The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประเมินครูผู้ช่วย ครั้งที่ 4 นายพิสันติ์ ศรีสุขา (power point)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พิสันติ์ ศรีสุขา, 2020-10-09 11:20:31

เอกสารประเมินครูผู้ช่วย ครั้งที่ 4 นายพิสันติ์ ศรีสุขา (power point)

เอกสารประเมินครูผู้ช่วย ครั้งที่ 4 นายพิสันติ์ ศรีสุขา (power point)

รายงานผลการปฏิบัติงานการเตรยี มความพร้อมและ

พัฒนาอยา่ งเข้มของครผู ู้ชว่ ย ครัง้ ที่ 4
ระหว่าง วันที่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

นายพิสนั ติ์ ศรีสุขา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย

กศน.อาเภอบางซ้าย

ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ

การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเข้ม ตาแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย

ด้วยความยินดียง่ิ

นางสาวนงกาณ ถกู อารมย์ ประธานกรรมการ
นางสกาวรัตน์ คาแดง กรรมการ
นายพษิ ณุ ศรีสวุ รรณ์ กรรมการ

ประวัติสว่ นบุคคล

นายพิสนั ติ์ ศรสี ขุ า (ทมี )

ทีอ่ ยู่ปัจจุบนั : 99 หมทู่ ่ี 7 บา้ นกแู่ ก้ว ตาบลบา้ นจีต อาเภอกูแ่ กว้ จังหวดั อดุ รธานี 41130

เบอร์โทรศัพท์ : 0642147642 E-mail : [email protected]

Facebook : https://www.facebook.com/pisan.srisukha Line ID : TEAM_SRISUKHA

ข้อมูลส่วนบคุ คล

เกดิ วนั ท่ี : 7 ธนั วาคม 2532 อายุ : 30 ปี

เพศ : ชาย กรุ๊ปเลอื ด : A

นาหนกั : 98 กิโลกรัม ส่วนสงู : 171 เซนติเมตร

เชือชาติ : ไทย สัญชาติ : ไทย

ศาสนา : พุทธ สถานภาพ : โสด

ประวัตดิ ้านการศกึ ษา

ระดบั ประถมศึกษา โรงเรียนอนบุ าลก่แู กว้ จังหวดั อุดรธานี ปกี ารศึกษา 2539 - 2544

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรียนกแู่ กว้ วิทยา จังหวดั อุดรธานี ปกี ารศกึ ษา 2545 – 2547

ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นกแู่ กว้ วิทยา จังหวัดอดุ รธานี ปกี ารศกึ ษา 2548 - 2550

ระดับปรญิ ญาตรี ภาควชิ าคณิตศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์

มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ จังหวดั เชยี งใหม่ ปกี ารศกึ ษา 2551 - 2554

สาเร็จการศึกษา วิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาคณติ ศาสตร์

ระดับประกาศนียบัตรบณั ฑติ คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยสันตพล จงั หวัดอดุ รธานี

(วชิ าชีพคร)ู ปีการศึกษา 2558 – 2559

ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ ครู เลขท่ี 60109000008835 ออกให้ ณ วนั ท่ี 12 มกราคม 2560

หมดอายุ ณ วันที่ 11 มกราคม 2565

เกียรติประวัติดา้ นการศกึ ษา

ผูเ้ รียนทุนเฉลมิ ราชกมุ ารี ปกี ารศกึ ษา 2548-2550
นักศึกษาทนุ เฉลมิ ราชกมุ ารี ปกี ารศึกษา 2551-2554

ความรูด้ ้านภาษา ภาษาไทย ระดบั ดี ภาษาองั กฤษ ระดับพอใช้
ความรดู้ า้ นโปรแกรม
Microsoft Word ระดบั ดี, Microsoft PowerPoint ระดบั ดมี าก,
ความรูด้ ้านอ่ืน ๆ Microsoft Excel ระดบั ดี, Microsoft Publisher ระดบั ดี,
Windows Live Movie Maker ระดับดี

โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP)

