รายงานการพิจารณาศกึ ษา
เรอ่ื ง
ความพรอมดานศกั ยภาพของการพฒั นาทาเรือนํ้าลึก
ภูเก็ตในการเปนทาเรอื ตนทาง (Home Port)
สําหรบั เรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก
(Small Luxury Cruise)
ของ
คณะกรรมาธิการการทองเท่ยี ว
วุฒสิ ภา
สาํ นักกรรมาธิการ ๓
สํานักงานเลขาธิการวฒุ ิสภา
(สําเนา)
บันทึกขอ ความ
สวนราชการ คณะกรรมาธกิ ารการทอ งเทยี่ ว วฒุ ิสภา โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๒๑๓ - ๔
ท่ี สว ๐๐๑๙.๑๙/(ร ๒๔) วันที่ มิถนุ ายน ๒๕๖๕
เรือ่ ง รายงานการพิจารณาศึกษา เร่ือง ความพรอมดานศักยภาพของการพัฒนาทาเรือน้าํ ลึกภูเก็ต
ในการเปนทาเรือตนทาง (Home Port) สําหรับเรือสาํ ราญหรูหราขนาดเล็ก
(Small Luxury Cruise)
กราบเรียน ประธานวฒุ สิ ภา
ดวยในคราวประชุมวุฒิ สภา คร้ังที่ ๑๗ (สมัยสามัญประจําปคร้ังท่ีหน่ึง) วันอังคารท่ี
๑๐ กันยายน ๒๕๖๒ ท่ีประชุมไดมีมติตั้งคณะกรรมาธิการสามัญประจําวุฒิสภาตามขอบังคับ
การประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๗๘ วรรคสอง (๘) ซึ่งคณะกรรมาธิการการทองเที่ยว วุฒิสภา
เปนคณะกรรมาธิการสามัญประจําวุฒิสภาคณะหน่ึง โดยมีหนาที่และอํานาจเก่ียวกับการพิจารณา
รางพระราชบัญญัติ กระทํากิจการ พิจารณาสอบหาขอเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ ท่ีเก่ียวกับ
การสงเสริมและพัฒนาการทองเที่ยว การสรางความหลากหลายและคุณภาพดานการทองเที่ยว รวมท้ัง
ศกึ ษาปญหาและอุปสรรคของการพฒั นาการทองเที่ยวของไทยทั้งในประเทศและตางประเทศ พิจารณา
ศึกษา ติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูปประเทศและแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ
ท่ีอยใู นหนาที่และอาํ นาจ และอื่น ๆ ทเ่ี ก่ียวของ ซึง่ คณะกรรมาธกิ ารคณะน้ี ประกอบดวย
๑. พลเอก ธนะศกั ดิ์ ปฏิมาประกร ประธานคณะกรรมาธิการ
๒. พลอากาศเอก อดศิ กั ดิ์ กลั่นเสนาะ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนทห่ี น่ึง
๓. พลเรอื เอก ชมุ นมุ อาจวงษ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทส่ี อง
๔. พลเอก โปฎก บุนนาค รองประธานคณะกรรมาธิการ คนทสี่ าม
๕. นางฉวรี ัตน เกษตรสุนทร รองประธานคณะกรรมาธิการ คนท่ีส่ี
๖. พลเรือเอก อทิ ธิคมน ภมรสตู เลขานุการคณะกรรมาธิการ
๗. พลเอก บุญธรรม โอรสิ รองเลขานกุ ารคณะกรรมาธิการ
๘. นายอนศุ กั ด์ิ คงมาลัย โฆษกคณะกรรมาธกิ าร
๙. พลเอก พิศณุ พทุ ธวงศ รองโฆษกคณะกรรมาธิการ
๑๐. พลเอก ไพโรจน พานชิ สมัย ประธานทปี่ รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร
๑๑. นายชลิต แกวจนิ ดา ทป่ี รึกษาคณะกรรมาธกิ าร
๑๒. พลเอก ชยตุ ิ สุวรรณมาศ ท่ปี รกึ ษาคณะกรรมาธิการ
๑๓. พลอากาศเอก ชยั พฤกษ ดิษยะศรนิ กรรมาธกิ าร
๑๔. พลเอก นาวนิ ...
-๒-
๑๔. พลเอก นาวิน ดาํ รกิ าญจน กรรมาธิการ
๑๕. รอยเอก ประยทุ ธ เสาวคนธ กรรมาธิการ
๑๖. นายปญญา งานเลิศ กรรมาธกิ าร
๑๗. นายไพโรจน พว งทอง กรรมาธกิ าร
๑๘. พลตํารวจโท วิบูลย บางทาไม กรรมาธิการ
๑๙. พลเอก ศภุ รัตน พฒั นาวสิ ทุ ธิ์ กรรมาธิการ
อน่ึง เม่ือวันอังคารท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ พลอากาศเอก ชยั พฤกษ ดิษยะศริน พนจากตําแหนง
เนื่องจากเกษียณอายุราชการ และในคราวประชุมวุฒิสภา คร้ังท่ี ๑๘ (สมัยสามัญประจําปคร้ังท่ีสอง)
วนั อังคารที่ ๑๑ กุมภาพันธ ๒๕๖๓ ที่ประชุมไดมีมติต้ัง พลเอก ปรีชา จันทรโอชา เปนกรรมาธิการสามัญ
ในคณะกรรมาธกิ ารการทอ งเที่ยว แทนตําแหนง ทวี่ าง
ปจจุบันคณะกรรมาธกิ าร ประกอบดวย
๑. พลเอก ธนะศักด์ิ ปฏิมาประกร ประธานคณะกรรมาธิการ
๒. พลอากาศเอก อดิศักดิ์ กล่นั เสนาะ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนทห่ี น่งึ
๓. พลเรือเอก ชุมนุม อาจวงษ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทส่ี อง
๔. พลเอก โปฎก บนุ นาค รองประธานคณะกรรมาธิการ คนทส่ี าม
๕. นางฉวีรตั น เกษตรสุนทร รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่ส่ี
๖. พลเรอื เอก อิทธคิ มน ภมรสตู เลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร
๗. พลเอก บุญธรรม โอรสิ รองเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร
๘. นายอนศุ กั ดิ์ คงมาลัย โฆษกคณะกรรมาธกิ าร
๙. พลเอก พิศณุ พุทธวงศ รองโฆษกคณะกรรมาธกิ าร
๑๐. พลเอก ไพโรจน พานชิ สมยั ประธานทป่ี รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร
๑๑. นายชลิต แกว จนิ ดา ทปี่ รกึ ษาคณะกรรมาธิการ
๑๒. พลเอก ชยุติ สวุ รรณมาศ ท่ีปรกึ ษาคณะกรรมาธิการ
๑๓. พลเอก นาวิน ดํารกิ าญจน กรรมาธกิ าร
๑๔. รอ ยเอก ประยุทธ เสาวคนธ กรรมาธกิ าร
๑๕. พลเอก ปรีชา จนั ทรโอชา กรรมาธิการ
๑๖. นายปญญา งานเลศิ กรรมาธิการ
๑๗. นายไพโรจน พวงทอง กรรมาธิการ
๑๘. พลตาํ รวจโท วบิ ลู ย บางทา ไม กรรมาธกิ าร
๑๙. พลเอก ศภุ รตั น พฒั นาวสิ ทุ ธ์ิ กรรมาธกิ าร
บัดน้ี คณะกรรมาธิการ...
-๓-
บัดนี้ คณะกรรมาธิการไดดําเนินการพิจารณาศึกษา เร่ือง ความพรอมดานศักยภาพ
ของการพัฒนาทาเรือนา้ํ ลึกภเู ก็ตในการเปนทาเรือตนทาง (Home Port) สําหรับเรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก
(Small Luxury Cruise) เสร็จเรียบรอยแลว จึงขอรายงานผลการพิจารณาศึกษาเรื่องดังกลาวตอวุฒิสภา
ตามขอบังคับการประชุมวุฒสิ ภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๙๘
จึงกราบเรียนมาเพื่อโปรดทราบและนําเสนอรายงานของคณะกรรมาธิการตอที่ประชุม
วฒุ ิสภาตอ ไป
(ลงช่ือ) พลเอก ธนะศกั ดิ์ ปฏิมาประกร
(ธนะศกั ดิ์ ปฏิมาประกร)
ประธานคณะกรรมาธกิ ารการทอ งเทยี่ ว
วฒุ ิสภา
สําเนาถูกตอง สาํ เนาถกู ตอง
(นางสาวเกศชนก เสยี งเปรม) (นางสาวสดุ ารตั น หมวดอนิ ทร)
ผชู ว ยเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารสามญั ผูชวยเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารสามญั
สาํ นักกรรมาธกิ าร ๓ สวา งใจ พิมพ
ฝายเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารการทองเทยี่ ว เกศชนก/สวา งใจ/จิตตมิ า ทาน
โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๒๑๓ - ๔
รายชอ่ื คณะกรรมาธิการการทองเทยี่ ว วฒุ ิสภา
พลเอก ธนะศกั ดิ์ ปฏมิ าประกร
ประธานคณะกรรมาธกิ าร
พลอากาศเอก อดิศกั ด์ิ กลน่ั เสนาะ พลเรือเอก ชมุ นมุ อาจวงษ
รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทห่ี นง่ึ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนที่สอง
พลเอก โปฎก บุนนาค นางฉวีรตั น เกษตรสนุ ทร
รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่สี าม รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่สี ี่
พลเรือเอก อทิ ธคิ มน ภมรสตู พลเอก บุญธรรม โอรสิ
เลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร รองเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร
นายอนุศักดิ์ คงมาลัย พลเอก พศิ ณุ พุทธวงศ
โฆษกคณะกรรมาธิการ รองโฆษกคณะกรรมาธกิ าร
ข
พลเอก ไพโรจน พานชิ สมยั นายชลติ แกว จินดา
ประธานท่ปี รกึ ษาคณะกรรมาธกิ าร ทีป่ รึกษาคณะกรรมาธกิ าร
พลเอก ชยตุ ิ สุวรรณมาศ พลเอก นาวิน ดาํ ริกาญจน
ท่ีปรึกษาคณะกรรมาธกิ าร กรรมาธิการ
รอ ยเอก ประยทุ ธ เสาวคนธ พลเอก ปรชี า จนั ทรโ อชา
กรรมาธิการ กรรมาธิการ
นายปญญา งานเลศิ นายไพโรจน พวงทอง
กรรมาธิการ กรรมาธกิ าร
พลตํารวจโท วบิ ลู ย บางทาไม พลเอก ศภุ รตั น พฒั นาวสิ ทุ ธ์ิ
กรรมาธิการ กรรมาธิการ
รายชอื่ คณะอนุกรรมาธิการพจิ ารณาศกึ ษาการพฒั นาคณุ ภาพการทองเท่ยี วทางนา้ํ และอืน่ ๆ
ในคณะกรรมาธิการการทองเท่ยี ว วุฒสิ ภา
พลเรือเอก ชมุ นมุ อาจวงษ
ประธานคณะอนุกรรมาธกิ าร
พลเอก บญุ ธรรม โอรสิ พลเรือเอก อทิ ธิคมน ภมรสูต พลเอก ชยตุ ิ สุวรรณมาศ
รองประธานคณะอนกุ รรมาธิการ คนที่หนึง่ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนท่สี อง รองประธานคณะอนกุ รรมาธิการ คนทีส่ าม
นางสาวณัชชาวลี วาณชิ ยส รุ างค นายนันทชัย โรจนว รรณสนิ ธุ นายสุรวชั อคั รวรมาศ นาวาเอก หนง่ึ กาญจนมั พะ
อนุกรรมาธกิ าร อนุกรรมาธกิ าร อนุกรรมาธกิ าร อนกุ รรมาธกิ าร
พลเรอื เอก จุมพล ลมุ พกิ านนท นางปฏมิ า ตนั ติคมน นายอภิชาติ พัชรภิญโญพงศ พลเรือตรหี ญิง ภณนิ ททิพย สาตราภยั
อนกุ รรมาธิการ อนุกรรมาธกิ าร อนุกรรมาธกิ าร อนกุ รรมาธิการและเลขานุการ
นายพลวตั ณ นคร นางกลั ยาณี ธรรมจารีย นายวัฒนา โชคสวุ ณชิ นายพิพัฒนชยั จันทรเรอื ง
ท่ีปรกึ ษาคณะอนุกรรมาธิการ ที่ปรกึ ษาคณะอนกุ รรมาธิการ ทีป่ รึกษาคณะอนุกรรมาธิการ ทีป่ รกึ ษาคณะอนกุ รรมาธิการ
(ก)
รายงานการพิจารณาศึกษา
เร่ือง ความพรอ มดา นศักยภาพของการพัฒนาทา เรอื นา้ํ ลกึ ภเู กต็
ในการเปน ทา เรอื ตน ทาง (Home Port) สาํ หรับเรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก (Small Luxury Cruise)
ของคณะกรรมาธกิ ารการทอ งเทีย่ ว วฒุ ิสภา
..........................................
ดวยในคราวประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๗/๒๕๖๒ (สมัยสามัญประจําปครั้งท่ีหน่ึง)
วันอังคารที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๖๒ ท่ีประชุมวุฒิสภาไดลงมติต้ังคณะกรรมาธิการสามัญประจําวุฒิสภา
ตามขอบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๗๘ วรรคสอง (๘) ซ่ึงคณะกรรมาธกิ ารการทองเที่ยว
วุฒิสภา เปนคณะกรรมาธิการสามัญประจําวุฒิสภาคณะหน่ึง โดยมีหนาท่ีและอํานาจเกี่ยวกับ
การพิจารณารางพระราชบัญญัติ กระทํากิจการ พิจารณาสอบหาขอเท็จจริง หรือศึกษาเร่ืองใด ๆ
ท่ีเกี่ยวกับการสงเสริมและพัฒนาการทองเที่ยว การสรางความหลากหลายและคุณภาพดานการทองเที่ยว
รวมท้ังศึกษาปญหาและอุปสรรคของการพัฒนาการทองเที่ยวของไทย ทั้งในประเทศและตางประเทศ
พิจารณาศึกษา ติดตาม เสนอแนะ และเรงรัดการปฏิรูปประเทศและแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ
ที่อยูในหนา ทแ่ี ละอํานาจ และอืน่ ๆ ท่ีเกี่ยวขอ ง
บัดน้ี คณะกรรมาธิการไดดําเนินการพิจารณาศึกษา เร่ือง ความพรอมดานศักยภาพ
ของการพฒั นาทาเรือนํ้าลึกภูเกต็ ในการเปนทาเรือตน ทาง (Home Port) สําหรับเรือสาํ ราญหรูหราขนาดเล็ก
(Small Luxury Cruise) เสร็จเรียบรอยแลว จึงขอรายงานผลการพิจารณาศึกษาเรื่องดังกลาวตอวุฒิสภา
ตามขอบงั คบั การประชุมวุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๙๘ ดังนี้
๑. การดาํ เนนิ งานของคณะกรรมาธิการ
คณะกรรมาธกิ ารไดด าํ เนินการพจิ ารณาศึกษา ดงั นี้
๑.๑ คณะกรรมาธิการไดมีมติมอบหมายใหคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการทองเท่ียวทางนา้ํ และอ่ืน ๆ ในคณะกรรมาธกิ ารการทองเทยี่ ว วุฒิสภา ทําหนา ท่ี
ดําเนินการศึกษา รวบรวม และจัดทํารายงานการพิจารณาศึกษา ซ่ึงคณะอนุกรรมาธิการคณะน้ี
ประกอบดวย
๑) พลเรอื เอก ชุมนมุ อาจวงษ ประธานคณะอนุกรรมาธกิ าร
๒) พลเอก บญุ ธรรม โอริส รองประธานคณะอนกุ รรมาธกิ าร
คนท่ีหนงึ่
๓) พลเรอื เอก อิทธคิ มน ภมรสตู รองประธานคณะอนกุ รรมาธกิ าร
คนท่ีสอง
๔) พลเอก ชยตุ ิ สวุ รรณมาศ รองประธานคณะอนกุ รรมาธกิ าร
คนที่สาม
๕) นางสาวณชั ชาวีล วาณชิ ยส ุรางค อนกุ รรมาธกิ าร
๖) นายนันทชัย โรจนว รรณสินธุ อนกุ รรมาธิการ
๗) นางปฏมิ า ตนั ติคมน อนุกรรมาธิการ
(ข)
๘) นายสรุ วชั อคั รวรมาศ อนุกรรมาธิการ
๙) นาวาเอก หนง่ึ กาญจนมั พะ อนกุ รรมาธกิ าร
๑๐) นายอภิชาติ พชั รภญิ โญพงศ อนกุ รรมาธกิ าร
๑๑) พลเรือเอก จุมพล ลุมพิกานนท อนุกรรมาธกิ าร
๑๒) พลเรือตรหี ญิง ภณนิ ททพิ ย สาตราภยั อนกุ รรมาธกิ ารและเลขานกุ าร
๑๓) นายพลวตั ณ นคร ทป่ี รึกษาคณะอนุกรรมาธิการ
๑๔) นางกลั ยาณี ธรรมจารีย ทปี่ รกึ ษาคณะอนุกรรมาธกิ าร
๑๕) นายวฒั นา โชคสวุ ณชิ ท่ปี รึกษาคณะอนกุ รรมาธิการ
๑๖) นายพพิ ัฒนชัย จนั ทรเ รือง ทป่ี รกึ ษาคณะอนกุ รรมาธิการ
๑.๒ ที่ประชุมคณะกรรมาธิการไดมีมติแตงตั้ง นางสาวเกศชนก เสียงเปรม
วิทยากรชํานาญการพิเศษ กลุมงานคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพและการคุมครอง
ผูบริโภค และนางสาวสุดารัตน หมวดอินทร วิทยากรชํานาญการพิเศษ กลุมงานคณะกรรมาธิการ
การทองเท่ียว ทําหนาท่ีเปนผูชวยเลขานุการคณะกรรมาธิการตามขอบังคับการประชุมวุฒิสภา
พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอ ๘๗
๒. วธิ กี ารพิจารณาศกึ ษา
๒.๑ คณะกรรมาธิการมอบหมายใหคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการทองเที่ยวทางน้ํา และอ่ืน ๆ ดําเนินการศึกษา รวบรวม และจัดทํารายงาน
การพจิ ารณาศึกษา
๒.๒ คณะกรรมาธิการไดดําเนินการโดยเชิญหนวยงานท่ีเกี่ยวของมาใหขอมูล
ขอเท็จจริง ดังนี้
สํานกั นายกรัฐมนตรี
ศูนยรกั ษาผลประโยชนข องชาตทิ างทะเลภาค 3
๑) พลเรอื ตรี ทินกร กาญจนเตมีย ผูอาํ นวยการศูนยร ักษาผลประโยชน
ของชาตทิ างทะเล ภาค 3
๒) พลเรอื ตรี สุชาติ เปรมประเสรฐิ รองผอู าํ นวยการศนู ยร กั ษา
ผลประโยชนของชาติทางทะเล ภาค ๓
๓) นาวาเอก อนิรจุ น เวยี งเกลา หวั หนา กลุมวางแผนสงู ในการรักษา
ผลประโยชนข องชาติทางทะเล ภาค ๓
สถาบันคณุ วฒุ ิวิชาชพี (องคการมหาชน)
๑) นางสาววรชนาธปิ จันทนู รองผูอาํ นวยการสถาบนั คณุ วุฒิวชิ าชีพ
๒) นายวรกันต ทักขญิ เสถยี ร นักวชิ าการมาตรฐานวิชาชพี
กระทรวงการคลัง
กรมสรรพากร
1) นางสาวเสาวคนธ มแี สง ผอู ํานวยการกองวิชาการแผนภาษี
2) นางสาวจิตรา พงษพานชิ นกั วชิ าการภาษเี ชย่ี วชาญ
๓) นายเสรมิ ศักด์ิ มัยญะกติ นติ กิ รชาํ นาญการพิเศษ
(ค)
๔) นางสาวสกุ านดา พลอยสองแสง นกั วชิ าการภาษชี ํานาญการพิเศษ
๕) นางสาวภาวณี บํารุงศรี นกั วิชาการสรรพากรชาํ นาญการพิเศษ
๖) นางสาวอรณฏั ฐา สบายรปู นติ ิกรปฏิบัตกิ าร
๗) นางสาวฐิตินันท จนิ ดานอม นกั วชิ าการภาษปี ฏิบัติการ
กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา
สาํ นกั งานปลัดกระทรวง
๑) นายบุญเสรมิ ขันแกว รองอธิบดกี รมการทองเทย่ี ว
๒) นางสาวชโลธร สมุ นะเศรษฐกุล หัวหนากลมุ วชิ าการและประสาน
ความรวมมอื กองพฒั นามาตรฐาน
บคุ ลากรดานการทองเทย่ี ว
๓) นางสาวธันยดา ลิ้มศิริ หัวหนากลุมพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐาน
การทองเท่ยี ว กองพฒั นาแหลงทอ งเทีย่ ว
๔) นางสาวอนญั ญา แกนแกว นักวิเคราะหน โยบายและแผน
ชาํ นาญการพเิ ศษ
๕) นางสาววราภรณ มนสั ธรี ภาพ นกั วเิ คราะหน โยบายและแผน
สาํ นกั งานการทองเที่ยวและกีฬาจังหวดั ภเู ก็ต
๑) นายจรูญ แกว มุกดากุล ทองเทีย่ วและกฬี าจังหวัดภเู ก็ต
๒) นายปาฐกรณ แกวมรกต นกั วิเคราะหนโยบายและแผน
ปฏบิ ตั กิ าร
การทอ งเท่ยี วแหง ประเทศไทย
๑) นายสันติ แสวงเจริญ ผอู าํ นวยการการทองเท่ียว
แหง ประเทศไทย สาํ นกั งานนิวยอรก
๒) นางนนั ทศริ ิ รณศริ ิ ผอู ํานวยการการทองเท่ียว
แหงประเทศไทย สํานกั งานภูเกต็
๓) นางสาวปย ะรตั น สุริยะฉาย ผูอาํ นวยการกองสรา งสรรคส นิ คา
การทองเทยี่ ว
๔) นายคมกริช ดว งเงนิ รองผอู ํานวยการฝายสนิ คา
๕) นางสาวณฐภทั ร สขุ ติ านนท หัวหนางานสินคา การทอ งเท่ยี วเชิงมูลคา
๖) นางสาวอชิรญา พทุ ธานี เจาหนาทก่ี ารตลาด
๗) นายชาติ อินทรชูโต เจา หนาทกี่ ารตลาด
๘) นางสาวธรรมภรณ ผะเอม พนักงานงานสนิ คาการทองเทยี่ วเชิงมูลคา
(ง)
กระทรวงคมนาคม
กรมเจาทา
๑) นางสาวภัทรานษิ ฐ ธพี ิพัฒนธาดา หวั หนา กลมุ มาตรฐานหลกั สูตร
กองมาตรฐานคนประจาํ เรอื
๒) นายประกอบ ตรี ถะ เจาพนกั งานตรวจเรอื
กรมทาอากาศยาน
นายสมเกยี รติ มณีสถติ ย รองอธบิ ดกี รมทา อากาศยาน
ดานเศรษฐกจิ
ทาอากาศยานภูเกต็
๑) นายสนุ ทร ศักดาสาวิตร ผูอาํ นวยการทา อากาศยานภเู ก็ต
๒) นายมนสั โสธารัตน รองผูอาํ นวยการทาอากาศยานภเู กต็
ทา อากาศยานกระบี่
นายอรรถพร เน่ืองอดุ ม ผูอํานวยการทา อากาศยานกระบี่
กระทรวงแรงงาน
กรมพฒั นาฝม ือแรงงาน
นายพงศพันธุ ต้งั กิจ ผอู ํานวยการกลมุ งานพัฒนา
วิทยากรตน แบบ
กรมสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน
๑) นายเดชา พฤกษพฒั นรักษ รองอธบิ ดี
๒) นางสาวกนกวรรณ สมภพคารินทร นกั วิชาการแรงงานชํานาญการ
กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวตั กรรม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา
๑) นายอนามยั ดาํ เนตร คณบดคี ณะศลิ ปศาสตรและวทิ ยาศาสตร
๒) นายพรรณศักด์ิ เอย่ี มรกั ษา รองคณบดีฝายวิชาการและพฒั นานิสติ
คณะพาณชิ ยนาวนี านาชาติ
มหาวทิ ยาลัยบรู พา
๑) นางสาววรรณภา อดุ มผล ประธานสาขาวิชาการทอ งเทย่ี ว
และการโรงแรม
๒) นายธนพล อินประเสรฐิ กลุ อาจารยประจาํ คณะการจัดการ
และการทองเทีย่ ว
มหาวิทยาลัยศรปี ทุม
นายนครินทร ทั่งทอง ผูอํานวยการหลักสูตรการจดั การบริการ
ธรุ กจิ เรอื สาํ ราญ
(จ)
สํานกั งานจงั หวดั ภเู กต็
๑) นายพิเชษฐ ปาณะพงศ รองผูวาราชการจงั หวัดภูเก็ต
๒) นางแพรวพรรณ อวมทองดี เจา พนักงานปกครอง
(ปลัดอําเภอเมอื งภเู กต็ )
สํานักงานเทศบาลเมอื งปาตอง
๑) นายธัชพล ขมน้ิ ทอง เลขานุการนายกเทศมนตรีเมอื งปาตอง
๒) นายสมพงศ เจยี มตวั หวั หนางานเทศกิจเทศบาลเมอื งปา ตอง
๓) นายสุเมธ รกั ษาดี เจาหนา ทปี่ ระชาสมั พนั ธ
เทศบาลเมอื งปาตอง
สาํ นกั งานเทศบาลตําบลวิชติ
๑) นายชยั รตั น คมุ บา น เลขานุการนายกเทศมนตรตี าํ บลวิชิต
๒) นายปญ ณวัฒน รกั ทรัพย นติ กิ รเทศบาลตําบลวชิ ติ
กองอาํ นวยการรกั ษาความมนั่ คงภายในจงั หวดั ภูเก็ต
นาวาเอก ศิวดล ผลวงษ รองผูอาํ นวยการกองอาํ นวยการ
รกั ษาความมั่นคงภายในจังหวดั ภเู กต็
สาํ นักงานเจาทาภูมภิ าค สาขาภูเก็ต
๑) นายณชพงศ ประนิตย ผูอํานวยการสํานักงานเจาทาภูมิภาค
สาขาภเู กต็
๒) เรือโท นรินทรชาติ พบิ ูลศภุ พสิ ฐิ เจา พนักงานนาํ รอ งชํานาญการ
๓) นายอมั พร ชาติเพชร หัวหนา ฝา ยแผนท่ี
สํานกั งานเจา ทา ภมู ภิ าคท่ี ๕
๑) นายววิ ธั น ชดิ เชิดวงศ ผอู าํ นวยการสํานักงานเจา ทาภูมิภาคที่ ๕
๒) นายปยะวัชร ทองขาว เจาพนกั งานตรวจทา ชํานาญการ
สาํ นักงานสาธารณสขุ จังหวัดภูเกต็
๑) นายผดงุ เกยี รติ อุทกเสนีย นายแพทยสาธารณสขุ จังหวดั ภเู ก็ต
๒) นางสาวเหมือนแพร บญุ ลอ ม ผอู าํ นวยการโรงพยาบาลปาตอง
๓) นายอมรพทั ย กองพนั ธ หวั หนา ดา นควบคุมโรคตดิ ตอจังหวัดภูเกต็
สํานักงานนาํ รอง สาขาภูเกต็
วาทเ่ี รือตรี นรนิ ทร การสมลาภ หวั หนา กลมุ นาํ รอ งท่ี ๓
กองบงั คับการตาํ รวจทอ งเท่ียว ๓
๑) พันตํารวจเอก พเิ ชษฐพงศ แจงคายคม ผูกาํ กบั การ ๒ กองบงั คับการ
ตํารวจทองเท่ยี ว ๓
๒) พันตาํ รวจโท เอกชยั ศิริ สารวัตรตาํ รวจทองเทีย่ วภูเกต็
๓) สิบตาํ รวจเอก ปารมี เพชรนอ ย ผูบ งั คับหมู กองบงั คับการ
ตํารวจทองเทย่ี ว ๓
(ฉ)
ดานศุลกากรภเู กต็
๑) นางสุทศั นยี สภุ าพันธ นายดา นศลุ กากรภูเกต็
๒) นางสาวณัฐกานต แทนนกิ ร นกั วชิ าการศลุ กากรชํานาญการพิเศษ
สํานักงานสรรพากรพน้ื ท่ภี ูเกต็
๑) นางสาวสุทัตตา หัสนยี นกั ตรวจสอบภาษีชาํ นาญการพิเศษ
๒) นางสาวดุสติ า นากแกว นักตรวจสอบภาษชี ํานาญการ
ดานตรวจคนเขาเมอื งจงั หวัดภเู กต็
๑) พันตาํ รวจเอก ธเนศ สุขชยั ผกู ํากบั การดา นตรวจคนเขา เมือง
จงั หวัดภเู ก็ต
๒) พันตาํ รวจโท คณิศร ตริ ะการ รองผูกํากับการตรวจคนเขาเมือง
จังหวัดภเู กต็
๓) พนั ตาํ รวจโท อนิรุทธ ภัทรวิวัฒน สารวตั รตรวจคนเขา เมอื งจังหวัดภูเก็ต
สถานีตํารวจภูธรวชิ ิต
พันตํารวจโท ไกรษร ชมชื่น รองผกู าํ กับการปองกนั และปราบปราม
สถานีตาํ รวจภธู รวชิ ิต
สถานตี ํารวจภูธรปา ตอง
พันตาํ รวจโท ปรชี า บาริงพัฒนกลู รองผูกํากับการสถานีตาํ รวจภธู รปาตอง
