The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินโครงการ
การพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ปีงบประมาณ 2561
วันที่ 28-30 ตุลาคม 2561
ณ นพรัตน์รีสอร์ท จังหวัดสมุทรสงคราม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พิสันติ์ ศรีสุขา, 2020-04-15 05:06:24

รายงานการประเมินโครงการ การพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปีงบประมาณ 2561

รายงานการประเมินโครงการ
การพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ปีงบประมาณ 2561
วันที่ 28-30 ตุลาคม 2561
ณ นพรัตน์รีสอร์ท จังหวัดสมุทรสงคราม

รายงานการประเมินโครงการ

การพฒั นาศกั ยภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
ปงี บประมาณ 2561

วนั ท่ี 28-30 ตุลาคม 2561
ณ นพรัตน์รสี อร์ท จงั หวดั สมุทรสงคราม

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบาง
ซ้าย

สานกั งาน กศน.จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

สานกั งาน กศน.
สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

กระทรวงศกึ ษาธิการ

คานา

รายงานการประเมินโครงการพัฒนาศกั ยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความรู้และ
ประสบการณ์การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย การจัดกระบวนการเรียนรู้
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สง่ เสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามหลักของพระพุทธศาสนา และ
เพ่ือประเมินความพงึ พอใจตอ่ โครงการ ของครแู ละบคุ ลากร กศน.อาเภอบางซา้ ย

การจัดโครงการครั้งนี้ ไดร้ ับความอนุเคราะห์จาก กศน.อาเภออัมพวา กศน.อาเภอบางคนที
ศูนยเ์ รยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพยงบา้ นสารภี ศูนยเ์ รียนรมู้ ะม่วงหาวมะนาวโห่ โครงการอมั พวา ชัยพัฒนา
นุรกั ษ์ และศาสนาสถานในอาเภออมั พวา ชว่ ยให้โครงการประสบผลสาเร็จ ดว้ ยความเรียบร้อย กศน.
อาเภอบางซ้ายขอขอบคุณ ทุกท่าน ท่ีให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อค้นพบ และ
ขอ้ เสนอแนะจากการสอบถาม และแบบประเมินในโครงการ จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาศักยภาพ
การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ครัง้ ตอ่ ไป

กศน.อาเภอบางซ้าย

บทสรปุ ผบู้ รหิ าร

ชือ่ รายงานการประเมินโครงการ

รายงานการประเมินโครงการพฒั นาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปงี บประมาณ 2561

วตั ถุประสงคข์ องการประเมนิ

1. เพ่อื ประเมนิ ความรู้ และประสบการณก์ ารจัดการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน หลักสูตรการศึกษา
นอกระบบและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
การจดั กระบวนการเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

2. เพ่อื ประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ตามหลกั ของพระพุทธศาสนา
3. เพ่ือประเมินความพงึ พอใจ ต่อโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ
การจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย

ทม่ี าของการประเมนิ

คณุ ภาพการศึกษา คือ หัวใจสาคญั ของการจดั การศึกษา ใหผ้ รู้ ับบริการสามารถ นาความรู้
ไปใช้แก้ปัญหา พัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข แต่
การจดั การศึกษานอกระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ของครูและบุคลากร กศน.อาเภอ
บางซ้าย จากการสารวจ พบว่า ครูและบุคลากร กศน.อาเภอบางซ้าย ยังไม่สามารถจัดกิจกรรม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในขั้น Good Teachers ให้เป็นตัวกลาง ในการ
เชือ่ มโยงความรู้กับผู้รับบริการ “ครูมืออาชีพ” ไม่มีจิตบริการ ขาดความรอบรู้ ขาดประสบการณ์
การจดั กิจกรรม กศน. และไมท่ ันต่อการเปล่ยี นแปลงของสงั คม เป็นเหตุให้ผู้รับบริการไม่ได้รับการ
แก้ไขปัญหา และการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปัญหาดังกล่าว หากปล่อยทิ้งไว้ อาจส่งผลให้
ปัญหาของประชาชนไม่ได้รับการแก้ไข เป้าหมายจุดเน้นการดาเนินงานของ กศน.ไม่บรรลุตาม
นโยบาย และส่งผลให้ กศน. อาเภอบางซ้าย ขาดความน่าเช่ือถือและศรัทธาจากประชาชน ศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางซ้าย ได้ตระหนักถึงความสาคัญของ
ปญั หาดังกลา่ ว จึงไดจ้ ัดทาโครงการพัฒนาศกั ยภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยของ กศน.อาเภอบางซา้ ย ปีงบประมาณ 2561 เพือ่ ให้ครูและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจ
และมีประสบการณ์การจัดการศึกษานอกระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย สามารถ
นามาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ให้สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของ กศน.อาเภอบางซ้าย อันจะทาให้

ประชาชนผู้รับบริการได้รับการแก้ไขปัญหา พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และส่งผลให้นโยบายและ
จดุ เน้นการดาเนนิ งาน กศน.บรรลุตามเปา้ หมาย

ดงั น้ัน เพอ่ื เปน็ การประเมินผลความสาเร็จของโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการ ฯ และเพ่ือให้ได้
ขอ้ มูลเบื้องต้นเสนอผู้บริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางซ้าย
ใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจใหค้ ุณคา่ ในการยตุ ิ หรือ ดาเนินโครงการพฒั นาศกั ยภาพการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ปงี บประมาณ 2561 ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ต่อไป

การดาเนนิ งานการประเมินโครงการ

การดาเนินการประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 ผูป้ ระเมินมีวธิ ีดาเนินการ ดังนี้

1. ขณะดาเนินโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 ผู้ประเมินได้ประเมินความรู้ ด้วย
วิธีการสังเกต ซักถาม ตอบคาถาม ตรวจแบบบนั ทกึ ความรปู้ ระสบการณ์ และการเสนอแนวคิดการ
นาไปใช้ประโยชน์ ตามเนือ้ หาสาระทกี่ าหนดไว้ในโครงการ

2. หลังดาเนินโครงการพัฒนาศักยภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอัธยาศัย ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 ผู้ประเมนิ ไดส้ ง่ เครอื่ งมอื การประเมิน
ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจ เปน็ google sheet ใน
https://goo.gl/forms/BzY6Jr8tYEYwiQLj2 ใหค้ รูและบคุ ลากรตอบ ในวันที่ 30 ตลุ าคม 2561
ณ สวนนพรัตน์ จังหวดั สมทุ รสงคราม แล้วเก็บรวบรวมขอ้ มูลไวว้ ิเคราะหต์ ่อไป

ผลการประเมนิ โครงการ

ครแู ละบุคลากร ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการพฒั นาศักยภาพการจดั การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัย ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 สว่ นใหญ่ เป็นเพศหญงิ ส่วน
ใหญ่มีอายุ 20-30 ปี มีตาแหนง่ เป็นครู กศน. ตาบล มีประสบการณ์ ต่ากว่า 5 ปี
มปี ระสบการณ์ตากวา่ 5 ปี ร้อยละ 57.14

ครแู ละบุคลากร มีความร้แู ละประสบการณ์ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย อยู่ในระดับดมี าก เข้าร่วมกิจกรรมการส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามหลักพุทธศาสนา
คครบ 7 คน และมคี วามพงึ พอใจ อยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ

แนวคิดการนาผลการประเมนิ โครงการไปใช้ในการปฏบิ ัติงาน

1. การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

สามารถนาความรู้ท่ไี ด้รับมาประยกุ ตใ์ ช้ในการจดั และส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตาม อธั ยาศยั ให้กบั กลุ่มเปา้ หมายในทุกรูปแบบ คอื การจดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน การจัดการ
ศกึ ษาต่อเนื่อง และการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศยั โดยให้สอดคล้องกบั บรบิ ทของ กศน.อาเภอบางซ้าย

ใช้การประสานกับภาคีเครือข่าย การใช้ทุนทางธรรมชาติ ทุนทางสังคม ให้เหมาะสมกับบริบท และ
เกิดประโยชน์ ร่วมถึงการจดั กศน.ตาบล ในรปู แบบของ กศน.ตาบล 4G คือ

Good Teacher: มคี วามเป็นครมู อื อาชพี จดั กระบวนการเรยี นรอู้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
Good Place Best Check-in: สภาพแวดลอ้ มมคี วามสวยงาม สะอาด บรรยากาศ
เอ้อื ตอ่ การเรียนรู้
Good Activities: มกี จิ กรรมยดื หย่นุ หลากหลาย
Good Partnership: มีภาคเี ครอื ข่ายท่ดี ี ทางานรว่ มกันอย่างเข้มแขง็
2. การศกึ ษาตามอธั ยาศัย

สามารถนาความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ในห้องสมุด
ประชาชน อาเภอบางซา้ ย และห้องสมุดแต่ละ กศน.ตาบล เช่น การจดั มมุ หนังสือต่าง ๆ การจัดหาสื่อ
ให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย การประชาสัมพันธ์ผ่าน social network
ปริศนา QR Code การออกให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย รถโมบายเคล่ือนที่ ห้องสมุดตลาดแตก
บ้านหนังสือชุมชน และ มุมหนังสือน่ังที่ไหนอ่านท่ีน้ัน และ นาแนวคิดการจัดทาวีดีทัศน์บริบทพื้นท่ี
จดุ เด่น แหลง่ เรียนรู้ แหล่งท่องเท่ียว ตลอดจนประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี อาชีพที่
สาคัญในอาเภอ แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ไว้ในห้องสมุด เพ่ือบริการ และประชาสัมพันธ์ให้
นักเรยี น นักศกึ ษาไดเ้ ข้าชมศึกษา เรยี นรู้ ไดต้ ามอธั ยาศยั

3. การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง

3.1 การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาอาชีพ

ใชว้ ตั ถดุ ิบทป่ี ลูกในพื้นท่ี มาแปรรูปเปน็ ผลิตภัณฑ์ ทาบรรจใุ ห้สนิ คา้ ที่ผลิตมี
มลู ค่าเพมิ่ เช่น มะมว่ งหาวมะนาวโห่ กลว้ ย ฟกั ทอง ซึ่งเป็นตน้ ทุนท่เี ปน็ ผลผลิตในชมุ ชน และการ
บรหิ ารจดั การแหลง่ ท่องเที่ยวแบบครบวงจร โดยใชส้ ่อื ประชาสมั พนั ธผ์ า่ น social network เชน่
facbook IG twitter youtube ให้เกิดประโยชน์สูงสดุ

3.2 การศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ติ

รณรงค์การถือศีลหา้ มกี ารปฏบิ ตั ิตามหลักธรรม เป็นกิจวตั รประจาวนั และเผยแพร่
ใหน้ กั ศกึ ษา ประชาชน ไดน้ าไปใชใ้ นการดาเนินชีวิตประจาวัน เพ่อื การอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมี
ความสขุ

3.3 การศึกษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน
จากกการศึกษาดูงาน ตลาดน้าอัมพวา พบข้อสังเกต ที่เป็นจุดเด่น คือ ตลาดมี

ส่ิงของเคร่ืองใช้ ทั้งเครื่องอุปโภค บริโภค มีบริการท่องเท่ียวทางน้าให้กับผู้มาเยือน ทาให้มีผู้คนมา

เท่ยี วกันจานวนมากในวันเสาร์ อาทติ ย์ สาหรับวันธรรมดาไมไ่ ดเ้ ปิดตลาดเนื่องจากไม่มีคนต่างถิ่นมา มี

เพียงคนในพ้ืนท่ี จึงเป็นสิ่งท่ีต้องคิดวิเคราะห์หลายแง่หลายมุม และต้องอาศัยความร่วมมือจาก

หน่วยงาน ผู้นาท้องถ่ิน ชุมชม ประชาชน ร่วมมือกันอย่างแท้จริง บริหารจัดการให้เป็นระบบให้เกิด

ประโยชน์ให้กบั ทุกคนทเี่ ก่ยี วข้อง นา่ จะช่วยใหต้ ลาดน้าความยั่งยืน

สาหรับการนาแนวคิดการทาตลาดน้า ให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชน ควรนามาใช้
กับตลาดนัดท่ีมีในบ้านเรา โดยเร่ิมจากการปรับสภาพการบริการ ความสะอาด สุขอนามัย การใช้

ภาชนะบรรจุอาหาร การตกแตง่ ร้านให้น่าดนู ่ามอง ตลอดจนกิริยามารยาท ความสุภาพ การแต่งกาย
ที่เหมาะสมของแม่ค้า ซึ่งส่วนใหญต่ ลาดนัดไม่มกี ารควบคมุ ในเร่ืองดังกล่าว หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควร
เขา้ มาดาเนนิ การ หากอาหารดี อาหารสะอาด หน้ารา้ นตกแต่งไดง้ ดงาม แม่ค้าสุภาพพูดจาดีแล้ว เชื่อ
วา่ ตลาดนดั กจ็ ะยกระดับใหส้ ูงข้ึนกว่าท่เี ป็นอยู่ เพราะตลาดนัดมีจุดเดน่ คอื มีสินค้าราคาถูกเป็นทุนที่
จะดึงดูดให้ผู้คนมาจับจ่ายใช้สอยได้ตลอดเวลา และควรมีการจัดแสดงนิทรรศการเร่ืองราวทาง
วัฒนธรรมชุมชนต่างๆ หมุนเวียนให้สอดคล้องกับการจัดงานเทศกาล และกิจกรรมภายในพ้ืนที่
โครงการฯ เปิด โอกาสให้ชุมชน และผู้สนใจเข้าร่วมจัดนิทรรศการ โดยให้ความสาคัญกับการให้
ความรู้ ความภาคภูมิใจแก่ชุมชน ส่งเสริม เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ความรู้ภูมิปัญญา ของชุมชน
และทอ้ งถน่ิ

4. การจัดกระบวนการเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
จากการศึกษางานโครงการอัมพวา ชัยพัฒนานุรักษ์ สามารถนาความรู้ท่ีได้รับมา

ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพัฒนาพนื้ ที่ภาคเี ครอื ข่าย กศน.อาเภอบางซ้าย ให้มีการใช้ประโยชน์พ้ืนที่ การแบ่ง
พนื้ ท่ีใหเ้ ป็นประโยชน์ การจัดกิจกรรมต่างๆ ในพื้นที่ การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ให้เชื่อมโยงกับบริบทของ
อาเภอบางซ้าย และการจัดแสดงนิทรรศการเรื่องราวทางวัฒนธรรมชุมชนต่างๆ หมุนเวียนให้
สอดคลอ้ งกับการจัดงานเทศกาล และกจิ กรรมภายในพื้นทโี่ ครงการฯ เปดิ โอกาสให้ชมุ ชน และผู้สนใจ
เขา้ ร่วมจดั นทิ รรศการ โดยใหค้ วามสาคัญกับการใหค้ วามรู้ ความภาคภูมิใจแกช่ ุมชน สง่ เสริม เผยแพร่
และประชาสัมพนั ธ์ ความรภู้ มู ิปญั ญาของชุมชน และทอ้ งถ่ิน และนามาปรบั ใชเ้ ป็นฐานการเรียนรู้ ใน
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในตาบลที่รับผิดชอบ เช่น การทาแปลงนาสาธิต เพื่อการพัฒนาอาชีพ
อย่างยัง่ ยนื ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และศาสตร์ของพระราชา โดยส่งเสริมการจัดกิจกรรม
อย่างเข้มข้นเพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ แนวทางการประกอบอาชีพเกษตรกรรมให้แก่เกษตรกร
เพ่อื ใหม้ คี วามแขง็ แกรง่ อันเปน็ การสร้างรากฐานต่อยอดในแตล่ ะอาชีพ และยังได้เป็นศูนย์การเรียนรู้
ท่ีสร้างเสริมใหค้ นในชมุ ชนสามารถนาความรู้ไปช่วยเหลืออาชีพของตนเองได้ตามแนวทางการพัฒนา
เกษตรตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ปัญหาและอปุ สรรคที่เกดิ ขึ้นจากการดาเนนิ การประเมนิ โครงการ

1. การเบิกจ่ายงบประมาณลา่ ช้า
2. โครงการขาดความเป็นเอกภาพ ส่งผลให้การดาเนินงานของบุคคลไม่เป็นไปในทิศทาง
เดียวกัน
3. การดาเนนิ การตามแผนมีความคลาดเคลอื่ น ไม่เป็นไปตามเวลาทีก่ าหนนด
4. ขาดการวางระบบผปู้ ระสานงานกลางที่ชดั เจนในการดาเนินงานโครงการอย่างทั่วถึงและ
สอดคล้องในทศิ ทางเดียวกนั
5. ขาดการประชมุ วางแผนการดาเนินการโครงการ
6. ขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ท่ีจาเป็นตอ้ งใชใ้ นการประเมนิ โครงการ

ข้อเสนอแนะเพ่ือปรับปรุงและพฒั นาโครงการ

1.1 ข้อเสนอแนะของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ

รูปแบบการจดั อาหาร ควรจดั เดิน 2 ด้าน จัดโครงการให้ต่อเน่ืองปีละคร้ัง ท่ีพัก

สะอาด วิทยากรมีเทคนิคการนาเสนอดี ทาให้ได้ความรู้มากขึ้น ได้แนวคิดใหม่แปลกๆ มา

ประยุกต์ใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน ได้จริง ควรจัดอย่างสม่าเสมอปีละ 1 ครั้ง ควรให้บุคลากรมาให้ครบ

ทุกคน ขอบคุณเจ้าของโครงการที่จัดกิจกรรมดี ครั้งต่อไปควรจัดให้มีการทาวิจัยหน้าเดียว

โครงงาน การถ่ายภาพเบอ้ื งต้นเพ่อื การประชาสัมพนั ธ์ อบรมจรรยาบรรณวิชาชีพครู การประดิษฐ์

สอื่ และการจดั ทาแผนการเรียนการสอน

1.2 ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหารโครงการ

กิจกรรมการศึกษาดูงาน ควรแบ่งกลุ่มย่อย จัดให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคละกัน
ระหว่างอาเภอ เพ่ือสร้างความคุ้นเคย รู้จักกัน ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ ได้แสดงออกถึงความ
รับผิดชอบร่วมกัน โดยมีการวางแผนหารือในกลุ่ม เพื่อกาหนดเป้าหมายของการศึกษา
ประสบการณ์ จากแหล่งเรียนรู้ท่ีเข้าศึกษาดูงาน จะทาให้ได้ข้อมูลท่ีตรงประเด็น และเป็น
ประโยชนม์ ากขน้ึ การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ควรมีกิจกรรมเพิ่ม เช่น การถือศีล
และการทาวตั ร

สารบญั

บทท่ี 1 บทนา……………………………………………………………………………………………….. หนา้
หลกั การและเหตุผล……………………………………………………………………………. 1
วตั ถุประสงค์……………………………………………………………………………………… 1
ขอบเขตการประเมนิ ………………………………………………………………………….. 1
ประโยชนข์ องการประเมิน………………………………………………………………….. 2
นิยามศัพท…์ ……………………………………………………………………………………… 3
3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี กี่ยวข้อง…………………………………………………………… 4
แนวคดิ การประเมินตามวตั ถุประสงค์…………………………………………………… 4
ความหมายการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั …………………… 8
ความสาคัญของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ……………. 10
หลกั การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ………………….. 11
งานวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้อง……………………………………………………………………………. 13
16
บทท่ี 3 วธิ ดี าเนนิ การประเมนิ และผลการประเมินโครงการ……………………………….. 16
กล่มุ เป้าหมายในการประเมิน……………………………………………………………… 16
เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการประเมิน………………………………………………………………. 17
การดาเนนิ การประเมนิ ………………………………………………………………………. 18
กรอบการประเมิน……………………………………………………………………………… 19
การเก็บรวบรวมข้อมลู และการจัดกระทาขอ้ มูล…………………………………….. 20
การวิเคราะห์ข้อมลู และสถิตทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล…………………………… 21
ผลการประเมนิ โครงการ……………………………………………………………………… 27
สรุปผลการประเมิน ปัญหาอุปสรรค และอภิปรายผล…………………………..... 30
ข้อเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรุงและพฒั นาโครงการ…………………………………. 31
32
เอกสารอา้ งอิง…………………………………………………………………………………………………….. 33
ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………………………... 34
42
แบบตรวจคุณภาพชน้ิ งาน……………………………………………………………………. 50
แบบประเมินความพงึ พอใจ…………………………………………………………………. 63
สรปุ การบันทึกความรแู้ ละประสบการณ์………………………………………………..
ภาพกจิ กรรมศึกษาดูงาน……………………………………………………………………..
ภาพรวมผลการประเมินความพึงพอใจ…………………………………………………..