ประวตั กิ ารทางาน

ตาแหน่ง การปฏบิ ตั ิหนา้ ทส่ี อน ระยะเวลาปฏบิ ตั กิ ารสอน เงนิ เดอื น
วิชาที่สอน สถานทที่ างาน (บาท)
1. ครูศูนย์การเรียนชุมชน ตังแต่วันที่ ถงึ วันที่
2. ครูศนู ยก์ ารเรยี นชุมชน คณิตศาสตร์ กศน.อาเภอนายืน 11,680
3. นกั วิเคราะห์นโยบายและแผน คณิตศาสตร์ กศน.อาเภอหนองแสง 10 เมษายน 2556 14 พฤศจิกายน 2556 15,000
4. ครผู ู้ชว่ ย คณิตศาสตร์ กศน.อาเภอหนองแสง 15,000
คณติ ศาสตร์ กศน.อาเภอบางซ้าย 15 พฤศจกิ ายน 2556 30 กนั ยายน 2559 17,650

1 ตลุ าคม 2559 30 กันยายน 2561

1 ตุลาคม 2561 ปัจจุบนั

มีหนา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบเก่ียวกบั การจัดการเรยี นรู้

1) ปฏบิ ัตงิ านเก่ียวกับการจัดการเรยี นรู้ และสง่ เสรมิ การเรียนรู้ของผ้เู รยี นดว้ ยวธิ ีการท่ีหลากหลาย
โดยเน้นผ้เู รียนเป็นสาคญั
2) จดั อบรมสงั่ สอน และจัดกจิ กรรมเพื่อพัฒนาผู้เรยี นให้มคี ุณลักษณะท่ีพง่ึ ประสงค์
3) ปฏิบตั ิงานเกีย่ วกบั การจัดระบบดแู ลช่วยเหลอื ผูเ้ รียน
4) ประสานความรว่ มมือกบั ผูป้ กครองและบคุ คลในชุมชนและสถานประกอบการเพ่อื ร่วมกันพัฒนา
ผเู้ รียนตามศักยภาพ
5) ทานุบารงุ สง่ เสริมศลิ ปวฒั นธรรม แหลง่ เรียนรู้และภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน
6) ศกึ ษาวิเคราะห์ วิจัย และประเมินพฒั นาการของผเู้ รยี นเพ่ือนามาพฒั นาการเรยี นการสอนให้มี
ประสิทธิภาพย่งิ ขนึ

1. จัดการเรียนรใู้ นเขตพนื ที่ กศน.ตาบลเทพมงคล (กลุ่มสามเณรวัดสคุ นธาราม ตาบลเทพมงคล)
- รายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพียง (ทช21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
- รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง (ทช31001) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

2. ภาระงานอ่นื ๆ ทไี่ ดร้ บั มอบหมายทเี่ ก่ยี วเนอ่ื งกบั การจดั การเรียนการรู้ และภาระงานการพัฒนา
คุณภาพ การศึกษาของศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางซ้าย

การให้คาปรกึ ษาและแนะแนว

1. การดแู ลและแกไ้ ขปญั หาความประพฤตผิ ูเ้ รยี น
ข้าพเจ้าใชว้ ิธีการดแู ลและแก้ไขปญั หาความประพฤติของผู้เรยี น โดยทาการศึกษา

พฤตกิ รรมของผู้เรียนเป็นรายบคุ คล โดยวิธกี ารสังเกตพฤติกรรมทีอ่ ยูใ่ นห้องเรยี นและนอกหอ้ งเรียน
หากผเู้ รียนเกิดปญั หากจ็ ะเรยี กผเู้ รยี นมาใหค้ าปรกึ ษาและช่วยเหลอื ปญั หาที่เกิดขนึ ให้กับผู้เรยี นตอ่ ไป
2. การจดั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรียน

ขา้ พเจ้าจดั ระบบดูแลชว่ ยเหลือผู้เรยี น โดยออกเยี่ยมและติดตามผูเ้ รียน เพอ่ื ทาการเก็บ
ขอ้ มูลพนื ฐานของผเู้ รยี นในด้านตา่ ง ๆ หากผู้เรยี นมปี ัญหาในด้านต่าง ๆ ครูสามารถทจ่ี ะทราบ
รายละเอยี ดของผู้เรยี นรายบคุ คล และแกป้ ญั หาอย่างทนั ท่วงที นอกจากนนั แล้วก็ยงั มกี ารออกเย่ียม
บ้านผ้เู รียนในท่ปี รึกษา เพ่ือสร้างความสมั พันธ์ทีด่ รี ะหว่างสถานศกึ ษากบั บ้าน และยังเปน็ การเกบ็
ประวตั ดิ ้านครอบครวั ของผเู้ รียนอกี ดว้ ย