สภาอตุ สาหกรรมทอ งเที่ยวจงั หวดั ภเู กต็
๑) นายธเนศ ตนั ตพิ ริ ยิ ะกจิ ประธานสภาอุตสาหกรรมทอ งเท่ยี ว
จังหวดั ภูเก็ต
๒) นายรังสิมนั ต กิง่ แกว อุปนายกฝายแผน
หอการคา จังหวดั ภเู กต็
๑) นายสัจจพล ทองสม ประธานหอการคาจงั หวดั ภูเกต็
๒) นายพีรพิชญ อองเจริญ กรรมการหอการคาจงั หวดั ภเู ก็ต
๓) นายศรญั กร นาคฤทธกิ ุล เจาหนาทหี่ อการคาจงั หวัดภูเกต็
สมาคมวิชาชีพเรอื สําราญ
๑) นายวรี ะเดช ฤทธิชัย นายกสมาคม
๒) นางวศิ วาณี ไชยวฒั นสกลุ อปุ นายกสมาคม
๓) นายเถลงิ โชค สีดา กรรมการและเหรญั ญกิ
๔) วาท่ีรอยตรีพสิ ดาร แสนชาติ ที่ปรกึ ษาสมาคม
๕) นายวรพงศ คณุ โท เลขาธกิ ารและนายทะเบยี น
บริษัท ภเู กต็ ดีพ ซี พอรต จํากัด
๑) นายประดิษฐ ภัทรประสทิ ธิ์ ประธานเจาหนา ทบี่ รหิ าร
๒) นายวิศรุต ศรโี รจนกุล รองประธานเจา หนา ทบ่ี รหิ าร
๓) นายปรีชา ปานเถ่อื น ผูจัดการ
(ช)
บรษิ ทั เซา ทอ ส๊ี ทเอเซียเทคโนโลยี่ จาํ กัด (SEATEC)
๑) นายสงา ลมิ ธงชยั ผูจัดการโครงการ
๒) นายสมบัติ เหสกุล ผชู วยผจู ดั การโครงการ
๓) นางศนิ นี ารถ โสรจั จาภินนั ท รองกรรมการผูจัดการใหญ
๔) นายวาลิต รักพงษไทย วิศวกรโยธาและโครงสราง
๕) นายสมศกั ด์ิ ทองแกว ผเู ช่ยี วชาญดานส่ิงแวดลอม
๖) นายสมบรู ณ พรมเสน ผูเช่ยี วชาญดานทรพั ยากรดิน
๗) นางธัญยธรณ สงิ หเ รือง นักวชิ าการส่งิ แวดลอ ม
สถาบันวจิ ัยและใหคําปรกึ ษาแหงมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร (TU-RAC)
๑) นางสาวจามรี ยสนิ ทร ผเู ช่ยี วชาญดานเศรษฐศาสตร
การขนสง ทางนา้ํ พาณิชยนาวี
๒) นายมานะ ภัตรพานิช ผูเชยี่ วชาญดานวิศวกรรมทา เรอื
๓) นายวัฒนา โชคสวุ ณชิ ผเู ช่ยี วชาญดานการตลาดธุรกจิ
เรอื สาํ ราญ
๔) นายสมเกียรติ วรปญญาอนันต ผเู ชย่ี วชาญดา นกฎหมาย
เดนิ เรอื ขนสง
๕) นายสทุ ัศน วรรณะเลศิ ผเู ชย่ี วชาญดานบรหิ าร
สายการเดนิ เรือสาํ ราญ
๖) เรือตรี พยงุ เน่อื งคาํ มา ผูเชีย่ วชาญดา นการเดนิ เรือ
บรษิ ัท ออโรรา เทคโนโลยี แอนด เอ็นจเี นียริ่ง คอนซลั แตนส จํากัด (ATEC)
๑) นายสพุ จน จารุลักขณา ผูเช่ียวชาญดา นวิศวกรรมชายฝง
๒) นายพิชยั ทองอทุ ยั ศิริ ผเู ชย่ี วชาญดานประมาณราคา
๓) นายชัยอนันต ทองม่นั ผูเ ช่ียวชาญดานแบบจาํ ลองคณิตศาสตร
บรษิ ัท ซี.ซี.ดับบลวิ จํากัด (CCW)
๑) นายวีรวฒั น พงศธ รพฤทธ์ิ ผูเ ช่ียวชาญดา นสถาปต ยกรรม
๒) นายวชั ระ คณุ พิทกั ษ สถาปนกิ
บรษิ ัท ไพรซ วอเตอรเฮาสคเู ปอรส เอฟเอเอส จาํ กดั (PwC)
๑) นายพนิ ติ ิ ชมสวัสดิ ผจู ดั การฝายกฎหมายและภาษีอากร
๒) นายณฏั ฐ อัสดษิ ฐส กุล ผอู าํ นวยการฝา ยโครงสรา งพนื้ ฐาน
๓) นายสหภัทร วภิ าตวิทย ผจู ดั การฝายโครงสรา งพืน้ ฐาน
๔) นายวรกฤษณ ศิระกฤษณกลุ ท่ีปรกึ ษาฝา ยโครงสรา งพื้นฐาน
บรษิ ทั Princess Cruises จํากดั
Mr. Paul Mifsud ผอู าํ นวยการอาวุโส
บรษิ ัท อี เอ เอส มารไิ ทมเอเยนซี่ (ไทยแลนด) จาํ กดั
นางสาวอโนทัย พงศภมร ผูจ ัดการฝายปฏิบัตกิ ารทางทะเล
(ซ)
บริษทั ทีเอสแอล แนก็ ซโ ก (ประเทศไทย) จํากดั
นายเอนก สถาพรชยั สทิ ธ์ิ กรรมการผจู ัดการ
บรษิ ัท มิลเล่ียนไมล เอเยนซีส จํากัด
นายสัญชยั สงวนเผา กรรมการผจู ดั การ
บรษิ ทั เอสไฟว เอเชีย จํากัด
นายจนิ ทวตั ร หอมขวา ผูจดั การฝา ยปฏบิ ตั ิงาน
หางหุน สวนจาํ กดั ณฐั นรี ซัพพอรต เซอรวิส
นางสาวณฐั นรี สนอลัม ผูจดั การฝา ยปฏบิ ตั งิ าน
บริษัท ซที ัวร (ประเทศไทย) จํากัด
๑) นางสาวฉตั ราพัทร บุญญาวรรณ ผูอาํ นวยการฝา ยนกั ทอ งเทยี่ วขาเขา
๒) นางสาวอรชร สายศรที อง ผจู ัดการฝา ยปฏบิ ตั งิ าน
๓) นางสาวอมศิ รา จนิ ทราน ผูจดั การฝา ยปฏิบัติงาน
๔) นายจักรพัฒน บุญญาวรรณ ผจู ัดการฝา ยปฏิบัตงิ าน
บริษทั อินเตอรครุซย ชอรไซด แอน พอรต เซอรวิส จํากดั
นายวริ นุ บูนนท หวั หนาฝายบริหารซัพพลายเชนไทย
และอนิ โดจนี
บริษัท รเี กล อนิ เตอรเนชนั่ แนล แทรเวล จํากัด
นายจมุ พล ชฎาวตั ร กรรมการผจู ดั การ
บริษทั กาลเิ ลโอ แมรีไทม จํากดั
นางปารวตี ฮ่วั ผูจ ดั การทวั่ ไป ฝา ยการเงิน ฝา ยบุคคล
และฝายความสมั พันธกับหนว ยงาน
ราชการ
บริษทั พัทยา อนิ เตอรเ นชัน่ แนล เซฟตี้ เทรนนิ่ง เซน็ เตอร จํากัด
๑) นายสนุ ันท ประสมรตั น ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร บ ริ ษั ท
๒) นางสาวศรุดา เรอื งปรีชากลุ เจาหนา ท่บี ัญชีการเงินและฝา ยบุคคล
บรษิ ัท RelyOn Nutec Thailand จาํ กัด
๑) Mr. Andrew Graham Peel ผจู ดั การฝา ยปฏิบัตกิ ารและฝกอบรม
๒) นางสาวนา้ํ เพชร พนั ธุพ ิพฒั น ผชู วยผูจ ดั การฝา ยขายและพัฒนาธรุ กิจ
๒.๓ การศึกษาขอมูล เอกสารวิชาการ เอกสารส่ิงพิมพ และสื่อสารสนเทศตาง ๆ
ขอเท็จจริง กฎหมาย ระเบียบ เอกสารจากหนวยงาน เอกสารวิชาการ บทความ รายงานวิจัยตาง ๆ
และเว็บไซตท ่ีเก่ียวขอ ง เพ่ือใหไดม าซ่งึ ผลการพิจารณาศกึ ษาท่ีมีความถกู ตอ ง ชัดเจน และมีรายละเอียด
สมบูรณมากที่สุด
๒.๔ คณะกรรมาธิการไดเดินทางไปศึกษาดูงานเพื่อรับฟงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ความพรอมดานศักยภาพของการพัฒนาทาเรือน้ําลึกภูเก็ตในการเปนทาเรือตนทาง (Home Port)
สําหรับเรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก (Small Luxury Cruise) ระหวางวันพฤหัสบดีที่ ๑๘ – วันศุกรที่
๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ณ จงั หวดั ภเู ก็ต
(ฌ)
๓. ผลการพิจารณาศกึ ษา
คณะกรรมาธิการขอรายงานผลการพิจารณา เร่ือง ความพรอมดานศักยภาพ
ของการพฒั นาทาเรือน้ําลึกภูเกต็ ในการเปนทาเรือตน ทาง (Home Port) สําหรบั เรอื สาํ ราญหรหู ราขนาดเล็ก
(Small Luxury Cruise) โดยคณะกรรมาธิการไดมอบหมายใหคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการทองเท่ียวทางนํ้า และอ่ืน ๆ ดําเนินการพิจารณาศึกษากรณีดังกลาว
ซ่ึงคณะกรรมาธิการไดพ ิจารณารายงานของคณะอนกุ รรมาธิการดวยความละเอียดรอบคอบแลว และได
มมี ตใิ หค วามเห็นชอบกับรายงานดังกลาว โดยถอื เปน รายงานการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธกิ าร
จากการพิจารณาศึกษาเรอื่ งดังกลาวขางตน คณะกรรมาธิการจงึ ขอเสนอรายงาน
การพิจารณาศกึ ษาของคณะกรรมาธกิ าร โดยมีรายละเอียดตามรายงานทายน้ี เพอื่ ใหว ฒุ ิสภาไดพ ิจารณา
หากวุฒิสภาใหความเห็นชอบดวยกับผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการขอไดโปรดแจง
ไปยังคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาและดําเนินการตามแตจะเห็นสมควรตอไป ทั้งนี้ เพ่ือประโยชน
ของประเทศชาติและประชาชนสบื ไป
พลเรอื เอก
(อิทธคิ มน ภมรสตู )
เลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารการทอ งเท่ยี ว
วุฒิสภา
(๑)
สารบญั หนา
สารบัญ (๑)
สารบญั ตาราง (๓)
สารบญั ภาพ (๔)
บทสรปุ ผบู ริหาร -ก- - -ค-
1. ความเปนมาและเหตผุ ลในการศึกษา 1
2. วตั ถปุ ระสงค 12
3. ประโยชนทค่ี าดวาจะไดร บั 12
4. ขอบเขตการศกึ ษา 13
13
๔.๑ ขอบเขตดานเน้อื หา 13
๔.๒ ขอบเขตดา นกลมุ ตวั อยา ง 14
๔.๓ ขอบเขตดานพ้ืนท่ี 14
๔.4 ขอบเขตดา นเวลา 14
๕. หลกั เกณฑท่ีใชใ นการพจิ ารณาศกึ ษา 14
หลกั เกณฑท ด่ี งึ ดดู ใหสายการเดนิ เรอื เขา มาใชท า เรอื ตน ทาง 18
๖. นิยามศพั ทเ ฉพาะ 19
๗. รปู แบบการศึกษา 19
๘. ผลการวเิ คราะหข อมลู 20
๘.๑ ดา นประสิทธภิ าพของทา เรอื 27
๘.๒ การบรหิ ารจดั การ 29
๘.๓ โครงสรา งพ้นื ฐาน 34
๘.๔ บริการสําหรับเรือสําราญ 45
๘.๕ อตั ราคาภาระที่เหมาะสม 54
9. สรปุ ผลการศกึ ษา 54
9.๑ สรุปผลในภาพรวม 56
9.๒ สรุปกรอบการพัฒนาทาเรือตน ทางภเู ก็ต รองรับเรือระดับหรหู ราขนาดเลก็
9.๓ สรปุ ผลความพรอมดานศกั ยภาพของการพัฒนาทา เรือนํ้าลกึ ภเู กต็ รองรบั 60
61
การเปน ทา เรอื ตน ทาง (Home Port) สาํ หรบั เรอื สาํ ราญหรหู ราขนาดเลก็ 65
(Small Luxury Cruise) 67
10. ขอ เสนอแนะ 69
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก หลกั เกณฑท ด่ี งึ ดดู ใหสายการเดนิ เรือเขามาใชทา เรอื น้ําลกึ ภเู ก็ต
เปน ทาเรอื ตน ทาง
(๒) หนา
ภาคผนวก ข ตวั อยา งการทาํ การสง เสรมิ การตลาดของสาธารณรฐั สงิ คโปร 73
77
โดย Singapore Tourism Board
ภาคผนวก ค กฎหมาย ประกาศ ระเบยี บ ทเี่ ก่ียวของ 81
ภาคผนวก ง รายช่อื คณะกรรมาธกิ ารการทอ งเที่ยว วุฒสิ ภา
รายชือ่ ทป่ี รึกษากติ ติมศกั ดปิ์ ระจาํ คณะกรรมาธกิ าร
รายชอ่ื ท่ีปรึกษา ผูชํานาญการ นกั วิชาการ และเลขานกุ ารประจํา
คณะกรรมาธกิ าร
รายชือ่ คณะอนกุ รรมาธิการ ในคณะกรรมาธกิ าร
(๓)
สารบัญตาราง หนา
3
ตารางที่ 15-16
ตารางที่ ๑ การแบง ขนาดของเรือตามความจผุ ูโดยสาร 20-21
ตารางที่ ๒ หลักเกณฑท ดี่ งึ ดดู ใหส ายการเดนิ เรอื เขา มาใชท าเรอื ตนทาง ๒1
ตารางที่ ๓ รายละเอยี ดทาเรือภเู ก็ต 30
ตารางท่ี 4 ขอ กาํ หนดเกย่ี วกับขนาดของเรอื โดยกรมเจา ทา 31
ตารางท่ี ๕ ความตอ งการขนั้ ตํ่าเพ่อื ความปลอดภยั ในการนาํ เรอื เขา เทยี บทา 39
46-47
ของเรอื สาํ ราญ 47-49
ตารางที่ ๖ ขนาดเรอื ทีเ่ คยเขา มาเทียบทา ที่ทา เรือนํา้ ลึกภเู ก็ต 50-52
ตารางที่ ๗ การบรกิ ารรบั ของเสยี และขยะ
ตารางท่ี 8 อตั ราคา ภาระทเ่ี หมาะสม
ตารางที่ 9 ตวั อยางการเปรยี บเทยี บคา ภาระของคา ภาระปจจุบนั และอนาคต
ตารางท่ี 10 สรปุ ผลการวเิ คราะหตามหลกั เกณฑท ด่ี งึ ดดู ใหส ายการเดินเรอื เขา มาใช
ทา เรอื นาํ้ ลกึ ภูเก็ตเปนทา เรอื ตน ทาง
(๔)
สารบญั ภาพ หนา
3
ภาพท่ี 4
ภาพท่ี 1 ภาพเรอื Silver Muse 4
ภาพที่ ๒ ภาพเรอื Boudicca 5
ภาพท่ี ๓ ภาพเรือ Star Flyer 5
ภาพท่ี ๔ ภาพเรอื Azamara Quest 6
ภาพที่ ๕ ภาพเรือ Seabourn Sojourn 6
ภาพท่ี ๖ ภาพเรอื Insignia 7
ภาพท่ี ๗ ภาพเรือ Star Legend 8
ภาพที่ ๘ ภาพเรือ Europa
ภาพที่ ๙ สถติ ิจาํ นวนเทีย่ วเรอื สาํ ราญท่ีเดินทางเขา มาทองเท่ยี วในจงั หวดั ภูเกต็ 9
แบบทาเรือแวะพัก ในป ค.ศ. 2018 - 2019 10
ภาพที่ ๑๐ ประมาณการคา ใชจา ยตอ คนตอ วันของนกั ทองเทีย่ วเรอื สําราญเม่อื พฒั นา 11
17
ทาเรอื แวะพักใหเปน ทา เรอื ตน ทาง 18
ภาพที่ 1๑ การเปรียบเทยี บจาํ นวนผูโ ดยสาร คาใชจาย จาํ นวนกิจกรรมทเ่ี กดิ ขนึ้ 30
32
ระหวา งเมอื งทาแบบแวะพักกบั เมืองทา ตน ทาง ซึ่งกอใหเกดิ การหมนุ เวยี น
ทางเศรษฐกิจจาํ นวนมาก 37
ภาพที่ ๑๒ การหมนุ เวยี นทางเศรษฐกจิ ในหวงโซธ รุ กิจของทาเรอื ตน ทาง 38
ภาพที่ 13 ตวั อยางการทําการสงเสรมิ การตลาดของสาธารณรฐั สงิ คโปร 55
โดย Singapore Tourism Board 56
ภาพที่ 1๔ ตวั อยางภาพรวม - กองทนุ สนบั สนนุ การพัฒนาเรอื สําราญ 58
