บนั ทกึ ขอ้ ความ
สว่ นราชการ กลมุ่ งานภาคเี ครือข่ายและกิจกรรมพิเศษ กศน.อำเภอสังขะ
ท่ี ศธ.0210.8315/ วันท่ี กุมภาพันธ์ 2565
เรอ่ื ง เสนอแผนจุลภาค (Micro Planning) และแผนปฏบิ ัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
เรียน ผอู้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสงั ขะ
ด้วย กศน.ตำบลกระเทียม ได้ดำเนินการจัดทำแผนจูลภาค (Micro Planning) และแผน
ปฏบิ ัตงิ านประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 เพอ่ื เป็นแนวทางในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 โดยยึดแนวทางตามนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจำปีงบประมาณ 2565 มาตรฐาน กศน.ตำบล ปี 2565 สังกัด
สำนักงาน กศน.และให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยจังหวัดสุรินทร์ ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอำเภอสังขะ ตลอดจนบรบิ ทความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ีมาเปน็ แนวปฏิบตั แิ ละแนวทางใน
การดำเนินงาน กศน.ตำบลกระเทยี มให้เป็นไปตามเปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
ในการนี้ กศน.ตำบลกระเทียมจึงขอเสนอ เสนอแผนจูลภาค (Micro Planning) และแผน
ปฏิบตั งิ านประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 รายละเอยี ดตามดงั เอกสารที่ส่งมาพร้อมน้ี
จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณาลงนาม
(นางสาวโพธิป์ ระภา ดชั ถยุ าวตั ร)
ครู กศน.ตำบล
ความเห็นผูบ้ รหิ าร
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
(นางสมจติ ผาดไธสง)
ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสงั ขะ
ก
คำนำ
แผนจุลภาค (Micro Planning) กศน.ตำบลกระเทียม จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการจัด
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 โดยยึดแนวทางตาม
นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ
2565 มาตรฐาน กศน.ตำบล ปี 2565 สังกัด สำนักงาน กศน. สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการ
ดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุรินทร์ และยุทธศาสตร์และจุดเน้นการ
ดำเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสังขะ ตลอดจนบริบทความต้องการของ
กลุม่ เปา้ หมายในพื้นท่เี พ่ือกำหนดเปน็ แนวปฏบิ ัตแิ ละแนวทางในการดำเนินงาน กศน.ตำบลกระเทียมให้เป็นไป
ตามเปา้ หมายทีก่ ำหนดไว้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
การจัดทำแผนจุลภาค (Micro Planning) กศน.ตำบลกระเทยี ม ประจำปีงบประมาณ 2565
เล่มนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดีเนื่องด้วยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย และผู้เกี่ยวข้องร่วมกันระดมความคิดเห็น
โดยนำสภาพปัญหาและผลการดำเนินงานมาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตำบลกระเทียม เพื่อสนองตอบความต้องการของประชาชนในพื้นที่อย่าง
แท้จริง คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนจุลภาค (Micro Planning) กศน.ตำบลกระเทียม ประจำปี
งบประมาณ 2565 เล่มนี้จะเป็นแนวทางในการดำเนินงานของบุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้การจัด
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้บรรลุตามวตั ถุประสงค์ และมีคุณภาพตามมาตรฐาน กศน.
ตำบล ปี 2565 สังกัด สำนักงาน กศน. ตลอดจน เป็นประโยชน์ต่อผู้มีสว่ นเกี่ยวข้อง ประชาชน ชุมชน สังคม
ตอ่ ไป
นางสาวโพธป์ิ ระภา ดชั ถุยาวตั ร
กุมภาพนั ธ์ 2565
ข
สารบญั
หนา้
คำนำ ก
สารบัญ ข
ตอนที่ 1 ขอ้ มลู พ้ืนฐานเพอื่ การวางแผน 1
ตอนที่ 2 การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ ม กศน.ตำบล (SWOT Analysis) 24
ตอนท่ี 3 แนวทาง/กลยุทธก์ ารดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 27
ของ กศน.ตำบลกระเทยี ม
ตอนที่ 4 แผนปฏบิ ัตกิ ารการจดั การศกึ ษานอกกระบบและการศกึ ษานอกระบบ 34
และการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตำบลกระเทียม
ภาคผนวก
นโยบายและจดุ เน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประจำปงี บประมาณ
2565
มาตรฐาน กศน.ตำบล ปี 2565 สังกัด สำนกั งาน กศน.
คณะผจู้ ดั ทำ
๑
ตอนที่ 1 ข้อมลู พื้นฐานเพอ่ื การวางแผน
1. ขอ้ มูลพน้ื ฐาน กศน.ตำบลกระเทยี ม
ชือ่ : กศน.ตำบลกระเทียม
สังกัด : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสังขะ
สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดสรุ ินทร์
สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เบอร์โทรศัพท์ : 094 575 5646
Email :
Face book : https://www.facebook.com/nfekrathiam
Web Site :
2. สภาพพ้นื ทแี่ ละบรบิ ท
2.1 ด้านกายภาพ
2.1.1 ทีต่ ง้ั ของหมบู่ า้ น/ชุมชน/ตำบล
ตำบลกระเทียม เป็นตำบลเก่าแก่ของอำเภอสังขะ ได้ยกฐานะขึ้นเป็นตำบลตั้งแต่ปี
๒๔๕๙ มพี ้ืนทก่ี ว้างครอบคลุมถึงในเขตตำบลตาเบา ตำบลบา้ นไทร อำเภอปราสาท ตำบลคตู นั อำเภอ
กาบเชิง และตำบลบ้านจารย์ ตำบลสะกาดทัง้ หมด
ท้องที่เขตตำบลกระเทียม เคยถูกบันทึกไว้เป็นประวัติศาสตร์ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนตน้
ท่ีเจา้ สองพน่ี อ้ งได้ตดิ ตามช้างเผือกพลัดถ่นิ และสามารถจับได้ทหี่ นองบวั (ปจั จุบนั คือ หนองระหาร) ซ่ึงเป็น
หนองโบราณ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของบ้านกระเทียม ห่างจากหมู่บ้านประมาณ ๖๐๐ เมตร
ดว้ ยความสามารถของเจ้าถิ่น ทชี่ ่วยตดิ ตาม จนสามารถจับช้างเผือกได้ เจ้าสองพี่น้องจงึ ปูนบำเหน็จรางวัล
แกเ่ พือ่ นทีเ่ ป็นเจ้าถน่ิ ในแถบนใ้ี หเ้ ปน็ เจา้ เมอื งต่างๆ มี เชยี งขะ เชียงสี เชยี งขนั เชยี งปมุ
ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๖๕ หมู่บ้านในเขตอำเภอปราสาทได้แยกออกไป ปี พ.ศ. ๒๕๐๐
หมู่บา้ นในเขตตำบลบ้านจารย์ ตำบลสะกาด ได้แยกออกไปปี พ.ศ. ๒๕๑๘ หมู่บา้ นในเขตตำบลคูตันอำเภอ
กาบเชงิ กไ็ ด้แยกออกไปอีกแต่ในปัจจุบันตำบลกระเทียมก็ยงั คงเปน็ ตำบลขนาดใหญ่
ส่วนที่มาของคำว่า “กระเทียม” มาจากในสมัยโบราณ “หนองระหาร” บ้านกระเทียมจะ
ตื้นเขินและปกคลุมด้วย “แห้วป่า” ซึ่งชาวบ้านจะเรียกว่า “กระเทียมน้ำ” หรือภาษาถิ่นเรียกว่า “กระติม
ตึ” (ภาษาเขมร) หรอื “กะทมี ดะ๊ ” (ภาษาสว่ ย)
ตำบลกระเทียมตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอำเภอสังขะ ห่างจากที่ว่าการอำเภอ
สังขะ ประมาณ ๒๕ กิโลเมตรและอยู่ห่างจากตัวจังหวัดสุรินทร์ประมาณ ๓๘ กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด
๕๐,๕๐๐ ไร่ คดิ เปน็ ๘๐.๐๘ ตารางกิโลเมตร มอี าณาเขตตดิ ตอ่ กบั ตำบลต่างๆ ดังนค้ี อื
ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกับ ตำบลอโู่ ลก อำเภอลำดวน และตำบลลำดวน อำเภอลำดวน จังหวัดสุรินทร์
ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับ ตำบลคตู ัน อำเภอกาบเชิง จังหวดั สรุ นิ ทร์
ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกับ ตำบลสะกาด และตำบลบา้ นจารย์ อำเภอสังขะ จังหวดั สุรินทร์
ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลบา้ นไทร อำเภอปราสาท จงั หวดั สรุ นิ ทร์
๒
แผนที่ตำบลกระเทยี ม
๓
2.1.2 ลกั ษณะภูมิประเทศ
ลกั ษณะภูมิประเทศของตำบลกระเทียม เปน็ ที่ราบลมุ่ และเปน็ หนองน้ำเปน็ สว่ นมาก ที่
ดอนมักจะอยสู่ ลบั กับที่ล่มุ ที่ดอนจะเปน็ ท่ตี งั้ ของบ้านเรือนทอ่ี ยู่อาศยั สว่ นทล่ี มุ่ นั้นจะเป็นทีท่ ำนาและ
เพาะปลูกพชื ไร่เป็นบางสว่ น
2.1.3 ลักษณะภูมิอากาศ
ลกั ษณะอากาศเป็นไปตามมรสมุ มี 3 ฤดู คือ
ฤดรู ้อน เรมิ่ ต้ังแต่เดือนมนี าคม ถึง เดือนพฤษภาคม
ฤดฝู น เรมิ่ ต้งั แตเ่ ดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม
ฤดหู นาว เริม่ ตั้งแต่เดือนพฤศจกิ ายน
2.1.4 ลกั ษณะของดนิ
ลกั ษณะของดนิ เป็นดนิ รว่ นปนทราย มบี างพื้นทเี่ ปน็ ดินเหนียวปนทราย ฉะน้นั ดินในเขตนี้
จงึ อมุ้ นำ้ ได้นอ้ ย
2.1.5 ลักษณะของแหล่งนำ้
พื้นที่เป็นที่ราบ ผลจากของการยกตัวของเปลือกโลก ทำให้พื้นที่ของตำบลกระเทียม
อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ สูงทางด้านทิศใตแ้ ละลาดเอียงสู่ทศิ เหนือ ดังนั้นลำน้ำจึงไหลจากทิศใตไ้ ปทาง
ทิศเหนือลงสู่แม่น้ำมูล ทำให้ไม่มีลำน้ำขนาดใหญ่มีเพียงลำห้วย คือ ลำห้วยทับทัน และลำห้วยสำเริง
นอกนั้นเป็นลำห้วยที่มีน้ำเฉพาะฤดูฝนเนื่องจากพื้นที่ลาดเอียงมาก เมื่อฝนตกน้ำจึงไหลลงไปสู่ที่ต่ำหมด
พน้ื ที่จงึ ไม่สามารถรับนำ้ หรือเกบ็ กักนำ้ ได้โดยธรรมชาติ
2.2 ด้านการเมือง/การปกครอง
2.2.1 เขตการปกครอง
มจี ำนวนหมู่บา้ นทง้ั หมด ๒๑ หมู่บ้าน ดังนี้
หมทู่ ี่ บา้ น ชอื่ ผูใ้ หญบ่ ้าน เบอร์โทรศัพท์
๑ กระเทยี ม นายแดด พิมพจ์ นั ทร์ 085 025 2767
093 365 2961
๒ กระเทยี ม นายธนวฒั น์ พมุ่ ลา 086 902 4938
085 492 1274
๓ แยง นางนงนุช โคโตสี 095 613 6792