งานอน่ื ๆ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย

นายพสิ ันต์ิ ศรีสุขา ตาแหน่งครูผ้ชู ว่ ย กศน.อาเภอบางซ้าย หวั หน้ากลุ่มการศกึ ษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั มีหน้าท่ี นิเทศ ติดตาม ประเมินและรายงานผลการดาเนนิ งานของ
กศน.ตาบล หัวหน้างานแผนและงบประมาณ หัวหน้างานข้อมูลสารสนเทศและการรายงาน หวั หนา้
งานนิเทศติดตามและประเมนิ หวั หน้างานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั พืนฐาน หัวหนา้ งาน
กิจการนักศกึ ษา และงานอนื่ ๆ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย

รายงานผลการปฏิบตั งิ านการเตรียมความพรอ้ มและ
พัฒนาอย่างเข้มของครผู ู้ช่วย ครัง้ ที่ 4

ระหวา่ ง วนั ที่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

นายพิสนั ติ์ ศรีสุขา ตาแหน่งครผู ชู้ ่วย

กศน.อาเภอบางซา้ ย
สานกั งาน กศน.จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

องคป์ ระกอบท่ี 1 ด้านการปฏิบตั ติ น

ดา้ นการปฏบิ ตั ติ น

1. วนิ ัยและการรักษาวินัย

1.1 การแสดงออกทางอารมณ์ กริยา ทา่ ทาง และการสอ่ื สาร
ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะต่อผเู้ รียน

ขา้ พเจา้ แสดงออกทางอารมณ์ กรยิ า ทา่ ทาง และ
การสือ่ สารไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะตอ่ ผเู้ รียน เชน่
การพดู จาไพเราะประพฤติปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอย่างที่
ดีแก่ลกู ศษิ ย์ ยดึ หลักคาสอนทางพระพทุ ธศาสนาใน
การดาเนนิ ชีวิต โดยหมน่ั สวดมนตแ์ ละนั่งสมาธทิ า
จิตใจให้สงบ เพื่อให้ขา้ พเจ้าสามารถควบคุมอารมณ์
ของตนเองไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

ด้านการปฏิบัติตน

1.2 การแสดงออกทางอารมณ์ กรยิ า ทา่ ทาง และการสอ่ื สารได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
ต่อผบู้ ังคบั บัญชาเพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง และบุคคลอ่นื

ขา้ พเจา้ แสดงออกทางอารมณ์ กรยิ า ทา่ ทาง และ
การส่ือสารไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะตอ่
ผบู้ งั คบั บญั ชาเพ่ือนรว่ มงาน ผปู้ กครอง และบคุ คล
อื่น เชน่ การพดู จาไพเราะ มสี มั มาคารวะออ่ นนอ้ ม
ถอ่ ม เช่ือฟังและปฏิบตั ิตามคาส่งั ของ
ผบู้ งั คบั บญั ชา

ด้านการปฏบิ ัติตน

1.3 การมีเจตคติเชงิ บวกกบั ประเทศชาติ

ข้าพเจา้ ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้มีคุณธรรม จริยธรรม
เพ่อื การเปน็ ครทู ี่ประกอบด้วยคุณงามและความดี
ซง่ึ กระทาด้วยความสานึกในจิตใจ เชน่ ความเสยี สละ
มีนาใจ ความเกรงใจ ความยตุ ธิ รรม ความเห็นอก
เหน็ ใจ การมีมารยาททง่ี ดงาม ความรกั และความ
เมตตาต่อศิษย์เพอ่ื เปน็ กาลังสาคัญในการขบั เคลอื่ น
ระบบการศึกษาใหม้ ีคุณภาพและพฒั นาประเทศชาติ
ให้มีความเจริญก้าวหน้า

