DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 51 • โรงงานต้องมีมาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการดำำเนิน การเกี่ยวกับการจัดการสารเคมีในโรงงาน และรายงานปริมาณการเก็บ หรือใช้สารเคมีอันตรายของโรงงาน • รายงานข้อมูลสารเคมีอันตรายที่เก็บ/ใช้ ตังแต่ 1 ตัน/ ้ปี ผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ปีละ 1 ครั้ง ภายในวันที่ 1 มี.ค. ของทุกปี ระบบอิเล็กทรอนิกส์ http://facchem.diw.go.th/ รายละเอียดของกฎหมาย กฎหมายด้านวัตถุอันตราย 1. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 สำำหรับวัตถุอันตรายที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ นำำมาใช้เพื่อประโยชน์ในการศึกษา การทดสอบ การวิเคราะห์ การวิจัย และการพัฒนา พ.ศ. 2564 เพอส่งเสริ ื่มให้การพัฒนาองค์ความรู้โดยการนำำวัตถุอันตรายไปใช้ประโยชน์ในการศึกษา การทดสอบ การ วิเคราะห์ การวิจัยและการพัฒนา จึงมีการยกเว้นการปฏิบัติตามกฎหมายบางประการหากการนำำวัตถุอันตราย ไปใช้งานเข้าหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่กำำหนดในประกาศ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2565 เป็นต้นไป 2. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การให้แจ้งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการผลิตหรือการนำำเข้า ซึ่งวัตถุ อันตรายตามบัญชี 5.6 ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ. 2565 เพอื่ ปรับปรุงรายละเอยดีของข้อมูลที่กำำหนดให้ผู้ผลิตหรอผู้ ื นำำเข้าจดแจ้งผ่านระบบเครอืข่ายอิเล็กทรอนิกส์ โดยให้แจ้งปริมาณรวมของสารเดยี่วแต่ละรายการที่มีการผลิตหรอืนำำเข้าในหนึงรอบ่ปปี ฏิทิน และให้แจ้งภายในวันที่ ๓๐ มิถุนายนของปีถัดไป เพื่อนำำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการวัตถุอันตรายต่อไป มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน 2565 เป็นต้นไป 3. ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจดทะเบียนบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบ การแจ้งมีบุคลากรเฉพาะรับผิดชอบ และการรายงาน ความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตรายที่กรม โรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ. 2565 เพื่อรองรับการดำำเนินการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ และอำำนวยความสะดวกในการดำำเนินการต่าง ๆ ให้ รวดเร็วยิ่งขึ้น เช่น การชำำระค่าธรรมเนียม-การทดสอบวัดความรู้ ผ่านระบบการชำำระเงินกลางของการบริการ ภาครัฐ (e-payment) สามารถเลือกรอบเข้าทดสอบวัดความรู้ได้ เมื่อมีข้อความแจ้งเตือนให้เลือกรอบสอบผ่าน ทางอีเมล ภายหลังจากชำำระค่าธรรมเนียม สามารถจัดทำำและส่งรายงานความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุ อันตรายประจำำปีผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และปรับปรุงแบบฟอร์มให้เป็นไปตามขั้นตอนการดำำเนินงานและ ทันสมัยยิ่งขึ้น มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เป็นต้นไป มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป สามารถ Download ได้ทาง QR code สามารถ Download รายละเอียดกฎหมาย ได้ทาง QR code สามารถ Download รายละเอียดกฎหมาย ได้ทาง QR code สามารถ Download รายละเอียดกฎหมาย ได้ทาง QR code
52 กฎหมายลำำ�ดับรองเกียวกับ “ผู้ตรวจสอบเอกชน” และ “การรายงานผลการปฏิบัติ่ การตามกฎหมาย” ปัจจุบัน กรอ. ได้ออกกฎหมายลำำดับรองที่ผลบังคับใช้แล้ว จำำนวน 5 ฉบับ จากทั้งหมด 17 ฉบับ ดังนี้ • กฎกระทรวง ว่าด้วยการรายงานผลการปฏิบัติการตามกฎหมาย พ.ศ. 2564 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2564 • ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ การฝึกอบรมและทดสอบความรู้ด้านการ ตรวจสอบหรือรับรองโรงงานหรือเครื่องจักร พ.ศ. 2565 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2565 • กฎกระทรวง การขอรับและการออกใบอนุญาตตรวจสอบหรือรับรอง พ.ศ. 2565 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2565 • กฎกระทรวง การออกหนังสือเตือนการสั่งพักใช้และการเพิกถอนใบอนุญาตตรวจสอบหรือรับรอง พ.ศ. 2565 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2565 • กฎกระทรวง การตรวจสอบและการจัดทำำรายงานผลการตรวจสอบของผู้ตรวจสอบเอกชน พ.ศ. 2565 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2565 “ผู้ตรวจสอบเอกชน” ทำำหน้าที่ ตรวจโรงงานหรือเครื่องจักรและจัดทำำรายงาน แทนพนักงาน เจ้าหน้าที่ ตาม พ.ร.บ. โรงงาน และรับรองรายงานผลการปฏิบัติการตามกฎหมายของผู้ประกอบกิจการโรงงาน “ผู้ประกอบกิจการโรงงาน” มีหน้าที่ เสนอรายงานผลการปฏิบัติการตามกฎหมายที่ผ่านการรับรอง จากผู้ตรวจสอบเอกชน ต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม พ.ค. 66 กรอ. จัดฝึก อบรมผู้ ประสงค์เป็น ผู้ตรวจสอบ เอกชน มิ.ย. 66 กรอ. จัดทดสอบ ผู้ประสงค์เป็น ผู้ตรวจสอบ เอกชน ก.ค. 66 กรอ. ออก ใบอนุญาต ตรวจสอบ หรือรับรอง ก.ย. 66 กฎหมาย ลำำดับรอง ทั้งหมดมี ผลบังคับใช้ ม.ค. 67 โรงงานเริ่มส่ง รายงานผล การปฏิบัติการ ตามกฎหมาย ให้กรมโรงงานฯ Road Map ผู้ตรวจสอบเอกชน และ การรายงานผลการปฏิบัติตามกฎหมาย
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 53
54 โดยผลการตรวจวัดค่าฝุ่นละออง PM 2.5 มีค่าอยู่ระหว่าง 5 - 70 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งส่วนที่ พบว่าค่าเกิน เนื่องจากสภาพอากาศปิด ลมสงบนิ่งทำำให้ฝุ่นละอองสะสมในบรรยากาศและมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น ในส่วนของการดำำเนินงานติดตามและเฝ้าระวังคุณภาพสิงแ่วดล้อมบริเวณพนื้ ที่โรงงานและบริเวณโดยรอบ โรงงาน จากเหตุเพลิงไหม้และระเบิดภายในโรงงานของบริษัท หมิงตเคี้มิคอล จำำกัด เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2564 *ค่าต่่ำำสุด – สูงสุด วัดทุก 1 ชั่วโมง **ค่าต่่ำำสุด – สูงสุด ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง CO* (ppm) NO2* (ppm) O3* (ppm) VOCs** (ppm) SO2** (ppm) PM2.5** (g/m³) 1 . . 64 0.896 – 1.627 0.017 – 0.075 0.018 – 0.082 0.031 - 0.069 0.009 11 - 24 2 . . 65 1.094 – 1.770 0.019 – 0.099 0.001 – 0.057 0.029 - 0.062 0.009 14 - 29 3 . . 65 0.642 – 1.430 0.022 – 0.063 0.001 – 0.022 0.026 - 0.049 0.009 12 - 15 4 . . 65 0.584 – 1.131 0.021 – 0.066 0.001 – 0.022 0.024 - 0.032 0.009 9 - 10 24 - - - - 0.12 50 1 30 0.17 0.10 - 0.30 - •• ผลการตรวจวัดคุณภาพ อากาศในบรรยากาศโดย ทั่วไป ด้วยรถตรวจวัด คุณภาพอากาศเคลื่อนที่ ผลการตรวจวัดคุณภาพน้้ำำ pH DO BOD NH3 (mg/L) (mg/L) (mg/L) 7.0 – 7.8 0.2 - 8.2 < 4 - 53 < 5 - 11 ค่าต่่ำำสุด – สูงสุด ใน 24 ตัวอย่าง หมายเหตุ : ตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรยากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป และการตรวจวัดคุณภาพน้้ำำคลอง สาธารณะ (ระยะเวลา 3 เดือนต่อครั้ง) การตรวจวัดวิเคราะห์สารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ในบรรยากาศโดยทั่วไป เก็บตัวอย่างตรวจวัดวิเคราะห์สารอินทรย์ระเหย ี ง่าย (VOCs) ในบรรยากาศโดยทั่วไป 3 เดอนต่อ ื ครั้ง จำำนวน 4 จุด