สารบญั (ตอ่ )

กาหนดการโครงการ…………………………………………………………………………... หน้า
คณะผ้จู ัดทา………………………………………………………………………………………. 72
74

บทท่ี 1
บทนา

หลักการและเหตผุ ล

คุณภาพการศึกษา คอื หัวใจสาคัญของการจดั การศึกษา ให้ผรู้ ับบริการสามารถ นาความรู้
ไปใช้แก้ปัญหา พัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข แต่
การจัดการศึกษานอกระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ของครูและบุคลากร กศน.อาเภอ
บางซา้ ย จากการสารวจ พบว่า ครูและบุคลากร กศน.อาเภอบางซ้าย ยังไม่สามารถจัดกิจกรรม
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในข้ัน Good Teachers ให้เป็นตัวกลาง ในการ
เช่ือมโยงความรู้กับผู้รับบริการ “ครูมืออาชีพ” ไม่มีจิตบริการ ขาดความรอบรู้ ขาดประสบการณ์
การจัดกจิ กรรม กศน. และไม่ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลงของสงั คม เป็นเหตุให้ผู้รับบริการไม่ได้รับการ
แก้ไขปัญหา และการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน ปัญหาดังกล่าว หากปล่อยท้ิงไว้ อาจส่งผลให้
ปัญหาของประชาชนไม่ได้รับการแก้ไข เป้าหมายจุดเน้นการดาเนินงานของ กศน.ไม่บรรลุตาม
นโยบาย และส่งผลให้ กศน. อาเภอบางซ้าย ขาดความน่าเชื่อถือและศรัทธาจากประชาชน ศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางซ้าย ได้ตระหนักถึงความสาคัญของ
ปญั หาดังกล่าว จึงได้จัดทาโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยของ กศน.อาเภอบางซา้ ย ปงี บประมาณ 2561 เพ่ือใหค้ รูและบุคลากรมคี วามร้คู วามเข้าใจ
และมีประสบการณ์การจัดการศึกษานอกระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย สามารถ
นามาใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ให้สอดคลอ้ งกบั บริบทของ กศน.อาเภอบางซ้าย อันจะทาให้
ประชาชนผู้รับบริการได้รับการแก้ไขปัญหา พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน และส่งผลให้นโยบายและ
จุดเน้นการดาเนนิ งาน กศน.บรรลุตามเป้าหมาย

ดังนั้น เพ่ือเปน็ การประเมนิ ผลความสาเร็จของโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการ ฯ และเพ่ือให้ได้
ขอ้ มลู เบื้องต้นเสนอผู้บริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางซ้าย
ใชป้ ระกอบการตดั สินใจใหค้ ุณคา่ ในการยุติ หรอื ดาเนินโครงการพฒั นาศักยภาพการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ปงี บประมาณ 2561 ของ กศน.อาเภอบางซา้ ย ตอ่ ไป

วัตถุประสงค์

1. เพือ่ ประเมนิ ความรู้ และประสบการณ์การจัดการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน หลกั สตู รการศึกษา
นอกระบบและการจดั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย การ
จัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2. เพอื่ ประเมินคุณธรรมจริยธรรม ตามหลกั ของพระพทุ ธศาสนา
5. เพ่ือประเมินความพึงพอใจ ต่อโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ
การจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย

ขอบเขตการประเมิน

1. กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูและบุคลากร กศน.อาเภอบางซ้าย จานวน 7 คน
2. ระยะเวลาในการประเมิน ระหวา่ งวันท่ี 28-30 ตลุ าคม 2561
3. สถานที่ประเมนิ คอื สวนนพรตั น์ จังหวดั สมุทรสงคราม และ กศน.อาเภอบางซ้าย
จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

4. เนื้อหาในการประเมิน คือ ความรู้ ประสบการณ์ งานการศึกษาพ้ืนฐาน งาน
การศึกษาตามอัธยาศัย การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลกั ธรรมทางพทุ ธศาสนา และการเสนอแนวทางการนาไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบัตงิ านงาน

5. ความพึงพอใจ คือ 1) ความรู้/ประสบการณ์/แนวคิดการนาไปใช้ในการปฏิบัติงาน
ไดแ้ ก่ (1) การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร (2) เนื้อหาสาระ กิจกรรม ประโยชน์ท่ีได้จากการเข้า
ร่วม ระยะเวลา การตอบข้อซักถามของวิทยากร และการนาความและประสบการณ์ไปใช้
ประโยชน์ 2) การดาเนินงานโครงการ ได้แก่ การเตรียมความพร้อม ท่ีพัก อาหาร ระยะเวลาใน
โครงการ แหล่งศึกษาดูงาน การชี่แจงทาความเข้าใจ การสรุปผลและการนาเสนอของกลุ่ม
กิจกรรมการปฏิบัติตามหลักธรรมของพุทธศาสนา กิจกรรมแปรรูปมะม่วงหาวมะนาวโห่ และ
กิจกรรมนนั ทนาการ

6. การประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั กศน.อาเภอบางซา้ ย ปงี บประมาณ 2561 ใช้รูปแบบการประเมินตามวัตถุประสงค์ ของไท
เลอร์ (Tyler) ประเมิน ตามลักษณะการดาเนินงาน ของ เคิร์กแพททริก (Kirkpatrick) 7 ข้ันตอน
ดงั น้ี

6.1 วเิ คราะห์เป้าหมายหรอื วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ
6.2 กาหนดจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมให้ชัดเจนว่า เมื่อเสร็จส้ินโครงการแล้ว ผู้เข้าร่วม
โครงการจะต้องเกิดพฤติกรรมอะไรบา้ ง อาจจะเปน็ พฤตกิ รรมรายบคุ คลหรอื รายกลมุ่ กไ็ ด้
6.3 กาหนดสถานการณ์ กาหนดและเลือกเนื้อหาสาคัญ รวมทั้งวิธีการต่างๆท่ีจะทาให้
ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการได้แสดงพฤติกรรมทสี่ อดคลอ้ งวัตถุประสงค์
6.4 ประเมินโครงการ โดยเลือกและสร้างเครื่องมือท่ีจะใช้ในการวัดพฤติกรรมตามท่ีได้
ระบุไว้ในจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ระบุว่ามีการบรรลุจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
เพยี งใด
6.5 กาหนดกรอบการประเมนิ โครงการ
6.6 เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของผู้เข้าร่วม
โครงการ โดยดาเนินการประเมิน ใน 2 ลักษณะ คือ 1) การประเมินปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction
Evaluation) เป็นการตรวจสอบความรู้สึก หรือความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม 2)ประเมินผล
การเรียนรู้ (Learning Evaluation) เป็นการตรวจสอบผลการเรียนรู้ท่ีได้จากการศึกษาดูงาน ทั้ง
ความรู้ประสบการณ์ และข้อเสนอแนะ แนวคิด ในการนาความรู้ละประสบการณ์ที่ได้ไปใช้ในการ
ปฏบิ ัติงาน ว่า เป็นไปตามความคาดหวังของโครงการหรือไม่

6.7 วิเคราะห์ข้อมูลและเปรียบเทียบกับพฤติกรรมท่ีกาหนดไว้ตามจุดประสงค์ เพ่ือ
พิจารณาการบรรลุจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมและวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ

ประโยชน์ของการประเมนิ

1. ทาให้ไดข้ อ้ มลู สารสนเทศเกยี่ วกบั การพฒั นาศกั ยภาพการจดั การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั การจัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการ
ปฏิบัติตามหลักธรรมของพทุ ธศาสนา ของ ครแู ละบคุ ลากรที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพการจดั
การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย กศน.อาเภอบางซา้ ย ปงี บประมาณ 2561 เพ่ือนาไป
วางแผน ไว้ปรับปรุง พัฒนาศกั ยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้มี
ประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลต่อไป

2. เปน็ หลกั ฐานการพัฒนาศักยภาพของครแู ละบคุ ลากร กศน.อาเภอบางซา้ ย
3. เปน็ ขอ้ มูลสารสนเทศเบื้องต้น สาหรับผู้บริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั อาเภอบางซ้าย ใช้ในการตัดสินใจให้คุณค่ายุติ หรือการดาเนินโครงการพัฒนาศักยภาพ
การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561
ต่อไป

นิยามศพั ท์

1. โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 หมายถึง การศึกษาดูงาน การแลกเปล่ียนเรียนรู้
เสนอแนะ ความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการส่งเสริม
คุณธรรม จริยธรรม ตามหลกั พทุ ธศาสนา ของครแู ละบุคลากร กศน.อาเภอบางซ้าย

2. ความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย หมายถึง การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หลักสูตรระดับการศึกษาขั้นพ้ื นฐาน
พุทธศักราช 2551 การจดั การศกึ ษาต่อเนอื่ ง ประกอบด้วย การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษา
เพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต และการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมทางพุทธศาสนา สามารถวัดได้จาก การสังเกต
ซักถาม ตอบคาถาม และการนาเสนอแนวคิดเพื่อการนาไปใช้ในการปฏิบัตงิ าน

3. ความพงึ พอใจตอ่ โครงการพัฒนาศักยภาพการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 หมายถึง อารมณ์ ความรู้สึก ของครูและ
บุคลากร ท่ีแสดงออกเป็นพฤตกิ รรม ดว้ ยการบ่งบอกว่า พอใจ หรือไม่พอใจ ตอ่ ความรู้ ความเข้าใจ
ประสบการณ์ ท่ีได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ และการดาเนินงานของโครงการ สามารถวัดได้
จากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ Google sheet จานวน 17 ข้อ

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกยี่ วขอ้ ง

รายงานการประเมนิ ผลโครงการพัฒนาศักยภาพการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอัธยาศัย ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 ผูป้ ระเมนิ โครงการได้ศึกษาเอกสารและ
งานวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้องตามลาดับดังนี้

1. แนวคิดการประเมินตามวัตถุประสงค์
1.1 ความหมายของการประเมินตามวตั ถปุ ระสงค์
1.2 ความสาคัญของการประเมินตามวตั ถุประสงค์
1.3 รปู แบบของการประเมินตามวตั ถปุ ระสงค์
1.4 ข้ันตอนการประเมินตามวตั ถุประสงค์

2. การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
2.1 ความหมายของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
2.2 ความสาคัญของการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
2.3 หลกั การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
2.4 กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

3. งานวิจัยท่ีเกีย่ วข้อง
โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี

แนวคดิ การประเมินตามวตั ถุประสงค์

1. ความหมายของการประเมินตามวัตถปุ ระสงค์
พชิ ติ ฤทธจ์ิ รูญ (Online) ให้ความหมายของการประเมินโครงการ ไว้วา่ การประเมนิ

โครงการ หมายถงึ กระบวนการเชิงระบบเพอ่ื การตรวจสอบ หรอื ช้ีบง่ ถงึ ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล
ของโครงการ ซึ่งจะช่วยให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั การบรหิ าร
จัดการ ปรบั ปรงุ และพัฒนาโครงการ จากความหมายดังกลา่ วนชี้ ใ้ี หเ้ ห็นลักษณะของการประเมนิ
โครงการ ดงั น้ี

1.1 การประเมินโครงการเป็นกระบวนการทีจ่ ดั ทาขนึ้ อย่างเป็นระบบ เพ่อื ให้ได้ข้อมูล
สารสนเทศท่ีเชื่อถือไดแ้ ละเปน็ ประโยชนต์ อ่ การตัดสินใจของผู้บริหารหรอื ผ้รู ับผิดชอบโครงการ

1.2 การประเมินโครงการเปน็ กระบวนการในการจัดเตรียมสารสนเทศ เพือ่ ใช้ในการ
ตัดสินใจเกี่ยวกบั การบริหารจดั การ ปรับปรุงและพัฒนาโครงการ

1.3 จดุ เนน้ ท่สี าคญั ของการประเมนิ โครงการ อย่ทู ่กี ารเพิ่มประสทิ ธภิ าพ (Efficiency)
และประสิทธิผล (Effectiveness) ของการดาเนินโครงการ

2. ความสาคัญของการประเมนิ ตามวตั ถุประสงค์
พชิ ิต ฤทธ์ิจรูญ (Online) กลา่ วถงึ ความสาคัญของการประเมินตามวัตถปุ ระสงค์ ดังน้ี

2.1 ชว่ ยใหไ้ ดข้ อ้ มูลสารสนเทศต่างๆ เกี่ยวกับโครงการที่นาไปใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับ
การกาหนดโครงการ การตรวจสอบความพร้อมของทรัพยากรต่างๆ ท่ีจาเป็นต้องใช้ในการดาเนิน

โครงการ ตลอดจนความเปน็ ไปได้ในการจดั ทาโครงการ
2.2 ช่วยให้ทราบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับความก้าวหน้า ปัญหาและอุปสรรคในการ

ดาเนินโครงการ ซ่ึงนามาใช้ในการตัดสินใจเพ่ือการปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขการดาเนิน

โครงการให้เป็นไปตามทศิ ทางที่ตอ้ งการ
2.3 ช่วยใหไ้ ด้ขอ้ มูลสารสนเทศเก่ียวกับความสาเร็จ และความล้มเหลวของโครงการท่ี

นามาใช้ในการตัดสนิ ใจและวินิจฉัยว่า จะดาเนินโครงการในช่วงต่อไปอย่างไร ยกเลิกหรือปรับขยาย
การดาเนนิ โครงการตอ่ ไปอกี

2.4 ช่วยให้ได้ข้อมูลสารสนเทศท่ีบ่งบอกถึงประสิทธิภาพของโครงการว่าเป็นอย่างไร

คุ้มค่ากบั การลงทนุ หรอื ไม่
2.5 ช่วยให้เกิดการเสริมแรง สร้างพลังจูงใจให้กับผู้ปฏิบัติงานในโครงการเม่ือทราบ

ผลสาเร็จ จุดเดน่ หรอื จุดด้อยของโครงการโดยจะมุ่งม่ันปรับปรุง และพัฒนาการดาเนินโครงการให้มี
คุณภาพและมาตรฐานสงู ขน้ึ ซึง่ จะเกดิ คณุ ค่าและประโยชน์สงู สุดต่อผู้รบั บรกิ ารหรือองค์กร

3. รูปแบบการประเมินตามวตั ถุประสงค์

พชิ ิต ฤทธ์จิ รญู (Online) กลา่ วถงึ รปู แบบการประเมินตามวตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้
รูปแบบการประเมินของไทเลอร์ ไทเลอร์ (Tyler) เป็นนักประเมินที่ให้ความสนใจและ

พัฒนารูปแบบการประเมิน โครงการทางการศึกษาก่อนคนอ่ืน ๆ นอกจากเขาจะเป็นบุคคลที่มี
ความสาคญั ทางดา้ นการประเมนิ แล้ว ยงั เปน็ ผู้ทีใ่ ห้แนวคิดสาคัญในการพัฒนาหลักสูตรอีกด้วย โดยไทเลอร์ได้ให้
ความหมายของการประเมินว่า เป็นการเปรียบเทียบผลลัพธ์ (outcomes) ท่ีคาดหวัง กับผลลัพธ์ที่

เกดิ ขนึ้ จรงิ ซงึ่ เป็นการเปรียบเทียบการปฏิบัติหรือพฤติกรรมท่ีเกิดข้ึนจริงกับจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้
ล่วงหน้า จากนิยามนี้ ชี้ใหเ้ หน็ วา่ ไทเลอร์ไดย้ ึดเอาจดุ มุ่งหมายของหลกั สตู รเป็นหลักในการประเมิน เพ่ือ

ตรวจสอบว่าหลกั สูตรทจี่ ดั ทานัน้ สามารถบรรลุจดุ มุ่งหมายท่กี าหนดไว้มากน้อยเพียงใด บางคร้ังจึงเรียกรูปแบบ
การประเมนิ นว้ี า่ รปู แบบการประเมนิ ท่ยี ึดวัตถปุ ระสงค์หรอื ความสาเร็จของเป้าหมายเปน็ หลกั

เคริ ก์ แพททรกิ (Kirkpatrick) ไดเ้ สนอแนวคดิ เก่ยี วกับการฝึกอบรมและการประเมินผล

การฝึกอบรม ว่า “การฝึกอบรมเป็นการช่วยเหลือบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ ในการฝึกอบรมใด ๆ ควรจะจัดให้มีการประเมินผลการฝึกอบรม ซึ่งถือเป็นสิ่งจาเป็นท่ี

