The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ginggark, 2021-09-09 09:00:36

การจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชน

ครูคืนถิ่น

แบบบันทึก

การจัดการเรยี นร้โู ดยใชแ้ หล่งเรียนร้ใู นชมุ ชน/ชมุ ชน

สำหรับครูทเ่ี ขำ้ รว่ ม
โครงกำรอบรมเชิงปฏบิ ตั ิกำรเพื่อพัฒนำครใู นโครงกำรผลิตครูเพ่ือพฒั นำทอ้ งถิ่น
ระยะกำรเข้ำส่วู ิชำชพี (Induction Program) รนุ่ ท่ี 5 บรรจปุ ี 2563 เครอื ขำ่ ยภำคใตต้ อนบน

ช่ือ-สกุล : นำงสำวกนกนำถ สงคศ์ รอี นิ ทร์
สาขาวชิ า : ภำษำไทย คณะครศุ ำสตร์ มหำวทิ ยำลัยรำชภฏั ภเู กต็
ชื่อสถานศึกษาทฝี่ กึ ประสบการณ์วิชาชีพครู : โรงเรียนอนบุ ำลภูเก็ต
ท่ีอย่ขู องสถานศกึ ษาทฝ่ี กึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู : ถนนนริศร ตำบลตลำดใหญ่ อำเภอเมือง จงั หวดั ภเู กต็
ปฏบิ ตั ิการสอนในรายวชิ า/กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ : วิชำภำษำไทย
ระดับชั้นท่สี อน : ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ี่ 6

1.ช่ือแหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน/ชุมชน ทศ่ี กึ ษา
แหล่งเรียนรู้ในชุมชนบริเวณสถำนศึกษำที่น่ำสนใจ คือ มิวเซียมภูเก็ต หรือพิพิธภัณฑ์เพอรำนำกันนิทัศน์

และภูเกต็ นครำ

1.1 ประวัติความเปน็ มา

ในอดีตอำคำรพิพิธภัณฑ์เพอรำนำกันนิทัศน์ ถูกเรียกขำนว่ำ ธนำคำรชำร์เตอร์ด ก่อสร้ำงขึ้นเม่ือ
พ.ศ.2452 ในสมัยรัชกำลท่ี 5 พระยำรัษฎำนุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบ้ี ณ ระนอง) สมุหเทศำภิบำล
สำเร็จรำชกำรมณฑลภูเก็ต เล็งเห็นว่ำภูเก็ตมีกำรค้ำขำยรุ่งเรือง เห็นสมควรให้มีกำรก่อสร้ำงธนำคำรแห่งแรกขึ้น
โดยในเวลำตอ่ มำธนำคำรได้ขอให้มีกำรก่อสร้ำงสถำนีตำรวจฝ่ังตรงข้ำมเพื่อรักษำควำมปลอดภัย เป็นสถำนีตำรวจ
ตลำดใหญ่ ธนำคำรชำร์เตอร์ดดำเนินกิจกำรจนถึงปี พ.ศ.2532 หลงั จำกนั้นธนำคำรนครหลวงไทยเช่ำเป็นสำนักงำน
สำขำภูเก็ต และภำยหลังสำนักงำนธนำรักษ์พ้ืนที่ภูเก็ตมอบให้เทศบำลนครภูเก็ตปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์ เพื่อเป็น
แหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวในตัวเมือง เทศบำลนครภูเก็ตได้ดำเนินกำรบูรณะซ่อมแซมอำคำร โดยได้รับกำร
สนับสนุนจำกหลำยๆ ฝำ่ ย กระทงั่ ในเดือน พฤศจกิ ำยน พ.ศ.2558 สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ ทรงพระรำชทำน
นำมพิพิธภัณฑ์ “พิพิธภัณฑ์เพอรำนำกันนิทัศน์” และเสด็จพระรำชดำเนินทรงเปิดพิพิธภัณฑ์ฯ อย่ำงเป็นทำงกำร
เมือ่ วันท่ี 17 พฤษภำคม 2560