087 743 4409
๔ ตระเปยี งเวง นายเฉลิม แว่นดำ 061 132 9194
088 703 0562
๕ ถนน นายจำนง ใจหนง่ึ 063 763 0555
098 610 8423
๖ หมื่นชัย นายรื่น สมสวย * กำนนั ตำบลกระเทยี ม 062 103 0890
๗ โคกรมั ย์ นายทูล เสาร์แกว้ เบอรโ์ ทรศัพท์
๘ โนนสงา่ นายพฒั นา ดาทอง
๙ โนนสบาย นายคำพูน เสรมิ จนั ทร์
๑๐ หนองกงุ นายชาตเิ วท สขุ ไกร
๑๑ ร่มเยน็ โนนสำราญ นายนิสสัน มณแี สง
หม่ทู ่ี บ้าน ชือ่ ผู้ใหญบ่ า้ น
๔
หมู่ที่ บ้าน ชื่อผใู้ หญบ่ า้ น เบอรโ์ ทรศัพท์
๑๒ โคกใหญ่ นายวชิ ิต บุญสวสั ด์ิ 083 692 5989
๑๓ ชัยมงคล นายบญุ เสริม กะการดี 082 137 9233
๑๔ โนนสบายนอ้ ย นายทวปี เประนาม 061 068 8115
๑๕ กระเทยี มนอ้ ย นางอมติ ตา คงสิงห์ 063 192 8933
๑๖ โคกรมั ย์พฒั นา นายอดศิ ักด์ิ บุตรชาติ 093 483 6891
๑๗ ขนุ เทียม นายบรรจง สขุ ใหญ่ 098 614 0653
๑๘ หนองยาว นายกอน เรอื ชัย 094 514 3198
๑๙ ด่านเจริญ นายอิสรพงษ์ ดาทอง 063 678 0919
๒๐ สุขสบาย -ว่าง- ครบวาระการดำรงตำแหน่ง (ยังไม่เลือกตง้ั )
๒๑ ตาเตือม นางกมลวรรณ ผมหอม 095 613 6845
2.2.2 การเลอื กตั้ง
ผูบ้ รหิ ารองคก์ ารบริหารส่วนตำบลกระเทียม
1) นายจำนง บุญจง นายกองคก์ ารบริหารส่วนตำบลกระเทียม
2) นายชำนาน หมน่ั รอบ รองนายกองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลกระเทยี ม
3) นายพฒั นพงษ์ เกิดเพิ่มดี รองนายกองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลกระเทียม
4) -วา่ ง- เลขานุการนายกองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลกระเทยี ม
2.2.2 สมาชกิ สภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลกระเทียม
1) นายฤดี เฉลียวไวย์ ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกระเทียม
2) นายอไุ พร สขุ ใหญ่ รองประธานสภาองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลกระเทียม
3) นายบุญเพ็ง มะลงิ าม เลขานุการสภาองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลกระเทยี ม
4) นายประชุม คงสิงห์ สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๑
5) นายสทิ ธชิ ยั เกษามา สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๒
6) นายจำลอง บญุ จง สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๒
7) -ว่าง- สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๓
8) นายสมนกึ จันนบุ ิน สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๓
9) นายสุชาติ จารตั น์ สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๔
10) นายเนนิ ไชยไชย สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๔
11) นายคติ ยวงแกว้ สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๕
12) นางเรย สีดางาม สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๖
13) นายชำนาญ นาดี สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๖
14) -ว่าง- สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๗
15) -วา่ ง- สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๗
16) นายคำพอง โชติยา สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๘
๕
17) นายนอ้ ย ลาทอง สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๙
18) นายนวล ใจกล้า สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๙
19) -ว่าง- สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๑๐
20) นายวชั ระ ศรีแกว้ สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๑๐
21) นายอำนาจ คงสา สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๑๑
22) นายกุหลาบ สระใหญ่ สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๑๑
23) นายเสมียน อนุ่ จันทร์ สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๑๒
24) นายประกอบ บุญสวสั ดิ์ สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๑๒
25) นายลานชัย หลา้ ล้ำ สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๑๓
26) นายบุญสม กระแสโท สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๑๓
27) นางวนั เพญ็ วงศา สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๑๔
28) นางพรชยั ยศหนองทุ่ม สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๑๔
29) นายโชติ โคตยา สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๑๕
30) นายราชันย์ มีพรอ้ ม สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๑๕
31) นายอดศิ ักดิ์ บุตรชาติ สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๑๖
32) นายสที า ผิวเหลือง สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๑๖
33) นายศุภชาติ ตะโย สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๑๗
34) นายวิชยั พุ่มลา สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๑๗
35) นางเยาวนิตย์ วงษค์ ง สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๑๘
36) นายชายงา ไมจ้ นั ทร์ดี สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๑๘
37) นายอภสิ ทิ ธ์ิ ตอ่ ดอก สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๑๙
38) นายคลอแรม เสพสุข สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๑๙
39) นายบรรดิษย์ บญุ มี สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๒๐
40) นางสาวสุจติ รา โนนคำ สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๒๐
41) นายเสรมิ ราศรีนวน สมาชิกสภา อบต. หมู่ ๒๑
42) นางภาวินี สนโสก สมาชกิ สภา อบต. หมู่ ๒๑
3. ประชากร/ครัวเรอื น
3.1 ข้อมูลเกยี่ วกบั จำนวนประชากร
จำนวนประชากรและความหนาแน่นประชากร จากข้อมูลของสำนักบริหารการทะเบียน
กรมการปกครอง การตรวจสอบบ้านจากทะเบียนบ้าน (สำนักงานทะเบียน อำเภอสังขะ) ณ วันท่ี 23
เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕64 จำนวนประชากรทั้งสิ้น ๑๓,130 คน จำแนกเป็น ชาย ๖,521 คน
หญงิ ๖,609 คน มีความหนาแน่นเฉลีย่ 163.96 คนตอ่ ตารางกโิ ลเมตร จะเห็นไดว้ า่ จำนวนประชากร
ภายในตำบลกระเทียม มีอัตราทเี่ ปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ซงึ่ การเปลีย่ นแปลงของจำนวนประชากรน้ันขึ้นอยู่
กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น การเกิด การตาย การย้ายถิ่นฐานของประชากรภายในตำบล ซึ่งจะดูได้จาก
ตารางเปรยี บเทียบ
๖
ตารางเปรียบเทียบจำนวนประชาชน ตำบลกระเทียม ระหวา่ งปี พ.ศ2562 กับปี พ.ศ.2564
หมทู่ ี่ บา้ น ปี ๒๕62 ปี ๒๕64
ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม
๑ กระเทียม 489 505 944 481 500 981
๒ กระเทยี ม 419 412 831 411 405 816
๓ แยง 367 395 762 361 389 750
๔ ตระเปยี งเวง 181 185 366 178 180 358
๕ ถนน 422 448 870 430 452 882
๖ หมน่ื ชยั 219 227 446 223 225 448
๗ โคกรมั ย์ 326 350 676 322 358 680
๘ โนนสงา่ 392 388 780 395 394 789
๙ โนนสบาย 319 278 597 320 285 605
๑๐ หนองกงุ 275 285 560 279 287 563
๑๑ โนนสำราญ 342 320 662 338 314 652
๑๒ โคกใหญ่ 378 384 762 368 383 751
๑๓ ชยั มงคล 351 366 717 349 363 712
๑๔ โนนสบายน้อย 294 288 582 289 281 570
๑๕ กระเทียมน้อย 476 484 960 470 479 949
๑๖ โคกรมั ยพ์ ฒั นา 297 288 585 290 280 570
๑๗ ขนุ เทยี ม 228 329 467 224 232 456
๑๘ หนองยาว 233 224 457 239 227 466
๑๙ ด่านเจรญิ 115 110 225 115 112 227
๒๐ สขุ สบาย 317 331 648 328 355 683
๒๑ ตาเตือม 111 104 215 114 108 222
รวม 6,551 6,611 13,162 6,521 6,609 13,130
หมายเหตุ ขอ้ มลู ณ วันที่ 23 เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕64
๗
3.2 ขอ้ มลู จำนวนครัวเรอื น
มีจำนวนครัวเรอื น ซ่ึงจะดูได้จากตารางเปรยี บเทยี บ
หมทู่ ี่ บา้ น ปี ๒๕๕7 ปี ๒๕๕8 ปี ๒๕๕9 ปี ๒๕62 ปี 2564
๑ กระเทยี ม 245 249 251 253 255
๒ กระเทียม 213 215 218 228 238
๓ แยง 185 187 187 197 201
๔ ตระเปยี งเวง 106 108 110 112 116
๕ ถนน 234 238 240 250 254
๖ หมน่ื ชยั 106 113 115 118 124
๗ โคกรัมย์ 160 166 168 176 180
๘ โนนสง่า 191 191 193 204 213
๙ โนนสบาย 157 161 163 168 171
๑๐ หนองกุง 129 152 135 136 140
๑๑ โนนสำราญ 176 177 180 185 194
๑๒ โคกใหญ่ 209 211 216 222 228
๑๓ ชัยมงคล 170 175 175 181 186
๑๔ โนนสบายนอ้ ย 134 135 137 141 145
๑๕ กระเทยี มน้อย 213 217 221 225 231
๑๖ โคกรัมย์พฒั นา 126 132 138 143 143
๑๗ ขนุ เทยี ม 100 103 105 105 107
๑๘ หนองยาว 162 164 168 177 181
๑๙ ดา่ นเจรญิ 67 70 71 72 73
๒๐ สุขสบาย 151 151 151 156 161
๒๑ ตาเตอื ม 60 60 61 63 64
รวม 3,294 3,355 3,403 3,512 3,605
*** ปี ๒๕๕7 ขอ้ มูลครวั เรือนจากสำนักบริหารการทะเบียนอำเภอสงั ขะ กรมการปกครอง
การตรวจสอบบา้ นจากทะเบยี นบ้าน (สำนักงานทะเบยี น อำเภอสงั ขะ) ณ วันท่ี 2 พฤษภาคม 2557
*** ปี ๒๕๕8 ข้อมูลครัวเรือนจากสำนักบริหารการทะเบียนอำเภอสังขะ กรมการปกครอง
๘