จะช่วยให้รู้ว่า การจัดโปรแกรมการฝึกอบรมมีประสิทธิผลเพียงใด”การประเมินผลการฝึกอบรม
จะต้องทาใหไ้ ดค้ วามรู้อยา่ งน้อย 3 ประการ คอื (1) การฝึกอบรมน้นั ได้ให้อะไร หรือเกิดประโยชน์ต่อ
หน่วยงานในลักษณะใดบ้าง (2) ควรยุติชั่วคราวก่อนหรือดาเนินการต่อไปเร่ือย ๆ และ (3) ควร

ปรับปรุงหรือพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมในส่วนใดบ้าง และควรปรับปรุงอย่างไร (เชาว์ อินใย.
(2555 : 143)

ศูนย์ทดสอบและประเมินเพอ่ื พฒั นาการศกึ ษาและวิชาชีพ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย (2560: Online) ได้ให้รายละเอียดรูปแบบการประเมินของเคิร์กแพทริค (Kirkpatrick)
ไว้ว่า โดนัลด์ แอล เคิร์กแพทริค (Donald L. Kirkpatrick, 1975) แห่งมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน

สหรัฐอเมริกา อดีตเคยเป็นประธาน ASTD (The American Society for Tranning and

Development) ได้ เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการฝึกอบรมและการประเมินผลการฝึกอบรมว่า “การ
ฝึกอบรมน้นั เป็นการชว่ ยเหลือบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการฝึกอบรม

ใด ๆ ควรจะจดั ใหม้ ีการประเมนิ ผลการฝกึ อบรม ซ่งึ ถือเป็นส่ิงจาเปน็ ทีจ่ ะชว่ ยให้รู้ว่า การจัดโปรแกรม
การฝึกอบรมมปี ระสทิ ธผิ ลเพียงใด การฝึกอบรมเปน็ กิจกรรมปกติท่ีเกิดข้ึนในทุกองค์กร เป็นกิจกรรม
ที่จัดข้ึนมาเพ่ือการพัฒนาบุคลากรในหน่วยงาน โดยมุ่งหวังให้ผู้ผ่านการอบรมได้มีการปรับปรุง

เปล่ียนแปลงแนวทางการทางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เคิร์กแพทริค (Kirkpatrick) เห็นว่าการ
ประเมนิ ผลการฝึกอบรมจะทาให้ได้ความรูอ้ ย่างน้อย 3 ประการ คือ

ประการท่ี 1 การฝึกอบรมน้ัน ได้ให้อะไร หรือเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานในลักษณะ
ใดบ้าง

ประการท่ี 2 ควรยตุ ิโครงการชัว่ คราวกอ่ น หรอื ควรดาเนนิ การตอ่ ไป

ประการที่ 3. ควรปรับปรุงหรือพัฒนาโปรแกรมฝึกอบรมในสว่ นใดบา้ งอย่างไร
แนวทางการประเมิน ในการประเมินผลโครงการฝึกอบรม เคิร์กแพทริค (Kirkpatrick)

เสนอวา่ ควรดาเนินการประเมนิ ใน 4 ลักษณะ คอื
ลักษณะท่ี 1 ประเมินปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction Evaluation) เป็นการตรวจสอบ

ความรูส้ ึก หรอื ความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารับการอบรม

ลกั ษณะท่ี 2 ประเมนิ ผลการเรียนรู้ (Learning Evaluation) เปน็ การตรวจสอบผลการ
เรียนรู้ โดยควรตรวจสอบให้ครอบคลุมท้ังด้านความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) และเจตคติ

(Attitude)
ลักษณะท่ี 3 ประเมินพฤติกรรมทเี่ ปล่ียนไปหลงั การอบรม (Behavior Evaluation) เป็น

การตรวจสอบวา่ ผผู้ ่านการอบรมได้ปรับเปลย่ี นพฤติกรรมเปน็ ไปตามความคาดหวงั ของโครงการ

หรือไม่
ลักษณะท่ี 4 ประเมินผลลัพธท์ ่เี กิดขึ้นต่อหน่วยงาน (Results Evaluation) เปน็ การ

ตรวจสอบว่า ผลจากการอบรมได้เกิดผลดตี ่อองคก์ ร หรอื เกิดผลกระทบต่อองค์กรในลักษณะใดบ้าง
คุณภาพขององคก์ รดีขนึ้ หรือมคี ณุ ภาพขึ้นหรอื ไม

รายละเอยี ดแนวทางการดาเนนิ การประเมนิ แต่ละรายการ มีดงั น้ี

ขนั้ ท่ี 1 ขนั้ ประเมินปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction) การประเมินในข้ันน้ี มีวัตถุประสงค์ที่
จะใหร้ วู้ ่าผ้ทู เี่ ข้ารับการฝึกอบรมนน้ั มคี วามรสู้ กึ อย่างไร ต่อการฝึกอบรม

ขนั้ ท่ี 2 ขน้ั ประเมนิ การเรียนรู้ (Learning) การประเมนิ ผลในขนั้ นี้ มวี ตั ถุประสงค์ที่จะให้รู้
ว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ อะไรบ้างท่ีเปล่ียนแปลงไปจากเดิม ท่ีจะช่วยให้เกิดการ
เปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมการทางานของผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมในโอกาสต่อไป

ขั้นที่ 3 ขั้นประเมินพฤติกรรมท่ีเปล่ียนแปลงไปหลังการอบรม (Behavior) การ
ประเมินผลในขั้นนี้มีวัตถุประสงค์จะให้รู้ว่า เม่ือได้รับการฝึกอบรมไปแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้มี

การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมการทางานไปในทศิ ทางที่พึงประสงค์หรอื ไม่
ขั้นท่ี 4 ข้ันประเมินผลที่เกิดข้ึนต่อหน่วยงาน (Results) การประเมินผลในขั้นนี้มี

วตั ถปุ ระสงคจ์ ะให้รูว้ า่ ในที่สุดแล้ว การฝึกอบรมไดก้ ่อให้เกดิ ผลดี ตอ่ หนว่ ยงานอยา่ งไรบา้ ง

4. ข้นั ตอนการประเมินตามวตั ถปุ ระสงค์

พิชติ ฤทธจิ์ รูญ (Online) ไดส้ รปุ ขัน้ ตอนการประเมินตามวัตถุประสงค์ ดังน้ี
ขั้นตอนการประเมินตามรูปแบบการประเมินของไทเลอร์ การประเมินโครงการตาม

รูปแบบการประเมินของไทเลอร์ ฟิทซ์แพททริค แซนเดอร์และวอร์เธน (Fitzpatrick, Sanders and
Worthen, 2004 : 72) ได้สรปุ ไว้ 7 ข้ันตอนดังนี้

4.1 กาหนดเปา้ หมายหรอื วตั ถุประสงคข์ องโครงการทางการศึกษาไว้กวา้ งๆ

4.2 จาแนกประเภทของเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของโครงการทางการศึกษาไว้ให้
ชัดเจน

4.3 กาหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมให้ชัดเจนว่า เมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้ว ผู้เข้าร่วม
โครงการจะต้องเกดิ พฤติกรรมอะไรบ้าง อาจจะเป็นพฤติกรรมรายบุคคลหรือรายกลุ่มก็ได้

4.4 กาหนดสถานการณ์ กาหนดและเลอื กเนื้อหาสาคญั รวมทงั้ วธิ กี ารตา่ งๆ ที่จะทาให้

ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการได้แสดงพฤติกรรมทส่ี อดคล้องกบั จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรมท่ีได้กาหนดไว้
4.5 ประเมนิ โครงการ โดยเลือกและสร้างเครอ่ื งมือทจี่ ะใช้ในการวดั พฤติกรรมตามท่ีได้

ระบุไว้ในจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีระบุว่า ได้มีการบรรลุจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
เพียงใด

4.6 เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของผู้เข้าร่วม

โครงการ
4.7 วเิ คราะหข์ อ้ มูลและเปรียบเทียบกับพฤติกรรมท่ีได้กาหนดไวต้ ามจุดประสงคเ์ พื่อ

พจิ ารณาการบรรลจุ ุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมและวัตถุประสงค์ของโครงการ รูปแบบการประเมินของ
ไทเลอร์

กล่าวโดยสรุป การประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 ใช้รูปแบบการประเมินตาม
วัตถุประสงค์ ของไทเลอร์ (Tyler) ประเมิน ตามลักษณะการดาเนินงาน ของ เคิร์กแพททริก

(Kirkpatrick) 7 ขัน้ ตอน ดังน้ี
1. วเิ คราะห์เป้าหมายหรือวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ
2. กาหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมให้ชัดเจนว่า เมื่อเสร็จส้ินโครงการแล้ว

ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการจะตอ้ งเกิดพฤติกรรมอะไรบา้ ง อาจจะเป็นพฤตกิ รรมรายบุคคลหรอื รายกลุม่ กไ็ ด้
3. กาหนดสถานการณ์ กาหนดและเลือกเนื้อหาสาคัญ รวมทั้งวิธีการต่างๆท่ีจะทา

ให้ผู้เขา้ ร่วมโครงการไดแ้ สดงพฤตกิ รรมทีส่ อดคล้องวัตถปุ ระสงค์
4. ประเมนิ โครงการ โดยเลือกและสร้างเคร่ืองมือท่ีจะใช้ในการวัดพฤติกรรมตามท่ี

ได้ระบุไว้ในจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีระบุว่ามีการบรรลุจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

เพียงใด
5. กาหนดกรอบการประเมนิ โครงการ

6. เกบ็ รวบรวมข้อมลู เก่ยี วกับพฤติกรรมตามจดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรมของผู้เข้าร่วม
โครงการ โดยดาเนินการประเมนิ ใน 2 ลักษณะ คือ 1) การประเมินปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction
Evaluation) เป็นการตรวจสอบความรู้สึก หรือความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม 2)ประเมินผล

การเรียนรู้ (Learning Evaluation) เป็นการตรวจสอบผลการเรียนรู้ท่ีได้จากการศึกษาดูงาน ท้ัง

ความรู้ประสบการณ์ และข้อเสนอแนะ แนวคิด ในการนาความรู้ละประสบการณ์ท่ีได้ไปใช้ในการ
ปฏิบตั ิงาน ว่าเป็นไปตามความคาดหวังของโครงการหรอื ไม่

7. วเิ คราะหข์ อ้ มลู และเปรียบเทียบกับพฤติกรรมท่ีกาหนดไว้ตามจุดประสงค์ เพื่อ
พจิ ารณาการบรรลุจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมและวัตถุประสงคข์ องโครงการ

การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

1. ความหมายการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
พระราชบัญญัติสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2551
1.1 ความหมาย ของการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.

2551 ได้ให้ความหมาย การศึกษานอกระบบและการศึกตามอัธยาศัยในมาตรา 4 ไว้ดังนี้
(กระทรวงศึกษาธกิ าร 2551:3-4)

การศึกนอกระบบ หมายความว่ากิจกรรมการศกึ ษาทมี่ ีกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการและ
วัตถปุ ระสงคข์ องการเรียนรทู้ ี่ชดั เจน มีรูปแบบ หลักสูตร วิธีการจัดและระยะเวลาเรยี นหรือฝึกอบรมท่ี
ยืดหยุ่นและหลากหลายตามสภาพความต้องการและศักยภาพในการเรียนรู้ของ กลุ่มเป้าหมายน้ัน
และมีวิธกี ารวัดผลประเมนิ ผลการเรยี นรู้ทีม่ มี าตรฐานเพ่ือรบั คุณวฒุ ิทางการศึกษาหรอื เพือ่ จัดระดับผล
การเรียนรู้

การศึกษาตามอัธยาศัย หมายความว่า กิจกรรมการเรียนรู้ในวิถีชีวิติประจาวันของ
บุคคล ซึ่งบุคคลสามารถเลือกที่จะเรียนรู้ได้อย่าต่อเน่ืองตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความต้องการ
โอกาส ความพร้อม และศกั ยภาพในการเรยี นรู้ของแต่ละบุคคล

1.2 หลกั การ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั หลักการส่งเสรมิ

สนบั สนุนการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ยึด หลกั ดังต่อไปน้ี (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

2551:8-9)

1) การศึกษานอกระบบ

1.1 ความเสมอภาคในการเข้าถงึ และไดร้ บั การศึกษาอย่างกวา้ งขวาง ทั่วถึงเป็น

ธรรม และมคี ณุ ภาพ เหมาะสมกบั สภาพชวี ิตของประชาชน

1.2 การกระจายอานาจแกส่ ถานศกึ ษาและการใหภ้ าคีเครอื ขา่ ยมีส่วนร่วมใน

การจัดการศกึ ษาเรยี นรู้

2) การศกึ ษาตามอัธยาศัย

2.1 การเขา้ ถงึ แหลง่ การเรยี นรูท้ ส่ี อดคล้องกับความสนใจและวถิ ีชีวติ ของผู้เรียน

ทกุ กลมุ่ เป้าหมาย

2.2 การพฒั นาแหล่งเรียนรู้ใหม้ ีความหลากหลายทงั้ ส่วนทีเ่ ปน็ ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน

และสว่ นทีน่ า เทคโนโลยมี าใชเ้ พ่อื การศกึ ษา

2.3 การจัดกรอบหรอื แนวทางการเรยี นรูท้ ีเ่ ปน็ คุณประโยชนต์ อ่ ผเู้ รียน

1.3 อานาจหนา้ ที่ของ สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั

พระราชบญั ญัติสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2551
กาหนดไว้ในมาตรา 14 ใหม้ ีสานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ขึ้นใน
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรยี กโดยยอ่ วา่ “สานักงาน กศน.” โดยมอี านาจหนา้ ที่ดงั ต่อไปน้ี
(กระทรวงศกึ ษาธิการ.2551: 22-25)

1) เปน็ หนว่ ยงานกลางในการดาเนินการส่งเสรมิ สนบั สนุน และประสานงาน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และรบั ผดิ ชอบงานธรุ การของคณะกรรมการ

2) จดั ทาข้อเสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน และมาตรฐานการศกึ ษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยต่อคณะกรรมการ

3) สง่ เสรมิ สนับสนุน และดาเนินการพัฒนาคุณภาพทางวชิ าการ การวจิ ัย การ
พฒั นา หลกั สตู รและนวัตกรรมทางการศึกษา บคุ ลากรและระบบข้อมูลข่าวสารสนเทศที่เกย่ี วขอ้ งกับ
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

4) ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการเทยี บโอนผลการเรยี น การเทียบโอนความรู้
และประสบการณ์ และการเทียบระดบั การศกึ ษา

5) สง่ เสริม สนับสนนุ และประสานงานให้บุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องคก์ รชุมชน
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ องคก์ รเอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ
องค์กรอ่นื รวมตัวกนั เป็นภาคีเครือข่าย เพื่อเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งในการดาเนินงานการศกึ ษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

6) จดั ทาขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกบั การใชป้ ระโยชนเ์ ครือขา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอื่ สาร สถานวี ทิ ยโุ ทรทัศนเ์ พอื่ การศกึ ษา วทิ ยชุ มุ ชน ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษา หอ้ งสมุด
ประชาชน พพิ ธิ ภัณฑ์ ศนู ย์การเรียนชมุ ชน และแหลง่ การเรยี นรูอ้ น่ื เพอ่ื ส่งเสริมการเรยี นรแู้ ละการ
พฒั นาคุณภาพชวี ติ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งของประชาชน

7) ดาเนินการเกีย่ วกบั การติดตามตรวจสอบ และประเมนิ ผลการดาเนินงาน
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

8) ปฏิบตั ิงานอื่นใดตามพระราชบัญญตั ิน้หี รอื กฎหมายอนื่ ทบี่ ัญญตั ใิ หเ้ ปน็ อานาจ
หน้าท่ีของสานักงาน หรอื ตามท่รี ฐั มนตรมี อบหมาย

1.4 สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวัด
มาตรา 17 แห่งพระราชบญั ญัติสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
พ.ศ. 2551 กาหนดให้มี สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด
เรียกโดยย่อว่า “สานักงาน กศน. จังหวัด”ทุกจังหวัด จานวน 75 แห่ง และสานักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร เรียกโดยย่อว่า”สานักงาน กศน.