PART 4 การพัฒนาและส่งเสริมภาคอุตสาหกรรม DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022
56 รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น ประจำ�ำปี พ.ศ. 2565 (The Prime Minister’s Industry Award 2022) กรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้รับมอบหมายจาก กระทรวงอุตสาหกรรม ให้เป็นหน่วยงานหลักในการพิจารณา คัดเลือกรางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น จำำ� นวน 3 ประเภท ได้แก่ ประเภทความรับผิดชอบต่อสังคม ประเภทการรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม และประเภทการบริหารความปลอดภัย โดยในปี 2565 มีผู้สมัครเข้ารับการพิจารณาคัดเลือก รางวัลอุตสาหกรรม จำ�ำนวน 244 ราย และได้รับเกียรติจากนายกรัฐมนตรีเป็นประธานมอบรางวัล สรุปผลการพิจารณารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นในแต่ละประเภทที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม รับผิดชอบดำ�ำเนินการ ประเภทความรับผิดชอบ ต่อสังคม ประเภทการรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ประเภทการบริหาร ความปลอดภัย บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จำ�ำกัด บริษัท ปตท. จำ�ำกัด (มหาชน) โรงแยกก๊าซธรรมชาติระยอง บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จำ�ำกัด บริษัท แคนนอน ไฮ-เทค (ประเทศไทย) จำ�ำกัด บริษัท ปตท. จำ�ำกัด (มหาชน) โรงแยกก๊าซธรรมชาติระยอง บริษัท สยามคราฟท์อุตสาหกรรม จำ�ำกัด บริษัท โรเบิร์ต บ๊อช ออโตโมทีฟ เทคโนโลยีส์ (ประเทศไทย) จำ�ำกัด
คำนิยาม DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 57
โดยในการดำเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศนั้นมียุทธศาสตรในการดำเนินงานดังนี้ สงเสริมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันบนคุณภาพชีวิต ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (มิติประสิทธิผล) ยุทธศาสตรที่ 1 ยุทธศาสตรที่ 2 ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศอยางมีสวนรวม (มิติผูมีสวนไดสวนเสีย) พัฒนากลไกมาตรการ /เครื่องมือการบริหารเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ในยุคแหงการเปลี่ยนแปลง (มิติการบริหารจัดการ) ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรที่ 4 บริหารและขยายพื้นที่มืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ สอดคลองกับความยั่งยืน (มิติการบริหารจัดการ) ยุทธศาสตรที่ 5 สรางองคความรูและพัฒนานวัตกรรมเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (มิติการเรียนรูพัฒนา) ยุทธศาสตรที่ 6 พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศบนรากฐานสังคมและสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน (มิติสังคมและสิ่งแวดลอม) เชิงนิเวศ 58
á¼¹¡Òþ²Ñ ¹ÒàÁÍ×§ÍµØ ÊÒË¡ÃÃÁધԹàÔÇÈ 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 á¼¹»¯ºÔ µÑ ¡Ô ÒôҌ¹¡Òþ²Ñ ¹ÒàÁÍ×§ÍµØ ÊÒË¡ÃÃÁધԹàÔÇÈ »‚ ¾.È. ÃÐÂз่Õ2 ÃÐÂз่Õ3 ÃÐÂз่Õ1 18 ¾¹้× ·่Õ15 ¨§ÑËÇ´Ñ 15 ¾¹้× ·่Õ15 ¨§ÑËÇ´Ñ 21 ¾¹้× ·่Õ20 ¨§ÑËÇ´Ñ *á¼¹ÍÒ¨Á¡Õ ÒÃ»ÃºÑ à»ÅÂ่Õ ¹ä´µŒ ÒÁ¡Òþ²Ñ ¹Ò¢Í§¾¹้× ·่Õ ÃдºÑ ·่Õ3 ÃдºÑ ·่Õ4 ÃдºÑ ·่Õ5 ÃдºÑ ·่Õ1 ÃдºÑ ·่Õ2 ÃдºÑ ·่Õ3 ÃдºÑ ·่Õ1 ÃдºÑ ·่Õ4 ÃдºÑ ·่Õ2 ÃдºÑ ·่Õ5 ÃдºÑ ·่Õ3 ÃдºÑ ·่Õ4 ÃдºÑ ·่Õ5 àªÂÕ §ÃÒ àªÂÕ §ãËÁ‹ ÅÓ¾¹Ù ÅÓ»Ò§ á¾Ã‹ 굯 ̫µÔ ¶ ÊâØ¢·ÂÑ µÒ¡ ¡Óá¾§à¾ªÃ Í·Ø ÂÑ ¸Ò¹Õ ¡ÒÞ¨¹ºÃØ Õ ÃÒªºÃØ Õ à¾ªÃºÃØ Õ »ÃШǺ¤ÃÕ ¢Õ ¹Ñ ¸ ªÁØ ¾Ã Ãйͧ ÊÃØ ÒÉ®¸ Ò¹Õ ¹¤ÃÈÃ¸Õ ÃÃÁÃÒª ¾§Ñ§Ò ¡Ãк่Õ ÀàÙ¡µ็ µÃ§Ñ ¾·Ñ Å§Ø Ê§¢ÅÒ »µ˜ µÒ¹Õ ÂÐÅÒ ¹ÃÒ¸ÇÔÒÊ ÊµÅÙ ªÂÑ ¹Ò· Ê¾Ø ÃóºÃØ Õ ¹¤ÃÊÇÃä ྪúÃÙ ³ ªÂÑ ÀÁÙ Ô ¢Í¹á¡¹‹ ˹ͧºÇÑ ÅÓÀÙ Í´Ø Ã¸Ò¹Õ Ë¹Í§¤Ò º§Ö¡ÒÌ Ê¡Å¹¤Ã ¹¤Ã¾¹Á Á¡Ø ´ÒËÒà ÁËÒÊÒäÒÁ ÃÍŒ ÂàÍ´็ Ââʸà ¡ÒÌÊ¹Ô ¸Ø ÍÓ¹Ò¨à¨ÃÞÔ ÍºØ ÅÃÒª¸Ò¹Õ ÈÃÊÕ Ðà¡É ÊÃØ ¹Ô ·Ã ºÃØ ÃÕÁÑ Â µÃÒ´ ¨¹Ñ ·ºÃØ Õ ÃÐÂͧ ªÅºÃØ Õ ©ÐધÔà·ÃÒ ÊÃÐá¡ÇŒ »ÃÒ¨¹Õ ºÃØ Õ ¹¤Ã¹Ò¡ ¹¤ÃÃÒªÊÁÕ Ò Å¾ºÃØ Õ ÊÃкÃØ Õ 10 9 8 4 2 3 1 6 5 7 ¾¨Ô µÔ à ¾ÉÔ ³âØÅ¡ àÅ ¾ÐàÂÒ ¹Ò‹ ¹ áÁ΋ Í‹ §Ê͹ 1. ¡Ã§Ø à·¾ÁËÒ¹¤Ã 2. ¹¹·ºÃØ Õ 3. »·ÁØ ¸Ò¹Õ 4. ¹¤Ã»°Á 5. ÊÁ·Ø ûÃÒ¡Òà 6. ÊÁ·Ø ÃÊҤà 7. ÊÁ·Ø Ãʧ¤ÃÒÁ 8. ¾Ãй¤ÃÈÃÍÕ Â¸Ø ÂÒ 9. ÍÒ‹ §·Í§ 10. ʧÔ˺ ÃØ Õ à»Ò‡ËÁÒ 39 54 ÀÒÂã¹»‚2580 àÁÍק¹Ò‹ Í‹٠¤Í‹Ù µØ ÊÒË¡ÃÃÁ ¡Òþ²Ñ ¹ÒÃÐÂз่Õ2 ¡Òþ²Ñ ¹ÒÃÐÂз่Õ3 ¡Òþ²Ñ ¹ÒÃÐÂз่Õ1 18 ¾¹้× ·่Õ15 ¨§ÑËÇ´Ñ 15 ¾¹้× ·่Õ15 ¨§ÑËÇ´Ñ ÁÕ11 ¨§ÑËÇ´Ñ ã¹¡Òþ²Ñ ¹ÒÃÐÂз่Õ2 ໹š ¨§ÑËÇ´Ñ à´ÁÔ ¨Ò¡¡Òþ²Ñ ¹ÒÃÐÂз่Õ1 21 ¾¹้× ·่Õ20 ¨§ÑËÇ´Ñ á¼¹·á่ÕÊ´§¾¹้× ·à่ÕÁÍ×§ÍµØ ÊÒË¡ÃÃÁધԹàÔÇÈ DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 59
60 การสนับสนุนพื้นที่ ให้มีการพัฒนาเป็นไปตามแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ โดยในปี 2565 ได้มีการตรวจประเมินพื้นที่ในระยะที่ 1 มี 15 จังหวัด 18 พื้นที่ โดยมีพื้นที่ที่ได้ระดับที่ 3 (Resource efficiency) ทั้งหมด 14 พื้นที่ และระดับที่ 4 (Symbiosis) ทั้งหมด 4 พื้นที่ และมีกิจกรรมเตรียม ความพร้อมในการตรวจประเมินตามตัวชี้วัดความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และให้ความรู้เกี่ยวกับการ พัฒนาเมืองให้เป็นไปตามแนวทางตัวชี้วัดฯ ในที่ระยะที่ 2 แนวทางในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ นั้น เน้นไปที่การสร้างความร่วมมือระหว่างองค์ภาครัฐ และภาคเอกชนในท้องถิ่นนั้นๆ เพื่อให้เกิดความร่วมมือ ในการพัฒนาที่มีเป้าหมายเดียวกันเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะเป็นการพัฒนาใน ภาพรวม และพัฒนาในระดับรายโรงงานอุตสาหกรรม โดยการพัฒนาและยกระดับโรงงานอุตสาหกรรมให้เป็นไป ตามแนวคิดของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศนั้น มีการนำำ� เครื่องมือที่ของแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เข้ามาใช้โดยจำ�ำนวนโรงงานที่ได้รับการประเมินจะเป็นการบ่งชี้ถึงการพัฒนาพื้นที่ด้วย โดยตัวเครื่องมือในการ พัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมมีดังนี้