ภาพท่ี ๑๕ การปรบั ปรงุ โครงสรางพ้นื ฐานในการนาํ เรอื เขา - ออก 59
ภาพที่ 1๖ แผนผงั สาํ หรับผโู ดยสารขาลง (Disembarking Passenger)
และแผนผังสําหรับผโู ดยสารขาขน้ึ (Embarking Passenger)
ภาพท่ี ๑๗ การจดั ทาํ และการประเมนิ มาตรฐานแผนรกั ษาความปลอดภยั ทา เรอื
(Port Facility & Security Plan Assessment)
ภาพที่ ๑๘ หนงั สือรบั รองการปฏบิ ตั ขิ องทาเรอื เพื่อการรกั ษาความปลอดภยั
ภาพท่ี ๑๙ ตัวอยา งเสนทางเดนิ เรือจากเมืองทาตนทางทจี่ งั หวดั ภูเกต็
ภาพที่ ๒๐ สรุปกรอบการพฒั นาทา เรอื ตน ทางภูเก็ต รองรับเรอื ระดบั หรหู ราขนาดเลก็
ภาพท่ี ๒๑ ลกั ษณะเฉพาะของการทองเท่ียวเรอื สาํ ราญ
ภาพท่ี ๒๒ กิจกรรมเพ่ือรองรบั การเปลยี่ นผูโ ดยสารและการเตรยี มความพรอม
ในการเปน ทา เรอื ตนทาง
-ก-
บทสรุปผูบริหาร
จากยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ การเพ่ิมความสามารถในการแขงขัน หัวขอ
การสรา งความหลากหลายดานการทองเท่ียว ดา นทองเทย่ี วสําราญทางน้าํ ประกอบกับมตคิ ณะรัฐมนตรี
ใหปรับปรุงทาเรือน้ําลึกภูเก็ตใหมีความพรอมในการรองรับเรือสําราญ (Cruise) สําหรับการทองเท่ียว
ขนาดใหญไดโดยเร็ว รวมทั้งการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานสนับสนุนการทองเท่ียว การคาการลงทุน
และการอุตสาหกรรม โดยการกอ สรางทาเทียบเรอื สําราญจังหวดั ภูเกต็ ใหเปน ทา เรือตนทาง (Home Port)
คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการพัฒนาคุณภาพการทองเท่ียวทางนํ้า และอ่ืน ๆ
ในคณะกรรมาธิการการทองเที่ยว วุฒิสภา ไดพิจารณาจากลักษณะทางกายภาพของทาเรือนํ้าลึกภูเก็ต
ที่มีขอกาํ หนดในดานขนาดของเรอื ทจี่ ะผา นเขา - ออกและเทียบทา คอื เรือทผ่ี านเขา - ออก จะมคี วามยาว
ตลอดลําไมเกิน 210 เมตร (688 ฟุต 10 น้ิว) ความกวางไมเกิน 27.50 เมตร (90 ฟุต 3 นิ้ว)
อตั รากินนาํ้ ลกึ สงู สดุ ไมเ กนิ 9.40 เมตร (30 ฟุต 10 นว้ิ ) และระยะเวลาเดินเรอื ในรองนา้ํ ไมน อ ยกวา 1 ชวั่ โมง
นอกจากนี้ ทาเรือนํ้าลึกภูเก็ตไมสามารถขุดลอกใหลึกไปกวาน้ีไดอีก เนื่องจากพื้นทองทะเล
สวนใหญเปนหิน ประกอบกับพื้นท่ีหลังทามีจํากัด จึงไมสามารถขยายพ้ืนที่ทาเรือออกไปไดอีก
และขีดความสามารถในการรองรับของทาอากาศยานนานาชาติภูเก็ตเต็มศักยภาพแลว โดยเหตุท่ีมี
การกอสรางอาคารผูโดยสารเดิมอยูแลว จึงควรที่จะพัฒนาทาเรือน้ําลึกภูเก็ตใหเปนทาเรือตนทาง
(Home Port) ทร่ี องรบั เรือสําราญหรูหราขนาดเล็กเทา นนั้ เพื่อเปนการเตรียมความพรอมของหนวยงาน
ท่ีเก่ียวของ อีกท้ัง เปนโครงการตัวอยางนาํ รองในการพัฒนาทาเรือตนทาง (Home Port) ในพ้ืนท่ีอ่ืน ๆ
คณะอนุกรรมาธิการจึงศึกษาความพรอมดานศักยภาพของการพัฒนาทาเรือนํ้าลึกภูเก็ตเปนทาเรือตนทาง
(Home Port) ใหรองรับเรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก (Small luxury Cruise) ที่มีจํานวนผูโดยสาร
ประมาณ ๗๐๐ คน ซง่ึ สวนใหญเปน เรือสําราญทเี่ คยเขามาเทียบทาแบบแวะพักอยูแลว
ผลการวิเคราะหความพรอ มตามหลักเกณฑท ด่ี งึ ดูดใหส ายการเดนิ เรือเขา มาใชท าเรือนํ้าลกึ ภเู ก็ต
เปนทาเรือตนทาง พบวา ปจจัยที่มีความพรอมและไดมาตรฐาน มี 4 เร่ือง คือ เร่ืองท่ี 1 การรักษา
ความปลอดภัยสําหรับเรือ ผูโดยสาร ทาเรือ และพ้ืนที่ท่ีเก่ียวของ โดยมีหนวยงานที่รับผิดชอบ
และมีแนวทางปฏิบตั ิงานทช่ี ัดเจน ท้ังนี้ เจาหนาที่จะตองปฏิบตั ิอยางเขมงวดตามกฎ ระเบียบที่กําหนดไว
เพื่อมิใหเกิดอุบัติเหตุใด ๆ กับเรือและนักทองเที่ยว เร่ืองท่ี 2 ความลึกรองนํ้า การนํารอง เรือลากจูง
ทาเทียบเรือ ขนาด และความสามารถในการรองรับของโครงสรางพ้ืนฐาน เน่ืองจากมีการกําหนดไว
ชัดเจนวาเรือสําราญขนาดเล็กสามารถผานเขาออกไดตลอดเวลา เร่ืองท่ี 3 การบริการซอมบํารุงรักษาเรือ
ในปจจุบันมีการดําเนินการอยูแลว สําหรับเรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก และ เร่ืองที่ 4 อัตราคาภาระ
ทาเรือ มีการเก็บคาธรรมเนียมอยูแลว ซ่ึงบริษัทท่ีไดรับสัมปทานจะตองพิจารณาเพ่ือใหเหมาะสม
กับการเปน ทา เรอื ตนทาง
ปจจัยท่ีมีการดําเนินการไปแลวแตยังไมไดมาตรฐาน มี 4 เรื่อง คือ เร่ืองท่ี 1 เวลาที่ใช
ในการตรวจสอบความปลอดภัยบุคคล เวลาที่ใชในพิธีการตรวจคนเขาเมืองเปนการดําเนินการ
ที่มีหนวยงานรับผิดชอบโดยตรงและพรอมท่ีจะปฏิบัติงาน โดยตองไดรับอุปกรณที่จะใชในการปฏิบัติ
อยางเพียงพอ ซ่ึงบริษัทท่ีไดรับสัมปทานก็มีความพรอมท่ีจะสนับสนุนในเรื่องนี้ เร่ืองที่ 2 โครงสราง
พ้ืนฐานรองรับผูโดยสารข้ึนและลงจากเรือดวยความสะดวก อาคารผูโดยสารท่ีทันสมัย ความสามารถ
-ข-
ในการรองรบั ผโู ดยสารอยา งตอเนื่อง ทจ่ี อดรถ ปจ จยั เหลา น้ตี อ งมกี ารพฒั นาใหน กั ทองเท่ียวเกดิ ความสะดวก
และเปนการสรางความประทับใจ เรื่องที่ 3 การสรางความรวมมือระยะยาวกับบริษัทที่ใหบริการ
เรือสําราญ การสนับสนุนทางการตลาด มีหนวยงานดําเนินการไปบางแลว เมื่อเปนทาเรือตนทาง
บริษัทท่ีบริหารทาเรือจะตองเปนผูดําเนินการรวมกบั หนว ยงานที่เก่ียวขอ ง และ เร่ืองที่ 4 การจัดสงเสบยี ง
การบริการรับของเสียและขยะ การจัดสงน้ํามันเรือ สิ่งเหลาน้ีมีองคกรทองถิ่น รวมกับภาคเอกชน
เคยดาํ เนินการแลว แตต อ งพัฒนาใหเ ปนมาตรฐาน ใหเ ปน ทย่ี อมรับของผปู ระกอบการเรือสําราญ
ปจจัยท่ียังไมไดดําเนินการ คือ ความสามารถในการบริหารทาเรือ บริษัททองเที่ยวเรือสําราญ
การบริหารจัดการสัมภาระ การบริหารทาเรือที่ตอบสนองเฉพาะของเรือสําราญ เงื่อนไขพิเศษสําหรับ
บรษิ ทั ทใี่ หบรกิ ารเรอื สําราญประจาํ ความรว มมอื และพัฒนาเครอื ขายของทาเรอื รวมกบั ทาเรอื สาํ ราญอืน่ ๆ
ในพ้ืนทใี่ กลเ คียง โครงสรางพน้ื ฐานสาํ หรบั ลกู เรือสําราญ บรกิ ารไปรษณยี หอ งรบั รองวีไอพี อนิ เทอรเน็ต
คาเฟ ผตู รวจสอบภายใตส มาคมจดั ชั้นเรอื ปจ จยั เหลานีบ้ ริษัททรี่ ับสัมปทานจะเปนผดู ําเนนิ การ ซ่งึ ตอ งมี
ผูบริหารที่มีช่ือเสียงและประสบการณเปนท่ียอมรับของผูประกอบการเรือสําราญ ปจจัยท้ังหมดจะเปน
แรงจูงใจสําหรับนักทองเที่ยวใหเดนิ ทางมาเที่ยวเรือสําราญและใหบ ริษัทท่ีใหบ รกิ ารเรือสําราญเขามาใช
ทาเรอื น้าํ ลึกภูเก็ตเปนทาเรือตน ทาง
ดังน้ัน กรอบการพัฒนาทาเรือน้ําลึกภูเก็ตเปนทาเรือตนทาง รองรับเรือสําราญหรูหรา
ขนาดเลก็ ประกอบดวย
1. นโยบายของรัฐบาล ในการสนับสนุนสงเสริมการพัฒนาทาเรือตนทางท่ีชัดเจน ทั้งในระยะสั้น
และระยะยาว จะสงเสรมิ ใหห นว ยงานท่ีเกยี่ วของสามารถกาํ หนดแผนงานและงบประมาณในการรองรบั
และขับเคล่ือนการพัฒนาไดอยางเปนรูปธรรม มีความตอเนื่อง ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
มุงสเู ปาหมายในการเสริมสรางรายไดจากการทอ งเท่ยี วใหกับทอ งถนิ่
2. การกําหนดหนวยงานสนับสนุนและขับเคล่ือน การพัฒนาทาเรือตนทางมีหนวยงาน
ที่เก่ียวของทั้งของรัฐและเอกชนหลายหนวยงาน การบูรณาการการสงเสริมและพัฒนาใหเปนแนวทาง
เดียวกัน มีความเขาใจในเปาหมายในการดําเนินการเดียวกัน มีความสําคัญอยางยิ่ง กอใหเกิดเอกภาพ
ในการดําเนินการทั้งในดานนโยบายและการปฏิบัติ และเปนศูนยกลางในการประสานงาน แกไขปญหา
สนับสนุน สงเสริม ปรับปรุงแกไขกฎระเบียบท่ีเก่ียวของในการพัฒนาทาเรือตนทางอยางเปนรูปธรรม
สอดคลองกับนโยบายของรฐั บาล
3. การอบรมใหความรูกับบุคลากร เน่ืองจากการบริหารจัดการทาเรือตนทาง เพ่ือรองรับ
นักทองเที่ยวจํานวนมาก มีกิจกรรมและการบริการผูโดยสารที่หลากหลาย มีความจําเปน
ในการประสานงาน รว มมอื กันในหลายหนวยงาน ความรูแ ละความเขา ใจในการดําเนนิ การ มคี วามสาํ คญั
ในการลดขอผิดพลาดท่ีอาจเกิดข้ึน สรางความประทับใจใหกับนักทองเที่ยวในการใชทาเรือตนทาง
ท่ีจังหวัดภูเก็ต การอบรมใหความรูกับบุคลากรจะกอใหเกิดการบริการท่ีมีมาตรฐาน มีประสิทธิภาพ
เปน สง่ิ จงู ใจใหบรษิ ัทท่ใี หบริการเรอื สาํ ราญนําเรือเขา มาใชบ รกิ ารมากขึ้น นักทอ งเทีย่ วเรยี กรองใหบริษัท
ทีใ่ หบ รกิ ารเรือสําราญนาํ เรือเขามาใหบ ริการเพ่มิ ขน้ึ ดวย
4. โครงสรางพื้นฐานทาเรือ ทาเรือตนทางเปนสถานท่ีรองรับการเดินทางทางทะเลรวมกับ
การเดินทางทางอากาศ มีการเขาพักในโรงแรมรวมกับการเดินทางทองเท่ียว โดยใชเรือสําราญ
เปนแกนกลาง ดังน้ัน การพัฒนาทาเทียบเรือใหสามารถรองรับการเขาออกของเรือไดอยางมี
-ค-
ประสิทธิภาพ ไมเกิดความลาชาในการปฏิบัติงาน เปนปจจัยสําคัญของการเปนเมืองทาตนทาง รวมท้ัง
อาคารผูโดยสารที่รองรับการปฏิบัติงานไดดวยความรวดเร็ว คลองตัว ตอบสนองความตองการ
ของผูโดยสารไดอยางสะดวกสบาย มีความปลอดภัยสูง ก็จะสงเสริมใหการปรับเปล่ียนกิจกรรม
จากทาเรือแวะพักเปนทาเรือตนทางประสบความสําเร็จ ดึงดูดใหบริษัทที่ใหบริการเรือสําราญนําเรือ
เขามาใชบ ริการมากยงิ่ ขึ้น
5. การคมนาคมเช่ือมโยงท่ีมีประสิทธิภาพ ในการรองรับนักทองเท่ียวจํานวนมาก เปนหนึ่ง
ในปจจยั สาํ คัญในประสทิ ธิภาพของทา เรือตน ทาง ในการอํานวยความสะดวกใหกับนกั ทอ งเทยี่ วใหมีเวลา
ในการทองเท่ียวมากที่สุดและใชเวลาในการเดินทางระหวางทาอากาศยาน โรงแรม แหลงทองเท่ียว
ทาเรือ นอ ยท่ีสดุ กอ ใหเกดิ รายไดม ากทส่ี ุดดวยเวลาท่เี อื้ออาํ นวย
6. การปรับปรุงกฎระเบียบ ใหสอดคลองและรองรับการเดินทางของนักทองเที่ยวจํานวนมาก
ดวยเวลาท่ีกระชับรวดเร็ว ลดอุปสรรค ลดคาใชจายที่ไมจําเปน การนําเทคโนโลยีสารสนเทศเขามา
สนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิงานไดอยางเหมาะสมและมปี ระสิทธิภาพ ทําใหการเปลี่ยนผโู ดยสารท่ที าเรอื ตนทาง
มคี วามสะดวกสบาย รองรับการเปน ทาเรอื ตน ทางทีม่ เี รือสาํ ราญเขามาใชบ รกิ ารเปน ประจํามากข้นึ
ทา เรือเช่ือมโยง จากลักษณะเฉพาะของการทอ งเท่ียวเรือสาํ ราญ ซึง่ เปนทง้ั การเดนิ ทางทองเทย่ี ว
พรอมส่ิงอํานวยความสะดวกในดานท่ีพัก อาหารและสันทนาการ สามารถรองรับนักทองเท่ียวไดเปน
จํานวนมาก สามารถเขาถึงพ้ืนท่ที องเท่ียวทีบ่ างครัง้ เขา ถงึ ดวยการเดินทางประเภทอนื่ ๆ ไดยาก
ขอ เสนอแนะ
๑. ใหจังหวัดภูเก็ตเปนหนวยงานหลักในการบูรณาการ แกไขกฎระเบียบ เพื่ออํานวย
ความสะดวกและความปลอดภัยในการใชทาเรือนํ้าลึกภูเก็ตเปนทาเรือตนทาง (Home Port) รองรับ
เรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก (Small Luxury Cruise) เชน พิธีการตรวจคนเขาเมือง พิธีการศุลกากร
พิธกี ารสรรพากร การควบคมุ โรค และการสนบั สนุนที่เกยี่ วของ เปนตน
๒. ใหกรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน เปนหนวยงานหลักในการบูรณาการ รวมกับ
การทองเที่ยวแหงประเทศไทย สถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนาบุคลากรพรอม
ปรับปรุงหลักสูตรใหเปนมาตรฐาน สอดคลองกับความตองการแรงงานของธุรกิจเรือสําราญ รวมทั้ง
พฒั นาใหป ระเทศไทยเปน ศนู ยก ลางการฝก อบรม (Training Center) สรางรายไดใหป ระเทศอกี ทางหน่งึ ดว ย
๓. ใหกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬาและกระทรวงคมนาคม สนับสนุนการพัฒนาทาเรือตนทาง
ท่ีจังหวัดภูเก็ตสําหรับเรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก (Small Luxury Cruise) จากโครงสรางพื้นฐาน
ของทาเรอื ภเู กต็ ทม่ี คี วามพรอมอยแู ลว ใหสําเร็จตามแผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรชาติ
๔. ใหกระทรวงคมนาคม พิจารณาการขนสงสาธารณะในเขตเมืองเช่ือมโยงระหวางทาอากาศยาน
มายังทาเรือน้ําลึกภูเก็ต รวมทั้งการคมนาคมเชื่อมโยงระหวางทาเรือนํ้าลึกภูเก็ตและแหลงทองเท่ียว
เพ่อื อาํ นวยความสะดวกการเดินทางของนกั ทอ งเท่ยี ว
๕. ใหการทองเท่ียวแหงประเทศไทยประชาสัมพันธ และจัดกิจกรรมทางการตลาด รวมท้ัง
นําผูเก่ียวของมาเยี่ยมชมความพรอมของทาเรือภูเก็ตในการเปนทาเรือตนทาง สรางการรับรูและดึงดูด
ใหผปู ระกอบธรุ กิจเรอื สําราญและนักทอ งเที่ยวเขา มาใชบริการทา เรอื ตนทางทภี่ เู กต็ อยางตอ เน่ือง
------------------------------------------
๑
1. ความเปนมาและเหตุผลในการศึกษา
สืบเน่ืองจากยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ยุทธศาสตรที่ ๒ การเพิ่มความสามารถ
ในการแขงขัน หัวขอท่ี ๓ การสรางความหลากหลายดานการทองเท่ียว เรื่องทองเท่ียวสําราญทางนํ้า
ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เพื่อปรับปรุงทาเรือน้ําลึกภูเก็ตใหมี
ความพรอมในการรองรับเรือสําราญ (Cruise) สําหรับการทองเที่ยวเรือสําราญขนาดใหญไดโดยเร็ว
และมติคณะรัฐมนตรีอยางเปนทางการนอกสถานท่ี คร้ังที่ ๓/๒๕๖๐ เม่ือวันที่ ๒๗ - ๒๘ พฤศจิกายน
๒๕๖๐ ในการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานสนับสนุนการทองเท่ียว การคาการลงทุนและการอุตสาหกรรม
โดยการกอสรางทาเทียบเรือสําราญจังหวัดภูเก็ตใหเปนทาเรือตนทาง (Home Port) และกอสราง
ทาเรือแวะพัก (Port of Call) ในแหลงทองเท่ียวสําคัญท้ังชายฝงทะเลอันดามันและอาวไทย อาทิ
อําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี จังหวัดกระบี่ จังหวัดพังงา และจังหวัดสงขลา การกอสรางเสนทาง
คมนาคมเช่ือมโยงทาเรือสําราญและทาเรือแวะพัก (Port of Call) กับแหลงทองเที่ยวในพ้ืนท่ี
ตอนในที่มีศกั ยภาพ คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการพัฒนาคณุ ภาพการทองเที่ยวทางนํา้ และอืน่ ๆ
ในคณะกรรมาธิการการทองเท่ียว วุฒิสภา ไดศึกษาเพื่อวางกรอบการพัฒนาประเทศไทยสูการเปน
ศูนยกลางการเดินทางทองเท่ียวทางทะเล (Maritime Tourism Hub) กําหนดกรอบการพัฒนา
การเดินทางทองเที่ยวทางน้ําในระยะยาว สนับสนุนประเทศไทยสูการเปนศูนยกลางการเดินทาง
ทองเที่ยวทางนํ้าในอนุภูมิภาคอาเซียน และภูมิภาคเอเชีย เสริมสรางความสามารถในการแขงขัน
ของประเทศ เพ่ิมความสามารถในการนํารายไดจากการทองเท่ียวทางน้ําเขาสูชุมชนและประเทศ
ในการศึกษาดงั กลาวพบวามโี ครงการท่ีเกีย่ วขอ ง ดงั นี้
๑. กรมเจา ทามโี ครงการศึกษาเก่ยี วกบั เรอื สาํ ราญและอยูในระหวางการดาํ เนนิ การ ดงั นี้
1.1 ศึกษาสํารวจออกแบบทาเรือตนทาง (Home Port) สําหรับเรือสําราญขนาดใหญ
(Cruise) บริเวณอา วไทยตอนบน
1.2 ศึกษาวางแผนแมบทเพ่ือพัฒนาทาเรือสําราญขนาดใหญ (Cruise Terminal)
และสาํ รวจออกแบบทาเรอื สําราญขนาดใหญบริเวณชายฝง อันดามัน
1.3 โครงการพัฒนาทาเทียบเรือรองรับเรือสําราญขนาดใหญ (Cruise Terminal) ที่อําเภอ
เกาะสมุย จังหวดั สรุ าษฎรธานี
2. โครงการศึกษาวางแผนแมบทสงเสริมการทองเที่ยวเรือสําราญ พ.ศ. 2561 – 2570
ของกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา
3. กรมธนารักษไดล งนามเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ในการให บริษัท ภูเก็ต ดีพ ซี พอรต จาํ กัด
เขาบริหารทาเรอื เปนเวลา ๓๐ ป โดยตองดําเนินการปรบั ปรุงทาเรือใหแลวเสร็จภายในเวลา 18 เดือน
(6 พฤศจกิ ายน 2561 – 5 พฤษภาคม 2563) โดยมีองคประกอบในการปรบั ปรุง ดงั น้ี
3.๑ อาคารทพี่ ักผูโดยสารคอนกรตี เสรมิ เหล็ก ชัน้ เดียว จาํ นวน 1 หลงั พืน้ ท่ี 980 ตารางเมตร
3.๒ หลักผูกเรอื ในทะเล (Berth Dolphin) จํานวน 2 ตัว ระยะหา งตวั ละ 60 เมตร
3.๓ หลกั ผูกเรือชายฝง (Mooring Bollard) จํานวน 1 ตัว
3.๔ อาคารละหมาดคอนกรีตเสรมิ เหลก็ ชนั้ เดียว จาํ นวน 1 หลงั
3.๕ ลานจอดรถคอนกรตี เสริมเหลก็ ความหนา 0.23 เมตร
๒
3.๖ ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก เปนทางเขาอาคารท่ีพักผูโดยสาร ตองกอสรางถนน
เปนเสนทางใหม ขนาด 2 ชองทาง ความกวาง 7 เมตร และชวงสุดทายกอนเขาที่จอดรถชองจราจร
ขนาดความกวาง 10 เมตร และความหนา 0.23 เมตร
3.๗ ระบบระบายน้าํ พืน้
3.๘ ระบบไฟฟาสองสวางภายนอกอาคาร
3.๙ ขุดลอกรอ งนา้ํ บรเิ วณดา นหนา หลักผกู เรือใหมล กึ 10 เมตร ขนาดพืน้ ท่ี 5,000 ตารางเมตร
3.๑๐ พ้ืนที่สีเขียว ไมนอยกวาขนาดพื้นท่ี 6,330 ตารางเมตร มูลคากอสรางปรับปรุง
รวม 132.866 ลานบาท
ในระหวางรอผลการศึกษาเพื่อการพัฒนาทาเรือสําราญขนาดใหญ (Cruise Terminal)
ของกรมเจาทาซ่ึงยังไมแลวเสร็จ คณะอนุกรรมาธิการมีแนวคิดในการนําโครงสรางพ้ืนฐานท่ีไดรับ
การปรับปรุง เพื่อเพ่ิมความสามารถในการแขงขัน ตามยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
และมติคณะรฐั มนตรี จากการเปน ทาเรือแวะพัก (Port of Call) สูการเปนทาเรือตนทาง (Home Port)
เพ่ือเปนการเตรียมความพรอมของหนวยงานท่ีเก่ียวของ อีกทั้ง เปนโครงการตัวอยางนํารอง
ในการพัฒนาทาเรือตนทาง (Home Port) ในพ้ืนท่ีอื่น ๆ คณะอนุกรรมาธิการจึงมีแนวความคิด
ใหมีการศึกษาความเปนไปไดในการพัฒนาทาเรือตนทาง (Home Port) ท่ีจังหวัดภูเก็ต จากโครงสราง
พ้ืนฐานที่ไดรับการพัฒนาไวแลวใหรองรับเรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก (Small luxury Cruise)
ที่มีผโู ดยสารประมาณ ๗๐๐ คน ซึ่งสวนใหญเ ปนเรือสาํ ราญที่เคยเดนิ ทางเขา มาเทยี บทา แบบแวะพกั อยแู ลว
จากการสัมภาษณ นายประดิษฐ ภัทรประสิทธ์ิ ประธานกรรมการบริษัท ภูเก็ต ดีพ ซี พอรต
จํากัด ไดใหขอมูลวา บริษัท ภูเก็ต ดีพ ซี พอรต จํากัด ไดลงทุนปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน
ในการตอสัญญาบริหารทาเรือกับกรมธนารักษ กระทรวงการคลังไปแลว รวมถึงการเพิ่มรายได
ในการนําสงกรมธนารักษตอปใหสูงขึ้นจากเดิม บริษัทมีความยินดีท่ีจะสนับสนุนการพัฒนาทาเรือนํ้าลึก
ภูเก็ตสูการเปนทาเรือตนทาง (Home Port) สําหรับเรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก และยินดีที่จะลงทุน
ปรับปรุงส่ิงอํานวยความสะดวกภายในอาคารผูโดยสารและทาเรอื เพื่อรองรับการปฏิบัติงานของทาเรอื
ตนทาง (Home Port) ยกระดับมาตรฐานการใหบริการสูทาเทียบเรือสําราญระดับสากล โดยขอให
ภาครัฐสนับสนุนในดานโครงสรางพ้ืนฐาน ระบบขนสงสาธารณะ อาทิ ขยายเสนทางรถไฟฟารางเบา
จากทา อากาศยานนานาชาตภิ เู ก็ตใหมเี สน ทางแวะเขาสูทา เรอื นาํ้ ลกึ ภูเกต็ ดว ย ซ่ึงขยายเสนทางประมาณ
4 กิโลเมตร ในการดําเนินการดังกลาวจะทําใหการขนสงเชื่อมโยงนักทองเท่ียวจากทาอากาศยานเขาสู
ทาเรือนํ้าลึกภูเก็ตไดรับความสะดวกรวดเร็วย่ิงขึ้น สงเสริมการเปนทาเรือตนทาง (Home Port)
ของจังหวดั ภูเก็ตอีกดว ย
๓ จํานวนผูโดยสาร (คน)
มากกวา 3,500
ขนาดของเรอื สาํ ราญแบงตามความจุของผูโดยสาร มากกวา 2,500 แตไ มเ กิน 3,499
ขนาดของเรือสาํ ราญ มากกวา 1,500 แตไ มเกนิ 2,499
มากกวา 800 แตไมเ กนิ 1,499
MEGA CRUISE
LARGE CRUISE นอยกวา 799
MIDSIZED CRUISE
SMALL MIDSIZED CRUISE
SMALL CRUISE
ตารางท่ี ๑ การแบง ขนาดของเรือตามความจผุ ูโ ดยสาร01
ตวั อยา งเรือสาํ ราญหรหู ราขนาดเล็ก (Small Luxury Cruise) รองรับผโู ดยสารไมเกิน 700 คน
ภาพท่ี 1 ภาพเรือ Silver Muse
1 Erica Silverstein, “การแบงขนาดของเรือตามความจผุ ูโ ดยสาร- Cruise Critic”, สืบคน เมอื่ วนั ท่ี 25 กุมภาพันธ 2565
https://www.cruisecritic.com.au/articles.cfm?ID=360&stay=1&posfrom=1
๔
ภาพท่ี ๒ ภาพเรอื Boudicca
ภาพที่ ๓ ภาพเรือ Star Flyer
๕
ภาพท่ี ๔ ภาพเรอื Azamara Quest
ภาพท่ี ๕ ภาพเรอื Seabourn Sojourn
๖
ภาพท่ี ๖ ภาพเรือ Insignia
ภาพท่ี ๗ ภาพเรือ Star Legend
๗
ภาพท่ี ๘ ภาพเรือ Europa
แนวทางในการพัฒนาเพื่อยกระดับการใหบริการสูการเปนทาเรอื สําราญท่ีไดมาตรฐานสากล
ไมวาจะเปนการใหบริการแบบทาเรือตนทาง (Home Port) หรือทาเรือแบบแวะพัก (Port of call)
ควรมกี ารปรบั ปรุงเพมิ่ เตมิ ดงั น้ี
1. จัดทําชองทางไหลเวียนและชองทางเดินข้ึนและลงจากเรือ (Terminal Flow)
ของผูโดยสารและลูกเรือภายในอาคารผโู ดยสารใหไดร ับความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภยั
2. จัดทําพื้นที่และชองตรวจคนเขาเมือง ดานศุลกากร ดานสรรพากร ดานควบคุมโรค
ดา นกกั กันพืชและสตั ว
3. เคานเตอรเชค็ อิน (Counter Check - in)
4. พ้ืนท่ีการตรวจความปลอดภัยกอนขึ้นเรือ พรอมเครื่องเอ็กซเรย (X-ray) เคร่ืองตรวจจับ
โลหะแบบเดินผาน (Walk Through Metal Detector) สิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผูโดยสาร อาทิ
ตเู อทีเอม็ ไปรษณีย รานสะดวกซอ้ื
5. รัว้ ถาวรกน้ั ระหวา งหนาทา เรอื ซึ่งเปนพนื้ ท่ีหวงหา ม (Restricted Area) กบั พื้นที่สาธารณะ
(Public area)
6. ทางเดินแบบมีหลงั คาจากอาคารผูโดยสารไปยงั เรือ
7. แทน ยกระดบั เพอื่ ลดความชนั ของบนั ไดเรอื ตามมาตรฐานสากล
รวมท้ังการพัฒนาความรูความเขาใจของบุคลากรที่เกี่ยวของ การปรับปรุงกฎระเบียบ
ใหส นับสนนุ การปฏบิ ัติงานของทา เรือตน ทางและทา เรอื แวะพกั ใหไดม าตรฐานสากล
๘
จากสถิติเรือสําราญที่เดินทางเขามายังจังหวดั ภูเก็ต ในป ค.ศ. 2018 - 2019 ทาเรือภูเกต็
เปนทาเรือทีไ่ ดรับความนิยมจากสายการเดนิ เรือสําราญและนกั ทอ งเที่ยวเรอื สําราญ มเี รอื เดนิ ทางเขา มา
ทองเที่ยว จํานวน 228 เที่ยวเรือ ในป 2561 (ค.ศ. 2018) และ 186 เที่ยวเรือ ในป 2562
(ค.ศ. 2019) มีนักทองเท่ียว จํานวน 480,436 คน ในป 2561 (ค.ศ. 2018) และนักทองเท่ียว
จํานวน 369,705 คน ในป 2562 (ค.ศ. 2019) ตามภาพที่ ๙
สถิตเิ ทย่ี วเรอื สาํ ราญแบบแวะพกั จงั หวดั ภูเก็ต ปี ค.ศ. 2018 -2019จําจวนเที่ยวเรือ87
57
150 141
129
113
75
38
0 ทา่ เรอื นาํ้ ลกึ
อา่ วป่ าตอง
2018 2019