การตรวจสอบบ้านจากทะเบียนบา้ น (สำนกั งานทะเบยี น อำเภอสังขะ) ณ วันที่ 27 พฤษภาคม
2558
*** ปี ๒๕๕9 ขอ้ มลู ครวั เรอื นจากสำนกั บรหิ ารการทะเบียนอำเภอสังขะ กรมการปกครอง
การตรวจสอบบ้านจากทะเบียนบ้าน (สำนักงานทะเบยี น อำเภอสังขะ) ณ วนั ท่ี 10 มถิ ุนายน 2559
*** ปี ๒๕62 ขอ้ มลู ครัวเรือนจากสำนกั บริหารการทะเบียนอำเภอสงั ขะ กรมการปกครอง
การตรวจสอบบ้านจากทะเบียนบ้าน (สำนักงานทะเบยี น อำเภอสงั ขะ) ณ วนั ที่ 23 เมษายน 2562
*** ปี ๒๕64 ข้อมูลครวั เรือนจากสำนกั บรหิ ารการทะเบียนอำเภอสงั ขะ กรมการปกครอง
การตรวจสอบบ้านจากทะเบียนบ้าน (สำนกั งานทะเบียน อำเภอสงั ขะ) ณ วันท่ี 23 เมษายน 2564
4. สภาพทางสงั คม
4.1 การศึกษา ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลกระเทียม มีโรงเรียนในระดับประถมศึกษา จำนวน ๖
แห่ง (โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ๒ แหง่ ) และโรงเรยี นระดบั มธั ยมศึกษา จำนวน ๑ แหง่ ในปกี ารศึกษา ๒๕64
มีจำนวนนักเรยี น ดงั นี้
จำนวนนกั เรียน
ระดับช้ัน เพศ อ.2 อ.3 ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวม
โรงเรียน
โรงเรยี นบา้ น ชาย 15 22 27 24 27 42 30 28 215
กระเทียมฯ หญิง 12 13 20 21 30 26 21 27 170
โรงเรยี นบา้ น ชาย 11 12 12 9 16 25 18 17 120
แยงฯ หญงิ 14 9 13 8 25 14 9 12 104
โรงเรยี นบ้าน ชาย 10 13 11 8 12 10 9 9 82
โนนสบาย หญิง 5 7 7 7 9 5 9 11 60
โรงเรยี นบ้าน ชาย 9 11 11 9 16 16 15 7 7 7 5 113
โคกรมั ย์ หญิง 4 9 8 10 13 14 8 15 5 6 8 100
โรงเรยี น ชาย 9 10 9 4 12 4 8 2 5 5 5 73
สหราษฎร์ 96
วทิ ยา หญิง 11 11 10 12 9 13 10 5 7 5 3
โรงเรยี น ชาย 4 9 2 4 5 4 5 7 40
บ้านถนน หญิง 5 3 6 7 6 10 6 2 45
ชาย 92 107 76 81 40 50 446
๙
ระดับชนั้ เพศ อ.2 อ.3 ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖ รวม
โรงเรยี น
โรงเรียน หญงิ 79 64 74 96 84 96 493
กระเทียม
วิทยา
รวม 109 129 136 123 180 183 148 142 195 194 171 177 124 146 2,157
*** ข้อมลู จากโรงเรียนทกุ แหง่ ณ เดอื นมิถนุ ายน ๒๕64
ปกี ารศกึ ษา ๒๕64 โรงเรยี นมบี คุ ลากร ดงั นี้
โรงเรียน ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำ/ลกู จ้าง รวม
ช่วั คราว/พนักงานจ้าง/
ชาย หญงิ ชาย หญงิ 20
ครอู ัตราจา้ ง/ 14
โรงเรยี นบ้านกระเทียมฯ 5 13 - 2 10
ครูธุรการ 19
โรงเรียนบ้านแยงฯ 48 -1 19
ชาย หญงิ 7
โรงเรยี นบ้านโนนสบาย 63 - - 56
-- 155
โรงเรียนบ้านโคกรมั ย์ 5 10 - 3 -1
1-
โรงเรียนสหราษฎรว์ ิทยา 3 11 1 1 -1
21
โรงเรียนบ้านถนน 24 - - -1
33
โรงเรียนกระเทียมวิทยา 17 30 1 1 67
รวม 42 79 2 9
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตำบลกระเทียม ตั้งอยู่ ณ วัดอินทราสุกา
ราม หมทู่ ี่ ๑๘ มบี คุ ลากรปฏบิ ตั งิ าน 2 คน ประกอบด้วย
๑. นางสาวโพธ์ปิ ระภา ดัชถยุ าวัตร ตำแหนง่ หวั หนา้ กศน.ตำบลกระเทียม
2. นางสาวเจนจิรา สาคร ตำแหน่ง ครู ศรช. บ้านถนน
๑๐
มีประชาชนเขา้ ศึกษาในศนู ยฯ์ ดังนี้ *** ข้อมูล ณ วนั ที่ 10 กนั ยายน 2564
ระดบั การศกึ ษา ปี ๒๕๕9 ปี 2562 ปี 2564
ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม
ประถมศึกษา - - - 235416
มัธยมศึกษาตอนต้น 71 44 115 17 37 54 36 25 61
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 56 67 123 40 53 93 47 40 57
กลมุ่ พฒั นาชุมชนและ 10 10 20 - - - 25 25
สังคม
กลุม่ ทักษะอาชพี 40 - 40 - - - 11 11
การจดั การศึกษาขององคก์ ารบริหารสว่ นตำบลกระเทียม
องค์การบริหารส่วนตำบลกระเทียมได้ดำเนินการตามโครงการถ่ายโอนภารกิจการจัด
การศึกษาอนุบาล ๓ ขวบ ซึ่งปฏิบัติตามนโยบายการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตามรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๔๐ มาตรา ๗๘ และพระราชบัญญัตกิ ำหนดแผน
และข้ันตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พทุ ธศักราช ๒๕๔๒ มาตรา ๓๐
ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก
1) ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบา้ นกระเทียม หมู่ท่ี ๑ (ถ่ายโอนจากกรมพัฒนาชุมชน)
2) ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กบา้ นโนนสบาย หมทู่ ี่ ๙ (ถา่ ยโอนจากกรมพฒั นาชุมชน)
3) ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ วัดอนิ ทราสกุ าราม หมทู่ ่ี ๑๘ (ถ่ายโอนจากกรมการศาสนา)
4) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรยี นบ้านแยงมิตรภาพที่ ๑๔๖ (อนุบาล ๓ ขวบ ถ่ายโอนจาก สปช.) ปี 2561
ยบุ รวมกบั ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กวดั อินทราสุการาม
5) ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ บ้านโนนสง่า หมทู่ ่ี ๘ จัดตั้งปี พ.ศ. ๒๕๔๔
6) ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ บ้านโคกรมั ย์ หมทู่ ี่ ๗ จัดต้ังปี พ.ศ. ๒๕๔๖
7) ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ บา้ นถนน หมูท่ ี่ ๕ จัดตง้ั ปี พ.ศ. ๒๕๕๑
จำนวนเด็กในศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็
ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ ปี ๒๕๕9 ปี 2562 ปี 2564
ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม
ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ บ้านกระเทยี ม หมู่ ๑ 46 46 92 35 20 55 31 17 48
ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ บ้านถนน หมู่ ๕ 16 18 34 11 10 21 7 15 22
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกรัมย์ หมู่ ๗ 15 18 33 17 11 28 19 10 29
ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บ้านโนนสงา่ หมู่ ๘ 11 17 28 17 11 28 8 11 19
ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ บ้านโนนสบาย หมู่ ๙ 16 16 32 23 14 37 13 18 31
ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ วัดอินทราสกุ าราม หมู่ ๑๘ 13 16 29 22 22 44 26 21 47
๑๑
ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก ปี ๒๕๕9 ปี 2562 ปี 2564
ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบ้านแยงมิตรภาพ 15 19 34 - - - - - -
ที่ ๑๔๖ (อนบุ าล ๓ ขวบ)
รวม 132 150 282 124 87 213 104 92 196
*** ข้อมูลจากกองการศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ณ 10 กนั ยายน 2564
จำนวนบุคลากรในศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก
ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ปี ๒๕๕9 ปี ๒๕62 ปี ๒๕64
ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม
ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บ้านกระเทียม หมู่ ๑ - 3 3 - 5 5 - 5 5
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบา้ นถนน หมู่ ๕ - 22 - 22 - 2 2
ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ บา้ นโคกรัมย์ หมู่ ๗ - 33 - 33 - 3 3
ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บา้ นโนนสงา่ หมู่ ๘ - 22 - 22 - 2 2
ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ บ้านโนนสบาย หมู่ ๙ - 3 3 - 3 3 - 3 3
ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ วัดอินทราสกุ าราม - 22 - 33 - 4 4
ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กโรงเรยี นบ้านแยง - 22 - - - - - -
มิตรภาพท่ี ๑๔๖ (อนุบาล ๓ ขวบ)
รวม - 17 17 - 18 18 - 19 19
4.2 การสาธารณสขุ ตำบลกระเทยี มมีโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล ๒ แหง่ ดงั น้ี
1) โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลกระเทยี ม ต้ังอยู่หมู่ท่ี ๑ บ้านกระเทียม ตำบล
กระเทียม อำเภอสังขะ จังหวดั สรุ นิ ทร์ รับผดิ ชอบ ๑๑ หม่บู ้าน ได้แก่ หมู่ที่ ๑, ๒, ๗, ๙, ๑๓, ๑๔,
๑๕, ๑๖, ๑๗, ๒๐ และหม่ทู ่ี ๒๑ มบี ุคลากรปฏิบัติงานดังน้ี
- ข้าราชการ ชาย 1 คน หญงิ 4 คน รวม 5 คน
- พนักงานราชการ ชาย - คน หญิง 3 คน รวม 3 คน
- ลูกจา้ งรายวัน ชาย - คน หญิง 1 คน รวม 1 คน
2) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองยาว ตั้งอยู่หมู่ที่ ๑๘ บ้านหนองยาว
ตำบลกระเทียม อำเภอสงั ขะ จังหวัดสุรินทร์ รบั ผิดชอบ ๑๐ หมูบ่ ้าน ไดแ้ ก่ หมทู่ ่ี ๓, ๔, ๕, ๖, ๘, ๑๐,
๑๑, ๑๒, ๑๘ และหมูท่ ่ี ๑๙ มบี คุ ลากรปฏบิ ัตงิ านดงั น้ี
- ขา้ ราชการ ชาย - คน หญิง 3 คน รวม 3 คน
๑๒
- ลูกจา้ งประจำ ชาย - คน หญงิ 3 คน รวม 3 คน
อตั ราการเพิ่มลดของประชากร
ประเภท ปี ๒๕๕8 ปี ๒๕61 ปี 2563
ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม
คนเกดิ 64 63 127 73 49 122 50 47 97
คนตาย 66 60 126 48 30 78 42 38 80
** ขอ้ มลู จาก รพ.สต.กระเทียม และ รพ.สต.บา้ นหนองยาว
สาเหตกุ ารเสียชวี ติ ของประชากร
ลำดบั ปี 2560 ปี 2561 ปี 2563
ท่ี รพ.สต. รพ.สต.
รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต.