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 61 การส่งเสริมโรงงานอุตสาหกรรมให้มีความรับผิดชอบต่อ สังคมและชุมชน เพื่อการพัฒนาอย่างยังยืน (CSR-DIW ่ to achieve SDGs) การประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมจะต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคมโดยรอบ สามารถอยู่ร่วม กับชุมชนได้อย่างยั่งยืนและเป็นสุข กระทรวง อุตสาหกรรมจึงมีแนวทางในการส่งเสริม และ สนับสนุนโรงงานให้มีกระบวนการทำ�ำงานที่ เข้าไปสร้างความเข้าใจในการประกอบกิจการ โรงงานให้แก่ประชาชนที่อยู่โดยรอบ ไม่ว่าจะเป็น ด้านความปลอดภัย ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจาก การประกอบกิจการโรงงาน เพื่อสร้างสังคมที่ ดีให้เกิดขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีให้กับทั้งโรงงานและ ชุมชนให้อยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข สร้าง ความเข้าใจเพื่อลดปัญหาการร้องเรียนต่อโรงงาน และยังรวมถึงการสนับสนุน ส่งเสริม กิจการของชุมชน เป็นการแสดงออกถึงการแบ่งปัน และแสดงความจริงใจที่ต่อชุมชน กรมโรงงานอุตสาหกรรม จึงได้กำ�ำหนดให้มีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้มีการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ตามยุทธศาสตร์ของกระทรวงอุตสาหกรรม และยังเป็นไปตามแนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศใน ด้านการพึ่งพาเกื้อกูลกันในสังคม (Social Symbiosis) โดยดำำ� เนินการสนับสนุนกิจกรรมดังกล่าวผ่านโครงการ ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมมีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบัน โดยมีโรงงานอุตสาหกรรมที่เข้าร่วมโครงการดังกล่าวได้รับการยอมรับจากชุมชนและสังคมอย่างกว้างขวาง สร้างความสุขที่ยั่งยืนระหว่างชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรม การดำ�ำเนินงานด้านการส่งเสริมโรงงานอุตสาหกรรมให้มีการดำ�ำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ในปี 2565 มีโรงงานในพื้นที่การพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยนำ�ำมาตรฐาน CSR-DIW ไปประยุกต์ใช้ใน การดำำ� เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา อย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ของสหประชาชาติ รวมถึงสนับสนุนให้พื้นที่เป้าหมาย ผ่านเกณฑ์การประเมินความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับ 5 ภายใน ปี พ.ศ. 2569 ซึ่งมีโรงงานที่ได้รับ การคัดเลือกเพื่อเข้าร่วมโครงการจำ�ำนวน 68 โรงงาน โรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับคัดเลือก ได้มีการจัดทำ�ำโครงการรวมกันทั้งหมด 68 โครงการนั้น สามารถสรุปมูลค่าของการ ลงทุนของทุกแผนงาน/โครงการรวมกันได้ 2,717,111 บาท ในขณะที่สามารถประเมินผล ตอบแทนที่ได้คืนสู่สังคมถึง 8,316,934 บาท หรือมีผลตอบแทนเกือบ 4 เท่าของการลงทุน ทั้งนี้ แต่ละโครงการมีการประเมินผลตอบแทน
62 ทางสังคม SROI อยู่ระหว่าง -78 ถึง 58 บาทต่อการลงทุน 1 บาท ซึ่งแม้ว่าผลตอบแทนทางสังคมบางแผน งาน/โครงการมีค่าติดลบ นั้นเป็นเพราะแผนงาน/โครงการมีการลงทุนมากกว่าผลตอบแทนที่มีการประเมินเป็น มูลค่าที่ได้ การส่งเสริมให้โรงงานได้รับมาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมต่อสังคม การกำ�ำหนดมาตรฐานด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมเป็นอีกกลไกหนึ่งที่จะช่วยผลักดัน และ ส่งเสริมให้เกิดความตระหนักถึงความสำ�ำคัญของ การประกอบกิจการที่คำ�ำนึงถึงประชาชนโดยรอบ และสร้างหลักเกณฑ์ การดำำ� เนินงานที่สามารถตรวจสอบ และวัดผล ได้อย่างมีถูกต้อง มีหลักการ สร้างความน่าเชื่อถือ ให้เกิดขึ้นกับโรงงานที่ได้รับมาตราฐานนี้ต่อชุมชน โดยรอบ การดำ�ำเนินงานจะเป็นในลักษณะของการทวนสอบโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานความ รับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมเป็นผู้กำ�ำหนด โดยมาตรฐาน ความรับผิดชอบต่อสังคมนั้นมีการนำ�ำมาตรฐาน ISO 26000 (Social Responsibility) มาเป็นแนวทางในการ ศึกษา และจัดทำ�ำมาตรฐานดังกล่าว รวมถึงการนำ�ำนโยบายปัจจุบันที่มีเกี่ยวข้องมาปรับใช้ในมาตรฐานด้วย เช่น Thailand industry 4.0 การจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว เศรษฐกิจสีเขียว SDGs goals เป็นต้น ในปี 2565 มีโรงงานสมัครเข้ารับการทวนสอบตาม มาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมต่อสังคม (CSR-DIW) จำ�ำนวน 315 โรงงาน ผ่านการพิจารณาจำ�ำนวน 311 ราย และสมัครเข้า ร่วมรับการทวนสอบตาม มาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคมอย่างยั่งยืน (CSR-DIW Continuous) จำ�ำนวน 9 ราย กราฟแสดงจำ�ำนวนโรงงานที่ได้รับรางวัล CSR-DIW 15 ปีย้อนหลัง สามารถ Download คู่มือแนวทางปฏิบัติ สำ�ำหรับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมตาม มาตรฐาน CSR-DIW ได้ทาง QR code
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 63 สถิติจดทะเบียนกรรมสิทธิ์ เครื่ องจักร ในปี 2565 มีการจดทะเบียน กรรมสิทธิ์เครื่องจักร 8,080 เครื่อง เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 2,799 เครื่อง ซึ่งสูง ที่สุดในรอบ 5 ปี และมีมูลค่าเครื่องจักร ที่จดทะเบียนสุงถึง 62,961 ล้านบาท การแปลงเครื่ องจักรเป็นทุนเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการ ให้เข้าถึงแหล่งเงินทุน วันที่ 29 มิถุนายน 2565 นายสุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อุตสาหกรรม นายกอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม และผู้อำำ�นวยการ อาวุโสธนาคารแห่งประเทศไทย ร่วมแสดง ความยินดี ในพิธีลงนาม MOU “โครงการ แปลงเครื่องจักรเป็นทุน เพื่อส่งเสริม ผู้ประกอบการให้เข้าถึงแหล่งเงินทุน” โดยมี อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ร่วมลงนามบันทึกความเข้าใจ ระหว่าง กรอ. สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย SME Bank และ ธนาคารกรุงไทย ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติฯ จังหวัดเชียงใหม่ โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการให้เข้าถึงแหล่งเงินทุน เสริมสภาพคล่องในการดำ�ำเนิน ธุรกิจ ปรับปรุงและปรับเปลี่ยนเปลี่ยนเครื่องจักรอุปกรณ์เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ใช้นวัตกรรมใหม่ เพื่อลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดการใช้พลังงาน ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการ SME ซึ่งมีส่วนสำ�ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศให้ เติบโตอย่างยั่งยืน