1.2 ลักษณะ สภาพแวดล้อม บรบิ ททเี่ ก่ียวขอ้ ง

พิพิธภัณฑ์เพอรำนำกันนิทัศน์ เป็นแหล่งเรียนรู้ วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม อันเป็นรำกเหง้ำของ
ชำวพ้ืนถิ่นภูเก็ต หรือชำวเพอรำนำกัน ท่ีมีรูปแบบกำรนำเสนอท่ีทันสมัยและแตกต่ำงจำกพิพิธภัณฑ์อ่ืนๆ
จัดแสดงเป็น 2 ชนั้

ชน้ั ที่ 1 เปน็ ห้องโถง สำหรับจดั แสดงนิทรรศกำรหมุนเวียน และยังมมี มุ ท่นี ่ำสนใจ คือ ห้องเซฟ ซ่ึงเป็น
หอ้ งทม่ี ผี นังหนำรำว 1 เมตร เพดำนเปน็ แผ่นเหลก็ หนำ เดิมคือที่เก็บต้เู ซฟของธนำคำร ปัจจุบนั ปรับเปล่ียนเป็น
พื้นทีจ่ ดั เครื่องประดบั เพอรำนำกนั ท่งี ดงำม

ชั้นท่ี 2 แบง่ เปน็ ห้องจัดแสดง 4 หอ้ ง โดยกำรนำชมเปน็ 2 รอบ คอื เวลำ 10.00 น. และ 14.00 น.

นอกจำกนิทรรศกำรในพิพิธภัณฑ์เพอรำนำกันนิทัศน์แล้ว นักท่องเท่ียวสำมำรถเดินข้ำมถนนไปยัง
อำคำรฝั่งตรงข้ำม เพื่อเข้ำไปชมนิทรรศกำรแสดงประวัติศำสตร์กำรกำเนิดย่ำนเมืองเก่ำภูเก็ต จำกสมัย
กรงุ ธนบรุ ีมำจนถงึ สมยั รชั กำลท่ี 6 จดั แสดงด้วยภำพวำดลำยเส้นและภำพอนิเมช่ันท่ีเคลอ่ื นไหวไดอ้ กี ดว้ ย

1.3 การมสี ่วนรว่ มของชุมชน/ผูท้ ี่เกยี่ วขอ้ ง

เพอรำนำกนั นิทศั น์ อยู่ภำยใต้กำรบริหำรของมิวเซียมสยำมและร่วมกับเทศบำลนครภูเก็ตดำเนินกำร
จดั สร้ำง และดแู ลโดยเทศบำลนครภูเก็ต และชมุ ชนท้องถิน่

1.4 จุดเดน่

จุดเด่นของเพอรำนำกันนิทัศน์ (PERANAKANNITAT) หรือเรียกอีกช่ือหน่ึงว่ำ “ภูเก็ตนครำ”
(PHUKETNAGARA) กลำ่ วคอื ทแ่ี หง่ นเ้ี ปน็ พน้ื ทส่ี ร้ำงสรรคก์ ำรเรียนรสู้ ำหรับคนภูเก็ตและนักท่องเที่ยว ผ่ำนส่ือ
เทคโนโลยีและกจิ กรรมสรำ้ งสรรค์

ภูเก็ตนครำ (PHUKETNAGARA) เล่ำเรื่องกำรกำเนิดของนครภูเก็ต ผ่ำนพัฒนำกำรเมือง 4 ยุค
คือ ป่ำ เหมือง เมือง และท่องเที่ยว ซ่ึงมี “ดีบุก” เป็นส่วนสำคัญในกำรสร้ำงเมือง มีผู้คนต่ำงถิ่น ต่ำงภำษำ
ต่ำงก็มุ่งหน้ำมำขุด “ควำมม่ังคั่ง” กันอย่ำงไม่ขำดสำย โดยมีชุดกำรเรียนรู้ให้เล่นเน้นเรียนรู้เรื่องรำวต่ำงๆ
เป็นไปดว้ ยควำมสนุกสนำน