ดา้ นการปฏบิ ัตติ น

1.4 การปฏบิ ตั ิตามกฎ ระเบยี บหลกั เกณฑ์ทีเ่ ก่ียวข้องกบั ความเป็นขา้ ราชการ

ข้าพเจ้าปฏิบตั ติ นตามกฎหมาย ระเบยี บแบบแผน
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีปฏบิ ตั ิราชการ โดยเป็นบคุ คลท่ี
เคารพและปฏบิ ัติตามกฎหมาย รกั ษาระเบียบวนิ ยั
ของทางราชการ กระทาตนเปน็ แบบอยา่ งที่ดี
มหี ลักในการปฏิบตั ิหน้าทีข่ องครูอย่างชัดเจน
ยตุ ิธรรม

ด้านการปฏบิ ตั ติ น

1.5 การปฏิบัตติ ามกฎ ระเบียบหลกั เกณฑ์ทเี่ ก่ียวข้องกบั ความเปน็ ขา้ ราชการครู

ขา้ พเจ้าปฏบิ ตั ิตนตามกฎหมายและกระทาตนให้
เปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและสังคม โดยใชเ้ หตผุ ลและ
วจิ ารณญาณในการตัดสนิ ใจเลอื กปฏบิ ตั ิหน้าทท่ี ่ี
ไดร้ บั มอบหมายจนบรรลเุ ปา้ หมายหน้าทขี่ ้าราชการ
ในฐานะเป็นพลเมอื งทดี่ ี ยดึ มั่นในหลกั ศลี ธรรมและ
คุณธรรมทางพระพทุ ธศาสนาในการช่วยเหลอื ผู้อนื่

ดา้ นการปฏบิ ัตติ น

1.6 การปฏิบตั ิตามกฎหมาย

ขา้ พเจ้ารักษาวินัยทีเ่ ป็นข้อหา้ มและขอ้ ข้อปฏิบตั ิ
อยา่ งเคร่งครดั อยู่เสมอ โดยศึกษาพระราชบญั ญัติ
ระเบียบข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
พ.ศ. 2547 เพื่อเตือนตนมิให้กระทาความผดิ ทางวินัย
ราชการ

ดา้ นการปฏบิ ตั ติ น

2. คุณธรรม จรยิ ธรรม

2.1 การปฏิบตั ติ นตามหลกั ศาสนาที่นับถืออย่างเครง่ ครดั

ข้าพเจา้ ปฏบิ ตั ติ นเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม
เพื่อการเป็นครทู ี่ประกอบด้วยคุณงามและความดี
ซึง่ กระทาดว้ ยความสานึกในจิตใจ เช่น มีการยดึ
หลักธรรมพรหมวหิ าร 4

1. เมตตาต่อศิษย์ 2. มคี วามกรณุ าตอ่ ศิษย์
3. มมี ุฑติ าจติ 4. มอี เุ บกขา

ด้านการปฏิบัติตน

2.2 การเข้าร่วม ส่งเสรมิ สนับสนนุ ศาสนกจิ ของศาสนาท่นี ับถอื อยา่ งสมา่ เสมอ

ขา้ พเจ้าดารงตนตามหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา
และปฏิบตั ิตามขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจน
คา่ นิยมของสังคม ทาให้ขา้ พเจา้ สามารถอย่รู ่วมกบั
ผูอ้ นื่ ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ

ด้านการปฏบิ ัตติ น

2.3 การเหน็ ความสาคญั เขา้ รว่ ม สง่ เสรมิ สนบั สนุน เคารพกิจกรรมท่แี สดงถงึ จารตี
ประเพณี วฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ หรือชมุ ชน

ข้าพเจ้ามคี วามยินดใี ห้ความรว่ มมอื กับผู้ปกครอง
และชมุ ชนในกิจกรรมต่าง ๆ ทช่ี มุ ชนจัดขึน เชน่
วันเข้าพรรษา วันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนา ฯลฯ

ด้านการปฏบิ ตั ติ น

2.4 การเห็นความสาคญั เข้าร่วม ส่งเสรมิ สนบั สนุน กิจกรรมท่ีแสดงถึง จารีต
ประเพณี วฒั นธรรมของชาติ