กทม.” 1 แห่ง เป็นหน่วยงานการศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. ทาหน้าที่เป็นหน่วยธุรการของ
คณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาการนอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย และได้กาหนดให้มีอานาจ
หนา้ ท่บี ริหารจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดังน้ี(กระทรวงศึกษาธิการ.2551:31-
37)

มาตรา 18 ให้สถานศึกษาทาหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน ประสานงาน และจัดการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ร่วมกับภาคีเครือข่ายการดาเนินงานของสถานศึกษา อาจจัดให้
มีศูนย์การเรียนชมุ ชนเปน็ หนว่ ยจดั กิจกรรมและสรา้ งกระบวนการเรียนร้ขู องชุมชนก็ได้ การจัดต้ัง ยุบ
เลิก รวม การกาหนดบทบาท อานาจหน้าท่ีของสถานศึกษาให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหน
มาตรา 19 ให้สถานศึกษาแตล่ ะแหง่ มคี ณะกรรมการสถานศึกษา

มาตรา 20 ให้สานักงาน จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบซึ่งเป็น
ระบบประกันคุณภาพภายในสาหรับสถานศึกษาท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับกฎหมายว่า
ด้วยการศึกษาแห่งชาติ ให้สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบ
หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการประกันคณุ ภาพภายใน โดยได้รบั ความรว่ มมือ ส่งเสริมและสนับสนุน จากภาคี
เครือข่าย และสานักงาน ระบบหลักเกณฑ์และวิธีประกันคุณภาพภายในให้เป็นไปตามที่กาหนดใน
กฎกระทรวง

2. ความสาคญั ของการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยมดี งั ต่อไปน้ี

2.1 การศกึ ษานอกระบบ
1) ประชาชนได้รับการศกึ ษาอย่างต่อเนือ่ ง เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพกาลงั คนและสังคม

ท่ีใช้ความร้แู ละภูมปิ ัญญาเป็นฐานในการพัฒนา ทั้งดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม ความม่นั คง และ

คุณภาพชีวิต ทั้งน้ี ตามแนวทางการพฒั นาประเทศ

2) ภาคีเครอื ข่ายเกิดแรงจงู ใจและมคี วามพร้อมในการมสี ่วนรว่ มเพอ่ื จัดกิจกรรม

การศึกษา

2.2 การศกึ ษาตามอัธยาศยั
1) ผเู้ รยี นได้รบั ความร้แู ละทักษะพน้ื ฐานในการแสวงหาความรู้ที่จะเอื้อตอ่ การ

เรียนรู้ตลอดชวี ติ

2) ผ้เู รียนได้เรยี นรสู้ าระทีส่ อดคล้องกบั ความสนใจและความจาเปน็ ในการยกระดับ

คณุ ภาพชีวติ ทง้ั ในดา้ นการเมือง เศรษฐกจิ สังคมและวฒั นธรรม

3) ผู้เรยี นสามารถนาความรู้ทไ่ี ดร้ บั ไปใช้ประโยชน์และเทยี บโอนผลการเรียนกับ

การศึกษาในระบบและการศกึ ษานอกระบบ

3. หลกั การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
หลักการจัดการศกึ ษานอกระบบ ยดึ หลกั การและความมุ่งหมายโดยภาพรวมตาม
พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ ควบคกู่ ับหลักการการศกึ ษานอกระบบ หลกั ความเสมอภาค การมี
ส่วนรว่ มในความรบั ผิดชอบ กระบวนการเรียนรู้ ความหลากหลาย ความยืดหยุ่น การบูรณาการ การ
กระจายอานาจ เพ่อื ให้การศึกษานอกระบบเกิดประโยชน์สูงสดุ แกป่ ระชาชน
ความเช่ือพ้นื ฐานของการจดั การศึกษานอกระบบ เปน็ ความเช่อื ท่ีแสดงจุดยืนอย่างชัดเจนวา่
การศกึ ษาอาจเกิดขึ้นได้ทกุ หนทกุ แหง่ ไมเ่ ฉพาะในโรงเรยี นเทา่ น้ัน การศึกษานอกระบบอาจพิจารณา
ได้ 2 มติ ิ คือ
มติ ทิ ี่ 1 เป็นการศึกษาที่จัดขึ้นนอกเหนือจากท่ีจัดในโรงเรียน โดยมีหลักสูตรวิธีการจัดการ

เรียนการสอน การวัดและประเมินผลเช่นเดียวกัน แต่ก็มีความยืดหยุ่นสามารถปรับให้เหมาะสมกับ

สภาพของชุมชน ผู้เรียนสามารถนาเน้อื หาจากสภาพแวดลอ้ ม หรอื ความตอ้ งการของผเู้ รียนมากาหนด

เป็นหลักสูตรก็ได้ แนวคิดดังกล่าวให้ความสาคัญกับความเป็นมนุษย์ท่ีมีเลือดเน้ือ มีชีวิต จิตใจ มี

อารมณ์ มศี ักดศ์ รขี องความเปน็ มนษุ ย์ มีเสรภี าพท่จี ะเลือกและตดั สินใจ สามารถรับผิดชอบต่อสิ่งที่ตน

ตัดสินใจ เปน็ มนุษยท์ ่ีพฒั นาไดด้ ้วยตนเอง มิใชเ่ คร่อื งจกั รหรอื ผู้จานนที่จะถูกใครบังคับชี้นาได้ โดยไม่

ยินยอม มนุษย์เป็นผู้ท่ีสามารถคิดเองได้ สามารถคิดเป็น รู้จักผิดชอบชั่วดี ประเด็นสาคัญคือ มนุษย์

สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มิใช่ถูกสอน เมื่อเขาปรารถนาที่จะเรียน ก็จะขวนขวายท่ีจะเรียน และ

สามารถเรียนรู้ได้อย่างลึกซึ้งจนนาความรู้น้ันไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชน

ของตนได้

มติ ิที่ 2 เปน็ การศกึ ษาที่จัดข้ึนสาหรับผู้ที่อยู่นอกระบบโรงเรียน เป็นผู้ท่ีไม่สามารถเข้าถึง

บริการท่ีโรงเรียนจัดให้ได้ โดยข้อจากัดต่าง ๆ ท้ังทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ตลอดจนทางด้าน

ร่างกาย จิตใจ ท่ีสาคัญคือส่วนใหญ่เป็นผู้ใหญ่ ซ่ึงมีความรู้และประสบการณ์ในการใช้ชีวิตและการ

ทางานมาระดับหน่ึง สามารถรับผิดชอบตนเองได้ การจัดการศึกษาจึงใช้หลักการสอนผู้ใหญ่

(Andragogy) เปน็ หลักการสาคญั นนั่ ก็คอื เปน็ การจดั การศึกษาท่ีเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน และ

ครผู ู้สอนในการวางแผนการเรียนร่วมกัน ต้องเข้าใจเหตุผลของการเรียน มีเป้าหมายของการเรียนท่ี

ชัดเจน ผเู้ รียนสามารถเลือกวิธีเรียนท่ีเหมาะสมกบั ตนเองได้ ผู้เรียนจึงเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ท่ี

จะร่วมตัดสินใจกับกลุ่มเพื่อนและครูว่าจะเรียนอะไร อย่างไร มีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียน

ของตนเอง ผจู้ ัดการศึกษาสาหรบั ผทู้ ่ีอยู่นอกระบบโรงเรียนจะต้องเข้าใจธรรมชาติ จิตใจและอารมณ์

ของกลมุ่ เป้าหมายและจัดโอกาสให้เรียนด้วยตนเอง เรียนจากของจริง เอาความรู้และประสบการณ์

จากการทางานมาเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ด้วย การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

จะต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ทั้งด้านร่างกาย ความคิด จิตใจ สติปัญญา และ

สภาพแวดล้อม

ความเชอ่ื พ้ืนฐานทส่ี าคัญประการหนึ่งของการจัดการศึกษานอกระบบ ซ่ึงเป็นลักษณะที่

โดดเด่นของประเทศไทย คอื ความเชอื่ ทว่ี า่ มนษุ ย์ทุกคนต้องการความสุขเป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิต

การคิดตัดสนิ ใจ การเลือกกระทาหรือไม่กระทาใด ๆ ล้วนใช้เหตุผล ข้อมูลประกอบการคิดอย่างรอบ
ด้านอย่างนอ้ ย 3 ด้าน คือ ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง ท้ังด้านร่างกาย สุขภาพ อนามัย จิตใจ ฐานะความ
เป็นอยู่ ข้อมูลเกี่ยวกับสังคม ทั้งสังคม วัฒนธรรม ประเพณีและสภาพแวดล้อมทางกายภาพต่าง ๆ
รวมทง้ั ขอ้ มลู ทางวชิ าการคือความรู้ในเร่ืองท่เี กยี่ วขอ้ งกับการตดั สินใจน้นั ๆ การคดิ แบบคิดเป็นจึงเป็น
การใช้ขอ้ มลู ประกอบการคดิ อยา่ งรอบด้าน นามาสู่การตัดสินใจเลือกที่จะเช่ือ เลือกท่ีจะกระทา โดย
สามรถอธิบายเหตุผลของตนเองได้ ซ่ึงความคิดของแต่ละคนไม่จาเป็นต้องเหมือนกันเสมอไป การ
จัดการศึกษานอกระบบ จึงต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดและตัดสินใจด้วยตนเอง หัวใจสาคั ญ คือการ
ยอมรับและเคารพในการตัดสินใจของผู้เรียน ซึ่งเป็นรากฐานของความเป็นประชาธิปไตย ใน
ระดับพนื้ ฐานด้วย

กลุม่ เป้าหมายการศกึ ษานอกระบบส่วนมากเป็นเยาวชนและผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นผู้มีวุฒิภาวะ
มปี ระสบการณ์ มีความรับผดิ ชอบในการประกอบอาชพี ดแู ลครอบครัว และมีขอ้ จากัดมากมายในการ
เรียนรู้ ซึ่งลักษณะดงั กลา่ วทาให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ไม่เหมือนกับเด็ก เพราะมีอะไรท่ีแตกต่าง
กันหลายอย่าง เช่น ความคิดอ่าน ประสบการณ์ ความพร้อม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจึง
จาเป็นต้องให้สอดคล้องกับความต้องการและธรรมชาติของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม นา
ความรู้และประสบการณ์ทมี่ ีอยมู่ าแลกเปลี่ยนเรียนร้กู ัน และสง่ เสริมการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง

การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการศึกษาตลอดชีวิต มีภารกิจสาคัญท่ีมุ่งให้
ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างท่ัวถึง โดยเฉพาะการศึกษาพื้นฐานท่ีจาเป็นต่อการดารง ชีวิตตาม
มาตรฐานของสังคมซ่ึงเป็นสิทธิที่คนทุกคนพึงได้รับ นอกจากน้ันยังจะต้องได้รับการศึกษาที่ต่อเน่ือง
จากการศึกษาพ้ืนฐานนาความรู้ไปพัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาชุมชนและสังคมใน
ทีส่ ุด

การจดั กระบวนการเรยี นรู้ การศกึ ษานอกระบบ จงึ ยดึ หลักการสาคัญ 5 ประการ คือ หลัก
ความเสมอภาคทางการศึกษา หลักการพัฒนาตนเองและการพ่ึงพาตนเอง หลักการบูรณาการการ
เรยี นรแู้ ละวิถชี วี ติ หลกั ความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และหลักการเรียนรู้ร่วมกันและ
การมสี ่วนรว่ มของชุมชน ดงั นี้ (สานักบรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน.2546 : 3-4)

1. หลักความเสมอภาคทางการศึกษา กลุ่มเป้าหมายของการศึกษานอกระบบส่วนมากเป็นผู้
พลาดโอกาส และผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ซึ่งอาจมีความแตกต่างทางด้านสถานภาพในสังคม
อาชพี เศรษฐกจิ และขอ้ จากัดต่าง ๆ ในการจัดการศกึ ษาและกระบวนการเรียนรู้การศึกษานอกระบบ
ตอ้ งไม่มกี ารเลือกปฏิบัติ หากแตส่ รา้ งความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเท่า
เทยี มกนั

2. หลักการพัฒนาตนเองและการพ่ึงพาตนเอง การจัดการศึกษานอกระบบจะต้องจัดการ
เรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาศักยภาพของตน สามารถเรียนรู้ เกิด

ความสานึกที่จะพัฒนาตนเองได้ เป็นคนคิดเป็น ปรับตัวเพื่อให้ทันกับกระแสการเปล่ียนแปลงของ
สงั คม โดยเรยี นรอู้ ยตู่ ลอดเวลา เรียนดว้ ยตนเอง พง่ึ พาตนเอง เพื่อให้สามารถดารงชีวิตอย่างเป็นปกติ
สุขทา่ มกลางการเปลย่ี นแปลงของสงั คม

3. หลักการบรู ณาการการเรยี นรกู้ ับวิถีชีวิต หลักการนี้อยู่บนพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้ที่
สมั พนั ธก์ บั สภาพปัญหา วถิ ีชีวติ สภาพแวดลอ้ มและชมุ ชนท้องถ่ินของผู้เรียน ซึ่งเป็นหลักการท่ีสาคัญ
ในการจัดทาหลักสตู รสถานศกึ ษา สงิ่ ดังกล่าวส่งผลโดยตรงต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดการ
เรียนรู้เปน็ ลกั ษณะของการบูรณาการจึงมีความเหมาะสม โดยบูรณาการสาระต่าง ๆ เพ่ือการเรียนรู้
และบูรณาการวิธีการจัดการเรียนการสอน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาการคุณภาพชีวิตของผู้เรียนอย่าง
เปน็ องค์รวม

4. หลักความสอดคล้องกบั ปัญหาความต้องการและความถนัดของผเู้ รียน หลักการนี้เป็นการ
สง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนร้จู กั ความต้องการของตนเอง สามารถจัดการศกึ ษาให้กบั ตนเองได้อยา่ งเหมาะสม ครู
กศน. มีบทบาทในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนร่วมกาหนด
วัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้ วิธีการเรียน และการประเมินผลการเรียนรู้ของตนเอง ซ่ึงเป็น
กระบวนการการศึกษานอกระบบทีผ่ ู้เรียนเป็นสาคัญ

5. หลักการเรียนรู้ร่วมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชน การเรียนรู้ร่วมกันในกลุ่มผู้เรียน
นบั ว่าสาคญั เปน็ การส่งเสริมและสร้างกัลยาณมิตรในกลุ่มผู้เรียน ก่อให้เกิดความร่วมมือความผูกพัน
เอ้ืออาทร การช่วยกนั และกัน ปลูกฝงั วนิ ยั ในตนเอง ฝกึ ความรบั ผิดชอบ ซึ่งเปน็ สงิ่ ท่ีควรเกดิ ขึ้นสาหรับ
ผู้เรียนที่มีวุฒิภาวะ สาหรับการมีส่วนร่วมของชุมชน ก็นับว่าเป็นหลักการสาคัญในการจัดการศึกษา
นอกระบบ ชุมชนสามารถเข้ามาร่วมในการจัดทาหลักสูตร สถานศึกษา การจัดสรรทรัพยากรเป็น
แหล่งเรยี นรู้ และสนับสนุนในเร่อื งอน่ื ๆ เพือ่ ผลติ ผเู้ รียนท่ีเปน็ สมาชิกทีด่ ขี องชมุ ชนตอ่ ไป
ปรัชญาท่ีเกีย่ วข้องกับการศึกษานอกระบบ

งานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

ปยี ์ ศรวี งษ์ (2553 : 107-109) ศึกษาวิจัย เร่ือง การติดตามผลหลักสูตรฝึกอบรมนักพัฒนา
ชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีความมุ่งหมายเพ่ือ ศึกษาการนาความรู้ท่ีได้รับจากการ
ฝึกอบรม ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานของนักพัฒนาชุมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จาแนก
ตามเน้อื หาหลักสูตรฝึกอบรม 5 หมวดวิชา ได้แก่ หมวดวิชาพื้นฐาน หมวดวิชาบริหารจัดการ หมวด
วิชาเฉพาะตาแหน่ง หมวดวิชาเสริมและการศึกษาดูงาน และเปรียบเทียบการนาความรู้ท่ีได้รับจาก
การฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน จาแนกตามตัวแปรเพศอายุ การศึกษา ระดับของ -
นักพัฒนาชุมชน ประสบการณ์การทางานด้านการพัฒนาชุมชนในท้องถิ่น และภาคภูมิศาสตร์ท่ีต้ัง
ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินท่ีสงั กดั ตลอดจนรวบรวมปญั หาและขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติมเกย่ี วกบั การ
นาความรทู้ ไี่ ดร้ บั ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการปฏบิ ัตงิ านของนักพัฒนาชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

กลุ่มตัวอย่างเป็นนักพัฒนาชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จานวน 253 คน จากการสุ่มกลุ่ม
ตัวอย่างแบบหลายข้นั ตอน เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติท่ีใช้ในการ

วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถ่ี การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉล่ีย การหาค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน สถติ ิ t-test ทดสอบความแตกตา่ งของตวั แปร 2กลมุ่ สถิติทดสอบความแปรปรวนทางเดียว
(One-Way ANOVA) สาหรับตัวแปรมากกว่า 2 กลุ่ม และทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่

ผลการวจิ ัยพบวา่ (1) นักพัฒนาชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้
ในการปฏิบตั งิ านจากทุกหมวดวิชาในระดับมากเรียงลาดับตามค่าเฉล่ียสูงสุดไปต่าสุด คือ การศึกษา

ดงู าน หมวดวชิ าพน้ื ฐาน หมวดวชิ าเสริม หมวดวิชาบริหารจัดการ และหมวดวิชาเฉพาะตาแหน่ง (2)
นักพัฒนาชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีเพศ อายุการศึกษาและภาคภูมิศาสตร์ ที่ต้ังของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีสังกัดต่างกัน มีการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน แตกต่าง

กันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติส่วนนักพัฒนาชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีระดับของ
นักพัฒนาชมุ ชน และประสบการณ์การทางานด้านการพัฒนาชุมชนในท้องถ่ินต่างกัน มีการนาความรู้

ไปประยุกตใ์ ช้ในการปฏบิ ตั ิงานแตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดบั 0.05
กลอย แก้วบุดดา และสุรเชษฐ์ ชิระมณี (2557 : บทคัดย่อ) ศึกษาวิจัยเรื่อง การวิจัย

ประเมินผลโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการช่วยชีวิตข้ันสูงในผู้ใหญ่ สาหรับพยาบาล มี

วัตถุประสงค์เพ่ือ (1) ศึกษาผลขั้นสูงสาหรับการประเมินโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในการ
ช่วยชวี ิตผู้ใหญ่ของพยาบาลในการนาความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน

(2) ศกึ ษาปัญหาและอุปสรรคในการนาความรทู้ ี่ได้รบั จากการฝกึ อบรมไปประยุกต์ใชใ้ นการปฏิบัติงาน
ภายหลังการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการช่วยชีวิตผู้ใหญ่ของพยาบาล และ (3) เปรียบเทียบลักษณะ
ส่วนบคุ คลกับผลการเรียนรู้ในการนาความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน

โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง จานวน 268 คน ซ่ึงสุ่มตามสัดส่วน (Quota Sampling) รวบรวมข้อมูล
โดยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติการแจกแจงความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่าส่วน

เบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างโดย t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวน
ผลการวิจยั พบว่า (1) มีการนาความรู้ท่ีได้รับจากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน อยู่ใน
ระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.08 (คะแนนเต็ม 5) และ (2) การวิเคราะห์เปรียบเทียบลักษณะ

บคุ คลของผ้ตู อบแบบสอบถามกับผลการเรียนรู้ในการนาความรู้ท่ไี ดร้ บั จากการฝกึ อบรมไปประยุกต์ใช้
ในการปฏบิ ตั ิงานแตกตา่ งกันตามอายุ สถานภาพการสมรส ประเภทหอผู้ป่วย หน่วยงาน ระยะเวลา

การทางาน และประสบการณ์ การร่วมทีมช่วยชีวิตผู้ป่วย โดยรวมและบางด้านอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติท่ีระดบั 0.05 จึงมขี อ้ เสนอแนะวา่ ควรมกี ารศกึ ษาปัจจัยตัวอืน่ ๆ ที่มีผลตอ่ การประเมินผลของการ
นาความรู้ทไ่ี ด้จากการฝึกอบรมไปประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ัติงาน และควรประเมินผลในรูปแบบอื่น เช่น

ในทางการปฏิบัติมีการทดสอบวดั ความรแู้ บบกอ่ นและหลงั การฝึกอบรมเหลา่ นเี้ ปน็ ตน้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปกร (2556 : 149-150) ศึกษาวิจัย เรื่อง การประเมิน

โครงการพฒั นาครภู าษาอังกฤษ ของสถาบันความร่วมมือระหว่างสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขัน้ พน้ื ฐาน (สพฐ) กบั มูลนิธิเทมาเส็ก และ SEAMEO RELC ประเทศสิงค์โปร์ มีวัตถุประสงค์การเพ่ือ
(1) ประเมินพัฒนาการการสอนภาษาอังกฤษ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการปฏิบัติงานของครู

ภาษาองั กฤษทผ่ี ่านการอบรม (2) ประเมนิ สมรรถนะการสอนภาษาอังกฤษของครูภาษาอังกฤษที่ผ่าน

การอบรมในด้าน 1) ความสามารถในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการนวัตกรรมการ
เรียนรู้ภาษาอังกฤษ 2) พฤติกรรมการสอนภาษาอังกฤษ 3) ความสามารถการขยายความคิด การ
พัฒนาการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษสู่เครอื ขา่ ย (3) ประเมินสมรรถนะการสอนภาษาอังกฤษของครู
สอนภาษาอังกฤษทผี่ า่ นการอบรม และ (4) เสนอรูปแบบการพัฒนาครูภาษาอังกฤษและคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้อานวยการสถานศึกษา จานวน 43 คน หัวหน้ากลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จานวน 43 คน ศึกษานิเทศก์ จานวน 43 คน ครูที่เข้าอบรม
จานวน 43 คน และครูเครือข่าย จานวน 509 คน เคร่ืองมือที่ใช้ ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบ
ประเมนิ ตนเอง เกีย่ วกับการพฒั นาการสอน และการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ประเด็น
สนทนากลุ่ม แบบสอบถามความคิดเห็น และแบบสอบถามความถึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า (1) ครู
ภาษาองั กฤษมีพฒั นาการด้านการสอน และมีการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมการปฏิบัติของตนเองสูงกว่า
ก่อนการอบรม (2) สมรรถนะการสอนภาษาอังกฤษของครูท่ีผ่านการอบรม พบว่า มีความสามารถใน
การเขียนหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด มีพฤติกรรมการสอน
ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับมาก และครูท่ีผ่านการอบรม ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
สถานศึกษา หัวกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และศึกษานิเทศก์ พบว่า ครูมีความเป็นมือ
อาชพี มีเทคนคิ และวิธีสอนทมี่ ีความหลากหลายมากขนึ้

พิสชา บ้านมะหิงษ์ (2558 : 66-68) วิจัยเร่ืองปัจจัยที่มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความพึงพอใจ
ของลูกค้าที่เข้าอบรม โรงเรียนฝึกอบรมการเดินเรือ A. มีวัตถุประสงค์ เพือ่ ศึกษาปัจจัยเน้ือหา
หลักสูตร รูปแบบการเรียนการสอน ความรู้ และความเข้าใจทีเ่ พิ่มขึน้ แรงจูงใจท่จี ะเรียน คุณภาพการ
อบรม ความคุ้มค่า ที่มีผลเชิงบวกต่อความ พึงพอใจของลูกค้า โดยเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจาก
กลุ่มตัวอย่าง จานวน 210 คน ที่เข้าอบรม โรงเรียนฝึกอบรมการเดินเรือ A ช่วงเดือนมกราคม ถึง
เดือนกุมภาพันธ์ 2559 และทดสอบสมมุติฐาน วิจัยด้วยวิธีการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ

พบว่า ปัจจัยความคุ้มค่า (β = 0.424) ปัจจัย รูปแบบการเรียนการสอน (β = 0.213) และปัจจัย

คณุ ภาพการอบรม (β = 0.194) ทีม่ อี ิทธิพลตอ่ ความพงึ พอใจของลกู คา้ ท่เี ข้าอบรมโรงเรียนฝึกอบรม
การเดนิ เรือ A อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 โดยปัจจัยเหลา่ น้ี สามารถอธบิ ายความแปรปรวน
ของความพึงพอใจของลกู ค้าที่ เขา้ อบรมโรงเรียน ฝกึ อบรมการเดินเรอื A ได้ร้อยละ 43.90

บทที่ 3
วธิ กี ารดาเนินการประเมนิ และผลการประเมินโครงการ

สสสสสสสการประเมนิ โครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัย ของ กศน.อาเภอบางซา้ ย ปีงบประมาณ 2561 ผู้ประเมินได้ใช้รูปแบบการประเมินตาม
วัตถุประสงค์ของไทเลอร์ (Tyler) และ เคิร์กแพทริค (Kirkpatrick) โดยมีวิธีการดาเนินการประเมิน
และผลประเมินโครงการตามลาดับ ดังน้ี

1. กลมุ่ เปา้ หมายในการประเมนิ (กลุ่มตัวอย่างการประเมิน)
2. เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการประเมนิ
3. การดาเนินการประเมนิ
4. กรอบการประเมนิ
5. การเก็บรวบรวมข้อมลู และการจดั กระทากบั ขอ้ มูล
6. การวิเคราะห์ขอ้ มลู และสถติ ทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
7. ผลการประเมินโครงการ
8. สรปุ ผล ปัญหาอุปสรรค และอภิปรายผล
9. ข้อเสนอแนะเพอื่ ปรับปรงุ และพฒั นาโครงการ
โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี

กลมุ่ เปา้ หมายและกล่มุ ตวั อยา่ งในการประเมนิ

กลุ่มเป้าหมายและกล่มุ ตัวอย่างในการประเมิน คือ ครูและบุคลากรของ กศน.อาเภอบาง
ซ้าย ท่ีเข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561ระหว่างวันที่ 28-30 ตุลาคม 2561 จานวน 7 คน

เครื่องมอื ท่ใี ชใ้ นการประเมิน

1. แบบตรวจคุณภาพสมุดบันทกึ เป็นแบบตรวจสอบคณุ ภาพ ความครบถว้ นการบันทกึ
ข้อมูล ความรู้ ความเขา้ ใจ และประสบการณ์จากการศกึ ษาดงู านแหล่งเรยี นรู้ กิจกรรมตาม
กาหนดการ ในโครงการ และการนาเสนอแนวคิดการนาความรู้ และประสบการณ์ท่ีได้ไปใช้ในการ
ปฏบิ ตั งิ าน มีขอ้ พิจารณา จานวน 10 ข้อ 20 คะแนน ลักษณะเปน็ มาตราส่วนประมาณค่า 4 ระดับ
ดังนี้

4 คะแนน หมายถึง คณุ ภาพช้นิ งานอยูใ่ นระดับดมี าก
3 คะแนน หมายถงึ คุณภาพช้ินงานอยู่ในระดบั ดี
2 คะแนน หมายถงึ คณุ ภาพช้ินงานอยู่ในระดบั พอใช้
1 คะแนน หมายถงึ คณุ ภาพชน้ิ งานอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง

2. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ โครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 (google sheet)
ประกอบด้วย 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 5 ข้อ ตอนที่ 2
ความพึงพอใจตอ่ ความรู้ ประสบการณ์การจดั การศกึ ษานอกระบบการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน
7 ขอ้ และตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อการดาเนินงานโครงการ จานวน 10 ข้อ มีลักษณะเป็นมา
ตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดับ ดังน้ี

5 คะแนน หมายถงึ มคี วามพึงพอใจต่อโครงการ ฯ อยู่ในระดับระดบั มากที่สดุ
4 คะแนน หมายถึง มคี วามพึงพอใจตอ่ โครงการ ฯ อยู่ในระดับระดับมาก
3 คะแนน หมายถึง มคี วามพงึ พอใจต่อโครงการ ฯ อยู่ในระดบั ระดับปานกลาง
2 คะแนน หมายถงึ มีความพึงพอใจต่อโครงการ ฯ อยูใ่ นระดบั ระดบั นอ้ ย
1 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจตอ่ โครงการ ฯ อยู่ในระดบั ระดบั นอ้ ยทส่ี ุด

การดาเนินการประเมนิ

การดาเนินการประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 ผู้ประเมินมีวิธีดาเนินการ
ดงั นี้

1. ขณะดาเนนิ โครงการพัฒนาศกั ยภาพการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อธั ยาศัย ของ กศน.อาเภอบางซา้ ย ปงี บประมาณ 2561 ผู้ประเมินได้ประเมินความรู้ ด้วยวิธีการ
สังเกต ซักถาม ตอบคาถาม ตรวจแบบบันทึกความรู้ประสบการณ์ และการเสนอแนวคิดการ
นาไปใช้ประโยชน์ ตามเนื้อหาสาระท่กี าหนดไวใ้ นโครงการ

2. หลังดาเนนิ โครงการพัฒนาศกั ยภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม

อธั ยาศยั ของ กศน.อาเภอบางซา้ ย ปีงบประมาณ 2561 ผู้ประเมนิ ไดส้ ่งเครือ่ งมือการประเมนิ
ไดแ้ ก่ แบบสอบถามความพงึ พอใจ เปน็ google sheet ใน
https://goo.gl/forms/BzY6Jr8tYEYwiQLj2 ให้ครูและบุคลากรตอบ ในวันที่ 30 ตุลาคม 2561
ณ สวนนพรตั น์ จงั หวดั สมุทรสงคราม แลว้ เกบ็ รวบรวมข้อมลู ไว้วเิ คราะห์ตอ่ ไป

กรอบการประเมนิ

วัตถุประสงค์ ประเด็น/ตัว แหล่งขอ้ มูล/ การวิเคราะห์ เกณฑ์การ
แปร/ตวั ช้วี ดั เครือ่ งมอื ขอ้ มลู ประเมนิ
1. เพ่อื ประเมนิ -ครแู ละบคุ ลากร
ความรู้ และ ประเดน็ การ กศน.อาเภอ -เชงิ เน้อื หา เชิงปรมิ าณ
ประสบการณก์ าร ประเมนิ บางซ้าย 7 คน
จัดการศึกษาขัน้ -แบบตรวจสอบ มีจานวน ร้อยละ
พน้ื ฐาน หลกั สูตร 1. ขณะดาเนนิ - สมดุ บนั ทกึ คุณภาพช้นิ งาน 100.00
การศกึ ษานอก โครงการ ขอ้ มลู ความรู้
ระบบและการจัด และ เชิงคณุ ภาพ
การศึกษาขนั้ ตวั แปร ประสบการณ์
พ้ืนฐาน มกี ารบนั ทกึ
พุทธศกั ราช ความรู้และ ความรู้
2551 การจดั การ ประสบการณ์ ประสบการณ์
ศกึ ษาตาม การการจดั และ
อัธยาศัย การจดั การศึกษานอก
กระบวนการ ระบบและ เสนอแนะ
เรยี นรูต้ ามหลกั การศกึ ษาตาม แนวคดิ การนาไป
ปรชั ญาของ อธั ยาศัย ประยกุ ต์ใช้ ได้
เศรษฐกิจ ไมน่ ้อยกวา่
พอเพียง ตวั ชว้ี ัด
12 คะแนน
เชงิ ปริมาณ

รอ้ ยละ 100.00

เชิงคุณภาพ

มีความรูแ้ ละ
ประสบการณ์อยู่
ในระดบั ดีถึงดี
มาก ร้อยละ
100.00

2. เพื่อประเมนิ ประเด็นการ -ครแู ละบคุ ลากร เชิงปรมิ าณ
คณุ ธรรม ประเมิน กศน.อาเภอ
จรยิ ธรรม ตาม จานวนผู้เข้าร่วม
หลักของ 1. ขณะดาเนิน บางซ้าย 7 คน กิ จ ก ร ร ม ต อ บ
โครงการ คาถาม
พระพทุ ธศาสนา
ตัวแปร รอ้ ยละ 100.00

เชงิ ประมาณ -ภาพถ่ายการเข้า -สงั เกต ซกั ถาม
รว่ มกิจกรรม ตอบคาถาม
เข้ารว่ มกิจกรรม
ทางศาสนา

ร้อยละ 100.00

กรอบการประเมนิ (ต่อ)

วัตถปุ ระสงค์ ประเด็น/ตัว แหลง่ ข้อมลู / การวเิ คราะห์ เกณฑ์การ
แปร/ตัวชว้ี ัด เครอื่ งมือ ขอ้ มูล ประเมนิ
3. เพื่อประเมนิ
ความพึงพอใจต่อ ประเด็นการ -ครูและบุคลากร - คา่ ร้อยละ เชิงปรมิ าณ
โครงการ ประเมิน กศน.อาเภอ มีจานวน ร้อย
บางซา้ ย 7 คน - เปรียบเทียบ ละ 100.00
1. หลงั ดาเนนิ -แบบประเมิน เปา้ หมายเชิง เชิงคณุ ภาพ
โครงการ ความพงึ พอใจ ปรมิ าณและเชิง มีความพึงพอใจ
google sheet คณุ ภาพ อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ
ตวั แปร มากถงึ มากทีส่ ุด

ความพงึ พอใจต่อ
ความรู้
ประสบการณ์
และการดาเนนิ
โครงการ

ตัวชีว้ ดั

เชงิ ปรมิ าณ

รอ้ ยละ 100.00

เชิงคณุ ภาพ

มีความพอใจตอ่
โครงการ อยใู่ น
ระดับมาก ถงึ
มากท่ีสุด รอ้ ยละ
100.00 ของ
ผ้เู ข้าร่วม
โครงการ

การเก็บรวบรวมขอ้ มลู และการจดั กระทาข้อมลู

1. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ผปู้ ระเมนิ เก็บรวบรวมรวมขอ้ มูล จากการสังเกต ซักถาม ตอบคาถาม ตรวจแบบบันทึก
และข้อมูลการประเมินความพึงพอใจ ในวันท่ี 30 ตุลาคม 2561 ณ สวนนพรัตน์ จังหวัด
สมุทรสงคราม แลว้ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ไวว้ เิ คราะหต์ อ่ ไป

2. การจดั กระทาขอ้ มลู
ผ้ปู ระเมนิ ไดน้ าขอ้ มลู ท่ีเกบ็ รวบรวมข้อมูล มาตรวจสอบ พบว่า ทุกฉบับ และทุก Sheet
มีความครบถ้วนสมบรู ณ์ ร้อยละ 100.00 แล้วนาผลมาแจกแจงความถี่ และหาคา่ ร้อยละ

การวิเคราะหข์ ้อมลู และสถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล

1. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ประเมินได้นาข้อมูลท่ีเก็บรวบรวม มาแจกแจงความถ่ี และ
หาคา่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน

2. การวเิ คราะห์เปรียบเทยี บเป้าหมายเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผู้ประเมนิ นาขอ้ มลู ทไี่ ด้
จากการเกบ็ รวบรวม มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกบั เป้าหมาย ตวั ชี้วดั ท่ีกาหนดโครงการ ดงั น้ี

2.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ

2.1.1 ครูและบคุ ลากร เขา้ ร่วมโครงการ ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80.00 ของ
กลุ่มเป้าหมาย-

2.1.2 ครแู ละบุคลากรที่เข้ารว่ มโครงการไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80.00 มคี วามรูแ้ ละ
ประสบการณก์ ารจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อยใู่ นระดับมากถึงมากท่ีสุด

2.1.3 ครแู ละบุคลากรท่เี ข้าร่วมโครงการไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80.00 เข้าร่วม

กจิ กรรมและตอบคาถามทางพระพุทธศาสนา
2.1.4 ครูและบุคลากรท่ีเข้าร่วมโครงการไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80.00 มีความพึง

พอใจต่อโครงการพัฒนาศักยภาพการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อยูใ่ นระดับ
มากถงึ มากทสี่ ุด

2.2 เป้าหมายเชงิ คุณภาพ

2.2.1 ครูและบุคลากร มีความรู้และประสบการณก์ ารจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั อยใู่ นระดับมากถงึ มากท่ีสุด

2.2.2 ครแู ละบุคลากร มีความพงึ พอใจตอ่ โครงการพฒั นาศักยภาพการจัด
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย อยู่ในระดบั มากถึงมากทีส่ ดุ

โดยหาค่าคะแนนเฉลยี่ และแปลความหมาย ตามเกณฑ์ ดังน้ี

1) การตรวจสมดุ บันทึกความร้แู ละประสบการณ์ ใช้เกณฑ์ ดังนี้

คะแนนเฉลี่ย 17.51 - 20.00 หมายถึง ชน้ิ งานมคี ุณภาพ อยู่ในระดบั ดมี าก
คะแนนเฉล่ีย 12.51 - 17.50 หมายถงึ ชิ้นงานมีคณุ ภาพ อยู่ในระดับดี
คะแนนเฉลี่ย 7.51 - 12.50 หมายถงึ ชิ้นงานมคี ุณภาพ อย่ใู นระดบั พอใช้

คะแนนเฉลี่ย 5.00 - 7.50 หมายถงึ ช้นิ งานมีคณุ ภาพ อยู่ในระดับปรับปรุง

2) การประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ โครงการพฒั นาศักยภาพการจดั การศกึ ษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 ใชเ้ กณฑ์ ดังนี้

คะแนนเฉลย่ี 76.51 - 85.00 หมายถึง มีความพึงพอใจ อยูใ่ นระดับมากที่สุด
คะแนนเฉลย่ี 59.51 - 76.50 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจ อยู่ในระดับมาก

คะแนนเฉลย่ี 42.51- 59.50 หมายถึง มีความพึงพอใจ อยใู่ นระดับปานกลาง
คะแนนเฉลี่ย 25.51 - 42.50 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจ อย่ใู นระดับนอ้ ย
คะแนนเฉลย่ี 17.00 - 25.50 หมายถึง มีความพงึ พอใจ อยใู่ นระดับนอ้ ยที่สดุ

ผลการประเมนิ โครงการ

การประเมนิ โครงการพฒั นาศักยภาพการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปงี บประมาณ 2561 โดยยดึ วตั ถุประสงค์ และเปา้ หมายตามลาดับต่อไปน้ี

1. สญั ลักษณ์ท่ีใช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
2. ขอ้ มูลทั่วไปของครูและบุคลากร โครงการพฒั นาศกั ยภาพการจัดการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ของ กศน.อาเภอบางซา้ ย ปีงบประมาณ 2561 เปรยี บเทยี บกบั
กลุ่มเปา้ หมาย
3. ผลการประเมนิ ความรู้ และประสบการณ์ ของครูและบคุ ลากร โครงการพัฒนาศกั ยภาพ
การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.อาเภอบางซา้ ย ปงี บประมาณ 2561
หลังดาเนนิ โครงการเปรยี บเทยี บกับเปา้ หมาย
4. ผลการประเมนิ การเขา้ รว่ มกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาของครูและบคุ ลากร โครงการ
พฒั นาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของ กศน.อาเภอบางซ้าย
ปงี บประมาณ 2561 ขณะดาเนนิ โครงการเปรียบเทียบกบั เป้าหมาย
5. ผลการประเมินความพงึ พอใจตอ่ โครงการพฒั นาศกั ยภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศัย ของครูและบคุ ลากร กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 หลงั
ดาเนินโครงการเปรียบเทียบกบั เป้าหมาย
โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