1.5 การดาเนินงาน/การดาเนนิ กจิ กรรม

ในการเข้าชมพิพิธภัณฑ์ จะเร่ิมต้นจากการท่ีทุกคนเข้ามาในพิพิธภัณฑ์ น่ังพกั เพื่อให้ถึงเวลาหรือ
สมาชิกมาครบ จากนนั้ จะมีเจ้าหน้าที่เป็นผู้พาชมนิทรรศการตามห้องต่าง ๆ พร้อมทงั้ บรรยาย เลา่ เรื่อง
ประวตั ิความเป็นมาของภเู ก็ตแก่นกั ทอ่ งเที่ยวด้วยเช่นกัน อีกทงั้ ผ้เข้าชมจะได้ทากิจกรรม หรือศึกษาข้อมูล
หรือลองปฏิบตั ิตามกิจกรรมท่ีมีอยใู่ นพิพิธภณั ฑ์

รปู ภาพการทากิจกรรม
จากแหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชน







3. การจัดการเรียนรูโ้ ดยใชแ้ หลง่ เรียนรใู้ นชมุ ชน/ชมุ ชน

3.1 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ (นาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน/ชุมชน มาจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนที่
รับผิดชอบ ไดอ้ ยา่ งไรบ้าง)

3.1.1 ช่อื รายวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้

กำรจดั กำรเรียนกำรสอนวชิ ำภำษำไทย โดยมีกำรบูรณำกำรนำแหล่งเรียนรู้ในชุมชนมำ
จัดกำรเรยี นรู้ใหก้ ับผู้เรียน

3.1.2 ระดับช้ัน

กำรจัดกำรเรียนกำรสอนนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 6โรงเรียนอนุบำลภูเก็ต
3.1.3 กจิ กรรมการเรียนรู้/การจัดการเรียนรู้

ในกำรจัดกำรเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนใกล้โรงเรียน ซึ่งแหล่งเรียนรู้ท่ีใกล้
โรงเรียน คอื พพิ ธิ ภัณฑเ์ พอรำนำกนั นิทัศน์ และภเู กต็ นครำนนั่ เอง ซงึ่ สำมำรถนำมำบรู ณำกำรกับวชิ ำภำษำไทยได้
ดังนี้

❖ กำรจัดกำรเรียนรู้ เร่ืองภำษำถ่ิน : กำรจัดกำรเรียนรู้ เร่ืองภำษำถ่ินก็สำมำรถทำได้โดยให้นักเรียนชม
พพิ ิธภณั ฑ์และร่วมกิจกรรมต่ำง ๆ จำกน้ันใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ลงในใบกจิ กรรม หำกพบเจอหรอื ได้ยินภำษำถ่ิน
พร้อมท้งั เขียนภำษำไทยมำตรฐำนกำกบั ไวห้ ำกนกั เรียนรู้ควำมหมำยของคำนั้น ๆ จำกน้ันให้นักเรียนแต่ละ
คนมำแลกเปล่ยี นควำมรกู้ ับในคำบเรียน

❖ กำรจดั กำรเรียนรู้ เรอื่ งกำรสรุปใจควำมสำคัญ : กำรจัดกำรเรียนรู้ เร่ืองกำรสรุปใจควำมสำคัญ สำมำรถทำ
ได้โดยให้นักเรียนชมพิพิธภัณฑ์และร่วมกิจกรรมต่ำง ๆ จำกน้ันให้นักเรียนสรุปใจควำมสำคัญจำกกำรฟัง
เจ้ำหน้ำทบ่ี รรยำยหรอื เลำ่ ประวัตติ ่ำง ๆ ของจังหวดั ภูเก็ตลงในใบกิจกรรม