ขา้ พเจา้ เคารพธงชาตแิ ละร่วมพิธีกรรมหน้าเสาธงทกุ
เชา้ มไิ ดข้ าด จนเปน็ ทปี่ ระจักษแ์ กส่ ายตาของผเู้ รียน
และเพื่อนรว่ มงาน แต่งกายชุดพืนเมืองรกั ษา
ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย

ด้านการปฏบิ ัติตน

2.5 การมีจติ บริการและจติ สาธารณะ

ขา้ พเจา้ มคี วามเตม็ ใจทีจ่ ะให้บริการแกผ่ ปู้ กครอง
ผู้เรียนทมี่ าตดิ ต่อราชการกบั ทางโรงเรียนดว้ ยความ
เตม็ ใจและมจี ิตอาสาในการร่วมงานกบั ทางชมุ ชน

ดา้ นการปฏบิ ัติตน

2.6 การต่อต้านการกระทาของบุคคลหรอื กลุ่มบคุ คลท่ีส่งผลต่อความม่ันคงของชาติ
หรือผลกระทบเชงิ ลบต่อสงั คมโดยรวม

ข้าพเจ้ายดึ มน่ั ในหลักธรรมคาสอนของ
พระพุทธศาสนาและเป็นแบบอย่างท่ดี ีใหแ้ ก่ศิษย์
เพอ่ื นรว่ มงาน และบุคคลอ่ืน ๆ
ดารงชีพตามสายกลาง

ดา้ นการปฏิบตั ิตน

3. จรรยาบรรณวชิ าชีพครู

3.1 การพัฒนาวิชาชพี และบุคลกิ ภาพอยา่ งต่อเน่อื ง

ข้าพเจา้ ปฏบิ ัตติ นเหมาะสมกบั ความเป็นครู
ตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครู และมีการพัฒนาตนจน
เป็นที่ยอมรับในสถานศกึ ษา วา่ เปน็ ผู้ทปี่ ระพฤติ
ปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณวชิ าชพี

ด้านการปฏิบตั ิตน

3.2 การมีวิสัยทศั น์ รู้และเข้าใจ สนใจ ตดิ ตามความเปลย่ี นแปลงดา้ นวทิ ยาการ
เศรษฐกจิ สงั คม การเมืองของไทย และนานาชาติในปจั จบุ นั

ข้าพเจา้ มุ่งหวงั ความเจริญกา้ วหนา้ โดยกาหนด
เป้าหมายในการปฏบิ ัติงาน และการศกึ ษาตอ่
โดยมกี ารติดตามข่าวการเคลื่อนไหวทางการศกึ ษาใน
เรอ่ื งความกา้ วหน้าในวิชาชีพอยู่เสมอ
เพอ่ื จะได้นามาวางแผนและปรับตัว
เพ่ือความก้าวหนา้ ในวิชาชพี

ด้านการปฏิบัติตน

3.3 การไม่อาศัยวิชาชีพแสวงหาผลประโยชน์ท่ไี มถ่ ูกตอ้ ง

ข้าพเจา้ เหน็ คุณคา่ และความสาคัญของการเปน็ ครทู ี่
ดีอยู่เสมอ โดยมีความรกั และศรทั ธาในวิชาชีพครู
พงึ กระทาตนใหเ้ ปน็ แบบอยา่ งท่ดี ีตอ่ ศษิ ย์ทงั ทางตรง
และทางอ้อม

ดา้ นการปฏบิ ตั ติ น

3.4 การมงุ่ มน่ั ต่อการพัฒนาความรู้ความสามารถของผูเ้ รียน

ข้าพเจ้ามงุ่ มั่นในการทางาน โดยไมม่ คี วามยอ่ ทอ้ ตอ่
ปญั หาและอปุ สรรคทีเ่ กิดขนึ เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายท่ี
กาหนดไว้

ด้านการปฏบิ ัตติ น

3.5 การใหค้ วามสาคัญตอ่ การเขา้ รว่ ม ส่งเสรมิ สนับสนุนกจิ กรรมที่เกีย่ วข้องกับ
วชิ าชีพครูอย่างสมา่ เสมอ