2. สญั ลักษณท์ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู
N หมายถึง จานวนกลมุ่ ตวั อย่างของกลุม่ เป้าหมายทั้งหมด
% หมายถึง ร้อยละ
̅ หมายถงึ ค่าคะแนนเฉลยี่
SD. หมายถงึ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2. ขอ้ มลู ท่ัวไปของครแู ละบคุ ลากรในโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน.อาเภอบางซา้ ย ปีงบประมาณ 2561

ตาราง 1 จานวนและร้อยละของครแู ละบคุ ลากรในโครงการพฒั นาศักยภาพการจัดการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561 จาแนก
ตาม เพศ อายุ ตาแหนง่ และประสบการณท์ างาน

ขอ้ มูลทว่ั ไป N (7) % (รอ้ ยละ)
1. เพศ
3 42.86
1.1 ชาย 4 57.14
1.2 หญิง
2. อายุ 4 57.14
2.1 20 – 30 ปี 2 28.57
2.2 31 - 40 ปี 1 14.29
2.3 41 - 50 ปี
3. ตาแหน่ง 1 14.29
3.1 ข้าราชการครู 2 28.57
3.2 ครูอาสาสมคั ร ฯ 3 42.86
3.3 ครู กศน.ตาบล 1 14.29
3.4 ครู ศรช.
4. ประสบการณท์ างาน 4 57.14
4.1 ต่ากวา่ 5 ปี 3 42.86
4.2 5 ปขี ้ึนไป

จากตาราง 1 แสดงวา่ ครูและบุคลากร ท่ีเขา้ ร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพการจดั การศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปงี บประมาณ 2561 ส่วนใหญ่ เป็น

เพศหญงิ รอ้ ยละ 57.14 เพศชาย รอ้ ยละ 42.86 สว่ นใหญ่อายุ 20-30 ปี ร้อยละ 57.14 รองลงมาอายุ
31-40 ปี ร้อยละ 28.57 และอายุ 41-50 ปี รอ้ ยละ 14.29 ตามลาดับ สว่ นใหญ่ มีตาแหนง่ เป็นครู

กศน. ตาบล ร้อยละ 42.86 รองลงมา เปน็ ครอู าสาสมัคร รอ้ ยละ 28.57 และ เปน็ ข้าราชการครู และครู
ศรช .เท่ากัน รอ้ ยละ 14.29 มีประสบการณ์ ต่ากว่า 5 ปี รองลงมา 5 ปีขน้ึ ไป รอ้ ยละ 42.86

3. ผลการประเมนิ ความรูแ้ ละประสบการณ์ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปงี บประมาณ 2561 เปรยี บเทยี บกบั เป้าหมาย

ตาราง 2 จานวนรอ้ ยละของครแู ละบุคลากร หลังดาเนนิ โครงการพัฒนาศักยภาพการจดั การศกึ ษานอก

ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปีงบประมาณ 2561
เปรียบเทยี บกับเป้าหมายเชงิ ปริมาณ

รายการ n % เปา้ หมาย ผลสาเรจ็ ของ บรรลุ ไม่ หมายเหตุ
ประเมนิ (7) (ร้อย เชิงปรมิ าณ โครงการ บรรลุ
ละ)
1. จานวน ครู
และบคุ ลากร 7 100.00 ครแุ ลบุคลากร จานวนครูและ √
ทเี่ ขา้ รว่ ม
โครงการ เข้าร่วม บคุ ลากรท่ีเขา้

โครงการ รว่ มโครงการ7

รอ้ ยละ คน

100.00 ของ

กลมุ่

เป้าหมาย

จานวน 7 คน

จากตาราง 2 แสดงวา่ จานวนครูและบคุ ลากร ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการพฒั นาศกั ยภาพการจดั

การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปงี บประมาณ 2561 มี
จานวน 7 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100.00 เม่ือเปรียบเทียบกบั เป้าหมาย และตัวชว้ี ดั ผลสาเร็จของโครงการ
พบวา่ บรรลุเปา้ หมาย

ตาราง 3 ค่าคะแนนเฉล่ยี และคา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดับความรแู้ ละประสบการณ์ การจัดการศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.อาเภอบางซา้ ย ปีงบประมาณ 2561

เปรียบเทียบกับเปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ

รายการ N ̅ SD. ระดบั เป้าหมาย ผลสาเรจ็ บรรลุ ไม่ หมาย
ประเมิน (7)
เชิง ของ บรรลุ เหตุ

คณุ ภาพ โครงการ

1.ความรู้ 7 18.50 0.44 ดีมาก ครูและ จานวน √

และ บุคลากร ครูและ
ประสบ
การณ์ ท่เี ขา้ รว่ ม บคุ ลากร

โครงการ ท่เี ขา้ รว่ ม

มีความรู้ โครงการ

และ 7 คน

ประสบ มคี วามรู้

การณ์ อยู่ และ

ในระดบั ดี ประสบ

ถงึ ดีมาก การณ์

อยใู่ น

ระดับดี

ถงึ ดีมาก

จากตาราง 3 แสดงว่า จานวนครูและบคุ ลากร ท่เี ข้ารว่ มโครงการพฒั นาศกั ยภาพการจดั
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปงี บประมาณ 2561 มี
ความร้แู ละประสบการณ์ อยู่ในระดบั ดีมาก ( ̅ = 18.50) เมื่อเปรยี บเทยี บกบั เปา้ หมาย และตวั ชวี้ ัด
ผลสาเรจ็ ของโครงการ พบว่า บรรลุเป้าหมาย

ตาราง 4 ค่ารอ้ ยละ ของครแู ละบคุ ลากร เขา้ รว่ มกิจกรรมและตอบคาถามทางพระพทุ ธศาสนา
เปรียบเทียบกับเป้าหมายเชงิ ปรมิ าณ

รายการ n % เปา้ หมาย ผลสาเรจ็ ของ ไม่ หมายเหตุ

ประเมิน (7) (รอ้ ย เชิงปรมิ าณ โครงการ บรรลุ บรรลุ
ละ)
1. การตอบ
คาถามทาง 7 100.00 ครูแลบุคลากร จานวนครแู ละ √
พระพทุ ธ เขา้ ร่วม บคุ ลากรที่เข้า
ศาสนา กิจกรรมตอบ รว่ มกจิ กรรม
คาถาม ตอบคาถาม 7
รอ้ ย คน หรอื ร้อย
ละ 100.00 ละ 100.00
ของกลุ่ม
เปา้ หมาย 7
คน

จากตาราง 4 แสดงวา่ จานวนครูและบคุ ลากร ทเ่ี ข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพการจดั
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปงี บประมาณ 2561 เข้า

รว่ มกจิ กรรมตอบคาถาม ร้อยละ 100.00 เมอื่ เปรียบเทียบกบั เป้าหมาย และตวั ชวี้ ดั ผลสาเร็จของ
โครงการ พบว่า บรรลุเป้าหมาย

ตาราง 5 ค่าคะแนนเฉล่ยี และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน ระดบั ความความพึงพอใจต่อโครงการพฒั นา
ศกั ยภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางซ้าย ปี 2561 รู้

เปรยี บเทยี บกับเป้าหมายเชิงคณุ ภาพ

รายการ N ̅ SD. ระดบั เปา้ หมาย ผลสาเรจ็ บรรลุ ไม่ หมาย
ประเมนิ (7)
เชิง ของ บรรลุ เหตุ
1.ความ 7
พึงพอใจ คณุ ภาพ โครงการ

82.61 0.44 มาก ครูและ จานวน √

ทส่ี ดุ บคุ ลากร ครแู ละ

ทเี่ ขา้ รว่ ม บุคลากร

โครงการ ทเ่ี ขา้ ร่วม

มคี วามพึง โครงการ

พอใจต่อ ไมน่ อ้ ย

โครงการ กว่า 6

อยู่ใน คน

ระดบั มาก มีความ

ถงึ มาก พงึ พอใจ

ทีส่ ดุ อยใู่ น

ระดบั

มากถึง

มากท่สี ุด

จากตาราง 5 แสดงวา่ ครแู ละบุคลากร ท่ีเข้ารว่ มโครงการพัฒนาศักยภาพการจดั การศกึ ษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.อาเภอบางซา้ ย ปงี บประมาณ 2561 มีมีความพงึ
พอใจตอ่ โครงการ อยใู่ นระดับมากท่ีสุด ( ̅ = 82.61) เมอ่ื เปรียบเทยี บกบั เป้าหมาย และตัวชว้ี ัด

ผลสาเรจ็ ของโครงการ พบว่า บรรลุเปา้ หมาย

สรุปผลการประเมิน ปญั หา/อุปสรรค และอภปิ รายผล

สรปุ ผลการประเมิน

ครูและบุคลากร ที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพการจดั การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศยั ของ กศน.อาเภอบางซ้าย ปงี บประมาณ 2561 สว่ นใหญ่ เป็นเพศหญิง สว่ น
ใหญม่ ีอายุ 20-30 ปี มตี าแหนง่ เปน็ ครู กศน. ตาบล มีประสบการณ์ ต่ากว่า 5 ปี
มีประสบการณต์ ากว่า 5 ปี ร้อยละ 57.14

ครูและบุคลากร มีความรแู้ ละประสบการณ์ การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัย อยู่ในระดบั ดีมาก เขา้ รว่ มกิจกรรมการส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรมตามหลักพุทธศาสนา
คครบ 7 คน และมีความพึงพอใจ อยู่ในระดบั มากที่สุด

แนวคดิ การนาไปประยุกต์ใช้ในการปฏบิ ัติงาน
1. การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

สามารถนาความรู้ทีไ่ ดร้ ับมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตาม อัธยาศยั ให้กับกลมุ่ เปา้ หมายในทกุ รูปแบบ คอื การจดั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน การจัดการ
ศกึ ษาตอ่ เน่อื ง และการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย โดยให้สอดคล้องกบั บรบิ ทของ กศน.อาเภอบางซ้าย
ใช้การประสานกับภาคีเครือข่าย การใช้ทุนทางธรรมชาติ ทุนทางสังคม ให้เหมาะสมกับบริบท และ
เกดิ ประโยชน์ ร่วมถงึ การจดั กศน.ตาบล ในรูปแบบของ กศน.ตาบล 4G คือ

Good Teacher: มีความเปน็ ครูมอื อาชพี จดั กระบวนการเรยี นรอู้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
Good Place Best Check-in: สภาพแวดล้อมมีความสวยงาม สะอาด บรรยากาศ
เออื้ ตอ่ การเรยี นรู้
Good Activities: มกี จิ กรรมยืดหยนุ่ หลากหลาย
Good Partnership: มภี าคเี ครือขา่ ยที่ดี ทางานรว่ มกนั อย่างเข้มแขง็

2. การศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สามารถนาความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ในห้องสมุด

ประชาชน อาเภอบางซ้าย และห้องสมดุ แตล่ ะ กศน.ตาบล เช่น การจดั มุมหนงั สือตา่ ง ๆ การจัดหาส่ือ
ให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย การประชาสัมพันธ์ผ่าน social network
ปรศิ นา QR Code การออกใหบ้ ริการการศึกษาตามอัธยาศัย รถโมบายเคลื่อนท่ี ห้องสมุดตลาดแตก
บ้านหนังสือชุมชน และ มุมหนังสือน่ังท่ีไหนอ่านที่นั้น และ นาแนวคิดการจัดทาวีดีทัศน์บริบทพื้นท่ี
จุดเด่น แหล่งเรยี นรู้ แหลง่ ท่องเที่ยว ตลอดจนประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี อาชีพที่
สาคัญในอาเภอ แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ไว้ในห้องสมุด เพ่ือบริการ และประชาสัมพันธ์ให้
นกั เรยี น นักศกึ ษาได้เขา้ ชมศกึ ษา เรียนรู้ ไดต้ ามอัธยาศยั

3. การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง
3.1 การศึกษาเพือ่ พฒั นาอาชพี

ใชว้ ตั ถดุ บิ ท่ปี ลกู ในพืน้ ที่ มาแปรรปู เป็นผลติ ภัณฑ์ ทาบรรจใุ ห้สนิ คา้ ท่ีผลิตมี
มูลค่าเพมิ่ เชน่ มะมว่ งหาวมะนาวโห่ กล้วย ฟักทอง ซง่ึ เป็นต้นทุนทเ่ี ปน็ ผลผลิตในชุมชน และการ
บริหารจดั การแหล่งทอ่ งเทย่ี วแบบครบวงจร โดยใชส้ ื่อประชาสมั พันธผ์ ่าน social network เชน่
facbook IG twitter youtube ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ

3.2 การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาทกั ษะชวี ติ

รณรงคก์ ารถือศีลหา้ มกี ารปฏบิ ัติตามหลักธรรม เปน็ กิจวัตรประจาวนั และเผยแพร่
ให้นกั ศกึ ษา ประชาชน ได้นาไปใช้ในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวนั เพ่ือการอยู่รว่ มกนั ในสงั คมได้อย่างมี
ความสุข

3.3 การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชน
จากกการศึกษาดูงาน ตลาดน้าอัมพวา พบข้อสังเกต ที่เป็นจุดเด่น คือ ตลาดมี

ส่ิงของเคร่ืองใช้ ท้ังเคร่ืองอุปโภค บริโภค มีบริการท่องเท่ียวทางน้าให้กับผู้มาเยือน ทาให้มีผู้คนมา

เที่ยวกนั จานวนมากในวันเสาร์ อาทิตย์ สาหรับวันธรรมดาไมไ่ ด้เปิดตลาดเนอื่ งจากไมม่ คี นตา่ งถ่ินมา มี

เพียงคนในพ้ืนท่ี จึงเป็นสิ่งที่ต้องคิดวิเคราะห์หลายแง่หลายมุม และต้องอาศัยความร่วมมือจาก

หน่วยงาน ผู้นาท้องถ่ิน ชุมชม ประชาชน ร่วมมือกันอย่างแท้จริง บริหารจัดการให้เป็นระบบให้เกิด

ประโยชน์ให้กบั ทกุ คนทเ่ี กี่ยวข้อง นา่ จะช่วยใหต้ ลาดนา้ ความย่งั ยนื

สาหรับการนาแนวคิดการทาตลาดน้า ให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชน ควร
นามาใช้กับตลาดนัดที่มีในบ้านเรา โดยเริ่มจากการปรับสภาพการบริการ ความสะอาด สุขอนามัย
การใช้ภาชนะบรรจุอาหาร การตกแต่งร้านในน่าดูน่ามอง ตลอดจนกิริยามารยาท ความสุภาพ การ
แต่งกายท่ีเหมาะสมของแม่ค้า ซึ่งส่วนใหญ่ตลาดนัดไม่มีการควบคุมในเร่ืองดังกล่าว หน่วยงานท่ี
เก่ียวข้องควรเข้ามาดาเนินการ หากอาหารดี อาหารสะอาด หน้าร้านตกแต่งได้งดงาม แม่ค้าสุภาพ
พดู จาดีแลว้ เช่ือว่า ตลาดนัดก็จะยกระดับให้สูงขึ้นกว่าท่ีเป็นอยู่ เพราะตลาดนัดมีจุดเด่น คือ มีสินค้า
ราคาถูกเป็นทุนที่จะดึงดูดให้ผู้คนมาจับจ่ายใช้สอยได้ตลอดเวลา และควรมีการจัดแสดงนิทรรศการ
เรอ่ื งราวทางวฒั นธรรมชุมชนตา่ งๆ หมนุ เวียนให้สอดคลอ้ งกบั การจดั งานเทศกาล และกิจกรรมภายใน
พนื้ ท่โี ครงการฯ เปิด โอกาสให้ชุมชน และผ้สู นใจเข้าร่วมจัดนิทรรศการ โดยให้ความสาคัญกับการให้
ความรู้ ความภาคภูมิใจแก่ชุมชน ส่งเสริม เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ความรู้ภูมิปัญญา ของชุมชน
และทอ้ งถ่นิ

4. การจัดกระบวนการเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จากการศึกษางานโครงการอัมพวา ชัยพัฒนานุรักษ์ สามารถนาความรู้ท่ีได้รับมา

ประยกุ ตใ์ ช้ในการพัฒนาพืน้ ทภ่ี าคีเครือขา่ ย กศน.อาเภอบางซ้าย ให้มีการใช้ประโยชน์พื้นท่ี การแบ่ง
พืน้ ทใ่ี หเ้ ปน็ ประโยชน์ การจัดกิจกรรมต่างๆ ในพ้ืนท่ี การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ให้เช่ือมโยงกับบริบทของ
อาเภอบางซ้าย และการจัดแสดงนิทรรศการเร่ืองราวทางวัฒนธรรมชุมชนต่างๆ หมุนเวียนให้
สอดคล้องกบั การจดั งานเทศกาล และกิจกรรมภายในพ้นื ที่โครงการฯ เปดิ โอกาสให้ชุมชน และผู้สนใจ
เขา้ ร่วมจัดนทิ รรศการ โดยให้ความสาคญั กบั การใหค้ วามรู้ ความภาคภมู ิใจแกช่ มุ ชน สง่ เสริม เผยแพร่
และประชาสัมพนั ธ์ ความรู้ภูมิปญั ญาของชมุ ชน และท้องถิน่ และนามาปรับใช้เป็นฐานการเรียนรู้ ใน
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในตาบลที่รับผิดชอบ เช่น การทาแปลงนาสาธิต เพ่ือการพัฒนาอาชีพ

อยา่ งยงั่ ยืน ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และศาสตร์ของพระราชา โดยส่งเสริมการจัดกิจกรรม
อย่างเข้มข้นเพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ แนวทางการประกอบอาชีพเกษตรกรรมให้แก่เกษตรกร
เพ่ือใหม้ คี วามแขง็ แกร่ง อนั เปน็ การสร้างรากฐานต่อยอดในแตล่ ะอาชีพ และยังได้เป็นศูนย์การเรียนรู้
ทสี่ รา้ งเสริมให้คนในชุมชนสามารถนาความรู้ไปช่วยเหลืออาชีพของตนเองได้ตามแนวทางการพัฒนา
เกษตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

ปัญหาอปุ สรรคจากการดาเนนิ งาน
1. การเบกิ จา่ ยงบประมาณลา่ ช้า
2. โครงการขาดความเป็นเอกภาพ ส่งผลให้การดาเนินงานของบุคคลไม่เป็นไปในทิศทาง

เดยี วกัน
3. การดาเนนิ การตามแผนมีความคลาดเคลื่อน ไมเ่ ปน็ ไปตามเวลาท่ีกาหนด
4. ขาดการวางระบบผูป้ ระสานงานกลางทช่ี ดั เจนในการดาเนินงานโครงการอย่างทั่วถึงและ