64 การตรวจสอบและให้คำำ � แนะนำำ � ในการปรับปรุงเครือง่จักร เดิมหรือเปลี่ ยนเครื่ องจักรใหม่ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ดำ�ำเนินการ เร่งรัดการจดทะเบียนเครื่องจักรของ SMEs เพื่อให้ความรู้และให้คำ�ำแนะนำ�ำในรายละเอียด เชิงลึกที่เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุน ด้านพลังงาน ลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ใช้พลังงานทดแทน รวมทั้งส่งเสริมการใช้ นวัตกรรม เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพให้แก่สถานประกอบการ SMEs และสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของ สถาบันทางการเงินและสิทธิประโยชน์ต่างๆ โดยการตรวจสอบและให้คำ�ำแนะนำ�ำการปรับปรุงเครื่องจักรเดิม หรือ เปลี่ยนเครื่องจักรใหม่ ทั้งนี้ มีสถานประกอบการ SMEs ได้รับการตรวจสอบ ให้คำำ�แนะนำำ� และจดทะเบียนเครื่องจักร 96 ราย 2,455 เครื่อง วงเงินลงทุนรวม 341.8 ล้านบาท มีผลตอบแทนการลงทุน ที่สามารถประเมินเป็นมูลค่าทาง เศรษฐกิจได้ 187.1 ล้านบาท โดยมีระยะเวลาคืนทุนเฉลี่ย 1.83 ปี และมีผลตอบแทนจากการปรับปรุงเครื่องจักร เดิม 9.1 ล้านบาทต่อปี และมีผู้เข้าร่วมสัมมนารวม 608 คน การนำ � ำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อความปลอดภัยในโรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม มีภารกิจ ดูแลและส่งเสริมความปลอดภัยในโรงงาน ในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ ในปี 2565 กรมโรงงานอุตสาหกรรม มีการนำ�ำ Application และ IoT มาช่วย พัฒนาให้เกิดความปลอดภัยในโรงงาน เช่น การส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยี ความปลอดภัย Smart Safety Factory สำ�ำหรับประเมินโรงงานและการอนุรักษ์ พลังงานและส่งเสริมความปลอดภัยใน โรงงานอุตสาหกรรม สำำ� หรับกลุ่มโรงงาน น้�้ำำแข็ง และห้องเย็น
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 65 การส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีความปลอดภัย Smart Safety Factory กรมโรงงานอุุตสาหกรรม (กรอ.) มีีเป้้าหมายในการ ยกระดัับมาตรการความปลอดภััยโรงงานเข้้าสู่่สากล เพิ่่มขีีดความสามารถ และพััฒนาทัักษะองค์์ความรู้้ด้้าน ความปลอดภััยของบุุคลากรที่่เกี่่ยวข้้อง พััฒนา ส่่งเสริิม มาตรฐาน หลัักเกณฑ์์ ความปลอดภััยของโรงงาน อุุตสาหรรมและการปฏิิบัติั ิของเจ้้าหน้้าที่่ โดยพััฒนาระบบ สารสนเทศความปลอดภััยในโรงงานเพื่่อเป็็นเครื่่องมืือ ในการตรวจสอบ กำำกัับดููแล ส่่งเสริิมความปลอดภััยใน โรงงาน และจััดทำำระบบตรวจประเมิินตนเองด้้านความ ปลอดภััย (DIW Safety Application) เพื่่อให้้สามารถ ประเมิินความปลอดภััย 1) ระบบทำำความเย็็นที่่ใช้้แอมโมเนีียเป็็นสารทำำความเย็็น (Refrigeration System) 2) หม้้อน้ำำหรืือหม้้อต้้มที่่ใช้้ของเหลวเป็็นสื่่อนำำความร้้อน (Boiler & Hot Oil) 3) รัังสีี (Radiation) ระบบฐานข้้อมููลสารกััมมัันตรัังสีดัี ังกล่่าวยัังสามารถเชื่่อมโยงกัับระบบฐานข้้อมููลของ สำำนัักงานปรมาณููเพื่่อสัันติิ DIW Safety Application จะสามารถช่่วยลดการเกิิดอุบัุติั ิเหตุุ ที่่นำำไปสู่่การบาดเจ็็บ เสีียชีีวิิตสููญเสีียทรััพย์์สิินต่่อโรงงาน และชุุมชนใกล้้เคีียงได้้ ทั้้งนี้้มีีเจ้้าหน้้าที่่กระทรวงอุุตสาหกรรม (อก.) ได้้รัับการฝึึกอบรมการใช้้งานระบบแล้้ว 42 คน และมีี ผู้้ประกอบกิิจการโรงงาน สนใจเข้้ารัับการฝึึกอบรม 458 คน การอนุุรัักษ์์พลัังงานและส่่งเสริิมความปลอดภััยในโรงงานอุุตสาหกรรม (โรงงานน้ำำ แข็็ง และห้้องเย็็น) กรอ. พััฒนาศัักยภาพการใช้้พลัังงานให้้กัับโรงงานน้ำำ แข็็งและห้้องเย็็นที่่มีีระบบทำำความเย็็นที่่ใช้้แอมโมเนีีย โดยนำำ เทคโนโลยีี IoT มาประยุุกต์์ใช้้ในการตรวจติิดตามการผลิิต เพื่่อพััฒนาศัักยภาพระบบทำำความเย็็นอััจฉริิยะ (Smart Refrigeration System) ซึ่่งจะสามารถลดการใช้้สารทำำ ความเย็็น ลดการเกิิดอุุบััติิเหตุุ ลดการใช้้พลัังงานในระบบทำำ ความเย็็น และลดการปลดปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก ทั้้งนี้้มีี เจ้้าหน้้าที่่ อก. ได้รั้ ับการฝึึกอบรมพััฒนาศัักยภาพ รวม 133 คน มีีบุุคลากรโรงงานสนใจเข้้าร่่วมสััมมนาเผยแพร่่ผลสำำเร็็จ โครงการอนุุรัักษ์์พลัังงานและส่่งเสริิมความ ปลอดภััยในโรงงานอุุตสาหกรรม 178 คน มีีโรงงาน ได้้รัับตรวจวััดเชิิงลึึกด้้านความปลอดภััย พลัังงาน และสิ่่งแวดล้้อม พร้้อมทั้้งประเมิินศัักยภาพการ ประหยััดพลัังงาน 25 โรง และมีีโรงงานได้้รัับการ ตรวจให้้คำำแนะนำำระบบทำำความเย็็นที่่ใช้้แอมโมเนีีย เป็็นสารทำำความเย็็น 25 โรง ระบบ DIW Safety Application การนำ�ำ IoT มาประยุกต์ใช้ในการตรวจติดตามการผลิต
66 การพััฒนาและยกระดัับผู้้ประกอบการจััดการของเสีีย อัันตรายภาคอุุตสาหกรรม การประกอบกิิจการโรงงานอุุตสาหกรรมทุุกประเภทนั้้น จะมีีการก่่อกำำเนิิดของเสีีย จากการดำำเนิินงานต่่างๆ และการประกอบกิิจการ โดยของเสีียที่่เกิิดขึ้้นอาจจะมีีการปน เปื้้�อนสารอัันตรายที่่หากไม่่ได้้รัับการจััดการอย่่างถููกต้้องอาจจะก่่อให้้เกิิดผลกระทบต่่อ สิ่่งแวดล้้อมและสุุขภาพของประชาชนได้้ ดัังนั้้นการนำำของเสีียทุุกชนิิดออกนอกบริิเวณ โรงงานอุุตสาหกรรมนั้้น จะต้้องได้รั้ ับการอนุุญาตจากเจ้้าหน้้าที่่ก่่อนมีีการนำำออกทุุกครั้้ง หรืือเป็็นของเสีียที่่ได้้รัับการยกเว้้นไม่่ต้้องขออนุุญาตนำำออก การส่่งเสริิมให้้เกิิดการบำำบััด กำำจััดสิ่่งปฏิิกููล และวััสดุุไม่่ใช้้แล้้วจากภาคอุุตสาหกรรม ที่่มีีมาตรฐาน กรมโรงงานอุุตสาหกรรมจึึงได้้จััดทำำระบบอนุุญาตอััตโนมััติิสำำหรัับ โรงงานผู้้รัับบำำบััด กำำจััด ที่่ส่่งคำำขออนุุญาตเข้้าสู่่ระบบอนุุญาตอััตโนมััติิ โดยทำำตาม มาตรฐานและเงื่่อนไขที่่กรมโรงงานอุุตสาหกรรมกำำหนด ซึ่่งระบบดัังกล่่าวจะอนุุญาตอััตโนมััติิทัันทีีที่่โรงงาน ผู้้ก่่อกำำเนิิดส่่งเรื่่องอนุุญาตส่่งสิ่่งปฏิิกููลและวััสดุุไม่่ใช้้แล้้วออกนอกบริิเวณโรงงาน และผู้้รัับบำำบััดได้ยิ้ ินยอมแล้้ว โดยไม่ต้่ ้องผ่่านการพิิจารณาจากเจ้้าหน้้าที่่ เพื่่อเป็็นการส่่งเสริิม ให้้ผู้้ประกอบการเกี่่ยวกัับการบำำบััดกำำจััดสิ่่งปฏิิกููลและวััสดุุไม่่ ใช้้แล้้ว จากภาคอุุตสาหกรรมมีีการพััฒนากระบวนการทำำงาน