กระเทยี ม บ.หนองยาว กระเทียม บ.หนองยาว กระเทยี ม บ.หนองยาว
๑. โรคชรา โรคหวั ใจและ โรคชรา โรคปอดตดิ โรคมะเรง็ ทุก โรคระบบประสาท
โรคหวั ใจลม้ เหลว เชื้อ ชนิด
๒. โรคมะเร็ง โรคเบาหวานและ โรคมะเรง็ โรคมะเรง็ โรคสมองฝอ่ โรคเนือ้ งอก (รวม
และเนอ้ื งอก ไตวาย
จากวัยชรา มะเรง็ )
๓. อบุ ัตเิ หตุ โรคชรา อุบตั ิเหตุ โรคหลอด โรคไต โรคระบบไหลเวียน
เลือดสมอง โลหิต
โรคหวั ใจ
๔. โรคความดนั โรคมะเร็ง ลม้ เหลว อุบัตเิ หตุ อุบตั เิ หตุ สาเหตุภายนอกท่ีทำ
โลหติ สงู ให้ปว่ ยหรอื ตาย
๕. โรคหวั ใจ อบุ ัตเิ หตุ โรควณั โรค ไตวาย วณั โรค โรคระบบยอ่ ยอาหาร
รวมโรคในชอ่ งปาก
** ขอ้ มลู จาก รพ.สต.กระเทยี ม และ รพ.สต.บา้ นหนองยาว
สาเหตุการปว่ ยของประชากร
ปี 2561 ปี 2563
ลำดบั รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต.
กระเทียม บ.หนองยาว กระเทยี ม บ.หนองยาว
๑. โรคระบบทางเดินหายใจ การตดิ เชอ้ื ระบบ เยือ่ บุจมกู และลำคอ โรคความดนั โลหิตสูง
ทางเดินหายใจสว่ นบน อักเสบ
โรคระบบกลา้ มเน้ือรวม กลา้ มเน้ืออักเสบ เย่ือบุจมกู และลำคอ
๒. โครงสรา้ งและเน้ือยึด โรคความดันโลหิตสูง อักเสบ
เสริม
๑๓
ปี 2561 ปี 2563
ลำดบั รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต.
กระเทยี ม บ.หนองยาว กระเทยี ม บ.หนองยาว
๓. โรคระบบไหลเวยี นเลือด โรคเบาหวาน ปวดกล้ามเน้ือต้นคอ โรคชอ่ งปากและฟนั
๔. โรคเก่ียวกับตอ่ มไร้ทอ่ โรคกล้ามเนือ้ โครงรา่ ง โรคติดเชื้อทางเดิน เบาหวานชนดิ ไมต่ ้องพึ่ง
โภคชนาการและเมตะ และเน้ือเย่ือเกี่ยวพัน หายใจ อินสลุ นิ
บอลซิ มึ
๕. โรคผิวหนงั และเนือ้ เย่ือ โรคระบบย่อยอาหาร กระเพาะอาหารอักเสบ โลหิตจากไมร่ ะบุ
ใต้ผวิ หนัง รายละเอยี ด
4.3 การสังคมสงเคราะห์
ผสู้ ูงอายุ ผู้พกิ ารทุพพลภาพ และผู้ปว่ ยเอดส์
ปีงบประมาณ ๒๕64 มจี ำนวนผ้สู ูงอายุ ผู้พกิ ารทุพพลภาพ และผปู้ ่วยเอดส์ รายละเอยี ดดังน้ี
หมู่ที่ ผู้สูงอายุ (คน) ผพู้ กิ าร (คน) ผูป้ ว่ ยเอดส์ (คน) รวม (คน)
1 173 63 2 238
2 132 38 3 173
3 120 43 4 167
4 68 17 2 87
5 133 26 1 160
6 60 13 1 74
7 125 33 - 158
8 113 35 2 150
9 94 27 - 121
10 68 21 1 90
11 77 20 7 104
12 86 23 2 111
13 98 20 4 122
14 101 28 - 129
15 161 44 5 210
16 90 23 - 113
17 69 28 2 99
๑๔
หมู่ท่ี ผู้สูงอายุ (คน) ผู้พกิ าร (คน) ผู้ป่วยเอดส์ (คน) รวม (คน)
18 76 9 - 85
19 22 3 - 25
20 89 21 1 111
21 25 13 2 40
รวม 1,980 548 39 2,567
*** ขอ้ มลู จาก สำนักปลดั อบต. ณ เดือนกันยายน 2564
5. ระบบบริการพื้นฐาน
5.1 การคมนาคมการขนสง่
ตำบลกระเทียม มีเส้นทางคมนาคมทีส่ ำคัญ คอื
1) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๒๔ สายโชคชยั - เดชอุดม ผา่ นบ้านถนน หมู่ที่ ๕ บ้านโคก
ใหญ่ หมู่ที่ ๑๒ บ้านหนองยาว หมู่ที่ ๑๘ บ้านแยง หมู่ที่ ๓ และบ้านโนนสำราญ หมู่ที่ ๑๑ ตำบล
กระเทียม อำเภอสงั ขะ จงั หวัดสุรินทร์
2) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๒๒๘๘ สายลำดวน - หนองยาว เป็นถนนเชื่อมระหว่าง
อำเภอลำดวน กับ ส่ีแยกหนองยาว
3) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๒๑๒๓ สายสี่แยกหนองยาว - บ้านกระเทียม หมู่ที่ ๑
(ถ่ายโอนให้ อบต.กระเทยี มแลว้ )
4) ทางหลวงชนบท หมายเลข – สายบ้านกระเทียม - บ้านสกล อำเภอกาบเชิง (ถ่ายโอน
ให้องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดสรุ ินทร์)
5) ทางหลวงชนบท หมายเลข สร. ๒๐๒๔ สายบ้านถนน - บา้ นคตู นั อำเภอกาบเชิง
6) ทางหลวงชนบท หมายเลข สร. ๓๑๒๖ สายบ้านกระเทียม - บ้านกันเต็ล ตำบลบ้าน
จารย์ (ถ่ายโอนให้ อบต.กระเทียมแลว้ )
จำนวนถนนทตี่ ดั ผ่านในเขตตำบลกระเทยี ม
หม่ทู ่ี บา้ น ถนน ถนน ถนนลูกรงั ถนนดนิ ลง ถนนดนิ
ลาด คอนกรตี หนิ คลุก
๑ กระเทยี ม ยาง 2
๒ กระเทียม 3 2
๓ แยง 15 - 3 2
๔ ตระเปยี งเวง 2 2
๕ ถนน 13 - 1 2
๖ หมืน่ ชยั 2 3
๗ โคกรมั ย์ 12 - 3 3
๘ โนนสงา่ 1 3
๙ โนนสบาย 24 - 2 3
1
25 -
13 -
25 -
14 -
16 -
๑๕
๑๐ หนองกุง 1 5 - 22
๑๑ ร่มเย็นโนนสำราญ 1 1 - 11
๑๒ โคกใหญ่ 1 4 - 32
๑๓ ชัยมงคล 1 3 - 4-
๑๔ โนนสบายน้อย 1 3 - 31
๑๕ กระเทยี มนอ้ ย 1 7 - 21
๑๖ โคกรมั ยพ์ ัฒนา 2 6 - 32
๑๗ ขนุ เทยี ม 1 4 - 21
๑๘ หนองยาว 2 4 - 22
๑๙ ดา่ นเจริญ 1 3 - 31
๒๐ สขุ สบาย 1 4 - 31
๒๑ ตาเตือม 1 4 - 12
รวม 26 85 - 47 38
5.2 การไฟฟ้า
เขตตำบลกระเทียม เป็นชุมชนชนบท รับบริการกระแสไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
สาขาอำเภอสังขะ ประชากรมีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือนทำให้ประชาชน มีสิ่งอำนวยความสะดวก
คอื มีเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ต่างๆ แตก่ ระแสไฟฟ้ายังขยายไม่ถงึ พื้นที่รอบนอกหมู่บ้าน ซ่ึงเกษตรกรมีความ
ต้องการให้ขยายเขตไปในเขตเกษตรกรรมของหมู่บ้าน
5.3 การประปา
ระบบประปาตำบลกระเทียม มีทั้งแบบระบบน้ำผิวดินและระบบบาดาล จำนวน 14
แห่ง มีที่ใช้ร่วมกัน ๒ - 3 หมู่บ้าน และบางหมู่บ้านน้ำประปาไม่เพียงพอกับความต้องการของ
ราษฎร
ลำดบั บา้ น หมทู่ ี่ใชบ้ รกิ าร ผู้ใช้บริการ ระบบประปา
ที่ (หลังคาเรอื น) ผิวดิน บาดาล
3
๑. บ้านแยง 4, ๑๘ 121 /
125 /
๒. บ้านตระเปียงเวง ๕ 185 /
๖ 122
๓. บ้านถนน ๗, ๑๖ 216 /
๘ 166 /
๔. บา้ นหมื่นชยั ๙, ๑๔, ๒๐ 269 /
10 26 /
๕. บ้านโคกรมั ย์ ๑๑ 38
๑๒ 35 /
๖. บา้ นโนนสงา่ 13, 17 75 /
๑, ๒, ๑๕ 385 /
๗. บ้านโนนสบาย /
/
๘. บ้านหนองกุง
๙. บ้านร่มเยน็ โนนสำราญ
10. บ้านโคกใหญ่
11. บ้านชยั มงคล
12. บา้ นกระเทียม
๑๖
13. บ้านดา่ นเจริญ 19 30 /
14. บ้านตาเตอื ม 21 48 /
รวม 14 แหง่ 2๑ หมบู่ ้าน 1,841 8 แห่ง 6 แหง่
5.4 โทรศพั ท์ จำนวน - แห่ง
โทรศัพท์สาธารณะ จำนวน 3,468 เครื่อง
โทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ี
โทรศพั ท์พนื้ ฐาน จำนวน 81 เคร่ือง
6. ระบบเศรษฐกิจ
6.1 การเกษตร
ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนาเป็นหลัก ตำบลกระเทียมมีศูนย์บริการและถ่ายทอด
เทคโนโลยีการเกษตรตำบลกระเทยี ม ต้งั อยู่ ณ ทีท่ ำการองค์การบริหารสว่ นตำบลกระเทียม หมู่ท่ี ๑
ซึ่งมีคณะกรรมการบริหาร จำนวน ๑๕ คน โดยองค์การบริหารส่วนตำบลกระเทียม ได้สนับสนุน
งบประมาณ และสง่ เสรมิ ความร้ใู ห้กับกลุ่มตา่ งๆ ดงั น้ี
๑) กล่มุ เกษตรอินทรียต์ ำบลกระเทียม มีสมาชกิ จำนวน ๘๒๕ คน
๒) กลุ่มปลูกหม่อนเล้ียงไหมตำบลกระเทียม มีสมาชกิ จำนวน ๗๐ คน
๓) กลุ่มเกษตรกรปลกู ยางพาราตำบลกระเทยี ม มสี มาชิก จำนวน ๑๒๒ คน
4) กลุ่มสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพเมล็ดพนั ธ์ุข้าวหอมมะลิตำบลกระเทียม มีสมาชิก จำนวน
122 คน
6.2 กลุ่มอาชีพต่างๆ
1) กลมุ่ สตรที อผ้าไหม บา้ นโนนสง่า หม่ทู ่ี ๘ มสี มาชิก จำนวน ๖๐ คน
2) กลุ่มทอผา้ ไหมย้อมสธี รรมชาติ บ้านแยง หม่ทู ่ี ๓ มีสมาชกิ จำนวน ๔๖ คน
3) กลมุ่ ทอผา้ ไหม บ้านดา่ นเจริญ หมูท่ ี่ ๑๙ มสี มาชกิ จำนวน ๒๔ คน
4) กลุ่มทอผ้าไหม บา้ นหมืน่ ชยั หมู่ท่ี 6 มสี มาชกิ จำนวน 12 คน
5) กลุ่มเฟอร์นิเจอรร์ ากไม้ บา้ นด่านเจริญ หมทู่ ี่ ๑๙ มีสมาชิก จำนวน ๒๐ คน
6) กลุ่มทอเสอ่ื กก บา้ นโนนสำราญ หมทู่ ่ี ๑๑ มสี มาชกิ จำนวน ๔๓ คน
6.3 การพาณิชย์
พ้นื ทีต่ ำบลกระเทียม มีรา้ นจำหน่ายสินค้า และสถานประกอบกจิ การอ่ืนๆ รายละเอยี ดดังน้ี
ลำดบั ที่ ข้อมูล ปี ๒560 ปี ๒๕61 ปี ๒๕62 ปี 2564
๑. ร้านคา้ 89 106 110 120
๒. รา้ นจำหน่ายอปุ กรณ์ก่อสร้าง 10 8 5 5
๓. โรงสี 49 58 57 48
๔. ปมั้ น้ำมนั (ปั๊มขนาดใหญ/่ ปั๊มหลอด/ 3 16 18 18
ปั๊มหยอดเหรียญ)
๕. รา้ นซ่อมรถ/ประดบั ยนต์ 11 20 19 19
๑๗
ลำดับท่ี ข้อมูล ปี ๒560 ปี ๒๕61 ปี ๒๕62 ปี 2564
25
๖. โรงแรม/รีสอรท์ /บ้านเชา่ 6 12 21 3
5
๗. ฟารม์ เลีย้ งสุกร(ขนาดใหญ่) 125 3
2
๘. โรงผลติ /จำหน่ายเฟอรน์ เิ จอร์ 175 8
1
๙. โรงผลติ /หมักขนมจีน 233 4
5
๑๐. โรงตีเหล็ก(ผลิตมีด) 222 3
1
๑๑. ร้านเสริมสวย 4 10 8 3
๑๒. โรงผลิตนำ้ แขง็ 111 20
๑๓. สถานพยาบาลเอกชน 354 4
2
๑๔. เสาสัญญาณรบั - ส่งโทรศพั ท์ 6 10 5
1
๑๕. จำหน่ายสมนุ ไพร 256 1
2
๑๖. โรงรับซ้ือขา้ วเปลือก 133 1
1
17. ร้านจำหน่ายโทรศพั ท/์ อุปกรณ์ 1 2 1 1
โทรศพั ท์ 306
18. ร้านอาหาร/กว๋ ยเตี๋ยว/สม้ ตำ/ 4 25 18
อาหารทะเล/เนื้อหมู ฯลฯ
19. ร้านอินเตอรเ์ น็ต 665
20. รา้ นจำหนา่ ยรถไถ/เครื่องมือ 122
การเกษตร/อะไหล่รถยนต์
21. ร้านซ่อมเครื่องใชไ้ ฟฟ้า 121
22. ธนาคาร 111
23. ร้านจำหนา่ ยเนอ้ื ยา่ ง 222
24. รา้ นทำป้าย 111
25. โรงผลติ ปลาทู 111
26. ร้านซกั ผ้าหยอดเหรยี ญ 111
รวม 210 311 305
*** ขอ้ มลู จากงานจดั เก็บรายได้ กองคลงั ณ วันที่ 9 มถิ ุนายน 2564
6.4 รายไดเ้ ฉล่ยี ของแต่ละหมู่บา้ น
หมทู่ ี่ บา้ น รายได้เฉล่ีย/คน/ปี (บาท)
๑ กระเทยี ม ปี ๒๕๕9 ปี ๒๕๕60 ปี ๒๕61 ปี ๒๕62
๒ กระเทยี ม 60,651 52,672
65,076 58,062 50,284 64,955
73,490 68,252
๑๘
๓ แยง 63,036 59,675 56,866 55,187
๔ ตระเปยี งเวง 52,753 56,514 53,308 49,945
รายได้เฉล่ีย/คน/ปี (บาท)