สอดคลอ้ งในทิศทางเดียวกัน
5. ขาดการประชมุ วางแผนการดาเนนิ การโครงการ
6. ขาดแคลนวัสดุอุปกรณท์ ่ีจาเปน็ ตอ้ งใช้ในการประเมนิ โครงการ

อภิปรายผล
จากสรุปผลการประเมินโครงการ มีประเดน็ สาคัญ สามารถนามาอภิปรายผลได้ ดงั น้ี
ครูและบคุ ลากร มีความรู้และประสบการณ์ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศยั และเสนแนะแนวทางการนาไปประยุกต์ใช้ อยู่ในระดับดีมาก ตรงกับผลการวิจัยของปีย์ ศรี
วงษ์ (2553 : 107-109) ศึกษาวิจยั เรอ่ื ง การติดตามผลหลักสูตรฝึกอบรมนักพัฒนาชุมชนขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่นิ มีความมงุ่ หมายเพอื่ ศึกษาการนาความรู้ทไี่ ดร้ ับจากการฝกึ อบรม ไปประยุกต์ใช้
ในการปฏิบตั งิ านของนกั พัฒนาชุมขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น พบว่า นกั พัฒนาชุมชนขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถน่ิ มกี ารนาความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏบิ ตั ิงานจากทุกหมวดวชิ าในระดบั มาก
และผลการวิจัยของ กลอย แก้วบุดดา และสุรเชษฐ์ ชิระมณี (2557 : บทคัดย่อ) ศึกษาวิจัยเรื่อง
การวิจัยประเมินผลโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการช่วยชีวิตข้ันสูงในผู้ใหญ่ สาหรับพยาบาล
ผลการวิจัย พบว่า (1) มกี ารนาความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน อยู่ใน
ระดับมาก โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.08 (คะแนนเต็ม 5) และ (2) การวิเคราะห์เปรียบเทียบลักษณะ
บุคคลของผูต้ อบแบบสอบถามกับผลการเรยี นรูใ้ นการนาความรทู้ ีไ่ ดร้ ับจากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้
ในการปฏิบตั งิ านแตกต่างกันตามอายุ สถานภาพการสมรส ประเภทหอผู้ป่วย หน่วยงาน ระยะเวลา
การทางาน และประสบการณ์ การร่วมทีมช่วยชีวิตผู้ป่วย การดาเนินงานในโครงการดังกล่าว ของ
กศน.อาเภอบางซา้ ย จะช่วยครู นาความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในการทางานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
สอดคลอ้ งกบั ผลวิจัยของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปกร (2556 : 149-150) ศึกษาวิจัย เร่ือง
การประเมินโครงการพัฒนาครูภาษาอังกฤษ ของสถาบันความร่วมมือระหว่างสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (สพฐ) กับมลู นธิ ิเทมาเส็ก และ SEAMEO RELC ประเทศสิงค์โปร์
พบวา่ ผู้เขา้ อบรมมีความสามารถในการเขยี นหน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก

ทีส่ ดุ มพี ฤตกิ รรมการสอนภาษาอังกฤษอยู่ในระดบั มาก และครทู ่ผี ่านการอบรม ตามความคิดเห็นของ
ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาสถานศึกษา หวั กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และศึกษานิเทศก์ พบว่า
ครูมคี วามเป็นมืออาชพี มเี ทคนคิ และวธิ สี อนที่มคี วามหลากหลายมากขึ้น

ข้อค้นพบจากการประเมินความพึงพอใจ พบว่า ครูและบุคลากรมีความพึงพอใจ อยู่ใน
ระดบั มากที่สดุ ตรงกับผลการวจิ ยั ของ พิสชา บ้านมะหิงษ์ (2558 : 66-68) วจิ ัยเร่อื งปจั จยั ที่มีอิทธิพล
เชิงบวกต่อความพึงพอใจของลูกค้าที่เข้าอบรม โรงเรียนฝึกอบรมการเดินเรือ A. มีวัตถุประสงค์ เพื่อ
ศึกษาปัจจยั เนอื้ หาหลักสูตร รูปแบบการเรียนการสอน ความรู้ และความเข้าใจท่ีเพ่ิมข้ึน แรงจูงใจที่
จะเรียน คุณภาพการอบรม ความคุ้มค่า ท่ีมีผลเชิงบวกต่อความ พึงพอใจของลูกค้า โดยเก็บข้อมูล
ดว้ ยแบบสอบถามจากกลุม่ ตวั อย่าง จานวน 210 คน ทเี่ ข้าอบรม โรงเรยี นฝึกอบรมการเดินเรือ A ช่วง
เดือนมกราคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2559 และทดสอบสมมุติฐาน วิจัยด้วยวิธีการวิเคราะห์ความ
ถดถอยเชิงพหุคูณ พบว่า ปัจจัยความคุ้มค่า (β = 0.424) ปัจจัย รูปแบบการเรียนการสอน (β =
0.213) และปัจจัยคุณภาพการอบรม (β = 0.194) ที่มีอิทธิพลต่อ ความพึงพอใจของลูกค้าท่ีเข้า
อบรมโรงเรียนฝึกอบรมการเดินเรือ A อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยปัจจัยเหล่าน้ี
สามารถอธิบายความแปรปรวนของความพึงพอใจของลูกค้าที่ เข้าอบรมโรงเรียน ฝึกอบรมการ
เดนิ เรือ A ไดร้ อ้ ยละ 43.90

ข้อเสนอแนะเพือ่ ปรับปรงุ และพฒั นาโครงการ

1. ข้อเสนอแนะของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ
รปู แบบการจดั อาหาร ควรจัดเดิน 2 ด้าน จัดโครงการให้ต่อเน่ืองปีละคร้ัง ที่พัก

สะอาด วิทยากรมีเทคนิคการนาเสนอดี ทาให้ได้ความรู้มากข้ึน ได้แนวคิดใหม่แปลกๆ มา
ประยกุ ต์ใช้ในการปฏบิ ัติงาน ได้จริง ควรจัดอย่างสม่าเสมอปีละ 1 ครั้ง ควรให้บุคลากรมาให้ครบ
ทุกคน ขอบคุณเจ้าของโครงการท่ีจัดกิจกรรมดี ครั้งต่อไปควรจัดให้มีการทาวิจัยหน้าเดียว
โครงงาน การถ่ายภาพเบอ้ื งต้นเพอ่ื การประชาสมั พันธ์ อบรมจรรยาบรรณวิชาชีพครู การประดิษฐ์
สอ่ื และการจัดทาแผนการเรียนการสอน

2. ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารโครงการ
กิจกรรมการศึกษาดูงาน ควรแบ่งกลุ่มย่อย จัดให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคละกัน

ระหว่างอาเภอ เพ่ือสร้างความคุ้นเคย รู้จักกัน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แสดงออกถึงความ
รับผิดชอบร่วมกัน โดยมีการวางแผนหารือในกลุ่ม เพื่อกาหนดเป้าหมายของการศึกษา
ประสบการณ์ จากแหล่งเรียนรู้ที่เข้าศึกษาดูงาน จะทาให้ได้ข้อมูลท่ีตรงประเด็น และเป็น
ประโยชน์มากขึ้น การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ควรมีกิจกรรมเพิ่ม เช่น การถือศีล
และการทาวัตร

เอกสารอ้างองิ

กลอย แกว้ บดุ ดา และสรุ เชษฐ์ ชริ ะมณี. (2557, กนั ยายน-ธันวาคม). การวิจัยประเมินผล
โครงการฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการการชว่ ยชีวิตข้ันสูงในผู้ใหญ่ สาหรบั พยาบาล.
วารสารวิชาการ. 7(3) : 14.

คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร. (2556). รายงานการวจิ ยั การประเมินโครงการพฒั นา
ครูภาษาองั กฤษ ของสถาบันความรว่ มมอื ระหว่างสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
ข้นั พน้ื ฐาน (สพฐ) กับมลู นิธิเทมาเส็ก และ SEAMEO RELC ประเทศสงิ ค์โปร์.
นครปฐม : มหาวิทยาลยั ศิลปากร.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วีทางสถติ ิสาหรับการวิจยั 1 พมิ พค์ รง้ั ที่ 5. กรุงเทพฯ : บริษัทสวุ ีรยิ า
สาสน์ จากัด.

ปยี ์ ศรวี งษ.์ (2553). การติดตามผลหลักสูตรฝกึ อบรมนักพัฒนาชุมชนขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น. ปรญิ ญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาผูใ้ หญ)่ . กรุงเทพฯ : บณั ฑติ วทิ ยาลยั
มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. ถา่ ยเอกสาร.

พชิ ติ ฤทธจิ์ รญู . (Online). หน่วยที่ 7 การประเมินโครงการ. สบื ค้นจาก
http://www.reo14.moe.go.th/ index.php/ วนั ท่ี 18 มนี าคม 2560

พสิ ชา บ้านมะหงส์. (2558). ปจั จยั ทม่ี อี ิทธิพลเชิงบวกตอ่ ความพงึ พอใจของลูกค้าทเี่ ข้าอบรม
โรงเรียนฝกึ อบรมการเดินเรือ A. การศึกษาค้นคว้าอสิ ระ หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กิจ
มหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยกรุงเทพ

อัญชลี ธรรมวธิ กี ุล. หลกั การของการจดั การศึกษานอกระบบ และปรชั ญาการศึกษาท่เี ก่ยี วกับ

การศึกษานอกระบบ.

กศน.เพอื่ คนพิการ.ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มเป้าหมายพเิ ศษ สานัก

งาน.กศน. เว็บไซต์ :

http://disabilities.nfe.go.th/?name=news2&file=readnews&id=35

ภาคผนวก

สรุป
การบันทกึ ความรแู้ ละประสบการณ์

กศน.ตาบลวัดประดู่ เป็นสถานศึกษาทีจ่ ดั และส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา

ตามอธั ยาศัยใหก้ บั กลุ่มเป้าหมายที่อยู่นอกระบบโรงเรียนมงุ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชากร โดย
จัดการศึกษาในรปู แบบต่าง ๆ ดังน้ี

- การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
- การศกึ ษาตอ่ เน่ือง
- การศึกษาตามอธั ยาศัย
ภารกิจและผลงานของ
กศน.ตาบลวัดประดู่ ดาเนินการจัดกิจกรรมตามบทบาทหน้าที่และภารกิจท่ีมุ่งเน้นให้
ประชาชน คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาได้ มีอาชีพมีงานทาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
เศรษฐกจิ เชงิ สรา้ งสรรค์
สถานท่ีต้งั กศน.ตาบลวัดประดู่ หมูที่ 2 ตาบลวัดประดู่ อาเภออมั พวา จังหวดั สมุทรสงคราม
โทรศพั ท์ 089-5503377

ห้องสมุดประชาชน เฉลมิ ราชกมุ ารี อาเภออัมพวา

ความหมาย หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เป็นห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั หรือ หอ้ งสมุด
ประชาชนอาเภอ ทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารโดยกรมการศกึ ษานอกโรงเรียนไดร้ ับมตจิ าก ค.ร.ม. เม่อื วันที่
29 มกราคม 2534 ให้จัดสรา้ งเนือ่ งในวโรกาส สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามราชกมุ ารี ทรง
เจริญพระชนมายุ 36 พรรษา

ประวัตคิ วามเปน็ มา
กรมการศึกษานอกโรงเรียนได้พิจารณาเห็นว่าเพื่อสนองพระร าชปณิธานและแนวทาง

พระราชดาริในการส่งเสริมการศึกษา สาหรับประชาชนตามท่ีทรงแสดงไว้ในโอกาสต่าง ๆ เช่น ใน
โอกาสที่ทรงมพี ระมหากรุณาธิคณุ เสดจ็ เป็นองค์ประธานในการประชุม สมัชชาสากลว่าด้วยการศึกษา
ผู้ใหญ่ เมื่อวันท่ี 12 มกราคม 2533 ได้ทรงพระราชทานลายพระหัตถ์เชิญชวนให้ “ร่วมกันทาให้

ชาวโลกอ่านออกเขียนได้” และในบทพระราชนพิ นธ์เรอื่ ง “หอ้ งสมดุ ในทัศนะของข้าพเจ้า” ได้ทรง
กล่าวว่า ความรู้ของมนุษย์เป็น

มกรดกตกทอดกันมาแต่โบราณ
เมื่อมีการประดิษฐ์คิดค้นอักษร
ขนึ้ ผูม้ ีความรู้ก็ได้ บันทึกความรู้

ของตน สิ่งท่ีตนค้นพบเป็นการ
จารึก หรือเป็นหนังสือทาให้

บุคคลอ่ืนในสมัยเดียวกัน หรือ
อนุชนรุ่นหลัง ได้มีโอกาสศึกษา
ทราบถึง เร่ืองนั้น ๆ และได้ใช้

ความรู้เก่า ๆ เป็นพื้นฐานท่ีจะ
หาประสบการณ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ

ที่เป็นความก้าวหน้าเป็นความ
เจริญสบื ตอ่ ไป

ห้องสมุดเป็นสถานท่ีเก็บเอกสารต่าง ๆ อันเป็นแหล่งความรู้ดังกล่าวแล้ว จึงเรียกได้ว่า

เปน็ ครเู ป็นผชู้ ี้นาให้เรามีปญั ญา วเิ คราะห์ วจิ ารณใ์ หร้ ู้สิง่ ควรรู้อนั ชอบดว้ ยเหตผุ ลได้
ข้าพเจ้าอยากให้เรามีห้องสมุดท่ีดี มีหนังสือครบทุกประเภทสาหรับประชาชน หนังสือ

ประเภททข่ี ้าพเจา้ คิดว่า สาคญั ทสี่ ดุ อย่างหนงึ่ คือ หนงั สอื สาหรับเด็ก วัยเดก็ เป็นวัยเรียนรู้ เด็ก ๆ ส่วน
ใหญ่สนใจจะทราบเร่ืองราวตา่ ง ๆ แปลก ๆ ใหม่ ๆ อยแู่ ลว้ ถา้ เรามีหนังสือที่มีคุณค่าทั้งเนื้อทั้งเนื้อหา
และรูปภาพให้เขาอ่าน ให้ความรู้ความบันเทิง เด็ก ๆ จะได้เติบโตข้ึนผู้ใหญ่ท่ีสมบูรณ์ท่ีรอบรู้ มี

ธรรมะประจาใจ มีความรักบ้างเมอื ง มคี วามตอ้ งการปรารถนาจะทาแต่ประโยชน์ทีส่ มควร
กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ขอพระราชทานพระราชานุญาตดาเนินโครงการจัดต้ังห้องสมุด

ประชาชนซ่ึงได้รับพระราชทานนามว่า ห้องสมุดประชาชน "เฉลิมราชกุมารี" โดยจะเร่ิมก่อสร้าง
ห้องสมุดรุ่นแรกจานวน 37 แห่ง เพ่ือเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี ใน วโรกาสทพ่ี ระชนมายุ 36 พรรษา ในปี 2534 และจะวางแผนดาเนนิ การจัดต้ังอย่างต่อเน่ือง

จนครบ ทุกอาเภอภายในระยะ เวลา 10 ปี ระหว่างปี 2534 - 2543 ซ่ึงเป็นช่วงเวลาท่ีองค์การ
สหประชาชาติ ไดป้ ระกาศใหเ้ ปน็ ทศวรรษแหง่ การส่งเสริมการรู้หนังสอื

ห้องสมุดประชาชนแตล่ ะแหง่ จะสรา้ งขึน้ ด้วยความรว่ มมอื ของประชาชนในทอ้ งถ่ินหนว่ ยงาน
ภาครฐั และเอกชน จากความจงรกั ภกั ดแี ละความสานึกในพระมหากรุณาธิคณุ ของสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เพ่อื พรอ้ มใจนอ้ มเกลา้ ฯ ถวายเพือ่ สนองพระราชปณธิ าน ให้

ชุมชนมแี หล่งความรทู้ พี่ รอ้ มพรัง่ สมบรู ณซ์ ึ่งจะเปน็ แบบอย่างของการพฒั นาห้องสมุดสืบตอ่ ไปโดย

มีการจดั สว่ น บริการและกิจกรรม คอื
1) ห้องอา่ นหนังสือทวั่ ไป
2) มุมเด็กและครอบครวั
3) ห้องเอนกประสงค์
4) ห้องโสตทัศนศึกษา
5) หอ้ งเฉลมิ พระเกียรติ

โครงการอัมพวา ชัยพัฒนานุรักษ์ นางสาวประยงค์ นาคะวะรังค์ ข้าราชการบานาญ

โรงพยาบาลทรวงอก กรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข ได้น้อมเกล้าฯ ถวายท่ีดินพร้อมส่ิง
ปลูกสร้างจานวน 5 แปลง พื้นที่รวม 21 ไร่ 12 ตารางวา ในตาบลอัมพวา อาเภออัมพวา จังหวัด
สมุทรสงคราม เพื่อใช้ประโยชน์ในกิจกรรมของมูลนิธิชัยพัฒนา โดยมูลนิธิชัยพัฒนาได้รับ โอนเป็น
กรรมสิทธ์ เม่ือวันที่ 16 กรกฎาคม 2545 จนกระทั่งวันที่ 21 ธันวาคม 2551 สมเด็จพระเทพพระ
รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ได้เสด็จพระราชดาเนนิ เปิดโครงการอัมพวาชัยพัฒนานุรักษ์ อย่าง
เปน็ ทางการ และต่อมาในปี 2554 นางวณี ดว้ งค้มุ และนางประทนิ ด้วงค้มุ ได้น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดิน
สวนผลไม้ให้กับมูลนิธิชัยพัฒนา เนื้อที 2 ไร่ 1 งาน 52 ตารางวา และ 2 ไร่ 3 งาน 72 ตารางวา
ตามลาดบั

การ ใชป้ ระโยชนพ์ น้ื ทโ่ี ครงการ แบ่งการใช้ประโยชนพ์ น้ื ท่ี และมีการจัดกจิ กรรม
เช่อื มโยงการใช้ประโยชน์พื้นท่ตี ่างๆ ภายในโครงการ และแหลง่ ท่องเท่ียวอื่นๆ ของอมั พวา เปน็ 5
สว่ น ประกอบดว้ ย

1) พ้นื ทส่ี วนชยั พฒั นานุรักษ์
จัดพ้ืนท่ีสวนผลไม้ด้ังเดิม เป็นสวนเกษตรแบบผสมผสานไม่ใช้สารเคมี มีการปลูกพันธ์ุพืช