ข้าพเจ้าเข้าร่วมการประชุม/การอบรม ความรทู้ ี่
เกี่ยวขอ้ งกบั การศึกษาอยเู่ สมอ เมอ่ื เสร็จสินการจัด
กจิ กรรม ขา้ พเจา้ ทาการบันทึกและสรุปผลการเขา้
ร่วมกจิ กรรม นาความรู้ทไี่ ดร้ ับมาพัฒนาตนเองและ
ผูเ้ รียน และรายงานผลใหผ้ ู้บริหารรบั ทราบอยูเ่ สมอ

ด้านการปฏบิ ัติตน

3.6 รกั เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลือ สง่ เสรมิ สนับสนุน ใหบ้ รกิ ารผเู้ รยี นทกุ คน
ด้วยความเสมอภาค

ขา้ พเจ้ามคี วามรกั และศรทั ธาในวิชาชพี ครู
พึงกระทาตนใหเ้ ป็นแบบอยา่ งทดี่ ตี ่อศษิ ยท์ ังทางตรง
และทางออ้ ม ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ชว่ ยเหลือศษิ ย์
เสมอมา

ดา้ นการปฏิบตั ติ น

3.7 การประพฤตปิ ฏิบตั ิตนเปน็ ที่ยอมรับของผูเ้ รียน ผบู้ ริหาร เพ่อื นรว่ มงาน
ผปู้ กครอง ชมุ ชน

ข้าพเจ้าดารงตนดว้ ยความสุภาพออ่ นน้อม สารวมใน
กริ ิยามารยาท และการแสดงออกด้วยปยิ วาจา
แต่งกายสะอาด เรยี บร้อย และถูกกาลเทศะ

ด้านการปฏิบตั ติ น
3.8 การไม่ปฏบิ ัตติ นที่สง่ ผลเชงิ ลบต่อกายและใจของผ้เู รียน

ขา้ พเจา้ ปฏบิ ัตติ นตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูอย่าง
เครง่ ครดั

ดา้ นการปฏิบัตติ น

3.9 การทางานกับผู้อ่นื ไดโ้ ดยยึดหลักความสามัคคี เก้อื กูลซง่ึ กนั และกนั

ขา้ พเจา้ ปฏบิ ตั งิ านต่างๆ ทที่ างสถานศึกษา
มอบหมาย ใหค้ วามร่วมมอื กับ คณะครู ในการทา
กจิ กรรมต่าง ๆ ทงั ใน และนอกสถานศึกษาด้วยความ
เต็มใจ

ด้านการปฏิบตั ิตน

3.10 การใช้ความรู้ความสามารถทมี่ อี ยู่ นาใหเ้ กิดความเปล่ยี นแปลงในทางพัฒนา
ให้กบั ผู้เรยี น โรงเรียนหรือชุมชนในด้านใดด้านหน่งึ (ดา้ นการอนรุ กั ษ์ศิลปวฒั นธรรม
ภมู ิปญั ญา และสิง่ แวดลอ้ ม)

ขา้ พเจ้าตังใจปฏบิ ัติหน้าทีใ่ นการถา่ ยทอดความรู้
ทกั ษะทต่ี นเองมใี หก้ ับผู้เรียนโดยมไิ ด้ปดิ บงั
พยายามศกึ ษาคน้ คว้าหาความรเู้ พ่ิมเติมเพื่อพัฒนา
ตนเอง ตดิ ตามข่าวสาร และเขา้ อบรมเทคนคิ ใหมๆ่
นามาช่วยพฒั นาการเรียนการสอน ให้กับผเู้ รียน
เพื่อใหผ้ ้เู รยี นเปน็ บุคคลที่มีความรู้ ทักษะ และทนั ตอ่
เหตุการณ์ สามารถนาความรูท้ ไ่ี ด้ไปพฒั นาชุมชน
และท้องถนิ่