ภาพที่ ๙ สถิตจิ าํ นวนเทีย่ วเรอื สาํ ราญทเ่ี ดนิ ทางเขา มาทอ งเทยี่ วในจงั หวดั ภเู กต็ แบบทาเรอื แวะพกั
ในป ค.ศ. 2018 - 2019
หากประเทศไทยสามารถยกระดับมาตรฐานการใหบ ริการจากทาเรือแบบแวะพัก (Port of Call)
เพียงอยางเดียว มาเปนการใหบริการแบบทาเรือตนทาง (Home Port) เพ่ิมข้ึน จะกอใหเกิดรายได
จากการทองเท่ียวเรือสําราญเขามาสูจังหวัดภูเก็ตและจังหวัดใกลเคียงเปนจํานวนมาก ตามภาพที่ ๑๐
เกิดการจางแรงงานท้ังบนบกและในทะเล เกิดการหมุนเวียนของเศรษฐกิจในวงกวา ง สนับสนุนการเปน
ศูนยกลางการทองเท่ียวทางทะเลของประเทศไทยและลดขอจํากัดของอนุภูมิภาคอาเซียน
ในดานทางเลือกของเมืองทาตนทางท่ีมีอยูท่ีสาธารณรัฐสิงคโปรแหงเดียว ซ่ึงเปนขอจํากัดในการขยาย
ปรมิ าณเที่ยวเรือในอนุภมู ภิ าคอาเซยี นใหเพมิ่ มากข้นึ
๙
ภาพท่ี ๑๐ ประมาณการคา ใชจา ยตอคนตอ วนั ของนกั ทอ งเท่ยี วเรอื สาํ ราญ
เมือ่ พฒั นาทาเรอื แวะพกั ใหเปน ทาเรอื ตน ทาง12
หมายเหตุ : การเปนทาเรือตนทางจะไดจํานวนนักทองเท่ียวทั้งขาขึ้น (Embarking) และขาลง
(Disembarking) ซึ่งจะทําใหมีรายไดเพ่ิมข้ึนจากกราฟดานบนอีกเทาตัว หลังจากป 2557
(ค.ศ. 2014) สมาคมเรือสําราญนานาชาตยิ ังไมไดม ีการทําสํารวจคาใชจายของนักทองเท่ียวเรือสาํ ราญ
ในภูมิภาคอาเซียนอีก จึงมีความจาํ เปน ตอ งใชตวั เลขจากป 2557 (ค.ศ. 2014) ในการอางอิง23
การเปรียบเทียบระหวางทาเรือแวะพัก (Port of call) กับทาเรือตนทาง (Home Port)
ในดานตาง ๆ
๑. การเปล่ียนผูโดยสารที่ทาเรือตนทาง ผูโดยสารจะมีคาใชจาย จํานวน 842 ดอลลารสหรัฐ
ตอคนตอวัน ในขณะท่ีผูโดยสารท่ีเขามาแวะทองเท่ียวจะมีการใชจายเฉลี่ยวันละ 132 ดอลลารสหรัฐ
ตอคนตอ วนั
๒. คาใชจายดานท่ีพัก อาหาร เครื่องด่ืม และโปรแกรมการทองเท่ียวมีสัดสวนประมาณ
รอ ยละ 54 ของคา ใชจา ยบนฝง รวมท้งั ส้ิน 791 ลานดอลลารส หรัฐ
2 กรมเจาทา , “สถติ ิเรือและผูโดยสารจากระบบ NSW”, สืบคน เมื่อวนั ท่ี 5 มีนาคม 2565
https://nsw.md.go.th/msportal/
3 สมาคมเรอื สาํ ราญนานาชาติ “Economic Contribution of Cruise Tourism in Southeast Asia – 2014 Major
Finding by Business Research & Economic Advisors page 2 of 7” สืบคน เมื่อวนั ที่ 5 มีนาคม 2565
https://cruising.org/-/media/research-updates/research/2019-usa-cruise-eis.ashx
๑๐
๓. คาใชจายของลูกเรือประมาณ 22.9 ลานเหรียญดอลลารสหรัฐ ท่ีเมืองทาในเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต โดยเฉล่ียคา ใชจ า ยของลูกเรอื จาํ นวน 54 ดอลลารสหรัฐตอ คนตอ วนั
๔. สายเรือสําราญมีคาใชจาย จํานวน 166 ลานเหรียญดอลลารสหรัฐ ในสวนการบริหาร
และการปฏิบัติงาน (ไมรวมคาแรง เงินเดือนของลูกจางท่ีมีถิ่นพํานักในเมืองทานั้น ๆ) คาใชจายของเรือ
สําราญมสี ดั สวนประมาณ รอยละ 10 ของคา ใชจายดานการทองเทย่ี วในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต
ภาพที่ 1๑ การเปรียบเทียบจํานวนผูโดยสาร คาใชจาย จํานวนกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนระหวาง
เมอื งทาแบบแวะพกั กบั เมืองทาตนทาง ซ่งึ กอใหเกดิ การหมุนเวยี นทางเศรษฐกจิ จํานวนมาก
นักทองเที่ยวท่ีเดินทางโดยเรือสําราญ จะมีความแตกตางดานเวลาระหวางประเทศภูมิลําเนา
ของนกั ทอ งเทย่ี วเรอื สาํ ราญกบั เวลาทอ งถนิ่ ของเมืองทาตน ทาง รวมท้ังเปน การปองกันปญ หาความลา ชา
ของเทย่ี วบินทอี่ าจเกิดขน้ึ โดยไมไดค าดหมาย สง ผลใหน กั ทอ งเทีย่ วเรอื สาํ ราญมคี วามจําเปนตองเดินทาง
มายังเมืองทาตนทางกอนที่เรือจะเขาเทียบทาท่ีเมืองทาตนทางอยางนอย 1 วัน หรือเดินทางกลับ
หลังลงจากเรืออยางนอย 1 วัน ซึ่งนักทองเที่ยวสวนใหญจะถือโอกาสในการทองเท่ียวที่เมืองทาตนทาง
หรือแหลงทองเท่ียวใกลเคียงอีก ประมาณ 1 - 7 วัน ขึ้นอยูกับศักยภาพของแหลงทองเที่ยวในพ้ืนที่
รอบ ๆ เมืองทาตนทางน้ัน ๆ เพ่ือใหเกิดความคุมคาจากคาใชจายของเที่ยวบิน ซ่ึงกอใหเกิดกิจกรรม
การทองเท่ียวตอเนื่อง เชน คาโรงแรม ท่ีพัก การซ้ือโปรแกรมการทองเท่ียว อาหาร ของท่ีระลึก
การขนสง เปนตน ขณะเดียวกันเมืองทาตนทางจะมีจํานวนนักทองเท่ียวเปน 2 เทา (Embarking &
Disembarking Passenger) เม่ือเทยี บกับเรอื ทีเ่ ขา มาจอดแวะพกั (Transit passenger)) จากการสํารวจ
ข อ ง Business Research & Economic advisor “BREA” ใ น เ ร่ื อ ง Economic Contribution of
Cruise Tourism in Southeast Asia – 2014 Major Finding พบวา คาใชจายของนักทองเที่ยวใน
เมืองทาตนทางมีถึง 842 ดอลลารสหรัฐตอคนตอวัน ในขณะที่เมืองทาแบบแวะพักจะมีคาใชจาย
๑๑
ของนักทองเที่ยวอยูที่ 132 ดอลลารสหรัฐตอคนตอวัน ขณะเดียวกันเรือสําราญมีความจําเปน
ในการเตรียมความพรอมสําหรับเที่ยวเรือตอ ไป กอใหเกิดกิจกรรมตา ง ๆ ของเรือสําราญในเมอื งทาตนทาง
เพื่อรองรับการปฏิบัติงานของเรือ เชน การซอมบํารุงเรือ การเติมนํ้าจืด การเติมนํ้ามัน การสงเสบียง
อาหาร อะไหลเรือ ของใช การบริหารจัดการของเสียและขยะ และการสับเปล่ียนลูกเรือจํานวนมาก
ท่ีหมดสัญญาวาจางกับลูกเรือชุดใหม เปนตน จะเห็นไดวาจากศักยภาพการใชจายของนักทองเที่ยว
เรือสําราญ มีเปนจํานวนมาก การเตรียมความพรอมของเรือขนาดใหญกอใหเกิดรายไดจํานวนมาก
กับเมืองทาตน ทาง อกี ทง้ั ยังเปน การสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญ ตามภาพที่ 12
เพื่ออํานวยความสะดวกและสรางความประทับใจใหก ับผโู ดยสาร ดงึ ดูดใหน กั ทอ งเที่ยวกลับมาทอ งเทีย่ ว
ในระยะเวลาที่ยาวนานมากข้ึนในโอกาสตอไป (ขอมูลจากการสํารวจของสมาคมเรือสําราญระหวาง
ประเทศ Cruise Line International Association “CLIA”)
ภาพท่ี ๑๒ การหมนุ เวยี นทางเศรษฐกจิ ในหวงโซธรุ กิจของทา เรอื ตน ทาง
ศักยภาพของพ้ืนท่ี จังหวัดภูเก็ตมีความพรอมในดานแหลงทองเท่ียว ทั้งแหลงทองเที่ยว
ทางธรรมชาติ ประวตั ิศาสตร วัฒนธรรมประเพณี มีการตอ นรับท่ีสรา งความประทับใจใหกับนกั ทองเทย่ี ว
มีชื่อเสียงระดับโลกเปนท่ีดึงดูดนักทองเที่ยวใหเขามาทองเที่ยวเปนจํานวนมากอยูแลว เปนเมือง
ทองเท่ียวท่ีสําคัญของประเทศ มีโครงสรางดานการทองเท่ียวที่ไดมาตรฐานทั้งพาหนะ มัคคุเทศก
ทาอากาศยาน เปนเมืองทาแบบแวะพักท่ีมีเรือสําราญเดินทางเขามาแวะทองเท่ียวมากที่สุดในประเทศ
และเปนเมืองทาท่ีมีเรือสําราญเดินทางเขามาทองเที่ยวมากที่สุดอันดับท่ี 8 ของทวีปเอเชีย แตยังขาด
ผูท่ีมีประสบการณและความเขาใจในการรองรับการใหบริการเมืองทาตนทางของเรือสําราญ ปจจุบัน
๑๒
มีการสรางอาคารผูโดยสารขนาดเล็กในทาเรือไวแลว แตยังไมไดมีการกําหนดแผนผังของอาคาร
ใหรองรบั การปฏิบัตงิ าน กลุมเรือสําราญหรหู ราขนาดเลก็ เปน เรือท่ีเคยเขา เทยี บทาท่ที าเรือภเู กต็ อยูแลว
เพียงแตเรือบางลําในกลุมเรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก (Small Luxury Cruise) ที่มีขนาดความยาว
ของเรือเกินกวา ๒๑๐ เมตร แตไมเกิน ๒๖๘ เมตร ยังตองมีการขออนญุ าตเปนกรณีพิเศษในการนาํ เรอื
เขา - ออกเทา นน้ั
จากการรวบรวมขอมูลเบ้ืองตนและการสัมภาษณผูประกอบการเรือสําราญ พบวา
หากมีการพัฒนาทาเรือตนทาง (Home Port) ขึ้นที่ทาเรือนํ้าลึกภูเก็ต บริษัทที่ใหบริการเรือสําราญ
ก็มีแนวโนมที่จะนําเรือสําราญเขามาใชทาเรือตนทาง (Home Port) ทั้งที่จังหวัดภูเก็ตและเมืองพัทยา
จังหวัดชลบุรี นอกจากนี้ การทองเท่ียวแหงประเทศไทย ซึ่งมีภารกิจดานการตลาดก็พรอมท่ีจะนําไป
สงเสริมการประชาสัมพันธกับบริษัทท่ีใหบริการเรือสําราญในงาน Seatrade Cruise Convention
ท่ี Miami, USA ในชวงประมาณเดือนมีนาคมของทุกป เพ่ือจูงใจใหบริษัทท่ีใหบริการเรือสําราญ
นํานักทองเที่ยวเดินทางมาข้ึนเรือท่ีเมืองทาตนทางในประเทศไทย ดังน้ัน การเตรียมความพรอม
และปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีทาเรือนํ้าลึกภูเก็ต จะเปนกาวสําคัญในการสงเสริมความสามารถ
ดา นการแขง ขนั การทอ งเที่ยวเรอื สาํ ราญทีส่ าํ คัญของประเทศไทย
๒. วัตถุประสงค
๒.๑ เพ่ือศึกษาความพรอมดานศักยภาพของการพัฒนาทาเรือนํ้าลึกภูเก็ตรองรับการเปนทาเรือ
ตนทาง (Home Port) สําหรบั เรือสาํ ราญหรหู ราขนาดเลก็ (Small Luxury Cruise)
๒.๒ เพ่ือเปนขอเสนอใหมีการเพ่ิมการใหบริการท้ังทาเรือแวะพัก (Port of Call) และทาเรือตนทาง
(Home Port) ใหมีประสิทธิภาพและในระยะเวลาที่เหมาะสม โดยมีเปาหมาย คือ การสงเสริม
และเพม่ิ จํานวนนักทองเทยี่ วคณุ ภาพสงู เพอื่ สรางรายไดเขาสปู ระเทศเพ่มิ ข้นึ
๓. ประโยชนทีค่ าดวา จะไดรับ
๓.๑ นําขอมูลไปใชในการวางกรอบและเงื่อนไขการพัฒนาทาเรือตนทาง (Home Port) เพื่อสราง
แรงจูงใจใหบ ริษัททใ่ี หบริการเรือสําราญนาํ เรือเขามาเปล่ียนผโู ดยสารไดด วยความสะดวก สามารถสรา ง
ความประทับใจใหกับนักทองเที่ยวในการเดินทางมาเริ่มตนหรือส้ินสุดเสนทางเดินเรือที่จังหวัดภูเก็ต
ยกระดับมาตรฐานทา เรอื สําราญใหไดม าตรฐานสากล
๓.๒ เปนตนแบบการพัฒนาทาเรือตนทางสําหรับเรือสําราญหรูหราขนาดเล็กเพ่ือตอยอด
สกู ารพฒั นาทา เรอื ตนทางสาํ หรบั เรอื สําราญขนาดใหญ
๓.๓ เพ่ิมรายไดจากการทองเที่ยวเขาสูชุมชน จังหวัดและประเทศ สรางงานใหกับประชาชนในพ้ืนท่ี
กอใหเกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจในหวงโซธุรกิจท่ีเกี่ยวของ เสริมสรางความสามารถในการแขงขัน
ของประเทศ สนับสนุนการเปนศูนยกลางการเดินทางทางทะเลของประเทศไทย และภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต
๑๓
๔. ขอบเขตการศกึ ษา
๔.๑ ขอบเขตดานเนื้อหา
ศึกษาความเปนไปไดของการพัฒนาทาเรือน้ําลึกภูเก็ตเปนทาเรือตนทาง (Home Port) รองรับ
เรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก ในเรื่องประสิทธิภาพของทาเรือ การบริหารจัดการ โครงสรางพื้นฐาน
การบรกิ ารสําหรบั เรอื สําราญ และอตั ราคาภาระท่ีเหมาะสม เพือ่ ใหบรษิ ัทที่ใหบ รกิ ารเรือสําราญเขามาใช
บริการและเพ่ือพัฒนาไปสูเปาหมายของการเปนศูนยกลางการเดินทางทองเที่ยวทางทะเล (Maritime
Tourism Hub)
๔.๒ ขอบเขตดานกลุมตัวอยา ง
ขอบเขตดานประชากร หรือผูใหขอมูลสาํ คัญ ประกอบดวย หนวยงานภาครัฐ หนวยงานภาคเอกชน
สถาบันการศึกษา และบุคคลท่ีเก่ียวของที่เชญิ มาใหข อ มลู ไดแก
หนว ยงานภาครัฐ หนวยงานจังหวัด
หนว ยงานสวนกลาง
๑ สถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชพี (องคก ารมหาชน) 12 ผวู า ราชการจังหวัดภเู ก็ต
๒ กรมการทองเท่ยี ว กระทรวงการทอ งเที่ยวและกีฬา 13 กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายใน
จงั หวดั ภเู กต็ (กอ.รมน.จว.ภก.)