ท้องถ่ิน เช่น ลิ้นจี่พันธุ์ค่อม มะพร้าวพันธุ์ต่างๆ ผสมผสานกับพืชอ่ืน ๆ ตัวอย่างเช่น กล่วย ตะไคร้
มะปราง ฯลฯ โดยให้เป็นแหล่งเรียนรู้ถึงภูมิปัญญาและวิธีชีวิตท้องถิ่นอัมพวาในด้าน การ เกษตร

ส่งเสริมให้เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนความรู้ด้านการเกษตรระหว่างเกษตรกรชาวสวน นักวิชาการ และ
ผ้สู นใจ

2) ลานวฒั นธรรมนาคะวะรังค์ และลานสวนชัยพฒั นานรุ กั ษ์
เป็นลานอเนกประสงค์สาหรับการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น เปิดโอกาสให้ชุมชน

และคนในทอ่ งถน่ิ เช่าพน้ื ท่ีเพือ่ จาหนา่ ยหรอื จัดแสดง สินค้าที่เปน็ ของทอ้ งถิน่ เพอื่ เพิ่มโอกาสในการ
สร้างรายได้ และการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน

3) รา้ นค้าชุมชนของโครงการฯ
เป็นร้านจาหน่ายผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นและผลิตภัณฑ์ภัทรพัฒน์ของมูลนิธิชัยพัฒนาโดยมี

วัตถุประสงค์เป็นแกนกลางในการส่งเสริมการตลาด และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เช่ือมโยงหน่วยงาน
องคก์ รตา่ งๆ รวมถึงผูบ้ ริโภคใหเ้ ข้ามามสี ่วนรว่ มในการส่งเสริม และพฒั นาผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างโอกาส
และสร้างรายได้ให้กับชุมชน โดยมีเป้าหมายให้ชุมชนมีความเข้มแข็งสามารถต่อยอดพัฒนาสินค้า/
ผลิตภัณฑ์และ พัฒนาธุรกิจของชุมชนดว้ ยตน เองไดอ้ ยา่ งยัง่ ยนื ในระยะตอ่ ไป

4) ร้านชานชาลา
เป็นร้านจาหน่ายเคร่ืองดื่ม และอาหารว่าง โดยร้านชานชาลาจะเป็นพื้นที่เปิดเชื่อมโยง

กิจกรรมริมคลองอัมพวา ลานวัฒนธรรมนาคะวะรังค์และพ้ืนท่ีสวน รวมท้ังจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของ
มูลนิธิชัยพัฒนา และผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน ร้านชานชาลามีบทบาทในการส่งเสริมกิจกรรมค้าขาย ริม
คลองอมั พวา โดย เปดิ โอกาสใหน้ ักท่องเท่ียวซื้ออาหารจากเรือ และพื้นท่ีใกล้เคียงเข้ามารับประทาน
ในรา้ น เปน็ หนา้ บา้ นทอี่ บอนุ่ ร้านชานชาลา

5) หอ้ งนิทรรศการชัยพัฒนานุรกั ษ์
เป็นพนื้ ทจ่ี ดั แสดงนทิ รรศการเรื่องราวทางวัฒนธรรมชมุ ชนตา่ งๆหมนุ เวยี นให้สอด คลอ้ งกับ

การจดั งานเทศกาล และกิจกรรมภายในพนื้ ท่ีโครงการฯ เปิด โอกาสให้ชุมชน และผ้สู นใจเข้ารว่ มจัด
นทิ รรศการ โดยใหค้ วามสาคัญกบั การให้ความรู้ ความภาคภูมิใจแก่ชุมชน ส่งเสริม เผยแพรแ่ ละ
ประชาสัมพนั ธ์ ความรู้ภมู ปิ ัญญา ของชมุ ชน และท้องถิ่น

เวลาทาการ วนั จันทร์ - วันพฤหสั บดี เปิดทาการตงั้ แตเ่ วลา 08.30 - 16.00 น.
วนั ศกุ ร์ เปิดทาการตั้งแต่เวลา 08.30 – 19.00 น.
วันเสาร์ - วนั อาทิตย์ เปิดทาการตัง้ แต่เวลา 08.30 - 21.00 น.

ติดต่อโครงการ โครงการอมั พวา ชยั พัฒนานุรักษ์
เลขที่ 185 - 191 ตาบลอัมพวา อาเภออมั พวา จงั หวัดสมุทรสงคราม 75110
โทร. 034-752-245 อเี มล [email protected]

ตลาดนา้ อมั พ
วา จงั หวัด

สมุทรสงคราม ยอ้ นไป

เมอ่ื หลายปี ในชว่ งท่ี ตลาด
นา้ อัมพวา เกิดข้นึ ในยคุ

แรกตอนทีย่ งั ไม่มีตลาดน้า
มากมายอย่างเช่นใน
ปัจจบุ นั ความสวยงาม

ของบ้านเรือนเก่าแกแ่ ละวี
ถชี มุ โบราณ และกระแส

การชมหิ่งหอ้ ยของที่น่โี ดง่
ดังมาก อัมพวา คอื ยุคแห่ง
ความพคี ของการทอ่ งเท่ยี วท่ีผคู้ นตา่ งหลงั่ ไหลเข้ามาอยา่ งไมข่ าดสาย จากชมุ ชนท่ีเงยี บสงบ มเี สน่ห์

ของความเรียบง่ายและความเปน็ วิถีไทย กลายเป็นตลาดอัมพวาท่ีคึกคัก คนหนาแนน่ จนไมน่ ่าไป
เทยี่ วเสยี แล้ว ภาพของตลาดนา้ อัมพวาคอ่ ยๆ เงียบไป บวกกับมสี ถานที่แนวนเี้ กิดข้ึนมามากมาย

หิ่งห้อยเริม่ นอ้ ยลง ผูค้ นเริ่มกระจายไปยงั จุดอน่ื ทาให้ กระแสอัมพวา ทีม่ าแรง ค่อยๆ จางหายไปใน
ทส่ี ุด ภาพของอัมพวาในปจั จบุ นั แปรเปล่ียนไปมากน้อยแค่ไหน ไดม้ โี อกาสกลับมาอกี คร้งั พรอ้ มกบั
คาตอบว่า เปลยี่ นไปมาก เจรญิ ข้นึ มาก แต่ สงบกวา่ ช่วงพคี มากมาก เพราะนักทอ่ งเทย่ี วน้อยลงไป

เยอะ ทาให้รู้สึกวา่ ได้ความรูส้ กึ แบบเกา่ ๆ ของการเดนิ เทย่ี วตลาดน้าอมั พวามากขน้ึ
ตลาดนา้ อมั พวา จังหวดั สมทุ รสงคราม เปิดใหบ้ ริการทกุ วนั ศุกร์ วันเสาร์ และวันอาทติ ย์ จะ

เริ่มคกึ คัก ตัง้ แต่เวลา 16.00 น. เปน็ ตน้ ไป ชาวบา้ นจะเรมิ่ เปดิ รา้ น ทยอย พายเรอื นาอาหาร มาขาย
ให้กบั นกั ท่องเท่ยี ว ทาใหไ้ ด้สัมผัสกบั ธรรมชาตขิ องชีวิตของชุมชนรมิ นา้
ที่อยู่ : อาเภออัมพวา จงั หวดั สมุทรสงคราม

เปิดบริการ : ทกุ วันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ หรอื วนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ ในชว่ งเวลาเยน็ ตั้งแต่ช่วงเวลา
15.00-21.00 น

การเดินทาง : ใช้ทางหลวงหมายเลข 35 (ธนบรุ -ี ปากท่อ) ถึง กม.ท่ี 63 เข้าตวั เมอื งสมทุ รสงคราม
ผา่ นตัวเมอื ง จากน้ันเข้าทางหลวง 325 สมทุ รสงคราม-บางแพ กม.ที่ 36-37 มาทางแยกซ้ายเข้าไป
ทางทจ่ี ะไปอทุ ยานฯ ร.2 ตลาดน้าจะอยู่ใกลก้ ับอุทยานฯ ร.2

สวนมะม่วงหาวมะนาวโห่ลงุ ศิริ แหลง่ ทอ่ งเท่ียวเชิงเกษตร ปลูกมะม่วงหาวมะนาวโห่

แบบเกษตรอินทรยี ์ บนพื้นที่กว่า 40 ไร่ ทตี่ าบลบางนกแขวก อาเภอบางคนที จงั หวดั สมุทรสงคราม

ผลิตและจาหน่าย ผลิตภัณฑ์แปรรปู จากผลมะม่วงหาวมะนาวโห่ ภายใต้แบรนด์ สริ สิ มปอง อกี ทั้ง
จาหน่ายผลสดและตน้ พันธุม์ ะม่วงหาวมะนาวโหก่ ารทาเกษตรของสวนมะนาวโหล่ งุ ศริ ิ ไดร้ ับการ

รับรองมาตรฐาน ระบบการจัดการคณุ ภาพการปฏบิ ตั ทิ างการเกษตรท่ีดสี าหรบั พืช (GAP พืช) รหัส
รบั รอง กษ 03-9001-
36431803504 จาก กรม

วชิ าการเกษตร กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ สินคา้

แปรรปู จากมะม่วงหาว
มะนาวโห่ ของสวนมะนาว
โห่ลงุ ศิริ มคี วาม

หลากหลายให้ลูกค้าได้
เลอื กซื้อ และเลอื กชิม

กว่า 30 รายการ ไมว่ า่ จะ
เปน็ นา้ มะม่วงหาวมะนาว
โห่พร้อมดื่ม แยมมะนาว

โห่ นา้ พริกมะนาวโห่ ไซเดอร์มะมว่ งหาวมะนาวโห่ ชาผลมะนาวโห่ มะนาวโห่กวน เยลลี่มะนาวโห่
มะนาวโห่สามรส มะนาวโหล่ อยแกว้ รวมไปถึงไอศครีมรสชาตตา่ ง ๆ กิจกรรมการท่องเทย่ี ว ของ

"สวนมะนาวโหล่ ุงศิร"ิ มหี ลากหลายรูปแบบ หากนักทอ่ งเท่ียวแวะมาเทยี่ วชมในชว่ งเดือน กมุ ภาพันธ์
ถึงช่วง ต้นเดอื นมีนาคม ซึง่ เป็นต้นฤดูกาลของมะมว่ งหาวมะนาวโห่ ทเี่ ตรียมพรอ้ มจะออกผลเม่ือ
อากาศเปน็ ใจ ตน้ มะมว่ งหาวมะนาวโห่ กจ็ ะพร้อมใจกนั ออกดอกบานสะพรง่ั สีขาวสวย หอมฟุง้

พรอ้ มๆกันทงั้ สวน หลักจากนน้ั ก็จะคอ่ ยๆ ติดผลน้อยใหญ่สขี าวแดงไปจนกระทั่งสุกงอมดา ซึง่ จะเริม่ มี
ผลให้นกั ท่องเทยี่ วได้ชมตั้งแต่เดือนมนี าคมเป็นไปจนถึงประมาณต้นเดอื นพฤศจกิ ายน ซึง่ ในบริเวณ

พน้ื ทสี่ วนมะม่วงหาวมะนาวโห่ท่ีจดั ให้นกั ท่องเทยี่ วเข้าชมนน้ั กจ็ ะมีแผน่ ป้ายความรู้ตา่ ง ๆ เกย่ี วกับ
มะม่วงหาวมะนาวโห่ ใหน้ กั ทอ่ งเทย่ี วและผทู้ ี่สนใจไดศ้ กึ ษาหาความรกู้ ันอีกดว้ ย นอกจากกิจกรรม
เทีย่ วชมสวนแล้ว ในบริเวณรอบ ๆ สวน กจ็ ะมมี ุมตา่ ง ๆ ให้นักท่องเทย่ี ว ไดแ้ ชะถา่ ยภาพสวย ๆ และ

นาไปแชรส์ ง่ ต่อให้เพ่อื น ๆได้อีกด้วย ในทุก ๆ วันอาทติ ย์ ที่สวนมะนาวโหล่ ุงศริ ิ จะมีเรอื นาเที่ยว
บริการฟรี พานักท่องเทย่ี วล่องเรอื ไปเที่ยวทต่ี ลาดเก่าบางนกแขวก ซึ่งเป็นตลาดเกา่ ท่ีมาอายุกว่า 100

ปี อยใู่ กล้ ๆ กบั บา้ นสวนของเรา น่ังเรือไปประมาณ 10 นาที ก็ถงึ แล้วครบั และดว้ ยพืน้ ทข่ี องสวน
มะนาวโหล่ ุงศริ ิ ตัง้ อยู่บรเิ วณรมิ แม่นา้ แม่กลอง ที่ริมนา้ บ้านสวนของเราจงึ มปี ลาธรรมชาตอิ าศยั อยู่
จานวนมาก ซึ่งเปน็ อกี หนึ่งกจิ กรรมทน่ี กั ท่องเท่ียวจะชอบมาก ก็คอื การให้อาหารปลา ปลาทร่ี มิ นา้

บา้ นสวนของเรา เรียกได้วา่ เป็นปลาทีม่ ีความเช่อื งมาก เนอื่ งจากคุณลุงศริ ิ และคุณป้าสมปอง ดแู ลให้
อาหารมานานกวา่ 30 ปแี ลว้ นักท่องเท่ียวจึงสามารถให้อาหารปลาโดยเอามอื จุ่มนา้ ก็ยงั ได้

ติดต่อสอบถาม
สริ สิ มปอง คาเฟ่ เปดิ บริการ วันเสาร์ และ วนั อาทิตย์
เวลา 9.00-17.30 น.
โทร 034-710789 หรือ 080-5665124 Line ID : @Sirisompong
http://www.facebook.com/manowho

ศนู ยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง บา้ นสารภี ของคุณสุชล สขุ เกษม ตงั้ อยทู่ ่ี บ้านเลขท่ี

56 หมทู่ ่ี 7 ตาบลจอมปลวก อาเภอบางคนที จังหวดั สมุทรสงคราม มีเน้อื ท่ปี ระมาณ 1 ไร่ ดดั แปลง
จดั สรา้ งเป็นศูนย์เรยี นรฯู้ ภายใตห้ ลักความคิดทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวทรงดารัสไว้ซึ่งชุมชน
บา้ นสารภี ตาบลจอมปลวก อาเภอบางคนที จังหวดั สมุทรสงคราม ได้ถูกคัดเลือกใหเ้ ปน็ ศูนยเ์ รียนรู้
เศรษฐกิจพอเพียง ในชอ่ื "ศูนย์เรยี นรู้การเกษตรพอเพยี งชมุ ชนบ้านสารภี" โดยมงุ่ เน้นการสร้าง

กจิ กรรมอยา่ งเข้มข้น
เพื่อเสริมสรา้ งทกั ษะ
ความรู้ แนวทางการ
ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมให้แก่
เกษตรกรเพอื่ ใหม้ ี
ความแข็งแกร่ง อนั
เปน็ การสร้างรากฐาน
ต่อยอดในแต่ละอาชีพ
และยังได้เป็นศูนยก์ าร
เรียนรูท้ ี่สรา้ งเสริมให้
คนในชมุ ชนสามารถ
นาความรไู้ ปชว่ ยเหลือ
อาชีพของตนเองได้ตามแนวทางการพฒั นาเกษตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีหลกั การดังน้ี
1. นาทรพั ยากรท่มี ีอยู่แล้ว ในท้องถ่นิ มาสรา้ งมูลค่า คือการนาทรพั ยากรทโี่ ดดเดน่
ในแต่ละท้องถิน่ มาสร้างมลู ค่า โดยนาผลผลติ ท่ีมอี ยู่ในทอ้ งถน่ิ มาสรา้ งมลู ค่า ด้วยการแปรรปู เพื่อทา
ใหช้ าวบ้านมีรายได้เพ่ิมขึ้น
2. นาทรัพยากรทม่ี ีมาใช้ให้เกิดประโยชนโ์ ดยไม่มกี ารทง้ิ คือการนาเอาทรัพยากรท่มี ี
อยใู่ นพื้นท่ที ัง้ หมด มาใช้ให้เกดิ ประโยชน์โดยไมม่ กี ารทง้ิ อยา่ งกรณี ถา้ เลย้ี งไก่ จะได้ไข่ไก่ แต่ท่ีศนู ย์
ต้องไดม้ ากกว่าไข่ทมี่ าจากไกค่ อื ต้องไดแ้ ก๊ส ไดป้ ุ๋ย ได้ป๋ยุ น้าชีวภาพ ปยุ๋ อดั แทง่ เปน็ ต้น ซึง่ แนวคดิ นี้
เป็นการใช้ชีวติ แบบวงจร ตั้งแต่คน พชื และสัตว์
นอกจากนท้ี ่ีนี่ ยังเปน็ ทท่ี ี่ให้ความรู้แก่ชาวบา้ นในชุมชน โดยไดก้ าหนดใหม้ ี 4 หัวขอ้ หลกั ในการเรยี นรู้
ได้แก่
1. การจัดการสขุ ภาพชุมชน เพื่อคนในชมุ ชนจะไดร้ บั การดแู ลเบ้อื งต้นจากเจ้าหนา้ ที่
อาสาสมัครประจาหมู่บ้าน

2. เรยี นร้เู รื่องพลงั งานทดแทน เพื่อนาสิ่งของที่ไมไ่ ด้ใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวันแล้วมา
ประยกุ ต์ใชแ้ ละปรบั ให้มีความทนั สมัยมากข้ึน

3. เรยี นรู้ถึงโครงการพระราชดารแิ นวทางเศรษฐกจิ พอเพียงในเรือ่ งการใช้ชวี ติ ประจาวันใกล้
ตัวท่ีหลายคนมักมองข้าม

4. การแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตรทม่ี ีวัตถุดบิ ให้เกดิ ประโยชน์และมีมูลคา่ เพิม่

และหากท่านใดมีโอกาสได้เดนิ ทางมาท่องเทีย่ วและแวะพักผ่อนทบ่ี า้ นทิพย์สวนทอง อยา่ ลืม
มาเยี่ยมชมศูนย์เรยี นรู้การเกษตรพอเพยี งชมุ ชนบา้ นสารภี กันด้วยนะคะ และที่นีส่ ามารถรบั ชมเปน็

แบบหมู่คณะไดอ้ กี ดว้ ยโดยตดิ ต่อไดท้ ่ี คุณสชุ ล สุขเกษม โทรศัพท์ (086) 178-4157

ภาพรวมผลการประเมินความพึงพอใจต่อ
โครงการพฒั นาศักยภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

ของ กศน.อาเภอบางซา้ ย กศน.อาเภอบางไทร และกศน.อาเภอลาดบวั หลวง
ปีงบประมาณ 2561

ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม


Click to View FlipBook Version