❖ กำรจัดกำรเรียนรู้ เรอ่ื งกำรแตง่ บทร้อยแก้ว ร้อยกรองหรือกำรเขียนเล่ำเร่ือง : กำรจัดกำรเรียนรู้ เร่ืองกำร
แต่งบทร้อยแก้ว ร้อยกรองหรือกำรเขียนเล่ำเร่ือง สำมำรถทำได้โดยให้นักเรียนชมพิพิธภัณฑ์และร่วม
กจิ กรรมต่ำง ๆ จำกนัน้ มอบหมำยให้นักเรียนชมภำพถำ่ ย วิดีทัศน์ หรือหำกสำมำรถถ่ำยภำพได้ ให้นักเรียน
ถ่ำยภำพที่ประทบั ใจมำประมำณ 3 รูปจำกนัน้ ใหน้ ักเรยี นนำมำแตง่ บทร้อยแก้ว ร้อยกรองหรือกำรเขียนเล่ำ
เร่ืองตำมควำมถนัด เพอ่ื ฝึกทกั ษะกำรเขียนของนักเรียนดว้ ยเชน่ กัน

3.2 ผลประโยชนท์ สี่ ถานศกึ ษาไดร้ ับ
จำกกำรจดั กำรเรยี นร้โู ดยใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ในชมุ ชน สถำนศึกษำไดร้ บั ประโยชน์ ดังต่อไปน้ี

1.ทำใหส้ ถำนศึกษำมีแหลง่ เรียนรู้ทสี่ ำมำรถจัดกำรเรยี นกำรสอนไดเ้ พ่มิ ข้ึน
2.ทำใหส้ ถำนศกึ ษำมปี ฏิสัมพนั ธ์กับชุมชนมำกยิง่ ข้ึน
3.ทำให้นักเรียนมคี วำมรู้ ควำมเข้ำใจในเร่อื งเกี่ยวกบั ภำษำถิ่นไดด้ ียง่ิ ขึ้น พร้อมทง้ั สำมำรถบรู ณำกำร
ศำสตร์วชิ ำอ่นื ๆ มำจดั กำรเรียนร้ไู ด้อกี ดว้ ย
3.3 ผลประโยชนท์ ีช่ ุมชนได้รับ
1.ทำใหเ้ ดก็ รุ่นใหม่ ตระหนักถงึ ควำมสำคัญของแหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชน และมสี ำนกึ รกั ษท์ ่ดี ตี ่อชมุ ชน
2.ชมุ ชน สถำนศึกษำ ได้รว่ มกนั ทำกิจกรรม ทำใหม้ กี ำรพฒั นำในเรือ่ งตำ่ ง ๆ ในทำงทดี่ ขี น้ึ
3.4 อัตลักษณ์ของครู ท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาท้องถิ่น (พฤติกรรม, ความสามารถ ฯลฯ ของตนเอง
ในการทางานร่วมกับแหลง่ เรยี นร้ใู นชมุ ชน/ชมุ ชน ทเี่ ลอื กศกึ ษา)
1.ศรัทธำในอำชีพครู อทุ ิศตนเพื่อศษิ ยแ์ ละกำรศกึ ษำ
2.ธำรงและสง่ เสรมิ เกยี รติแห่งวิชำชพี ครู
3.บำเพญ็ ตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวมมำกกวำ่ ส่วนตน
4.ยึดมัน่ ในคณุ ธรรม มีใจรกั และเมตตำตอ่ ศิษย์
5.ใฝ่หาความรู้ สารวจและปรับปรุงแก้ไขตนเองและงานสอนอยเู่ สมอ
6.กระตือรือร้ น ขยันหมั่นเพียรและตัง้ ใจใช้กลวิธีสอนให้ศิษย์ เกิดความรู้จนเป็ นแบบอย่าง
การสอนทีด่ ี
7.เป็นผ้มู ีวฒั นธรรม มีศลี ธรรมตามศาสนาทีต่ นนบั ถือ และเป็นตวั อยา่ งท่ีดี ของศิษย์


Click to View FlipBook Version