๓ การทองเทยี่ วแหง ประเทศไทย ฝา ยสนิ คา 14 ศูนยรกั ษาผลประโยชนข องชาตทิ างทะเล
(ศรชล.) ภาค ๓
๔ การทอ งเท่ียวแหง ประเทศไทย กองอเมรกิ า 15 สํานักงานการทองเที่ยวและกีฬาจงั หวดั ภเู ก็ต
๕ การทอ งเที่ยวแหง ประเทศไทย 16 กองบังคบั การตาํ รวจทองเที่ยว ๓
สํานกั งานนิวยอรก
6 กองมาตรฐานคนประจาํ เรอื กรมเจา ทา 17 ดา นตรวจคนเขาเมืองจังหวัดภเู กต็
กระทรวงคมนาคม
7 กรมพฒั นาฝม อื แรงงาน กระทรวงแรงงาน 18 ดา นศลุ กากรภูเกต็
8 กรมสวสั ดกิ ารและคุมครองแรงงาน 19 สํานักงานสรรพากรพื้นท่ีภูเก็ต
กระทรวงแรงงาน
9 มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร วทิ ยาเขตศรรี าชา 20 ทา อากาศยานนานาชาตภิ ูเก็ต
10 มหาวทิ ยาลยั บูรพา 21 สํานักงานสาธารณสขุ จังหวดั ภูเก็ต
11 มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม
หนวยงานภาคเอกชน
๑ สมาคมผปู ระกอบการธรุ กจิ เรือสาํ ราญไทย ๑๓ บจก. ซ.ี ซ.ี ดบั บลิว
๒ สมาคมธุรกิจเรือยอรชไทย ๑๔ Holland America Line Group
๓ บจก. อ.ี เอ.เอส. มาริไทมเ อเยนซ่ี (ไทยแลนด) ๑๕ ทาเรอื ภูเก็ต (บริษทั ภูเก็ต ดีพ ซี พอรต )
๔ บจก. ทเี อสแอล แน็กซโก (ประเทศไทย) ๑๖ หอการคาจงั หวดั ภเู กต็
๕ บจก. มิลเล่ียนไมล เอเยนซสี ๑๗ สภาอุตสาหกรรมทองเท่ียวจังหวัดภูเก็ต
๖ บจก. เอสไฟว เอเชยี ๑๘ นายประดิษฐ ภทั รประสทิ ธิ์
ผูบริหารบรษิ ทั ภเู ก็ต ดีพ ซี พอรต
๑๔
หนว ยงานภาคเอกชน 19 สมาคมธรุ กิจการทองเท่ียวจังหวัดภเู ก็ต
๗ บจก. รเี กล อินเตอรเนชน่ั แนล 20 สมาคมวิชาชีพเรอื สําราญ
๘ บจก. ซีทัวร (ประเทศไทย) 21 บจก. กาลิเลโอ แมรีไทม
๙ บจก. อินเตอรครซุ ย ชอรไ ซด แอน พอรต 22 บจก. พทั ยา อินเตอรเ นชน่ั แนล เซฟต้ี
เทรนนิง่ เซน็ เตอร
เซอรว สิ บจก. RelyOn Nutec Thailand
๑๐ หจก. ณัฐนรี ซัพพอรต เซอรวิส ๑๗
๑๑ บจก. เซา ทอ สี๊ ทเอเซียเทคโนโลยี 23
๑๒ บจก. ออโรรา เทคโนโลยี แอนด เอน็ จเี นียริ่ง
คอนซลั แตนส
๔.๓ ขอบเขตดา นพน้ื ท่ี
การศกึ ษานเ้ี ฉพาะการเปนเมอื งทาตน ทาง (Home Port) ของทาเรือน้าํ ลึกภเู ก็ต
๔.4 ขอบเขตดานเวลา
ภายในเดือนมีนาคม ๒๕๖๔ – ตุลาคม 2565 เพื่อใหการทองเท่ียวแหงประเทศไทยสามารถ
นําขอมูลเบ้ืองตนเสนอกับบริษัทท่ีใหบริการเรือสําราญในงาน Seatrade Cruise Convention
ท่ี Miami, USA
๕. หลักเกณฑท ใ่ี ชใ นการพจิ ารณาศึกษา
หลกั เกณฑท ่ีดึงดูดใหส ายการเดนิ เรอื เขา มาใชท า เรอื ตนทาง
จากรายงาน Is this a Home Port, an analysis of the cruise industrial’s selection criteria
by Maria B. Lekakou, Athanasios A. Pallis and George K Vaggelas, University of the Aegean,
Greece และการประเมนิ ของที่ปรกึ ษา ซงึ่ มีประสบการณในพ้ืนท่ีมากกวา 30 ป
๑๕
หลกั เกณฑทดี่ งึ ดดู ใหส ายการเด
ดนิ เรอื เขา มาใชท า เรือตน ทาง
๑๖
หลกั เกณฑทดี่ ึงดูดใหสายการเดินเร
ตารางท่ี ๒ หลกั เกณฑท ี่ดงึ ดูดใหสายก
รอื เขา มาใชท า เรอื ตน ทาง (ตอ)
การเดนิ เรอื เขา มาใชท า เรือตน ทาง
๑๗
ภาพที่ 13 ตวั อยางการทาํ การสง เสริมการตลาดของสาธารณรฐั สงิ คโปร โดย Singapore Tourism Board
๑๘
ภาพท่ี 1๔ ตวั อยา งภาพรวม - กองทุนสนบั สนนุ การพฒั นาเรอื สาํ ราญ
๖. นยิ ามศพั ทเ ฉพาะ
6.1 ทาเรือตนทาง หรือ ทาเรือหลัก (Home Port) หมายถึง เมืองทาท่ีบริษัทท่ีใหบริการ
เรือสําราญเลือกท่ีจะกําหนดไวในเสนทางทองเท่ียว เพื่อนําเสนอและจูงใจใหนักทองเท่ียวตัดสินใจ
ในการเลอื กซอ้ื โปรแกรมการทองเท่ยี วของเรือสาํ ราญ เปนจุดเรม่ิ ตน หรือสิน้ สุดเสนทางเดินเรือ โดยจะเปน
เมืองทาเดียวกัน (Round Trip) หรือคนละเมืองทา (Open Jaw) ก็ได ชื่อเสียงของเมืองทาตนทางซงึ่ เปน
ที่นิยมจะทําใหนักทองเที่ยวตัดสินใจซ้ือเสนทางเดินเรือสําราญไดดวยความรวดเร็ว เงื่อนไข
และองคป ระกอบสาํ คญั ของเมืองทา ตนทาง มดี งั นี้
๑๙
๑) ช่อื เสียงของเมืองทาเปนทีร่ จู ักและยอมรับในระดบั นานาชาติ
๒) เที่ยวบินเชื่อมโยงระหวางภูมิลําเนาของนักทองเที่ยวกับเมืองทาตนทางมากเพียงพอ
มีทา อากาศยานนานาชาติขนาดใหญ
๓) ทาเรือประกอบดวยอาคารผูโดยสารท่ีสามารถรองรับการปฏิบัติงานของเรือสําราญ
และอาํ นวยความสะดวกใหก บั ผโู ดยสารได
๔) รองนาํ้ แองกลับลาํ ทา เทียบเรือรองรับการเขา - ออกของเรือไดอ ยางปลอดภัยตลอดเวลา
๕) ขนาดและปรมิ าณของโรงแรมระดบั 3 - 5 ดาว มากเพยี งพอ
๖) ขนาดและปรมิ าณของแหลง ทอ งเที่ยวมากเพยี งพอ
๗) การขนสงเชอื่ มโยงระหวา งทาอากาศยาน โรงแรม แหลง ทอ งเที่ยว และทา เรือ ไดมาตรฐาน
๘) ความปลอดภัยของเมืองทาตนทาง
6.2 ทาเรือแวะพัก (Port of Call)4 หมายถึง เมืองทาท่ีเรือสําราญนําเรือเขามาจอดแวะ เพื่อนํา
นักทองเท่ียวขึ้นบกมาทองเทยี่ วในระยะเวลาสั้น ๆ ระยะเวลาประมาณ 8 - 36 ชั่วโมง (ระยะเวลาจอด
เทยี บทา ขนึ้ อยกู บั ศกั ยภาพของแหลงทองเทย่ี ว ระยะเวลาในการผา นพิธกี ารเขา เมอื ง ระยะเวลาเดนิ ทาง
จากทาเรือสูแหลงทองเที่ยว) อาจเปนเมืองทาที่มีทาเทียบเรือขนาดใหญ หรือ นําเรือมาจอดทอดสมอ
แลว นํานักทองเที่ยวขึน้ บกท่ที าเทยี บเรอื ขนาดเลก็ (Landing Pier) ก็ได
๗. รูปแบบการศกึ ษา
การศึกษาใชวิธีการศึกษาที่ผสมผสานในการเก็บรวบรวมขอมูล เพื่อใหครอบคลุมผูมีสวนไดเสีย
(Stakeholders) และขอมูลมีทั้งมิติในเชิงกวางและขอมูลเจาะลึกเฉพาะเจาะจง โดยใชเทคนิคการวิจัย
เชิงคุณภาพ รวมถงึ การวิจยั เอกสาร
การวิจัยเชิงคุณภาพ ใชเทคนิคการสนทนากลุม (Focus Groups) และการสัมภาษณเชิงลึก
กับกลุมผูมีสวนไดเสีย และใชเทคนิคการสังเกตการณแบบมีสวนรวม (Participant Observation)
ในการลงพ้ืนที่เพ่ือใหไดขอมูลเชิงประจักษ (Empirical Data) ของการเดินทางทองเท่ียวทางทะเล
ในกลุมทะเลอนั ดามนั ของไทย
๘. ผลการวิเคราะหขอ มลู
จากการรวบรวมขอมูลและการศึกษาดูงานของคณะอนุกรรมาธิการ ระหวางวันพฤหัสบดีที่ ๑๘
– วันศุกรท่ี ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ณ จังหวัดภูเก็ต สามารถสรุปผลการวิเคราะหขอมูล
ตามหลักเกณฑที่ดึงดดู สายการเดนิ เรือเขามาใชทาเรือตน ทาง โดยวิเคราะหใ น 5 เกณฑท่ีมีความสําคัญ
และจําเปนเรง ดวนในการพฒั นาทา เรือตน ทาง เพอื่ ใหการทองเที่ยวแหง ประเทศไทยนาํ ไปประชาสัมพนั ธ
กบั บริษัทท่ีใหบ ริการเรอื สาํ ราญในงาน Seatrade Cruise Convention ท่ี Miami, USA ซ่งึ มีหลกั เกณฑ
คือ ๑. ดานประสิทธิภาพของทาเรือ ๒. การบริหารจัดการ ๓. โครงสรางพ้ืนฐาน ๔. บริการสําหรับ
เรือสําราญ และ ๕. อัตราคาภาระที่เหมาะสม
4 Athanasios Pallis, “ทาเรอื แวะพัก (Port of Call)”, สบื คน เมอ่ื วนั ที่ 19 กุมภาพนั ธ 2565
https://porteconomicsmanagement.org/pemp/contents/part3/cruise-terminal-design-equipment/
๒๐
๘.๑ ดานประสทิ ธภิ าพของทาเรือ ประกอบดว ย 5 ปจจัย คือ
๑) ความสามารถในการบริหารทาเรือ ๒) การบริหารจัดการสัมภาระ ๓) เวลาทใี่ ชในการตรวจสอบ
ความปลอดภัยบุคคล ๔) เวลาที่ผูโดยสารใชในการผานขั้นตอนของอาคารผูโดยสารไปยังเรือ
และ ๕) สิง่ อํานวยความสะดวกผโู ดยสาร
รายละเอียดทา เรือภเู กต็ 2 ทา
ทา เทยี บเรือ 180 เมตร x 2 = 360 เมตร
จาํ นวน
ความยาวหนา ทา
ความลึก 9.4 เมตร
หลักผูกเรอื
2 หลัก ๆ ละ 60 เมตร 120 เมตร
ความยาวหนา ทา รวมหลักผกู เรือ 420 เมตร
รองนํา้ ความยาว 1.5 กิโลเมตร
แองกลบั ลํา ความกวาง 120 เมตร
เข่อื นกั้นคลน่ื ความลึก 9 เมตร
ความกวา ง 360 เมตร
ความลกึ 9 เมตร
ไมม ี
๒๑
รายละเอยี ดทาเรอื ภูเก็ต
อาคารผโู ดยสาร
1 หลัง 980 ตารางเมตร
โรงพักสินคา
ขนาด 3,600 ตารางเมตร
ลานพกั สนิ คา กลางแจง
ขนาด 15,700 ตารางเมตร
ลานจอดรถ
ขนาด 11,655 ตารางเมตร
รถบัส 40 คนั
รถเกง -รถตู 45 คนั
อาคารละหมาด อาคารคอนกรีตเสริมเหลก็ ชน้ั เดียว 39.45 ตารางเมตร
อปุ กรณยกขน ไมม ี
เรือลากจูง 3,600 แรงมา 2 ลํา
ตารางที่ ๓ รายละเอียดทาเรอื ภเู ก็ต
ขอ กําหนดเกย่ี วกบั ขนาดของเรอื โดยกรมเจา ทา45
ขนาดเรอื ความยาว 210 เมตร
ความกวาง 27.50 เมตร
ความลกึ 9.40 เมตร
ตารางที่ ๔ ขอกาํ หนดเกี่ยวกบั ขนาดของเรอื โดยกรมเจา ทา
5 กรมเจาทา, “ขอกําหนดเกี่ยวกบั ขนาดของเรอื ” สบื คน เม่ือวันที่ 22 มนี าคม 2565
HTTP://WWW.MD.GO.TH/SHIP_SCHEDULE/LAWS4PHP
๒๒
๘.๑.๑ ความสามารถในการบริหารทาเรือ ขอกําหนดในดานขนาดของเรือท่ีจะผานเขา - ออก
และเทียบทา เขตทาเรือน้ําลึกภูเก็ต คือ เรือที่ผานเขา - ออก รองนํ้าทาเรือน้ําลึกภูเก็ต จะตองมีความยาว
ตลอดลําไมเกนิ 210 เมตร (688 ฟุต 10 น้ิว) กวางไมเกิน 27.50 เมตร (90 ฟุต 3 น้ิว) อัตรากนิ นํา้
ลึกสูงสุดไมเกิน 9.40 เมตร (30 ฟุต 10 นิ้ว) ระยะเวลาเดินเรือในรองนํ้าไมนอยกวา 1 ชั่วโมง
เรือใดท่ีมีขนาด หรืออัตรากินน้ําลึกเกินกวาขอกําหนดใหผานรองน้ํา หรือเกินกวาขอกําหนดสําหรับ
ทาเทียบหรือที่จอดเรือ หากจําเปนตองผานรองนํ้า หรือเขา - ออกท่ีจอด ใหขออนุญาตตอเจาทา
เม่ือไดรบั อนุญาตแลว จึงกระทําได การเดินเรอื ในรองน้ําทาเรอื นา้ํ ลกึ ภูเก็ต ใหเดินตามระบบเดนิ ทางเดยี ว
เรือทกุ ประเภททมี่ คี วามยาว ๒๑๐ เมตร สามารถท่จี ะเขามาใชบรกิ ารทร่ี องน้าํ ภูเก็ตไดตลอดเวลา
จากบทบาทของทา เรือนํ้าลกึ ภเู กต็ ทเ่ี ปน ทา เรอื แวะพัก (Port of Call) มาตลอด ประกอบกบั
ไมมีเข่ือนกันคล่ืน มีเรือลากจูงขนาด 1,600 แรงมาเพียงลําเดียว (กอนสัญญาการบริหารทาเรือ
ฉบบั ปจจบุ นั ) ความลกึ ของแอง กลับลํามลี กั ษณะคลายกระทะ (ต้ืนขึ้นบริเวณขอบแองกลบั ลํา) ประกอบกับ