ของตนเองให้้เป็็นที่่น่่าเชื่่อถืือว่่ามีีประสิิทธิิภาพการบำำบััดกำำจััด ของเสีียที่่ดีี เป็็นไปตามที่่กฎหมายกำำหนด เพื่่อจะได้สิ้ ิทธิิประโยชน์์ จากระบบอนุุญาตอััตโนมัติัดัิ ังกล่่าว โดยขั้้นตอนการขออนุุญาต ในระบบดัังกล่่าวสามารถดำำเนิินการได้้ดัังนี้้ สามารถรับชมขั้นตอน การขออนุญาตสิ่งปฏิกูล และวัสดุไม่ใช้แล้วให้ถูกวิธี และรายละเอียดต่างๆ ได้ ทาง QR code ขั้้�นตอนการขออนุุญาต • ผู้กำ�ำจัดและกำ�ำจัดยื่นเอกสารเพื่อขอรับรองผู้รับบำ�ำบัดและกำ�ำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว เพื่อการ อนุญาตนำ�ำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอกบริเวณโรงงานแบบอัตโนมัติผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ • เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสารและความถูกต้องตามประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง การรับรอง ผู้บำำ� บัดและกำำ� จัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วเพื่อการอนุญาตนำำ� สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอกบริเวณ โรงงานแบบอัตโนมัติผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2561 • เจ้าหน้าที่จัดทำ�ำรายการสิ่งปฏิกูลและวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และรายการวิธีกำ�ำจัดตามประกาศกรมโรงงาน อุตสาหกรรม เรื่อง การกำ�ำหนดชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วและวิธีกำ�ำจัดสำ�ำหรับการขอ อนุญาตและการอนุญาตใหนำ�ำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอกบริเวณโรงงานแบบอัตโนมัติผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2561 ที่สอดคล้องกับคุณสมบัติของผู้บำ�ำบัดและกำ�ำจัดที่ได้ยื่นขอการรับรองฯ • กรมโรงงานอุตสาหกรรมออกหนังสือให้การรับรองฯ
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 67 4 โรงงาน 3 โรงงาน 18 โรงงาน 2 โรงงาน • ผู้รับบำ�ำบัดและกำ�ำจัดจัดทำ�ำบัญชีแสดงความยินยอมรับบำ�ำบัด/กำ�ำจัดในระบบจัดการสิ่งปฏิกูล และวัสดุ ไม่ใช้แล้ว • เมื่่อผู้้ก่่อกำำเนิิดขอนำำสิ่่งปฏิิกููลและวััสดุทีุ่่ไม่่ใช้้แล้้วไปยัังโรงงานที่่ได้รั้ ับการรัับรองฯ ระบบจะทำำการอนุุญาต โดยอััตโนมััติิทัันทีี โดยจะไม่่ผ่่านขั้้นตอนการอนุุญาตโดยเจ้้าหน้้าที่่ (ชนิิดและวิิธีีกำำจััดต้้องสอดคล้้องกัับการ รัับรองฯ) การพััฒนาและยกระดัับผู้้ประกอบการจััดการของเสีียอัันตรายภาคอุุตสาหกรรม เพื่่อเป็็นการส่่งเสริิมให้้มีีผู้้ประกอบการที่่ดำำเนิินกิิจการ เกี่่ยวกัับการบำำบััดและกำำจััดให้้มีีการพััฒนาประสิิทธิิภาพการ ดำำเนิินงานเพื่่อให้้เป็็นไปตามเงื่่อนไขของการเข้้าระบบอนุุญาต อััตโนมััติินั้้น ในปีี 2565 กรมโรงงานอุุตสาหกรรม (กรอ.) จึึง ได้้จััดทำำโครงการที่่ให้้ความรู้้ และเตรีียมความเรื่่องการใช้้ระบบ อนุุญาตอััตโนมััติิ ให้้แก่่โรงงานอุุตสาหกรรมที่่มีีการดำำเนิิน กิิจการที่่เกี่่ยวกัับการบำำบััดและกำำจััดสิ่่งปฏิิกููลและวััสดุุไม่่ใช้้แล้้ว จากโรงงานอุุตสาหกรรม มีีจุุดประสงค์์เพื่่อเพิ่่มจำำนวนโรงงาน ผู้้รัับบำำบััด กำำจััดที่่ได้รั้ ับอนุุญาตในระบบอนุุญาตอััตโนมัติั ิ ทำำให้้ เกิิดการจััดการสิ่่งปฏิิกููล และวััสดุุไม่่ใช้้แล้้วจากภาคอุุตสาหกรรม ได้้อย่่างถููกต้้อง มีีประสิิทธิิภาพ เป็็นไปตามหลัักวิิชาการ ป้้องกััน ผลกระทบด้้านสิ่่งแวดล้้อม และความปลอดภััยได้้ดีียิ่่งขึ้้น โดยในปีี 2565 มีีจำำนวนโรงงานที่่ได้้เข้้าร่่วมโครงการ ดัังกล่่าวจำำนวน 31 โรงงาน มีีจำำนวนโรงงานที่่ได้้รัับตราสััญลัักษณ์์มาตรฐานโรงงานการจััดการสิ่่งปฏิิกููล และวััสดุุไม่่ใช้้แล้้วภาคอุุตสาหกรรม จำำนวน 27 โรงงาน และมีีโรงงานผ่่านการ ประเมิินเพื่่อเตรีียมเข้้าสู่่ระบบการอนุุญาตโดยอััตโนมััติิ (AI) จำำนวน 8 โรงงาน ดัังนี้้ รางวััลระดัับ Gold Plus จำำนวน 2 โรงงาน ระดัับเหรีียญทอง จำำนวน 18 โรงงาน ระดัับเหรีียญเงิิน จำำนวน 3 โรงงาน และระดัับเหรีียญทองแดง จำำนวน 4 โรงงาน โดยโรงงานที่่ได้้รัับเหรีียญทองหรืือ Gold plus สามารถยื่่นเอกสาร ขอการรัับรอง (สก.10) ต่่อ กรอ. ได้ทั้ ันทีีเนื่่องจากคุุณสมบัติั ิครบถ้้วนแล้้ว โดย การรัับรองมีีอายุุ 3 ปีี
68 ในปีีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีีผู้้ได้้รัับรางวััลระดัับ Gold Plus จำำนวน 2 ราย คืือ บริิษััท เบตเตอร์์ เวิิลด์์ กรีีน จำำกััด (มหาชน) และ บริิษััท ไทยโอนลี่่ วััน แมเนจ แอนด์์ เซอร์์วิิส จำำกััด ลำ�ำดับ รายชื่อโรงงานที่เข้าร่วมและได้รับรางวัลในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระดับมาตรฐาน ที่ได้รับการรับรอง ประเภทปรับคุณภาพของเสียรวม (เผาของเสียร่วมในเตาเผาอุตสาหกรรมเฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากโรงงานอุตสาหกรรม) 1 บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (แก่งคอย) จำ�ำกัด เหรียญทอง 2 บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำ�ำกัด โรงงานเขาวง เหรียญทอง 3 บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำ�ำกัด โรงงานท่าหลวง เหรียญทอง 4 บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ทุ่งสอง) จำ�ำกัด เหรียญทอง 5 บริษัท ปูนซิเมนต์นครหลวง จำ�ำกัด (มหาชน) โรงงาน 2 เหรียญทอง 6 บริษัท ปูนซิเมนต์นครหลวง จำ�ำกัด (มหาชน) โรงงาน 3 เหรียญทอง ประเภทเผาสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเสียอันตรายจากโรงงานอุตสาหกรรมในเตาเผา 1 บริษัท อัคคีปราการ จำ�ำกัด (มหาชน) เหรียญทอง ประเภทฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุไม่ใช้แล้วที่เป็นของเสียอันตราย 1 บริษัท บริหารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จำ�ำกัด (มหาชน) เหรียญทอง 2 บริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จำ�ำกัด (มหาชน) เหรียญทอง ประเภททำ�ำเชื้อเพลิงแข็งผสม (Solid Blending) 1 บริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จำ�ำกัด (มหาชน) เหรียญทอง (Gold Plus) 2 บริษัท อินทรี อีโคไซเคิล จำ�ำกัด (สาขาสระบุรี) เหรียญทอง 3 บริษัท เอส ซี ไอ อีโค่ เซอร์วิสเซส จำ�ำกัด (สาขาทุ่งสง) เหรียญทอง 4 บริษัท เอส ซี ไอ อีโค่ เซอร์วิสเซส จำ�ำกัด (สาขาสระบุรี) เหรียญทอง 5 บริษัท เอ็น 15 เทคโนโลยี จำ�ำกัด เหรียญทองแดง 6 บริษัท เอเค เมคานิคอล แอนด์ รีไซคลิง จำ�ำกัด เหรียญทองแดง ประเภททำ�ำเชื่อเพลิงเหลวผสม (Liquid Blending) 1 บริษัท ทีเออาร์เอฟ จำ�ำกัด เหรียญทอง 2 บริษัท ไทยโอนลี่ วัน แมเนจ แอนด์ เซอร์วิส