หมทู่ ่ี บา้ น ปี ๒๕๕9 ปี ๒๕๕60 ปี ๒๕61 ปี ๒๕62
69,725 65,646 77,256 59,870
๕ ถนน 51,833 46,340 46,949 47,329
๖ หมน่ื ชัย 66,302 47,568 51,018 52,496
๗ โคกรัมย์ 54,823 55,187 56,371 51,350
๘ โนนสง่า 77,747 82,414 86,710 86,235
๙ โนนสบาย 77,719 84,967 120,263 100,349
๑๐ หนองกุง 84,027 52,424 48,980 51,396
๑๑ รม่ เย็นโนนสำราญ 64,363 51,285 52,757 55,398
๑๒ โคกใหญ่ 50,796 54,169 51,999 47,846
๑๓ ชยั มงคล 71,039 58,191 59,475 61,173
๑๔ โนนสบายนอ้ ย 68,584 84,317 80,555 73,860
๑๕ กระเทยี มนอ้ ย 73,410 61,295 83,831 62,466
๑๖ โคกรมั ย์พัฒนา 49,008 44,955 45,660 45,805
๑๗ ขนุ เทียม 87,127 80,214 78,651 85,062
๑๘ หนองยาว 61,384 54,754 53,732 55,965
๑๙ ด่านเจรญิ 62,763 43,889 46,208 44,920
๒๐ สขุ สบาย 65,842 47,604 47,312 48,724
๒๑ ตาเตอื ม
59,758
รวมเฉล่ยี ทงั้ ตำบล 65,842 60,159 61,691
*** รายไดเ้ ฉลี่ยตามเกณฑ์ข้อมูลความจำเป็นขน้ั พ้ืนฐาน (จปฐ.)
7. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถ่ิน (ดา้ นการเกษตรและแหลง่ น้ำ)
7.1 ข้อมูลพนื้ ฐานของหมู่บ้านหรือชุมชน
พน้ื ฐานของหมู่บ้านหรือชุมชนในพ้นื ทต่ี ำบลกระเทียม มีลักษณะท่ตี ั้งสว่ นใหญ่เปน็ ชมุ ชน
ชนบท ประชาชนประกอบอาชีพทำนาเปน็ หลัก วา่ งเว้นจากฤดูกาลทำนา ประชาชนวัยแรงงาน
ส่วนใหญ่ จะเข้าไปทำงานในเมืองหลวงและเมืองใหญ่
7.2 ข้อมูลด้านการเกษตร
7.2.๑ กลมุ่ เกษตรอนิ ทรยี ์ตำบลกระเทยี ม มีสมาชกิ จำนวน ๘๒๕ คน
7.2.๓ กลมุ่ เกษตรกรปลูกยางพาราตำบลกระเทียม มีสมาชกิ ๑๒๒ คน
7.2.4 กลมุ่ สง่ เสริมและพฒั นาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิตำบลกระเทยี มมีสมาชกิ จำนวน
122 คน
๑๙
ขอ้ มูลด้านการเกษตร ประจำปี 2564
ลำดบั บ้าน ปลกู ข้าวหอมมะลิ อ้อย ยางพารา มันสัมปะหลงั
ที่ ราย ไร่ ราย ไร่ ราย ไร่ ราย ไร่
180 3,303.45 1 6.99 1 12 11
๑ กระเทียม หมู่ 1 190 3,064.87 17 -- 1 10
162 2,395.71 16
๒ กระเทียม หมู่ 2 19 1 12.81
118 1,843.54 1 28.75 9 66.75 3 11
๓ แยง หมู่ 3 4 48.74
288 4,725.42 2 8.15 15
๔ ตระเปยี งเวง 158 2,662.90 3 33.75 17
หมู่ 4 134 2,415.52 2 15.25
8 46.81
๕ ถนน หมู่ 5 16
3 21.75
๖ หม่นื ชยั หมู่ 6 1 4.25
๗ โคกรมั ย์ หมู่ 7 2 27.39
25 204.29
๘ โนนสงา่ หมู่ 8 182 2,988.72
๙ โนนสบาย หมู่ 9 159 2,737.16
๑๐ หนองกุง หมู่ 10 79 1.237.10
๑๑ รม่ เย็นโนน 110 1,516.11
สำราญ หมู่ 11
๑๒ โคกใหญ่ หมู่ 12 160 2,421.94
๑๓ ชัยมงคล หมู่ 13 141 2,330.82
๑๔ โนนสบายนอ้ ย 96 1,285.36
หมู่ 14
๑๕ กระเทียมนอ้ ย 96 1,382.21
หมู่ 15
๑๖ โคกรมั ย์พัฒนา 147 2,613.46
หมู่ 16
๑๗ ขนุ เทยี ม หมู่ 17 75 1,249.28
๑๘ หนองยาว หมู่ 83 1,003.68
18
๑๙ ดา่ นเจริญ หมู่ 27 409.28
19
๒๐ สุขสบาย หมู่ 20 107 1,445.61
๒๑ ตาเตือม หมู่ 21 31 367.55
รวม 2,565 42,799.90
ข้อมลู จาก สำนักงานเกษตรอำเภอสังขะ ท่ีขน้ึ ทะเบยี นเกษตรกร ณ วันท่ี 24 มนี าคม 2564
7.3 ขอ้ มลู ดา้ นปศสุ ตั ว์
๒๐
ลำดับ บา้ น เกษตรกร โคเนือ้ โคนม กระบือ หมู ไก่ เป็ด แพะ นก
ท่ี (ราย) (ตัว) (ตวั ) (ตัว) (ตัว) (ตัว) (ตัว) (ตวั ) กระทา
(ตวั )
๑ กระเทียม หมู่ 1 123 522 151 8 1,87 457
9
๒ กระเทียม หมู่ 2 148 270 254 33 4,00 985
0
๓ แยง หมู่ 3 121 325 136 10 1,35 178
0
๔ ตระเปียงเวง 76 180 59 38 2,18 85
หมู่ 4 4
๕ ถนน หมู่ 5 122 390 256 2 2,77 226 16
1
๖ หม่นื ชัย หมู่ 6 59 156 106 75 1,32 98 10,8
5 00
๗ โคกรมั ย์ หมู่ 7 103 200 1 194 1,95 4
9
๘ โนนสง่า หมู่ 8 113 277 182 111 1,99 239
4
๙ โนนสบาย หมู่ 9 89 174 165 23 1,24 183
3
๑๐ หนองกงุ หมู่ 10 92 286 77 1 358 17
๑๑ ร่มเย็นโนน 130 270 1 25 92 2,60 83
สำราญ หมู่ 11 6
๑๒ โคกใหญ่ หมู่ 12 150 750 59 31 5,78 161
5
๑๓ ชยั มงคล หมู่ 13 96 248 199 1,34 123
6
๑๔ โนนสบายน้อย 81 310 47 2,83 99 13
หมู่ 14 2
๑๕ กระเทยี มน้อย 75 169 94 25 2,21 311
หมู่ 15 0
๑๖ โคกรมั ย์พฒั นา 104 157 322 23 1,78 89
หมู่ 16 2
๑๗ ขนุ เทยี ม หมู่ 17 59 93 183 2 449 182
๑๘ หนองยาว หมู่ 81 138 31 4 1,91 115
18 7
๑๙ ด่านเจริญ หมู่ 36 70 6 12 641 135
19
๒๑
ลำดบั บา้ น เกษตรกร โคเนื้อ โคนม กระบือ หมู ไก่ เป็ด แพะ นก
ที่ (ราย) (ตัว) (ตัว) (ตวั ) (ตัว) (ตวั ) (ตัว) (ตวั ) กระทา
(ตวั )
๒๐ สุขสบาย หมู่ 101 295 5 86 127 2,59 122 1
20 8
๒๑ ตาเตือม หมู่ 21 40 134 18 691 9
รวม 2,030 5,55 7 2,70 617 42,6 3,90 30
0 2 48 7
ขอ้ มลู จาก สำนกั งานปศุสตั วอ์ ำเภอสังขะ ข้ึนทะเบียน ณ เดอื นมนี าคม 2564
7.4 ขอ้ มูลด้านแหลง่ น้ำทางการเกษตร
7.4.1 มีลำหว้ ย จำนวน 5 แหง่
7.4.2 มีหนองนำ้ จำนวน 9 แห่ง
7.4.3 มีคลอง จำนวน 10 แห่ง
7.3.4 มีสระนำ้ จำนวน 4 แห่ง
7.5 ขอ้ มูลดา้ นแหลง่ น้ำกิน นำ้ ใช้ (หรือน้ำเพือ่ การอปุ โภค บริโภค)
7.5.1 ระบบประปาตำบลกระเทียม มที ้ังแบบระบบน้ำผิวดนิ และระบบบาดาล จำนวน 11 แห่ง
8. ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม
8.1 การนบั ถอื ศาสนา
ประชาชนในตำบลกระเทยี ม สว่ นใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมศี าสนสถาน 10 แห่ง คือ
1) วดั โพธิ์ศรีธาราม ตง้ั อยูบ่ า้ นกระเทยี มน้อย หมทู่ ่ี ๑๕
2) วดั สมโภชน์ศาลาจารย์ ตั้งอยบู่ ้านแยง หมู่ท่ี ๓
3) สำนักสงฆป์ ราสาทมีชยั ตัง้ อยู่บา้ นถนน, บ้านหมื่นชยั หมทู่ ่ี ๕, ๖
4) วดั บา้ นโคกรมั ยพ์ ัฒนา ตง้ั อยบู่ ้านโคกรัมย์พฒั นา หมู่ที่ 16
5) วัดดา่ นโนนเจริญราษฎร์ ตั้งอย่บู า้ นโนนสงา่ หมทู่ ่ี ๘
6) วดั บา้ นโนนสบาย ตั้งอยบู่ ้านโนนสบาย หมู่ที่ ๙
7) วัดบ้านโนนสำราญ ตง้ั อยบู่ ้านโนนสำราญ หมูท่ ่ี ๑๑
8) วัดบา้ นชัยมงคล ตั้งอยบู่ ้านชัยมงคล หมูท่ ่ี ๑๓
9) วดั อินทราสุการาม ตงั้ อยู่บา้ นหนองยาว หมู่ที่ ๑๘
10) สำนักสงฆ์โคกใหญ่ - ถนนทองคำ ตง้ั อย่บู า้ นโคกใหญ่ หม่ทู ี่ ๑2
๒๒
8.2 ประเพณแี ละงานประจำปี
ตำบลกระเทียมมีประเพณีโบราณและงานประจำปีดั่งเดิมที่ยังคงสืบทอดกันมาสู่รุ่น
ปัจจุบันปนั ได้แก่ งานวันสารท, งานแซนโฎนตา, งานกวนข้าวทิพย์, งานแห่เทียนเข้าพรรษา, งานสืบสาน
ตำนานปราสาทมีชัย และงานวนั ลอยกระทง
8.3 ภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ ภาษาถนิ่
ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ของชาวตำบลกระเทียมทส่ี ำคัญและมคี วามโดดเดน่ ด้านผ้าไหม
ภาษาถิ่น ชาวตำบลกระเทยี ม ประชาชนส่วนใหญใ่ ชภ้ าษาถ่นิ เป็นภาษาพูดในชวี ิตประจำวัน
ซ่งึ มอี ย่สู ามภาษา คอื ภาษาเขมร ภาษาส่วย และภาษาลาว
8.4 สินค้าพ้นื เมอื งและของที่ระลกึ
ตำบลกระเทียมมสี ินค้าพื้นเมืองที่เหมาะกับการซื้อเพือ่ เป็นของฝากและของทรี่ ะลึก โดยมี
การจัดต้งั กลุ่มทม่ี ชี ่ือเสียงและได้รบั การยอมรับ จำนวน 4 กลุ่ม ดังน้ี
1. กลุ่มทอผา้ ไหมบ้านโนนสงา่
2. กลุ่มทอผ้าไหมบา้ นดา่ นเจรญิ
3. กลุ่มทอผ้าไหมยอ้ มสธี รรมชาติบ้านแยง
4. กลุม่ ทอผา้ ไหมบ้านหมน่ื ชัย
ผา้ ไหมมดั หมี่ยกแก้ว
ผ้ามดั หม่ีลายสรา้ งสรรคธ์ รรมชาติ
(รหสั โอทอป 321000174701)
ผา้ ไหมมดั หม่ี
(รหัสโอทอป 32100002549636)
ผา้ มัดหม่ลี ายปูมท้องมา้
(รหสั โอทอป 321000175301)
๒๓
9. ทรัพยากรธรรมชาติ
แหลง่ น้ำธรรมชาติ ทีส่ ำคญั 3 แห่ง
- ห้วยสำเรงิ ไหลผา่ น หมทู่ ี่ 8 , 19, 6, 5, 2, 4 และหม่ทู ี่ 18
หมบู่ า้ นท่ีได้รับประโยชน์ หมทู่ ่ี 8, 19, 6, 5, 1, 2,13, 15, 17, 4 และหมูท่ ่ี 18
- ห้วยทับทนั ไหลผา่ น หมู่ที่ 3, 10 และหมทู่ ่ี 11
หมู่บ้านทไี่ ด้รบั ประโยชน์ หมู่ท่ี 3, 10, 11, 4 และหมทู่ ่ี 18
- หนองระหาร ต้ังอยู่หมู่ที่ 1, 15, 13, 17, 9, 14 และหมู่ที่ 20
หมู่บา้ นท่ีไดร้ ับประโยชน์ หม่ทู ี่ 1, 2, 15, 13, 17, 9, 14 และหมู่ท่ี 20
๒๔
ตอนที่ 2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม กศน.ตำบล (SWOT Analysis)
กศน.ตำบลกระเทียม ได้ใช้การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis)
ในการกำหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายใน กศน.ตำบลกระเทียม รวมทั้งโอกาสและ
อุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอก กศน.ตำบลกระเทียม อันเป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษาเพื่อนำผลไป
ใช้ในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของ กศน.ตำบลกระเทียม ซึ่งผลที่ได้จากการประเมินสถานณ์ของ
กศน.ตำบลกระเทยี ม ดงั น้ี
ผลการวิเคราะห์ (SWOT Analysis) ของ กศน.ตำบลกระเทียม ปีงบประมาณ 2565
1. การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน
1.1 จุดแข็งของ กศน.ตำบลกระเทียม (Strengths-S)
ด้านบุคลากร ดา้ นงบประมาณ ด้านอาคารสถานท่ี ส่ือ อปุ กรณ์ และด้านโครงสรา้ ง
องค์กร/การบรหิ ารจัดการ ค่านยิ มองค์กร
1) สถานท่พี บกลุ่ม จัดกิจกรรม อาคารมีสภาพม่ันคง แข็งแรง
2) มีความพร้อมด้านสือ่ สอนเสรมิ เช่น จานรบั สญั ญานดาวเทียมเพื่อการศึกษา (ETV)
3) มีบริการ wi-fi
4) มีการใหบ้ ริการหนงั สือเรียน และหนังสือทว่ั ไป
5) บคุ ลากรมสี ่วนร่วมในการวางแผนการกำหนดนโยบายและกจิ กรรมในการทำงาน
6) มีบุคลากรอยปู่ ระจำ กศน.ตำบล
7) นโยบายและแผน มกี ารจดั วางแผนอย่างเปน็ ระบบและมีเป้าหมายการปฏบิ ัตงิ านอย่างชัดเจน
สามารถรองรับการเปล่ยี นแปลงระดับนโยบายแผนระดับสูงได้
1.2 จดุ อ่อนของ กศน.ตำบลกระเทยี ม (Weaknesses-W)
ด้านบคุ ลากร ดา้ นงบประมาณ ด้านอาคารสถานท่ี สื่อ อปุ กรณ์ และด้านโครงสรา้ ง
องค์กร/การบริหารจดั การ คา่ นิยมองคก์ ร
1) คนในชมุ ชนส่วนใหญ่เป็นผู้ใช้แรงงาน เกษตรกรท่ีออกไปทำงานตัง้ แตเ่ ช้าจนถึงคำ่ ผูร้ บั บริการของ
กศน.ตำบล คอ่ นขา้ งน้อย
2) ใมม่ ีระบบการจดั เกบ็ และสบื คน้ ขอ้ มลู ท่ีทันสมัย
3) ครูมีภาระงานมากเกนิ ไป สง่ ผลต่อการจดั คุณภาพการศึกษา
4) นกั ศกึ ษามีความรูพ้ ื้นฐานไม่เท่ากนั ทำใหเ้ กดิ การจดั การเรียนการสอนยากลำบาก
5) นกั ศึกษาขาดการพบกลุ่ม เนื่องจากตืดภาระในการทำงาน
6) การบริการการจดั การศึกษาแก่ประชาชนยงั ไม่ครอบคลมุ ทุกกลมุ่ เปา้ หมาย
7) นกั ศึกษาบางรายขาดความรับผิดชอบ ใมม่ ีวินัยในตนเอง ไม่ปฏิบัตติ ามขนั้ ตอน และใม่มีการทำงาน
เป็นกลุ่ม
2. การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก
2.1 โอกาสของ กศน.ตำบลกระเทียม (Opportunities -O)
ดา้ นนโยบาย กฎหมายท่ีเกีย่ วขอ้ ง ด้านความปลอดภยั ในพ้นื ท่ี ดา้ นสงั คม วัฒนธรรม ดา้ น
เศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี การคมนาคม ตดิ ตอ่ ส่ือสาร ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม
๒๕
1) องค์การปกครองท้องถ่นิ ให้การสนบั สนนุ การจัดกระบวนการเรียนร้ขู องนักศึกษา กศน.ตำบล
กระเทยี มเปน็ อย่างดี
2) ผนู้ ำชมุ ชน/ประชาชนในชุมชน/องค์กรนักศึกษา/คณะกรรมการ กศน.ตำบลกระเทียม เห็นความ
ของการศึกษาในชมุ ชนเป็นอย่างมาก และให้ความรว่ มมือในการขดั กจิ กรรมเปน็ อยา่ งดี
3) นักศกึ ษา กศน.บางสว่ นเป็นผูน้ ำชมุ ชน อสม. ซึ่งเปน็ ผทู้ ่มี คี วามรบั ผิดชอบ มีความสามารถ ทักษะ
ในการทำงานสูง เชน่ ด้านการพัฒนาปรบั ปรงุ สถานศกึ ษา การปลูกพืชผักสวนครัว การประกอบ
อาหาร การประดิษฐ์งานศลิ ปะ และด้านพธิ ีกรรมทางศาสนาวฒั นธรรม
4) ภารกจิ หรืองานในหนา้ ท่ีของ กศน.ตำบล กระเทยี ม มีลักษณะงานที่หลากหลาย นา่ สนใจ มี
หลักสตู รหลายวิธี ชว่ ยพฒั นาสงั คมได้
5) มกี ารประชมุ ประจำเดือนของหมู่บ้าน / จัดทำเวทชี าวบา้ น
6) มีภาคเี ครือขา่ ยและหน่วยงานภาครฐั ในชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เชน่ องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลกระเทยี ม วัดอินทราสุการาม โรงเรยี น
บ้านถนน โรงเรยี นบ้านแยงมิตรภาพท่ี 146