ด้านการปฏบิ ตั ติ น

3.11 การยึดมน่ั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็
ประมุข

ขา้ พเจ้ามคี วามจงรกั ภักดีต่อ สถาบันชาติ ศาสนา
และพระมหากษัตรยิ ์ ยดึ มนั่ ในการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตย โดยมพี ระมหากษัตรยิ ์ เป็นประมขุ
ประพฤตติ นใหเ้ ป็นสมาชกิ ที่ ดขี องสังคมและมจี ิต
สาธารณะมีความ รับผดิ ชอบตอ่ สงั คม โดยชว่ ยเหลอื
เพอื่ น ร่วมงานโดยไม่หวงั ผลประโยชน์และสง่ิ
ตอบแทนใด ๆ ทังสิน

ด้านการปฏิบตั ติ น

4. การดารงชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

4.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ขา้ พเจา้ ตระหนกั ถึงคุณคา่ ของการดาเนนิ ชวี ิตตาม
หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง และพยายามน้อมนาหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นชวี ิตประจาวนั
เพอ่ื ความผาสุกของตนเองในปจั จบุ ันและอนาคต

ดา้ นการปฏบิ ตั ติ น

4.2 มีการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรบั ประยกุ ตใ์ ช้กับการจดั การ
เรยี นรู้ในหอ้ งเรยี น

ขา้ พเจา้ นาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมา
สอดแทรกในใบงานของผเู้ รยี น พบว่าผเู้ รยี นมี
ความรูค้ วามเขา้ ใจในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง สามารถนาหลกั ของความพอเพียง
คือพอประมาณ มีเหตผุ ล มภี มู ิคมุ้ กนั ท่ีดใี นตวั
บนเงื่อนไขของความรูค้ คู่ ณุ ธรรม ผเู้ รยี นนาไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้

ด้านการปฏิบตั ิตน

4.3 มีการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรบั ประยุกต์ใช้กับภารกิจท่ีได้รบั
มอบหมายอนื่

ขา้ พเจ้าดาเนนิ ชีวิตโดยยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งมาเปน็ แนวทางในการทางานใหม้ ี
ประสิทธิภาพ

ดา้ นการปฏบิ ตั ติ น

4.4 มีการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรบั ประยกุ ตใ์ ช้กบั การดารงชวี ติ
ของตนเอง

ข้าพเจ้าดาเนนิ ชีวติ โดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงของในหลวงรัชกาลท่ี 9 เป็นแนวทางในการ
ดาเนนิ ชีวติ

ดา้ นการปฏิบัติตน

4.5 เปน็ แบบอย่างในการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรับประยกุ ตใ์ ชก้ ับ
ภารกิจตา่ ง ๆ หรอื การดารงชวี ิตของตน

ข้าพเจา้ ปฏิบัติตนเปน็ แบบอย่างท่ดี แี กล่ ูกศิษย์
ใช้ชวี ิตบนสายกลาง ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงมาใชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ และเปน็ ผู้ใฝร่ ู้
ใฝ่เรียน และใฝพ่ ฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง

ดา้ นการปฏิบตั ติ น

5. จิตวญิ ญาณความเปน็ ครู

5.1 การเขา้ สอนตรงเวลาและสอนเต็มเวลา

ข้าพเจ้าปฏบิ ัตหิ น้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมายอยา่ งเตม็
ความสามารถ เตม็ เวลา เอาใจใส่ต่อการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี
อย่างสม่าเสมอ โดยมีการวางแผนการสอนลว่ งหน้า
จดั ทา และจัดหาสือ่ จดั กิจกรรมโดยเน้นผ้เู รียนเปน็
สาคัญ ไมล่ ะทิงการสอนกลางคัน มีการปรับปรงุ
พฒั นางานการสอนอยู่เสมอ

ด้านการปฏบิ ตั ติ น

5.2 การตระหนกั ในความรู้ และทกั ษะท่ถี ูกตอ้ งรวมถงึ สิ่งท่ดี ี ๆ ใหก้ ับผ้เู รียน

ขา้ พเจ้ารแู้ ละตระหนักในหนา้ ทข่ี องครู ดังนี
1. งานการจดั การเรียนรู้
2. งานครู
3. งานนักศกึ ษา