จำ�ำกัด เหรียญทอง (Gold Plus) 3 บริษัท เอส ซี ไอ อีโค่ เซอร์วิสเซส จำ�ำกัด (สาขาสระบุรี) เหรียญทอง 4 บริษัท เบตเตอร์ เวสท์ แคร์ จำ�ำกัด เหรียญเงิน ประเภททำ�ำเชื้อเพลิงทดแทนจากน้�้ำำมันใช้แล้ว 1 บริษัท เอส เอส ซี ออยล์ จำ�ำกัด เหรียญทอง 2 บริษัท ประภาศิริ ออยล์ จำ�ำกัด เหรียญเงิน 3 บริษัท พยนต์มารีนเซอร์วิส จำ�ำกัด เหรียญทองแดง ประเภททำ�ำวัตถุดิบทดแทนในการผลิตปูนซีเมนต์ 1 บริษัท ฟอร์ซี คอร์ปอเรชั่น จำ�ำกัด เหรียญทอง ประเภทกลั่นตัวทำ�ำละลายที่ไม่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ 1 บริษัท สุขเจริญทรัพย์ วังเย็น จำ�ำกัด เหรียญทอง ประเภทหลอมโลหะที่มิใช่เหล็กเพื่อนำ�ำกลับมาใช้ใหม่ 1 บริษัท ไดกิ อลูมิเนียม อินดัสทรี (ประเทศไทย) จำ�ำกัด เหรียญเงิน ประเภทคัดแยดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตราย 1 บริษัท พี เค สแครป แอนด์รีไซเคิล เซอร์วิส จำ�ำกัด เหรียญทองแดง 2 บริษัท มัตซึดะ ซังเกียว (ประเทศไทย) จำ�ำกัด (สาขาปิ่นทอง) เหรียญทอง
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 69 หมายเหตุ การรับรองมีอายุ ๓ ปี การส่่งเสริิมการลงทุุน เพื่่อการขยายตััวภาคอุุตสาหกรรม แห่่งอนาคตและเศรษฐกิิจหมุุนเวีียน กรมโรงงานอุตสาหกรรม ดำำ� เนินการศึกษาแนวทางการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพเพื่อรองรับ การลงทุน และเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมที่เหมาะสม อีกทั้งช่วยป้องกันผลกระทบด้านการ พัฒนาอุตสาหกรรม รองรับการลงทุน เพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและ นโยบายของรัฐ เพื่อการขยายตัวภาคอุตสาหกรรมแห่งอนาคตและเศรษฐกิจหมุนเวียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ กำ�ำหนดพื้นที่และจัดทำ�ำแนวทางการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมและประเภทอุตสาหกรรมที่มีความเชื่อมโยงในด้าน เศรษฐกิจ โครงสร้างพื้นฐาน โครงข่ายคมนาคมขนส่ง ปัจจัยด้านภูมิศาสตร์ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมที่มีความสำำ� คัญต่อภาคการผลิต การค้า และการลงทุน ในการส่งเสริมพัฒนาให้เกิดพื้นที่อุตสาหกรรม และประเภทอุตสาหกรรมที่เหมาะสมในจังหวัดเป้าหมาย ได้แก่ ลพบุรี เพชรบูรณ์ และกาฬสินธุ์ กราฟแสดงจำำนวนโรงงานผู้้รัับกำำจััด กากอุุตสาหกรรมที่่เข้้าสู่่ระบบการอนุุญาต สก.2 อััตโนมััติิ ในแต่่ละปีี และจำำนวน โรงงานสะสม
70 โดยศึกษาแนวทางการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมและประเภทอุตสาหกรรมที่มีความเชื่อมโยงและครอบคลุมใน ด้านต่างๆ ประกอบด้วย 1) สภาพปัญหา ประเด็นอ่อนไหว โอกาส และศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม 2) ประเภทอุตสาหกรรมที่ควรจัดตั้งในพื้นที่อุตสาหกรรมของแต่ละจังหวัด 3) ผลกระทบ ความเสี่ยง โอกาสที่ขึ้น จากการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมในแต่ละจังหวัดและมาตรการรองรับ 4) ผลการศึกษาและประเมินความเป็น ไปได้ทางด้านการตลาดของการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม 3 จังหวัด เพื่อจัดทำ�ำฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ ประเภท อุตสาหกรรม และยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม ของทั้ง 3 จังหวัด
PART 5 ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในประเทศ และต่างประเทศ DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022
72 การถ่ายโอนภารกิจโรงงานจำ � ำพวกที่ 1 และ 2 ที่ผ่านมา กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) และ กระทรวงอุตสาหกรรม(อก.) ได้มีการถ่ายโอนภารกิจ การปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535 ให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร เทศบาล และเมืองพัทยา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 โดยได้ถ่ายโอนภารกิจรวม 3 ภารกิจ ได้แก่ (1) การกำ�ำกับดูแลโรงงานจำ�ำพวกที่ 1 (2) การกำ�ำกับดูแล การรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำ�ำพวกที่ 2 (3) การตรวจสอบกรณีโรงงานก่อเหตุเดือดร้อนรำ�ำคาญ เพื่อให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการกำ�ำหนดขั้นตอนการกระจายอำ�ำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) ซึ่งดำำ� เนินการตาม พ.ร.บ.กำำ� หนดแผนและขั้นตอน การกระจายอำำ� นาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ต่อมาในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535 โดยการประกาศใช้บังคับ พ.ร.บ.โรงงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 ซึ่งพระราชบัญญัตินี้ ได้บัญญัติถึงหลักเกณฑ์การถ่ายโอนภารกิจตาม กฎหมายว่าด้วยโรงงานให้แก่ อปท. รวมทั้งกำ�ำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นผู้ให้คำ�ำ ปรึกษาแก่ อปท. ให้การปฏิบัติตามภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนเป็นไปถูกต้องตามกฎหมาย โดยได้ถ่ายโอนภารกิจ รวม 13 ภารกิจ ได้แก่ (1) การกำ�ำกับดูแลโรงงานจำ�ำพวกที่ 1 (2) การกำ�ำกับดูแลโรงงานจำ�ำพวกที่ 2 (3) การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (4) การรับแจ้งและออกใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำ�ำพวกที่ 2 (5) การตรวจติดตามการแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำ�ำพวกที่ 2 (6) งานพิจารณาการคัดสำ�ำเนาใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจำ�ำพวกที่ 2 (7) การแจ้งเลิกประกอบกิจการการโอน การให้เช่า หรือการให้เช่าซื้อโรงงานจำ�ำพวกที่ 2 (8) งานรับแจ้งกรณีโรงงานจำ�ำพวกที่ 2 หยุดดำ�ำเนินงานติดต่อกันเกินกว่าหนึ่งปี (ม.33) (9) งานรับแจ้งกรณีมีอุบัติเหตุในโรงงาน (ม.34) (10) การตรวจสอบกรณีโรงงานก่อเหตุเดือดร้อนรำ�ำคาญ (11) การติดตามค่าธรรมเนียมรายปี (ม.43) (12) การดำ�ำเนินการออกคำ�ำสั่งให้ปรับปรุงแก้ไขโรงงาน (ม.37) และให้หยุดประกอบกิจการโรงงาน (ม.39) (13) การดำ�ำเนินการส่งคำ�ำสั่ง (ม.38) และการปิดประกาศคำ�ำสั่งให้หยุดประกอบกิจการโรงงาน (ม.40) เทศบาลนคร/เมือง/ตำ�ำบล 2,472 แห่ง มีโรงงานจำ�ำพวกที่ 1, 2 ที่ต้องกำ�ำกับ ดูแล 2,762 โรงงาน สำ�ำนักงานเขต 50 เขต มีโรงงานจำ�ำพวก ที่ 1, 2 ที่ต้องกำ�ำกับดูแล 684 โรงงาน
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 73 การส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น จัดทำ�ำ E-Learning 13 กระบวนงานที่ถ่ายโอนให้ กทม. อปท. จัดทำำ� คู่มือการปฏิบัติงานสำ�ำหรับเจ้าหน้าที่ กทม. อปท. 3,500 เล่ม จัดทำำ� คู่มือการกำำ� กับดูแลด้านสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยสำ�ำหรับโรงงานจำ�ำพวก ที่ 1 และ 2 ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ กทม. อปท. 4,500 คน