ไมมีการกําหนดแนวทางการนําเรือเขา - ออกตามทิศทางของกระแสน้ําและคล่ืนลมในแตละชวงเวลา
ทาํ ใหเ รอื สาํ ราญสวนใหญเ ลือกท่จี ะไปจอดทอดสมอทีอ่ าวปา ตอง (ซ่ึงแทบจะไมมีคา ใชจ าย) ในชวงฤดูมรสมุ
ตะวันตกเฉียงใตชวงเดือนเมษายนถึงตุลาคมของทุกป ซึ่งเปนฤดูกาลทองเท่ียวท่ีมีเรือเขามาทองเที่ยว
ท่ีจังหวัดภูเก็ตเปนจํานวนมาก ทําใหจํานวนเรือท่ีเขามาจอดเทียบทาตลอดปมีจํานวนนอยกวาเรือท่ีไป
จอดทอดสมอที่อาวปา ตอง ปกติแลวมีเรือใบ 4 เสา ช่ือเรือ Start Flyer ความจุผูโดยสารประมาณ 170 คน
มาทําการเปล่ียนผูโดยสารอยูเปนประจํา แตใชการทอดสมอที่อาวปาตองเพื่อลดคาใชจาย ประกอบกับ
ผูบริหารทาเรือภูเก็ตยังไมมีประสบการณในการบริหารทาเรือตนทาง การบริหารจัดการใหเรือเขาจอด
เทยี บทาแมวาทา เรอื จะมีการขยายหนา ทา เทยี บเรอื ดวยการเพมิ่ หลักผูกเรอื จํานวน 2 หลัก ทําใหค วามยาว
หนาทารวม 420 เมตร แลวก็ตาม ยังมีความจําเปนในการนําเรือสินคาออกไปจอดทอดสมอ
เพ่อื ใหเ รือสําราญเขาเทียบทา เปน คร้งั คราว
เรอื สําราญหรหู ราขนาดเล็ก (Small Luxury Cruise) จะมีความยาวในชวง 180 - 220 เมตร
เมื่อรวมกับระยะหางเพื่อความปลอดภัยดานหัวเรือและทายเรืออีกดานละ 30 เมตร รวม 280 เมตร
จะเหลือพื้นท่ีสําหรับเรอื สินคาประมาณ 140 - 180 เมตร การบริหารพ้ืนท่ีหนา ทาระหวางเรือสาํ ราญ
และเรือสินคาอยางมปี ระสิทธภิ าพ จะสามารถลดความจําเปน ในการยายเรอื สินคา ออกไปจอดทอดสมอ
เน่ืองจากเรือสําราญจะมีการกําหนดวนั ท่ีแนนอนท่ีจะเขามามีการแจงลวงหนา 1 - 2 ป ในระหวางนนั้
หากมีเรือสินคาเทียบทาอยูกอนแลว จะใหเรือสินคาออกไปทิ้งสมอรอเพื่อใหเรือสําราญเขามาเทียบทา
โดยจะมีการหารือรวมกันระหวางบริษัทเรือสินคาและเรือสําราญเพื่อหาขอตกลงรวมกัน เพื่อไมใหเกิด
ปญหาในภายหลัง
๘.๑.๒ การบริหารจัดการสัมภาระ ทาเรือน้ําลึกภูเก็ตไมเคยดําเนินการมากอน เน่ืองจาก
ยังไมเคยมีเรือสําราญท่ีเขามาเปล่ียนถายผูโดยสารที่ทาเรือนํ้าลึกภูเก็ต ซ่ึงการบริหารจัดการสัมภาระ
สําหรับทาเรือตนทาง ควรมีการจัดการ คือ สัมภาระสําหรับบรรทุกขึ้นเรือ (Checked Baggage)
ทั้งขาข้ึนและขาลง แบงเปน
๑) กระเปาสําหรับผูโดยสารท่ีซ้ือโปรแกรมทองเท่ียวกับเรือสําราญ (Passenger
Purchased Ship’s excursion) กระเปา จะถกู บรรจุในรถบรรทกุ กระเปา ไปยังจดุ หมายทนี่ กั ทองเทยี่ ว
ไดซื้อโปรแกรมการเดินทางไว โดยผูโดยสารจะไมไดเห็นกระเปาจนกวาจะเดินทางไปถึงปลายทาง
๒๓
ตามเสนทางที่ไดซ้ือไว สําหรับผูโดยสารขาขึ้น (Embarking) กระเปาจะเดินทางมาจากโรงแรม
หรือทา อากาศยานแลวนําขึน้ เรือ โดยผโู ดยสารจะไดรบั กระเปาท่หี อ งพกั ของตนเองในเยน็ วันท่ขี ึน้ เรือ
๒) กระเปาสําหรับผูโดยสารที่ไมไดซื้อโปรแกรมการทองเที่ยวกับเรือสําราญ
หรือผูโดยสารที่เดินทางอิสระ (Independent Passenger) กระเปาจะถูกนํามาวางเรียงตามสี
และกลุมของปายตดิ กระเปา (Luggage Tag Color Code) ท่ีนักทองเท่ยี วไดถูกแบงไว เพื่อใหผูโดยสาร
มารับและนําติดตัวพรอมกับตน สําหรับผูโดยสารขาลง (Disembarking) ในสวนผูโดยสารขาข้ึน
(Embarking) ทาเรือตองจัดเตรียมเคานเตอรสําหรับรับกระเปา (Luggage Drop - off Counter)
ไวใกลกับท่ีจอดรถสําหรับรับ – สงผูโดยสาร เพ่ืออํานวยความสะดวก เน่ืองจากผูโดยสารที่เดินทาง
ดวยเรือสําราญจะมีกระเปาสัมภาระโดยเฉลี่ยอยางนอย 2.5 ใบ สําหรับเสนทางเดินเรือ 14 วัน
และ 1.5 ใบ สําหรับเสนทางเดนิ เรือไมเกนิ 7 วัน หลังจากรับกระเปา แลวตองนํากระเปาผานการตรวจ
ความปลอดภัยดวยเคร่ืองสแกนสัมภาระ (X-ray) แลวบรรจุใสกรงกระเปา (Luggage Cages)
แยกตามช้ัน (Deck) และตําแหนง (Location) ของหองพักบนเรือ แลวจึงคอยนํากระเปาขึ้นเรือ
เพ่ือใหลูกเรือนํากระเปาไปสงยังหอ งพักของผูโดยสารตามปายหอยกระเปา (Luggage Tag) ที่ผูโดยสาร
ไดติดไว กระเปาสัมภาระติดตัว ตองจัดเตรียมรถเข็นกระเปาขนาดเล็กไวใ หกับผูโดยสารในพื้นท่ีใกลก ับ
ท่ีจอดรถรับสงผูโดยสาร การเดินทางดวยเรือสําราญเปนการเดินทางระยะยาว ผูโดยสารมักมีสัมภาระ
ติดตัวคอนขางมากกวาผูโดยสารที่เดินทางโดยเคร่ืองบิน เน่ืองจากเรือไมมีขอจํากัดในดานจํานวน
สมั ภาระของผูโดยสาร
๘.๑.๓ เวลาท่ีใชในการตรวจสอบความปลอดภัยบุคคล กอนท่ีจะมีการสรางอาคารผูโดยสาร
การตรวจสอบความปลอดภัยบุคคลดําเนินการในเรือสําราญที่ประตูทางเขา (Gangway) ซึ่งทําใหเกิด
แถวยาวที่หนาประตูเรือในชวงท่ีมีผูโดยสารเดินทางกลับมาพรอมกันเปนจํานวนมาก การตรวจสอบ
ความปลอดภัยในทาเรือของประเทศอ่ืน ๆ สวนใหญเปนการดําเนินการท่ีอาคารผูโดยสาร เน่ืองจาก
มีพื้นที่มากกวา สามารถดําเนินการตรวจไดละเอียดกวา ลดปญหาความแออัดที่ประตูเรือ จากขนาด
ของอาคารผูโดยสารท่ีทาเรือนํ้าลึกภูเก็ต ควรจะมีชองตรวจดานความปลอดภัย เครื่องสแกนสัมภาระ
(X-ray) กับเครื่องตรวจจับโลหะ (Metal Detector) สําหรับสัมภาระติดตัวขนาดเล็กประมาณ 3 ชุด
(ลูกเรือ 1 ชุด และผูโดยสาร 2 ชุด) เคร่ืองสแกนสัมภาระ (X-ray) ขนาดใหญสําหรับกระเปาสัมภาระ
(Checked Baggage) ท่จี ะนาํ ขึ้นเรือ จาํ นวน 2 - 3 เคร่ือง
๘.๑.๔ เวลาทผ่ี ูโดยสารใชในการผานขั้นตอนของอาคารผูโดยสารไปยงั เรือ
๘.๑.๔.๑ พิธีการตรวจคนเขาเมือง กอนที่จะมีการกอสรางอาคารผูโดยสารใชการตรวจ
แบบออฟไลน (Off Line) โดยดําเนินการเปน ๒ ขั้นตอน ดังนี้ ๑) การตรวจสอบขอมูลบุคคลตองหาม
ดําเนนิ การโดยการสง ไฟลบ ญั ชีผโู ดยสารและลกู เรอื ลว งหนา เพอ่ื ใหด า นตรวจคนเขา เมอื งภเู กต็ นาํ รายชอ่ื
ผูโดยสารและลูกเรือเขาตรวจสอบกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Personal Identification and
Blacklist Immigration Control System - PIBICS) ของสํานักงานตรวจคนเขาเมืองทีละคน
ซึ่งใชเวลาและกําลังพลในการตรวจสอบกอนท่ีเรือจะเดินทางเขามา และ ๒) ตรวจบุคคลและหนังสือ
เดินทางขณะที่เรือเดินทางมาถึง แลวจึงคอยนําขอมูลแบบรายงานการบันทึกขอมูลการเดินทาง
เขา - ออกราชอาณาจกั ร (บตั ร ตม.6) กลับมาบันทึกขอ มลู เขา ระบบทีต่ รวจคนเขาเมอื งภเู กต็ ในภายหลงั
๒๔
จากความรวมมือของทุกประเทศในการเพิ่มเติมขอมูลดานอัตลักษณบุคคล
(Biometric) เขาไปในหนังสือเดินทาง สํานักงานตรวจคนเขาเมืองไดปรับเปล่ียนการตรวจคนเขาเมือง
โดยใชก ารตรวจอตั ลกั ษณบุคคล (Biometric) เทยี บกับขอ มลู ในหนังสอื เดนิ ทางและผูถือหนังสอื เดินทาง
เปนการตรวจคัดกรองผูโดยสารกับบัญชบี ุคคลตองหามเขาประเทศ (Blacklist) เปนการสรางมาตรฐาน
ความปลอดภัยในการพิสูจนตัวบุคคล ยกระดับเทียบเทากับเมืองทาระดับสากล และมีการบันทึกขอมูล
ลงในระบบทกุ รายจะมมี าตรฐาน เรยี กวา เอกสารคูม ือมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (Standard Operations
Procedure - SOP) เปนคูมือข้ันตอนมาตรฐานท่ีเจาหนาที่ตรวจคนเขาเมืองจังหวัดภูเก็ตทุกคน
ตองรับทราบและปฏิบัติตามภายใตมาตรการความปกติรูปแบบใหม (New Normal) ควบคูไปกับ
ความม่ันคง เพื่อใหก ารตรวจสอบมคี วามถกู ตองแมนยาํ มากขน้ึ ซง่ึ มีการดําเนินการแลว ในหลายทาอากาศยาน
นานาชาตขิ องไทย
การตรวจสอบผูโดยสารขาเขาหรือขาออก กรณีเรือสําราญท่ีมีจํานวนผูโดยสาร
ประมาณ ๗๐๐ คนตอลําเรือ ความคลองตัวในการรองรับผูโดยสารข้ึนอยูกับจํานวนชองตรวจ
หากบริษัทจัดทําชองตรวจจํานวนเพียงพอ ทางเขา - ทางออก ปริมาณผูโดยสารที่อยูชองตรวจ
ก็จะนอยลง การตรวจคนเขาเมืองจะเปนไปตามมาตรฐานของทา อากาศยาน ท่ีผานมาเคยตรวจเอกสาร
จากผูโ ดยสาร จะใชเ วลาประมาณ ๔๕ วนิ าทีตอคน สวนเรื่องระบบตาง ๆ ท่ีจะตอ งนาํ ไปติดต้งั ในทาเรือ
จะตองหารือใหชัดเจนวา จะนําสวนใดเขาไปบาง แตขอใหบริษัทจัดเตรียมสถานที่ใหพรอมในสวน
ของพ้ืนที่การตรวจคนเขาเมอื ง เพ่ือเปนการยกระดบั มาตรฐานในการตรวจคนเขา เมือง จากการทที่ าเรือ
ภูเก็ตมีอาคารผูโดยสารแลว และรองรับการเปนทาเรือตนทางสําหรับเรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก
(Small Luxury Cruise) ทาเรือนํ้าลึกภูเก็ตจะดําเนินการจัดผังทางเดินของผูโดยสาร กําหนดพื้นท่ี
ในการดําเนินพิธีการตรวจคนเขาเมืองใหไดมาตรฐาน มีชองตรวจที่เพียงพอในการรองรับจํานวน
ผูโดยสารใหส ามารถผานพธิ ีการไปไดอยา งรวดเรว็ โดยควรปรบั ปรุงพิธีการตรวจคนเขาเมอื ง ดงั นี้
• จัดใหมีเคานเตอรเก็บอัตลักษณบุคคล (Biometric Kiosk) สําหรับเก็บ
อัตลักษณบุคคล เพ่อื ลดความแออดั และระยะเวลาในการผา นพิธกี ารท่บี รเิ วณชอ งตรวจคนเขาเมือง
• จดั ใหม ีชองตรวจคนเขาเมอื งแบบตรวจอัตลักษณบคุ คล (Biometric) จํานวน
10 ชองตรวจ เพ่ือใหสามารถดําเนินพิธีการแบบออนไลนใหแลวเสร็จภายในเวลา 1 ช่ัวโมง ๓๐ นาที
สําหรับเรือสาํ ราญหรูหราขนาดเล็ก (Small Luxury Cruise)
• จัดทําโปรแกรมในการแลกเปล่ียนขอมูล (Data Interface) ในการนําขอมูล
บัญชีผูโดยสารและลูกเรือเขาสูระบบการตรวจสอบของดานตรวจคนเขาเมืองไดท้ังลํา ทดแทน
การดาํ เนนิ การทีละคน
• จัดทําเอกสารคูมือมาตรฐานในการปฏิบัติงานในการตรวจเรือสําราญ
(Standard Operations Procedure for Cruise vessel inspection) ที่ ส อ ด ค ล อ ง กั บ ลั ก ษ ณ ะ
การปฏิบตั ิงานของเรอื สาํ ราญที่มผี โู ดยสารจํานวนมากและมเี วลาจอดเทียบทาส้นั ๆ
• สนับสนุนเครื่องมือ อุปกรณ และกําลังเจาหนาท่ีในการรองรับการพัฒนา
ทาเรือตนทางสําหรับเรือสําราญหรูหราขนาดเล็ก (Small Luxury Cruise) ที่อาคารผูโดยสารทาเรือ
นํ้าลกึ ภเู กต็