกูลหรือวสั ดทุ ี่ไม่ใช้แล้ว

6.1.6 กรณีสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเหลวหรือกากตะกอน 3 3 AI

ประกอบด้วยของแข็งแขวนลอยที่ไม่สามารถเผาได้ ต้องมีการกรอง

สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วก่อนนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

ผา่ นระบบทอ่ ส่งเขา้ ไปยงั เตา

6.1.7 กรณีสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเหลวหรือกากตะกอน 2 3 AI

ระบบทอ่ ลำเลียงสงิ่ ปฏิกลู หรอื วสั ดุทไ่ี ม่ใช้แล้วจากถังเก็บไปยังหัวเผา

(Burner) เพื่อป้อน เข้าเตาเผา ต้องสามารถรองรับแรงดันสูง

ทเ่ี หมาะสมกับสง่ิ ปฏกิ ลู หรอื วสั ดุที่ไม่ใชแ้ ล้ว

6.1.8 มีวิธีการปฏิบัติงานสำหรับขั้นตอนการป้อนสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ 3 3 -

ใช้แล้วเข้าเตาเผา เพอื่ ใหพ้ นักงานสามารถปฏิบัตงิ านได้อย่างถูกต้อง

คู่มอื การดำเนนิ การพัฒนายกระดับมาตรฐานการใหบ้ ริการบำบัด/กำจดั กากของเสยี 95

หลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัตงิ านที่ดีทวั่ ไป และหลักเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะ

สำหรับการเขา้ สรู่ ะบบการอนญุ าตอัตโนมัติ (AI)

สำหรับโรงงานรับรีไซเคิล และบำบัด/กำจัดสง่ิ ปฏกิ ูลหรอื วัสดุทไ่ี ม่ใชแ้ ล้ว
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ส่วนท่ี 6 การบำบดั /กำจดั สง่ิ ปฏิกูลหรอื วัสดุทไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้ โดยวิธีการเผาในเตาเผา (ต่อ)

6.1 การเตรียมสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไี่ ม่ใชแ้ ล้ว และการป้อนสิ่งปฏิกลู หรอื วสั ดุทีไ่ มใ่ ชแ้ ลว้ เข้าเตาเผา (ตอ่ )

ขอ้ ข้อกำหนดวิธปี ฏิบัติงานที่ดี ระดับความสำคัญ
ไม่อนั ตราย อนั ตราย เกณฑ์เฉพาะ
6.1.9 มีการแยกระบบท่อนำส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเฉพาะสำหรับ
สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วแต่ละประเภท แต่หากไม่สามารถทำได้ 22 -
ต้องทำความสะอาดท่อและอุปกรณ์ที่ใช้ขนส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ
ที่ไม่ใช้แล้วก่อนนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วชนิดใหม่เข้าไป 22 -
ในระบบการเผาไหม้ เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดปฏิกิริยาที่ไม่พึงประสงค์ 22 -
ภายในทอ่ 22 -
33 -
6.1.10 มีระบบการล้างทำความสะอาดท่อและอุปกรณ์ที่ใช้ขนส่งสิ่งปฏิกูล 3 3 AI
หรือวสั ดทุ ี่ไม่ใช้แล้วท่ีชดั เจน และเป็นระบบท่ีมคี วามปลอดภัย

6.1.11 มีระบบการควบคุมตรวจสอบชนิดและปริมาณสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ
ท่ีไม่ใชแ้ ลว้ ท่เี ข้าสู่เตาเผาให้เหมาะสมตอ่ ขนาด ลักษณะ และรูปแบบ
ของเตา

6.1.12 จัดให้มีการตรวจสอบความหนาของถังจัดเก็บ และท่อส่งสิ่งปฏิกูล
หรอื วสั ดุที่ไม่ใช้แล้วเพื่อเฝ้าระวงั การผุกร่อนของถงั จัดเก็บและระบบ
ทอ่ ส่ง รวมถงึ มีการตรวจสอบสภาพความพร้อมของเตาเผา

6.1.13 หลีกเลยี่ งการใช้พนักงานปฏบิ ตั ิงานในทุกจุดที่มีโอกาสได้รับอันตราย
สูง เช่น การลำเลียงสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วไปยังเตาเผาและ
การป้อนสิง่ ปฏิกูลหรือวัสดุทไี่ มใ่ ช้แล้วเขา้ เตาเผา

6.1.14 บริเวณพื้นที่ที่มีการเตรียมสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วท่ีเป็น
อันตรายและการป้อนสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตราย
เข้าเตาเผาต้องจัดให้มีที่ล้างตัวและล้างตาฉุกเฉิน (Emergency
Shower & Eyewash) ในสภาพพร้อมใชง้ าน

คูม่ ือการดำเนินการพฒั นายกระดับมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารบำบดั /กำจัดกากของเสีย 96


Click to View FlipBook Version