7) มีแหล่งเรียนร้แู ละภูมิปัญญาท้องถ่นิ ทส่ี ามารถถ่ายทอดความร้ใู ห้กับประชาชนได้
8) มโี ครงสรา้ งพน้ื ฐานในหมูบ่ ้านตำบลและการคมนาคมสะดวกสบายต่อการเข้าถึง
9) นโยบายของสำนักงาน กศน. ได้กำหนดใหม้ ีการพฒั นา กศน.ตำบล ใหเ้ ป็นฐานการขบั เคลือ่ นการ
จดั การศึกษา โดยเนน้ การประสานเช่อื มโยงระหวา่ งชุมชนและภาคเี ครือข่ายในการจดั การศึกษา
รูปแบบ กศน.ตำบล 4 ศูนย์ได้แก่
- ศูนย์เรยี นรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจำตำบล
- ศนู ย์ส่งเสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตยตำบล
- ศนู ย์ดจิ ทิ ลั ชุมชน
- ศนู ย์การศึกษาตลอดชีวติ ชุมชน เพอ่ื สนองตอบต่อความต้องการของประชาชนอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รวมท้งั สร้างและกระจายโอกาสในการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ในชมชุ น
2.2 อุปสรรค / ความเสายง ชอง กศน.ตำบลกระเทียม (Threats - T)
ดา้ นนโยบาย กฎหมายท่เี กีย่ วขอ้ ง ด้านความปลอดภยั ในพนื้ ที่ ด้านสงั คม วฒั นธรรม ดา้ น
เศรษฐกจิ ด้านเทคโนโลยี การคมนาคม ตดิ ตอ่ ส่ือสาร ดา้ นสิง่ แวดล้อม
1) นโยบายการจดั การศึกษานอกระบบ ให้ใช้หลักสตู รแกนกลางในการจดั การศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน คือ หลกั สูตร กศน.51 ซึง่ มีเน้ือหาค่อนข้างยากและหลากหลาย ยากตอ่ การ
เรียนรสู้ ำหรบั กลุม่ เป้าหมายที่มวี ยั และพืน้ ฐานความรทู้ แ่ี ตกตา่ งกัน
2) งบประมาณท่ีไดร้ ับการจดั สรรให้ใช้ในการจดั การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ใม่สามารถบรกิ ารจัดการศึกษาได้
สอดคลอ้ งกับกลมุ่ เป้าหมายในพนื้ ทีไ่ ด้อย่างทว่ั ถงึ
3) ปญั หายาเสพตดิ ยังคงแพร่กระจายอยู่ในทกุ พ้ืนที่ของหมู่บ้าน ส่งผลกระทบต่อกลมุ่ เป้าหมาย
ผู้เรียนหรือผ้รู ับบริการการศกึ ษาบางกลุ่ม
3. แนวทางแกไ้ ขปัญหาและพัฒนา
3.1 การจดั การอบรมพัฒนาให้ครู กศน.ได้มีความรู้ความสามารถเพ่มิ มากขนึ้ อยู่เสนอ
3.2 มีงบประมาณสำรองต่อการจัดกจิ กรรมแตล่ ะกิจกรรมที่เพยี งพอ
3.3 งบประมาณที่จัดให้กับ กศน.ตำบลยงั ไม่เพยี งพอต่อการพัฒนาเม่ือเทยี บกับหนว่ ยงานอ่ืนทีจ่ ับ
งานเพยี งอยา่ งเดยี วแต่มีประสิทธภิ าพสูง
๒๖
3.4 หน่วยงานต้นสงั กัดท่ีรับผดิ ชอบ ควรให้การสนับสนุนงบประมาณ ในการพัฒนาปรบั ปรรุ ง
กศน.ตำบลเปน็ ประจำทกุ ๆ ภาคเรียน และครู กศน.ตำบล ควรของบประมาณสนับสนุนจากเครือขา่ ย
ด้วย
3.5 ครูควรหาวธิ ีในการติดต่อกบั นักศึกษาให้หลากหลายวิธี และควรมมี าตรการในการกำหนด
กลุ่มเป้าหมายทชี่ ัดเจนขององค์กร ไม่ควรเปน็ ระบบทต่ี ้องการแตป่ ริมาณแค่ขาดคุณภาพ
๒๗
ตอนที่ 3 แนวทาง/กลยทุ ธ์การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของ
กศน.ตำบลกระเทียม
กศน.ตำบลกระเทียม โดยครู ผู้เรียน คณะกรรมการ กศน.ตำบล อาสามัคร กศน. และ
ประชาชนในพื้นที่ตำบลกระเทียม มีความร่วมมือในการกำหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ เอกลักษณ์ อัตลักษณ์
จุดเน้น/จุดเด่น การดำเนินงาน พันธกิจ และเป้าประสงค์ ภายใต้กรอบปรัชญา วิสัยทัศน์ เอกลักษณ์
อัตลักษณ์ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสังขะ โดยมีกลยุทธ์การ
ดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ภายใตโ้ ครงการ/ กจิ กรรมท่สี อดคล้องกับข้อมูล
สภาพปัญหาและความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย และข้อมูลผลการประเมินตนเองใรอบปีที่ผ่านมาไปใช้ใน
การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานการ
พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในพ้นื ท่ตี ำบลให้มปี ระสิทธิภาพโดยมีทิศทางการพัฒนา ดังน้ี
วิสยั ทศั น์
กศน.ตำบลกระเทียม จัดการศึกษาให้กับประชาชนทุกช่วงวัยอย่างทั่วถึง บนพื้นฐานตาม
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ปรัชญา
“คดิ เป็น ทำเป็น อาชพี เด่น เนน้ คณุ ธรรม น้อมนำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ก้าวสปู่ ระชาคมอาเซยี น”
อัตลักษณ์
มีความรู้ สคู่ วามพอเพยี ง
เอกลักษณ์
กศน.ตำบลเป็นฐานการเรียนรู้
จุดเนน้ จุดเด่นการทำงานของ กศน.ตำบลกระเทยี ม
1. จัดกระบวนการเรียนรู ที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงและความต องการของ
ประชาชนชุมชนและ สังคม ในรูปแบบที่หลากหลาย ใหประชาชนคิดเป็น วิเคราะห์ได้ตัดสินใจภายใต
ฐานข้อมูลที่ถูกต้อง เชน จัดทำแผนจุลภาคระดับตำบล จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี จัดทำเนื้อหาสื่อ
ประกอบการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อพัฒนาสู่ ชุมชนแหงการเรยี นรู
2. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความม่ันคง การสร้างความเข้าใจที่ถกู ต้อง ใน
การปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และ
อุดมการณ์ ความยึดมน่ั ในสถาบนั หลกั ของชาติ รวมถงึ การมจี ติ อาสา ผ่านกิจกรรมต่างๆ
3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมในการจัด
การศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการส่งเสรมิ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ สำหรบั ประชาชน
4. มุ่งพัฒนาอาคารสถานที่และปรับภูมิทัศน์ กศน.ตำบล ให้พร้อมเป็นฐานการขับเคลื่อน
การจัดการศึกษารปู แบบ กศน.ตำบล 4 ศูนย์ ได้แก่
1) ศูนยเ์ รียนรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบล
2) ศนู ย์ส่งเสริมพฒั นาประชาธิปไตยตำบล
๒๘
3) ศนู ย์ดิจทิ ลั ชุมชน
4) ศูนยการศึกษาตลอดชีวิตชุมชน เพื่อสนองตอบตอความตองการของประชาชนอยางมี
ประสิทธภิ าพ รวมท้ังสรางและกระจายโอกาสในการเรียนรตูลอดชวี ติ ในชมุ ชน
พันธกิจ
1. จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับผู้เรียนสามารถชี้นำตนเองใน
การเรยี นรูส้ เู่ ศรษฐกิจพอเพียงได้ ด้วยการพัฒนาประสิทธิภาพการคดิ การตัดสินใจ
2. สร้างองค์กรภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย เพื่อเพื่อยกระดับการศึกษา สมรรถนะในการเรียนรู้ และการแก้ปัญหา พัฒนาอาชีพ
คุณภาพชวี ิตและสงั คม กา้ วส่ปู ระชาคมอาเซียนของประชาชนอย่างท่วั ถึง และเทา่ เทียม
3. จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ดว้ ยการใช้องค์ความรู้ ควบคคู่ ณุ ธรรม
4. ส่งเสริม พัฒนาการใช้สื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา มาใช้
ในการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการพัฒนาทักษะการ
เรยี นรเู้ พอ่ื ใหร้ ู้เท่าทันส่อื และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการ การพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพในการดำเนินงาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เพอ่ื สง่ เสริมการศึกษาตลอดชีวิตได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
เป้าประสงค์
1. กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย มีความรู้ความสามารถรอบด้านเพียงพอต่อการดำรงชีวติ
อยา่ งมีความสขุ ในสังคมแห่งการเรยี นรู้ บนพื้นฐานของแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. กลมุ่ เป้าหมายมีอาชพี และสามารถสรา้ งอาชีพเพื่อสรา้ งรายได้ให้กับตนเองและครอบครัวได้อยา่ งยั่งยนื
3. ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ สามารถถ่ายทอดองค์ความรูท้ ี่เป็นประโยชนใ์ นการจัดการศึกษานอกระบบ การศึกษา
ตามอธั ยาศัย และการศึกษาตอ่ เน่อื ง
4. กลุ่มเป้าหมายมีความรู ทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร และแสวงหาข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์ ในการจัดการศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการศกึ ษาตลอดชวี ิต
5. ภาคีเครือข่ายมีสวนร่วมในการสงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และ
การศึกษาตลอดชีวติ
6. กศน.ตำบลเป็นฐานการเรียนรูในการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ิตของชุมชน
เป้าประสงค์และตวั ชีว้ ัดความสำเร็จ ตัวชว้ี ัดความสำเร็จ
เป้าประสงค์
1. กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการทุกกลุ่ม 1. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการการจัด
ทุกช่วงวัยมีความรู้ความสามารถรอบ การศกึ ษาแต่ละประเภท
ด้านเพียงพอต่อการดำรงชีวิตอย่างมี 2. ร้อยละ 80 ของผู้จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานแต่ละ
ความสุขในสังคมแห่งการเรียนรู้บน ระดบั มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเฉล่ยี 2.00 ขั้นไป
พนื้ ฐานของแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเปา้ หมายรว่ มกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
๒๙
เป้าประสงค์ ตัวช้ีวัดความสำเรจ็
4. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีคุณลักษณะอันพึง
ประสงคต์ ามจุดมงุ่ หมายของหลักสตู ร
5. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการการศึกษาทุก
ประเภทสามารถนำความรู้ไปใชพ้ ฒั นาคุณภาพชีวิตได้
6. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการเข้า
รว่ มกจิ กรรมการเรียนร้ทู กุ ประเภท
2. กลุ่มเป้าหมายมีอาชีพและสามารถ 1. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายเขาร่วมกิจกรรมพัฒนา
สร้างอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้กับตนเอง อาชพี
และครอบครัวได้อย่างยัง่ ยืน 2. ร้อยละ ๘๐ ของกกลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการการศึกษา
เพื่อพัฒนาอาชีพ สามารถนำความรู้ไปใชพัฒนาอาชีพ สราง
รายไดห้ รอื การมีงานทำใหตนเองและครอบครวั ได้
๓.ร้อยละ ๘๐ ของผู้รับบริการ มีความพึงพอใจตอการเขา
รว่ มกิจกรรมพฒั นาอาชีพ
3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นสามารถถ่ายทอด 1. จำนวนภูมิปัญญาทองถิ่นใหความราวมมือ สนับสนุนการ
องค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการจัด จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
การศึกษานอกระบบ การศึกษาตาม 2. ร้อยละ ๘๐ ของผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการจัด
อธั ยาศยั และการศึกษาต่อเนื่อง การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยภูมิ
ปญั ญาท้องถิน่
๔. กลุ่มเป้าหมายมีความรู ทักษะในการ 1. ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการได้เข้าร่วม
ใช เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการส่ือสาร กจิ กรรมการเรยี นรูด้านเทคโนโลยี
และแสวงหา ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ ใน ๒. รอ้ ยละ ๘๐ ของกลุ่มเปา้ หมายผู้รบั บริการสามารถใช ประ
การจัดการศึกษานอกระบบ การศึกษา โยชนจากเทคโนโลยใี นการแสวงหาความรูดวนตนเองได้
ตามอธั ยาศยั และการศึกษาตลอดชวี ติ
๓. ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการพึงพอใจตอ
การใหบริการเรียนรู้ในการเทคโนโลยีจัดกิจกรรมการเรียนรู
กศน.ตำบล
๕. ภาคีเครือข่ายมีส วนร่วมในการ 1. จำนวนภาคีเครือข่ายที่มีสวนร่วม สงเสริม สนับสนุน การ
ส่งเสริมการจัด การศึกษานอกระบบ จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
๓๐
เปา้ ประสงค์ ตวั ช้ีวัดความสำเรจ็
การศึกษาตามอัธยาศัย และ การศึกษา 2. ร้อยละ ๘๐ ของกล่มุ เป้าหมาย ภาคเี ครอื ขา่ ยมีสวนร่วมใน
ตลอดชีวติ การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
๖. กศน.ตำบล เป็นฐานการเรยี นรู้ในการ ๑. ร้อยละ ๘๐ ของผู้ใชบริการพึงพอใจตอการบริการข้อมูล
จดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ ของชุมชน และการจดั การศกึ ษาของ กศน.ตำบล
๒. กศน.ตำบล ผ่านเกณฑการประเมินตามมาตรฐาน กศน.