74 การบริหารจัดการขยะเพื่ อผลิตไฟฟ้า (Waste- to-Energy) และการส่งเสริมการผลิตการใช้พลังงานทดแทนและการ อนุรักษ์พลังงานในภาคอุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2565 นายกอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม และ นายกุลิศ สมบัติศิริ ปลัดกระทรวงพลังงาน ได้ร่วมลงนามในบันทึกความเข้าใจ ความร่วมมือ การบริหารจัดการขยะอุตสาหกรรมเพื่อผลิต ไฟฟ้า (Waste to-Energy) และการส่งเสริม การผลิตการใช้พลังงานทดแทนและการอนุรักษ์ พลังงานในภาคอุตสาหกรรม โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดความร่วมมือด้านบริหารจัดการขยะ อุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบ ได้พลังงานไฟฟ้า ที่มีเสถียรภาพ และมีความมั่นคงของระบบไฟฟ้า เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มจากขยะอุตสาหกรรม สอดคล้องกับ หลักเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ต่อมา กระทรวงอุตสาหกรรม ได้แต่งตั้งคณะกรรมการร่วม เพื่อขับเคลื่อนการบริหารจัดการขยะอุตสาหกรรมเพื่อผลิตไฟฟ้า (Waste- to-Energy) และการส่งเสริมการ ผลิตการใช้พลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงานในภาคอุตสาหกรรม โดยมีกระทรวงพลังงานและกระทรวง อุตสาหกรรม เป็นประธานกรรมการร่วม หน่วยงานราชการและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องร่วมเป็นกรรมการ โดยมีกรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม ทำำ� หน้าที่เป็นกรรมการและเลขานุการร่วม กรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้เสนอข้อเสนอหลักเกณฑ์สำ�ำหรับพิจารณาผู้เข้าร่วมโครงการรับซื้อไฟฟ้าและ อัตรารับซื้อไฟฟ้าจากขยะอุตสาหกรรมต่อ คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน และคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแห่งชาติ ซึ่งคณะกรรมการทั้ง 2 คณะ มีมติเห็นชอบหลักการรับซื้อไฟฟ้าและอัตรารับซื้อไฟฟ้าจาก ขยะอุตสาหกรรมในรูปแบบการให้เงินสนับสนุนตามต้นทุนที่แท้จริง หรือ Feed-in-Tariff (FiT) สำ�ำหรับปี 2565 ตามแผนการเพิ่มการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานสะอาด ภายใต้แผนพัฒนากำ�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2561 - 2580 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 (PDP2018 Rev. 1) ในช่วงปี พ.ศ. 2564 - 2573 (ปรับปรุงเพิ่มเติม) ใน ปริมาณ 100 เมกะวัตต์ สำำ� หรับผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (Very Small Power Producer; VSPP) และกำำ� หนดวัน จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ (SCOD) ในปี 2569 ซึ่งปัจจุบัน คณะกรรมการกำำ� กับกิจการพลังงาน อยู่ระหว่าง การพิจารณาจัดทำ�ำประกาศ เรื่อง การรับซื้อไฟฟ้าพิเศษจากขยะอุตสาหกรรมในรูปแบบ Feed-in-Tariff (FiT) FiT (บาท/หน่วย) FiT Premium (บาท/หน่วย) กำ�ำลังการผลิต ระยะเวลา สำ�ำหรับโครงการ โครงการในพื้นที่ ติดตั้ง (MW) FiTF FiTV,2560 FiT สนับสนุน (ปี) ขยะอุตสาหกรรม จังหวัดชายแดนภาคใต้ (8 ปีแรก) (ตลอดอายุโครงการ) <10 3.39 2.69 6.08 20 0.70 0.50 อัตราการรับซื้อไฟฟ้าจากขยะอุตสาหกรรม
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 75 การนำ � ำมูลฝอยติดเชื้อมาเป็นเชื้อเพลิงในเตาเผาของ โรงงานเป็นการชั่วคราวภายใต้สถานการณ์ระบาดของ โรคติดเชื้ อไวรัสโคโรนา 2019 หมายเหตุ 1. อัตรารับซื้อไฟฟ้าส่วนคงที่ (FiTF) จะเป็นอัตราที่คงที่ (บาทต่อหน่วย) ต่อหน่วยตลอดระยะเวลา 20 ปี 2. อัตรารับซื้อไฟฟ้าส่วนแปรผัน (FiTV,2560) มีอัตราฐานเท่ากับ 2.69 บาทต่อหน่วย ในปี 2560 และปรับเพิ่มขึ้นตามอัตราเงินเฟ้อขั้น พื้นฐาน (Core Inflation) เฉลี่ยของปีก่อนหน้าตามประกาศของกระทรวงพาณิชย์ 3. อัตรารับซื้อไฟฟ้าพิเศษ (FiT Premium) เป็นอัตราเพิ่มที่รัฐบาลมีนโยบายที่จะสร้างแรงจูงใจในการลงทุนโครงการกลุ่มเชื้อเพลิงชีวภาพ/ ขยะอุตสาหกรรม จำ�ำนวน 0.70 บาทต่อหน่วย โดยมีระยะเวลาสนับสนุนเฉพาะใน 8 ปีแรก 4. โครงการในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส และ 4 อำ�ำเภอ ในจังหวัดสงขลา ได้แก่ อำ�ำเภอจะนะ อำ�ำเภอเทพา อำ�ำเภอสะบ้าย้อย และอำ�ำเภอนาทวี ปัญหาการจัดการมูลฝอยติดเชื้อที่สะสมตกค้าง ทั้งจากกระบวนการเก็บขน และการกำ�ำจัดมูลฝอยติดเชื้อที่สะสมรอกำ�ำจัด ณ สถานที่รับกำ�ำจัดที่มีเป็นจำ�ำนวนมาก เนื่องจากสถานที่รับกำ�ำจัดที่มีอยู่ไม่สามารถรองรับปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่เพิ่มขึ้น เป็นจำ�ำนวนมากได้ คณะรัฐมนตรีจึงมีมติเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2564 ให้กระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงพลังงาน กระทรวงสาธารณสุข การนิคมอุตสาหกรรม ดำำ� เนิน การแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างเร่งด่วน กรมโรงงานอุตสาหกรรม จึงได้ร่วมมือ กับกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สำ�ำนักงาน คณะกรรมการกำ�ำกับกิจการพลังงาน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บูรณาการความ ร่วมมือในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว เพื่อบรรเทาวิกฤติการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรมมีนโยบายที่จะสนับสนุนให้โรงงานบางประเภทใช้ศักยภาพ เตาเผาที่เป็นส่วนหนึ่งของการประกอบกิจการโรงงานของตนมาช่วยกำ�ำจัดมูลฝอย ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่สะสมอยู่เป็นการชั่วคราวจนกว่าสถานการณ์การระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จะคลี่คลายไป จึงออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง นโยบายการนำ�ำมูลฝอยติดเชื้อมาเป็นเชื้อเพลิงในเตาเผาของโรงงานเป็นการ ชั่วคราวภายใต้สถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยประกาศ ดังกล่าวสนับสนุนให้โรงงาน 3 ประเภท คือ 1) โรงงานลำ�ำดับที่ 88(2) เฉพาะโรงงาน ผลิตไฟฟ้าจากขยะชุมชนหรือขยะอุตสาหกรรมหรือแบบผสมผสานทั้งแบบเผาตรงและ ใช้เชื้อเพลิง RDF (Refuse Derived Fuel) 2) โรงงานลำำ� ดับที่ 101 เฉพาะโรงปูนซีเมนต์ หรือโรงงานกำ�ำจัดของเสียเฉพาะที่กำ�ำจัด โดยกระบวนการเผา และ 3) โรงงานลำ�ำดับที่ 102 เฉพาะโรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตและหรือจำ�ำหน่ายไอน้�้ำำ (steam generating) ที่ใช้เชื้อเพลิงขยะชุมชนหรือขยะอุตสาหกรรม หรือแบบผสมผสานทั้งแบบ เผาตรงและใช้เชื้อเพลิง RDF (Refuse Derived Fuel) สามารถขอความเห็นชอบตาม กฎหมายเพื่อนำำ� มูลฝอยติดเชื้อมาเป็นเชื้อเพลิงในเตาเผาของโรงงานเป็นการชั่วคราว ภายใต้สถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ทั้งโรงงานที่อยู่ในและ นอกนิคมอุตสาหกรรม