ด้านการปฏิบตั ติ น

5.3 การสร้างความเสมอภาคเปน็ ธรรมกับผเู้ รียนทกุ คน

ขา้ พเจา้ พยายามเรยี นรแู้ ละศึกษาผู้เรียนเปน็
รายบคุ คล เพื่อจะได้ทราบความต้องการ สภาพสงั คม
เศรษฐกิจ ครอบครัวของผ้เู รียนเปน็ รายบุคคล
แล้วนาผลที่ได้ไปใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการ
สอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนเป็นรายบุคคล
ทาใหผ้ ้เู รียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นทีด่ ขี ึน

ดา้ นการปฏิบัติตน

5.4 การรูจ้ กั ใหอ้ ภัย ปราศจาก อคติ ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ สนบั สนุน ใหผ้ ูเ้ รยี นประสบ
ความสาเรจ็ ตามศกั ยภาพ ความสนใจหรือ ความตง้ั ใจ

ข้าพเจ้าตังใจปฏบิ ตั หิ น้าท่ใี นการถา่ ยทอดความรู้
ให้แก่ผูเ้ รียน เพือ่ ให้ผเู้ รียนประสบความสาเร็จ
ตามศักยภาพ ความสนใจหรอื ความตงั ใจ

ด้านการปฏบิ ตั ิตน

5.5 การเปน็ ที่พึง่ ใหก้ บั ผ้เู รยี นได้ตลอดเวลา

ขา้ พเจา้ เสียสละเวลาตนเอง มีความมุ่งมานะและคอย
ช่วยเหลือ เปน็ ที่ปรกึ ษาเก่ียวกับปัญหาของผูเ้ รยี นใน
ดา้ นต่าง ๆ เป็นกาลงั ใจและให้คาแนะนาเสมอมา

ด้านการปฏบิ ัตติ น

5.6 การจดั กิจกรรมส่งเสริม การใฝร่ ู้ ค้นหา สรา้ งสรรค์ ถ่ายทอด ปลูกฝงั และเป็น
แบบอย่างทด่ี ีของผ้เู รียน

ขา้ พเจา้ ปฏิบตั หิ น้าทด่ี ้วยจิตวญิ ญาณเป็นการทา
หนา้ ท่ดี ้วยใจซ่ึงทาใหเ้ กดิ ความรกั ศรัทธาและยึดมัน่
ในอุดมการณแ์ ห่งวิชาชพี มุง่ มนั่ ทมุ่ เทในการทางาน
ประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งที่ดี เอาใจใส่ ดแู ลและหวงั
ดีตอ่ ศิษย์

ดา้ นการปฏบิ ตั ิตน

5.7 การทมุ่ เทเสยี สละในการจัดการเรยี นรใู้ ห้กบั ผเู้ รียน

ข้าพเจ้าอุทิศเวลาให้กบั ราชการ ไม่ว่าการสอนนันจะ
อยู่ในเวลาราชการหรอื นอกเวลาราชการ จนกว่า
ผ้เู รียนจะมีความร้อู ยา่ งเตม็ เป่ยี ม เสียสละทังเวลา
และทุนทรัพย์ เพ่อื ผลจะเกดิ กับผ้เู รียนและสังคม

ดา้ นการปฏบิ ตั ติ น

6. จติ สานึกความรับผดิ ชอบในวิชาชพี

6.1 การมีเจตคตเิ ชิงบวกกบั วิชาชพี

ขา้ พเจา้ ปฏบิ ตั ติ นดงั นี
1. มคี วามจงรักภกั ดี ต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตรยิ ์
2. ยดึ ม่นั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
โดยมพี ระมหากษัตริย์เปน็ ประมุข

ดา้ นการปฏบิ ัตติ น

6.2 การมุง่ มนั่ ท่มุ เทในการสร้างสรรค์ นวตั กรรมใหม่ ๆ เพื่อให้เกดิ การพัฒนา
วชิ าชีพและใหส้ ังคมยอมรับ

ขา้ พเจ้าพยายามศึกษาหาความรูเ้ พิ่มเตมิ อยเู่ สมอ
จากแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หนงั สือ สือ่ ส่ิงพิมพ์
โทรทศั น์ อนิ เทอร์เน็ต เป็นต้น เพ่ือนาความรมู้ าผลติ
ส่อื การสอนและนามาพัฒนาวชิ าชพี ต่อไป


Click to View FlipBook Version