ตำบล ในระดับดขี ึ้นไป
กลยทุ ธในการดำเนนิ งาน
กลยุทธท่ี ๑ จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยโดยชุมชนเป็นฐานแห่งการเรียนรู้
กลยทุ ธที่ ๒ จัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนใหมีคุณภาพ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม ในการดำเนนิ ชีวติ และมีความ ใฝ่
รใู้ ฝ่เรียนอย่างตอ่ เน่อื งตลอดชวี ิต
กลยุทธที่ ๓ ใชสื่อเทคโนโลยีการศึกษาที่หลากหลาย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนและ สงเส
รมิ สนับสนนุ ให้ผ้เู รยี นไดแ้ สวงหาความรูทีห่ ลากหลาย
กลยุทธที่ ๔ จัดศูนย์ฝึกอาชีพขุมชนในตำบลใหเปนฐานในการเรียนรูสาธิตฝกทักษะ และสรางอาชีพแก
ประชาชน กลุมเปาหมาย โดยจัดกระบวนการเรยี นรูโดยใชชุมชนเปนฐาน เพือ่ พฒั นา อาชพี ทสี่ อดคลองกับ
ความตองการของชุมชนอยางแทจริง
กลยุทธที่ ๕ ประสานความร่วมมือกับแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาและภาคีเครือขายทุกภาคส่วนใหมีสวน รว
มในการจัดการศึกษาและพัฒนา กศน.ตำบลใหเป็นฐานการเรียนรูในการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั
กลยุทธที่ ๖ พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน กศน.ตำบลอย่างต่อเนื่องให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการดำเนนิ งาน กศน.ตำบล
แนวทางการดําเนินงาน
กลยทุ ธท่ี ๑ จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยชุมชนเป็นฐานแห่งการเรียนรู้
1. โครงการพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
- โครงการ
- โครงการ
- โครงการ
- โครงการ
2. โครงการจดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาอาชีพ
- โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชนหลกั สูตรวชิ าชีพชา่ ง
หลักสูตรชา่ งปกู ระเบ้อื ง
หลกั สตู รชา่ งเฟอร์นเิ จอร์
- โครงการศนู ยฝ์ ึกวิชาชีพชุมชนหลกั สูตรระยะสนั้ ไมเ่ กิน 30 ชั่วโมง
๓๑
หลักสูตรการทำผ้ามดั ย้อมจากสีธรรมชาติ
หลักสูตรการทำเหรยี ญโปรยทาน
หลกั สูตรการทำข้าวแตน๋ นำ้ แตงโม
หลกั สูตรการทำกล้วยเบรกแตก
3. โครงการจัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวติ
- โครงการอบรมให้ความรใู้ นการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา่ 2019
- โครงการ
- กจิ กรรม
- กิจกรรม
4. โครงการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมชุมชน
- โครงการบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยในชมุ ชน
- โครงการ
- กจิ กรรม
- กิจกรรม
5. โครงการการศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
- โครงการขบั เคลอ่ื นหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสวู่ ถิ ชี ุมชน
- โครงการ
- กิจกรรม
- กิจกรรม
5. โครงการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
- โครงการบ้านหนังสอื ชุมชน
- โครงการจดุ ทำแหลง่ เรียนรู้
- กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น
- กจิ กรรมเปดิ หนงั สือเปิดโลก
- กจิ กรรม
- กจิ กรรม
ตวั ชี้วัดความสำเรจ็
๑. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมายเขารบั การบริการการจดั การศึกษาแตละประเภท
๒. รอยละ ๘๐ ของผูจบหลักสูตรการจัดการศกึษาขั้นพื้นฐานแต่ละระดับมีผลสัมฤทธิ์การเรียน เฉลี่ย ≥
๒.๐๐
๓. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมายมีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคตามจุดมงุ หมายของหลกั สูตร
๔. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมายผูรับการบริการการศึกษาทุกประเภทสามารถนําความรูไปใช ในการ
พฒั นาคณุ ภาพชวี ตไิ ด
๕. รอยละ ๘๐ ของกลุมเปาหมายมีความพึงพอใจตอการเขารวมกิจกรรมการเรียนรูทุก ประเภทระดับดีขึ้น
ไป
๓๒
๖. มกี ารจัดบรกาิ รหองสมุดเคลื่อนที่อยางนอยเดือนละ ๑ ครงั้
๗. มีการจดั กจิ กรรมสงเสรมิ การเรยี นรูตามอัธยาศยั อยางนองเดือนละ ๑ คร้งั
กลยทุ ธ ที่ ๒ จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนใหมคี ณุ ภาพ มีคณุ ธรรม จริยธรรม ในการดําเนินชวี ติ และมคี วาม
ใฝรู ใฝเรยี นอยางตอเนื่องตลอดชวี ิต
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
ตัวชี้วดั ความสำเร็จ
๑. รอ้ ยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายเขาร่วมกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
๒. รอ้ ยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมสามารถนําความรูไปใชประโยชนในการ พฒั นาตอเองได้
๓. ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเปา้ หมายมคี วามพงึ พอใจตอการเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรูในระดบั ดีขึ้นไป
กลยุทธที่ ๓ ใชเทคโนโลยีทางการศึกษาที่หลากหลายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนและ
สง่ เสริม สนับสนนุ ใหผู้เรียนแสวงหาความรูจากการใชสอ่ื เทคโนโลยีที่หลากหลาย
1. โครงการดิจทิ ลั ชุมชน
2. กิจการรมการเรยี นร้แู บบโครงงาน
3. กจิ กรรม
ตัวชี้วดั ความสำเรจ็
๑. รอ้ ยละ ๘๐ ของกลุ่มเปา้ หมายผู้รับบรกิ ารไดเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรูดานเทคโนโลยี
๒. รอ้ ยละ ๘๐ ของกล่มุ เปา้ หมายผู้รบั บริการสามารถใชประโยชนจากเทคโนโลยีแสวงหาข้อมูล ความรูด้วย
ตนเองได้
3. ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการพึงพอใจต่อการใหบริการเรียนรูในการใชเทคโนโลยีจัด
กจิ กรรมในระดบั ดีขนึ้ ไป
กลยทุ ธที่ 4 ประสานความร่วมมือกับแหลง่ เรียนรูภ้ ูมิปัญญาและภาคเี ครอื ข่ายทกุ ภาคสวนใหมีสวนร่วม
ในการจัดการศึกษาและพัฒนา กศน.ตำบล ใหเป็นศูนย์กลางในการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั
๑. โครงการ
๒. โครงการอบรมคณะกรรมการและอาสาสมคั ร กศน.ตำบล
ตวั ชว้ี ดั ความสำเร็จ
๑. พฒั นาแหลง่ เรียนรู้ภูมปิ ญั ญาและภาคเี ครือข่ายมีส่วนร่วม สงเสริม สนบั สนนุ การจัดกิจกรรม การศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
๓๓
๒. ร้อยละ 80 ของเป้าหมายภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตาม
อธั ยาศัย
๓. ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
โดยภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น
กลยุทธที่ 5 พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน กศน.ตำบลอย่างต่อเน่ืองให้เปน็ ไปตาม
มาตรฐานการดาํ เนินงาน กศน.ตำบล
๑. โครงการพฒั นา กศน.ตำบลใหเ้ ป็นศนู ยก์ ลางแห่งการเรียนร้ตู ามมาตรฐาน กศน.ตำบล
ตัวชี้วดั ความสำเร็จ
๑. ร้อยละ 80 ของผู้ใช้บรกิ ารพงึ พอใจตอการบริการข้อมลู และการจัดการศึกษาของ กศน.ตำบล ในระดับ
ดีขึน้ ไป
๒. กศน. ตำบล ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตามมาตรฐาน กศน.ตำบลในระดบั ดีขึ้นไป
ตอนที่ 4 แผนปฏบิ ตั กิ ารการจดั การศึกษานอกกระบบและการศ
แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและ
แผนงาน /โครงการ พืน้ ฐานด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภ
งบดำเนนิ งาน จัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบ ไตรมาส 1-2 (เดือน
ชือ่ สถานศึกษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสังขะ
ผ้ปู ระสานงาน นางสาวเบญจมาพร แกว้ อนิ ธิ 095-3873568
กิจกรรม กศน./งาน/ วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย จำ
โครงการ ผู้ร่วมกจิ กรรม เปา้
ท่ดี ำเนนิ การ (ระบุประเภท) (ค
๑. โครงการส่งเสรมิ การรู้ ๑. เพ่อื สง่ เสรมิ การรู้ ประชาชนทว่ั ไป 8
หนังสอื ไทย กศน.อำเภอสังขะ หนงั สือ และป้องกันการ 9 ตำบล
(ไตรมาส 1-2) ประจำปี ลมื หนังสอื ใหก้ ับประชาชน - ตำบลสังขะ
งบประมาณ ๒๕๖5 ๒. เพือ่ พฒั นาทักษะด้าน - ตำบลขอนแตก
การอา่ นการเขียน และการ - ตำบลทบั ทนั
คดิ คำนวณได้อย่างถูกตอ้ ง - ตำบลบา้ นจารย์
๓. เพอ่ื พฒั นาคุณภาพชวี ิต - ตำบลกระเทยี ม
ของประชาชนให้ดีข้นึ - ตำบลสะกาด
- ตำบลดม
- ตำบลเทพรกั ษา
- ตำบลตาตมุ
หมายเหตุ : งบประมาณให้ใช้ฐานข้อมูลประจำปีงบประมาณ 2565
ทไี่ ดร้ บั การจดั สรร พร้อมทง้ั แจกแจงรายละเอยี ดการใชจ้ า่ ยให้ครบถ้วน ชดั เจน
๓๔
ศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน.ตำบลกระเทยี ม
ณประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ะการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสังขะ
ภาพคน ผลผลติ ที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ (รหัส 36004)
นตุลาคม 2564 – มนี าคม 2565) หมวดงบ กจิ กรรมส่งเสริมการรหู้ นังสือ
ำนวน ระยะเวลา พนื้ ที่ งบประมาณ หมายเหตุ
าหมาย ดำเนินการ ดำเนนิ การ (วงเงนิ ) ครูอาสาสมัครฯ
คน) (ระบุช่วง (ระบสุ ถานที่)
รวมทั้งส้ิน 4,400 บาท
8 คน เดอื น) - สังขะ รายละเอยี ดดังนี้
- ขอนแตก - ค่าวัสดุ 4,400 บาท
ตลุ าคม - ทบั ทนั รวมเปน็ เงนิ 4,400 บาท
2564 ถึง - บา้ นจารย์
มนี าคม - กระเทียม
2565 - สะกาด
- ดม
- เทพรักษา
- ตาตมุ
ลงชื่อ................................................ผ้รู ับรองข้อมลู
(นางสมจิต ผาดไธสง)
ผอู้ ำนวยการศูนย์ กศน.อำเภอสังขะ
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ
(จำแนกตา
สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน กศน.นโยบายเร่งดว่ น ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ................
สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน กศน.ภารกิจตอ่ เนอื่ ง ข้อท่ี ...............
ชือ่ งาน : โครงการ/โครงการส่งเสริมการรู้หนงั สอื ไทย กศน.อำเภอสังขะ (ไตรมาส 1-2)
ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖5
วตั ถุประสงค์ กจิ กรรมหลัก
๑. เพอ่ื สง่ เสรมิ การรู้หนงั สอื และปอ้ งกนั การลืมหนงั สอื ใหก้ ับ - อบรมให้ความรแู้ ละฝกึ ปฏิบตั ิ
ประชาชน
๒. เพื่อพัฒนาทกั ษะด้านการอา่ นการเขยี น และการคดิ คำนวณได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
๓. เพอื่ พฒั นาคุณภาพชีวติ ของประชาชนใหด้ ีข้นึ
ตวั ชีว้ ดั ความสำเร็จ เปา้ หมาย
เชิงปรมิ าณ เชิงคุณภาพ ประเภทกลมุ่ เปา้ หมาย
ประชาชนทว่ั ไป
ผู้เขา้ ร่วมโครงการเขา้ รว่ ม ผู้เขา้ รว่ มโครงการมีความรเู้ ก่ียวกบั การ
กจิ กรรมร้อยละ ๘๐ อ่านการเขยี น และการคิดคำนวณได้
อย่างถกู ตอ้ ง
ำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5 ๓๕
ะการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอสงั ขะ ไตรมาสท่ี 4
ามงาน/โครงการ)
งบประมาณ จำนวน 4,400 บาท
งบอดุ หนนุ งบดำเนินงาน งบรายจ่ายอ่นื
ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3
/
พน้ื ท่ีดำเนินการ
- ตำบลสงั ขะ
- ตำบลขอนแตก
- ตำบลทับทนั
- ตำบลบา้ นจารย์
- ตำบลกระเทยี ม
- ตำบลสะกาด
- ตำบลดม
- ตำบลเทพรักษา
- ตำบลตาตุม อำเภอสงั ขะ จังหวัดสรุ นิ ทร์
ผ้รู ับผดิ ชอบ
ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
จำนวนเป้าหมาย
8 คน
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ
(จำแนกตา
สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน กศน.นโยบายเร่งดว่ น ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ................
สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน กศน.ภารกิจตอ่ เนอื่ ง ข้อท่ี ...............
ชือ่ งาน : โครงการ/โครงการส่งเสริมการรู้หนงั สอื ไทย กศน.อำเภอสังขะ (ไตรมาส 1-2)
ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖5
วตั ถุประสงค์ กจิ กรรมหลัก
๑. เพอ่ื สง่ เสรมิ การรู้หนงั สอื และปอ้ งกนั การลืมหนงั สอื ใหก้ ับ - อบรมให้ความรแู้ ละฝกึ ปฏิบตั ิ
ประชาชน
๒. เพื่อพัฒนาทกั ษะด้านการอา่ นการเขยี น และการคดิ คำนวณได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
๓. เพอื่ พฒั นาคุณภาพชีวติ ของประชาชนใหด้ ีข้นึ
ตวั ชีว้ ดั ความสำเร็จ เปา้ หมาย
เชิงปรมิ าณ เชิงคุณภาพ ประเภทกลมุ่ เปา้ หมาย
ประชาชนทว่ั ไป
ผู้เขา้ ร่วมโครงการเขา้ รว่ ม ผู้เขา้ รว่ มโครงการมีความรเู้ ก่ียวกบั การ
กจิ กรรมร้อยละ ๘๐ อ่านการเขยี น และการคิดคำนวณได้
อย่างถกู ตอ้ ง
ำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5 ๓๖
ะการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอสงั ขะ ไตรมาสท่ี 4
ามงาน/โครงการ)
งบประมาณ จำนวน 4,400 บาท
งบอดุ หนนุ งบดำเนินงาน งบรายจ่ายอ่นื
ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3
/
พน้ื ท่ีดำเนินการ
- ตำบลสงั ขะ
- ตำบลขอนแตก
- ตำบลทับทนั
- ตำบลบา้ นจารย์
- ตำบลกระเทยี ม
- ตำบลสะกาด
- ตำบลดม
- ตำบลเทพรักษา
- ตำบลตาตุม อำเภอสงั ขะ จังหวัดสรุ นิ ทร์
ผ้รู ับผดิ ชอบ
ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
จำนวนเป้าหมาย
8 คน
แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ
แผนงาน /โครงการ พ้นื ฐานดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภ
งบดำเนนิ งาน จัดกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบ ไตรมาส 1-2 (เดือนต
ช่อื สถานศกึ ษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอสังขะ
ผู้ประสานงาน นางสาวเบญจมาพร แกว้ อินธิ 095-3873568
กจิ กรรม กศน./งาน/ วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย จำนวน
โครงการ ผรู้ ว่ มกิจกรรม เปา้ หมาย
ท่ีดำเนนิ การ 1. เพอ่ื ให้ผเู้ ข้ารบั การ (ระบุประเภท) (คน)
อบรมมีความรคู้ วาม
1. โครงการอบรมให้ เขา้ ใจในการโรคติดเชอ้ื ประชาชนทัว่ ไป จำนวน 6
ความรใู้ นการป้องกันโรค ไวรสั โคโรน่า 2019 - ตำบลตาคง ตำบลๆละ
ตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรน่า 2. เพือ่ ให้ผ้เู ขา้ รบั การ - ตำบลพระแก้ว 10 คน
2019 กศน.อำเภอสงั ขะ อบรมมีทกั ษะในการ - ตำบลบา้ นชบ รวมท้งั ส้นิ
ประจำปีงบประมาณ ป้องกนั ตนเองจากโรค - ตำบลกระเทยี ม 60 คน
2565 ติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา่ - ตำบลสะกาด
2019 - ตำบลบ้านจารย์
หมายเหตุ : งบประมาณให้ใช้ฐานข้อมูลประจำปีงบประมาณ 2565
ทไี่ ดร้ ับการจัดสรร พร้อมทงั้ แจกแจงรายละเอยี ดการใช้จา่ ยใหค้ รบถว้ น ชัด
๓๗
ณประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 กศน. -กผ-01
ะการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอสงั ขะ
ภาพคน ผลผลติ ที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ (รหัส 36004)
ตลุ าคม 2564 – มนี าคม 2565) หมวดงบ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต
ระยะเวลา พนื้ ที่
ดำเนนิ การ
ย ดำเนนิ การ (ระบุสถานท่ี) งบประมาณ หมาย
(ระบชุ ่วง (วงเงิน) เหตุ
เดอื น)
30 พืน้ ที่ รวมท้ังสนิ้ 6,900 บาท ตำบล
ะ พฤศจิกายน - บ้านห้วยปนู หมู่ 7 รายละเอียดดังนี้ กระเทียม
2564 - บา้ นโพธ์พิ ัฒนา - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 6 ตำบลๆ
หมู่ 16 ละ 10 คนๆละ 1 ม้อื ๆละ 80 บาท
- บา้ นโชคชัยสามัคคี เปน็ เงนิ 4,800 บาท
หมู่ 10 - ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองดื่ม
- บ้านโคกรมั ย์ จำนวน 6 ตำบลๆละ 10 คนๆละ 1
หมู่ 7 มอ้ื ๆ ละ 35 บาท
- บา้ นสะกาด หมู่ 1 เป็นเงิน 2,100 บาท
- บ้านตาแอก หมู่ 7 รวมทั้งสน้ิ 6,900 บาท
ตำบลกระเทียม
อำเภอสังขะ
จงั หวัดสุรินทร์
ลงชอื่ ................................................ผูร้ บั รองขอ้ มลู
ดเจน (นางสมจิต ผาดไธสง)
ผอู้ ำนวยการศนู ย์ กศน.อำเภอสงั ขะ
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ
(จำแนกตา
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งาน กศน.นโยบายเร่งดว่ น ยทุ ธศาสตร์ท่ี ................
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน กศน.ภารกิจตอ่ เนอ่ื ง ขอ้ ที่ ...............
ช่อื งาน : โครงการ/โครงการอบรมให้ความร้ใู นการปอ้ งกนั โรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา่ 2019
กศน.อำเภอสงั ขะ ประจำปีงบประมาณ 2565
วตั ถปุ ระสงค์ กจิ กรรมหลกั
1. เพื่อใหผ้ เู้ ข้ารบั การอบรมมีความรคู้ วามเขา้ ใจในการโรคติดเชอื้ - อบรมใหค้ วามรแู้ ละฝกึ ปฏิบตั ิ
ไวรัสโคโรนา่ 2019
2. เพือ่ ให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมมที กั ษะในการปอ้ งกนั ตนเองจากโรคตดิ
เช้อื ไวรัสโคโรน่า 2019
ตัวชว้ี ดั ความสำเร็จ เปา้ หมาย
เชิงปรมิ าณ เชิงคุณภาพ ประเภทกลมุ่ เปา้ หมาย
ประชาชนทว่ั ไป
ผู้เขา้ ร่วมโครงการเข้าร่วม ผ้เู ข้าร่วมโครงการสามารถปอ้ งกันการ
กจิ กรรมรอ้ ยละ ๘๐ แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา
2019 ได้
ำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5 ๓๘
ะการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสังขะ ไตรมาสท่ี 4
ามงาน/โครงการ)
งบประมาณ จำนวน 6,900 บาท
งบอดุ หนุน งบดำเนินงาน งบรายจา่ ยอื่น
ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3
/
พนื้ ทด่ี ำเนินการ
- บ้านห้วยปนู หมู่ 7 ตำบลตาคง
- บา้ นโพธพ์ิ ัฒนา หมู่ 16 ตำบลพระแกว้
- บ้านโชคชยั สามคั คี หมู่ 10 ตำบลบา้ นชบ
- บา้ นโคกรัมย์ หมู่ 7 ตำบลกระเทยี ม
- บ้านสะกาด หมู่ 1 ตำบลสะกาด
- บา้ นตาแอก หมู่ 7 ตำบลบา้ นจารย์
อำเภอสงั ขะ จงั หวัดสุรนิ ทร์
ผู้รบั ผิดชอบ
ตำบลกระเทียม
จำนวนเป้าหมาย
60 คน
แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
แผนงาน /โครงการ พื้นฐานดา้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภ
งบดำเนนิ งาน จดั กิจกรรมการศึกษานอกระบบ ไตรมาส 1-2 (เดอื นตุลาคม 2
ชอื่ สถานศึกษา ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอสังขะ
ผู้ประสานงาน นางสาวเบญจมาพร แกว้ อนิ ธิ 095-3873568
กจิ กรรม กศน./งาน/ วตั ถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย จำนวน
โครงการ ผรู้ ่วมกิจกรรม เปา้ หมาย
ที่ดำเนินการ (ระบปุ ระเภท) (คน)
1. โครงการขบั เคล่อื นหลกั 1. เพ่ือส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชน ประชาชนทวั่ ไป จำนวน 6
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งส่วู ถิ ี ดำรงชีวิตโดยยดึ หลัก - ตำบลตาคง ตำบลๆละ
ชมุ ชน กศน.อำเภอสังขะ ปรชั ญาของเศรษฐกิจ - ตำบลพระแก้ว 5 คน
ประจำปงี บประมาณ 2565 พอเพยี ง - ตำบลบ้านชบ รวมทั้งสิ้น
2. เพื่อใหป้ ระชาชนมีทกั ษะ - ตำบลกระเทียม 30 คน
ในการนำหลักปรัชญาของ - ตำบลสะกาด
เศรษฐกิจพอเพียงสู่การ - ตำบลบา้ นจารย์
ปฏิบตั ิ
3. เพื่อใหป้ ระชาชนเปน็
แบบอย่างทดี่ ี และเป็น
แนวทางในการดำรงชวี ติ ท่ี
สอดคลอ้ งกับความจำเป็น
ของสังคมไทย
หมายเหตุ : งบประมาณให้ใช้ฐานขอ้ มูลประจำปงี บประมาณ 2565
ท่ไี ดร้ บั การจัดสรร พรอ้ มทงั้ แจกแจงรายละเอยี ดการใชจ้ า่ ยใหค้ รบถว้ น ชดั
๓๙
ณประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ะการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอสังขะ
ภาพคน ผลผลิตท่ี 4 ผู้รบั บรกิ ารการศึกษานอกระบบ (รหัส 36004)
2564–มนี าคม 2565) หมวดงบ การศึกษาเพ่ือเรยี นรหู้ ลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ระยะเวลา พื้นที่
ย ดำเนินการ ดำเนินการ งบประมาณ หมายเหตุ
(ระบชุ ว่ ง (ระบุสถานท)ี่ (วงเงนิ )
เดือน)
7 พน้ื ท่ี รวมทัง้ สิน้ 12,000 บาท ตำบล
ธนั วาคม - บา้ นดง หมู่ 3 รายละเอยี ดดังนี้ บา้ นจารย์
2564 - บ้านโคกไมแ้ ดง - คา่ วทิ ยากร จำนวน 6 ตำบลๆละ
หมู่ 12 1 คนๆละ 3 ชม.ๆละ 200 บาท
- บา้ นโชคชัย หมู่ 7 เป็นเงิน 3,600 บาท
- บา้ นแยง หมู่ 3 - คา่ อาหารกลางวัน จำนวน 6 ตำบลๆละ 5
- บ้านธรรมราช คนๆละ 1 ม้อื ๆละ 70 บาท เป็นเงิน
หมู่ 2 2,100 บาท
- บา้ นจารย์ หมู่ 1 - ค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่มื จำนวน 6
อำเภอสังขะ ตำบลๆละ 5 คนๆละ 2 มอ้ื ๆละ 35 บาท
จงั หวัดสุรนิ ทร์ เป็นเงิน 2,100 บาท
- ค่าปา้ ย จำนวน 6 ป้ายๆละ
150 บาท เป็นเงิน 900 บาท
- คา่ วัสดุ จำนวน 3,300 บาท
รวมท้ังสิน้ 12,000 บาท
ลงชื่อ................................................ผรู้ บั รองขอ้ มลู
ดเจน (นางสมจติ ผาดไธสง)
ผู้อำนวยการศูนย์ กศน.อำเภอสงั ขะ
แผนปฏบิ ตั ิการประจำ
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและก
(จำแนกตาม
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน กศน.นโยบายเร่งด่วน ยุทธศาสตร์ท่ี ............
สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน กศน.ภารกจิ ต่อเนื่อง ข้อท่ี ...............
ชอ่ื งาน : โครงการ/โครงการขับเคลอ่ื นหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสวู่ ิถีชุมชน กศน.อำเภอสังขะ
งบประมาณ 2565
วตั ถปุ ระสงค์ กิจกรรมหลกั
1. เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ประชาชนดำรงชวี ติ โดยยดึ หลกั ปรัชญา - อบรมใหค้ วามรู้และฝกึ ปฏิบตั
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนมีทักษะในการนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ตั ิ
3. เพอ่ื ให้ประชาชนเป็นแบบอยา่ งทีด่ ี และเป็นแนวทางใน
การดำรงชีวิตทส่ี อดคล้องกบั ความจำเปน็ ของสงั คมไทย
ตัวชี้วัดความสำเรจ็ เป้าหมาย
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ ประเภทกลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนทว่ั ไป
ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการเขา้ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำหลกั
ร่วมกจิ กรรมร้อยละ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไป
๘๐ ปรับใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้