76 ความร่วมมือกับ NEDO และ METI กระทรวงอุตสาหกรรม ได้ตระหนักถึงปัญหา ในอนาคตที่จะเกิดขึ้นจากอุปกรณ์ไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ หรือหมดอายุ ซึ่ง อุปกรณ์เหล่านี้ต้องได้รับการจัดการที่เหมาะสมเพื่อ ป้องกันปัญหามลพิษที่สามารถเกิดขึ้นได้จากการ บำ�ำบัดและกำ�ำจัดที่ไม่ถูกวิธี กระทรวงอุตสาหกรรม จึงได้ลงนามความเข้าใจ (MOU) กับองค์การพัฒนา พลังงานใหม่และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ญี่ปุ่น (New Energy and Industrial Technology Development Organization: NEDO) ในปี 2562 เรื่อง The Demonstration Project for an Energy-Saving Resource Circulation System to Utilize Electronic and Electrical Equipment Waste in Thailand (WEEE) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสนับสนุนและ เพิ่มประสิทธิภาพโรงงานคัดแยกและรีไซเคิลกากอุตสาหกรรมให้สามารถรองรับการรีไซเคิลผลิตภัณฑ์ด้วย กระบวนการที่เหมาะสมกับประเภทหรือชนิดของผลิตภัณฑ์อย่างครบวงจร รวมถึงเพิ่มความสามารถในการ นำ�ำวัสดุที่ได้จากการคัดแยกกลับมาใช้ใหม่ให้ได้มากที่สุด เพื่อลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจากการดึงเอา ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ทำ�ำผลิตภัณฑ์อีกด้วย ความร่วมมือดังกล่าวเป็นการส่งเสริมสนับสนุน ให้ภาคเอกชนจากประเทศญี่ปุ่นลงทุนในต่างประเทศ ภายใต้โครงการ Introduction an Energy-Saving Resource Circulation System in Asia โดยได้รับ เงินสนับสนุนจากกระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และ อุตสาหกรรม ประเทศญี่ปุ่น (Ministry of Economy, Trade and Industry, METI) เพื่อสร้างต้นแบบธุรกิจ รีไซเคิลซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศไทย ซึ่งบริษัท Arbiz Corporation ประเทศญี่ปุ่น สรุปปริมาณการกำำจ� ัดมูลฝอยติดเชื้อของโรงงานทั้ง 9 ราย ที่ได้รับความเห็นชอบให้นำำ� มูลฝอยติดเชื้อมาเป็นเชื้อเพลิงในเตาเผาของ โรงงานเป็นการชั่วคราว (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565)
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 77 ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการคัดแยก กราฟแสดงเวลาการทำ�ำงานที่สามารถประหยัดได้ตามประเภทของของเสียที่นำ�ำเข้าเครื่องคัดแยก เป็นผู้จัดหา และติดตั้งเครื่องจักรให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ และบริษัท ฮิดากา โยโก เอ็นเตอร์ไพรส์ จำ�ำกัด ประเทศไทย เป็นผู้ที่ได้รับคัดเลือกที่ได้รับการติดตั้งทดลองเดินเครื่อง พร้อมเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ดำ�ำเนินโครงการฯ ดังกล่าว ในปี 2565 เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในการรีไซเคิลผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าได้ทำำ� การติดตั้งเรียบร้อยแล้ว โดยเครื่องจักรดังกล่าวเป็นเครื่องที่ทำำ� งานโดยการบดย่อย และแยกชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อนำำ� วัสดุที่ มีค่ากลับมาใช้ใหม่ให้ได้มากที่สุด อีกทั้งเครื่องจักรนี้ยังลดเวลาในการคัดแยกลงอย่างมาก ทำำ� ให้สามารถจัดการ กับอุปกรณ์ และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โครงการดังนี้กล่าวได้ดำ�ำเนินการติดตั้งแล้วเสร็จ และกำ�ำลังทดสอบการเดินเครื่อง รวมถึงการเก็บข้อมูล เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในด้านต่างๆ โดยโครงการดังกล่าว มีกำ�ำหนดการที่จะแล้วเสร็จภายในไตรมาสที่ 1 ของปี 2566
78 การดำำ � เนินงานเพื่อสนับสนุนการลดและเลิกใช้สารทำำ � ลาย ชั้นบรรยากาศโอโซน 1. การควบคุมปริมาณการนำ�ำเข้าสาร HCFCs กรมโรงงานอุตสาหกรรม เป็นหน่วยงานหลักในการดำำ� เนินการลดและเลิกใช้สารทำำ� ลายชั้นบรรยากาศโอโซน ได้แก่ สารไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (HCFCs) ให้เป็นไปตามพันธกรณีภายใต้พิธีสารมอนทรีออล และได้ จัดประชุมการจัดสรรสิทธิปริมาณการนำ�ำเข้าสาร HCFCs ประจำ�ำปี พ.ศ. 2565 ผ่านระบบออนไลน์ มีผู้เข้าร่วม ประชุมทั้งสิ้น 86 คน โดยมีการจัดสรรสิทธิปริมาณการนำ�ำเข้ารวมไม่เกิน 390 โอดีพีตัน ให้แก่ผู้นำ�ำเข้า จำ�ำนวน 32 บริษัท 2. การให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแบบให้เปล่าในภาคอุตสาหกรรมผลิตโฟม แบบฉีดพ่น 2.1 กรมโรงงานอุตสาหกรรม ร่วมกับธนาคารโลก และกลุ่ม อุตสาหกรรมย่อยโพลียูรีเทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จัดสัมมนาประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้ประกอบการโฟมแบบฉีดพ่นที่ใช้ สาร HCFC-141b ในกระบวนการผลิต สามารถยื่นข้อเสนอขอรับความ ช่วยเหลือแบบให้เปล่าทางด้านการเงิน ในการปรับเปลี่ยนกระบวนการ ผลิตไปใช้เทคโนโลยีสารทดแทนใหม่ที่ไม่ทำ�ำลายชั้นบรรยากาศโอโซนและ มีค่าศักยภาพที่ทำ�ำให้โลกร้อนต่�่ำำ ได้แก่ สาร HFO-1233zd และสาร HFO-1336mzz-Z โดยมีผู้เข้าร่วมสัมมนาฯ จำ�ำนวน 85 คน 2.2 มีผู้ประกอบการยื่นข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับความช่วยเหลือ แบบให้เปล่าทางด้านการเงินแล้ว จำ�ำนวน 2 ราย และได้มีการปรับเปลี่ยน กระบวนการผลิตจากเดิมที่ใช้สาร HCFC-141b ไปใช้สาร HFOs ทำ�ำให้ สามารถเลิกการใช้สารทำำ� ลายชั้นบรรยากาศโอโซน และลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกได้ 20,896.27 Ton CO2-eq
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 79 3. การเสริมสร้างศักยภาพให้แก่ช่างติดตั้งและซ่อมบำ�ำรุงเครื่องปรับอากาศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้จัดหาเครื่องมือ/อุปกรณ์ รวมทั้งสิ้น 72 ชุด ให้แก่ศูนย์ฝึกอบรมภายใต้สังกัด กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และสำ�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำ�ำนวน 12 ศูนย์ ได้แก่ สถาบันพัฒนา ฝีมือแรงงาน 15 พระนครศรีอยุธยา สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 18 อุดรธานี สำ�ำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ลำำ�พูน สำำ� นักงานพัฒนาฝีมือแรงงานเพชรบูรณ์ สำำ� นักงานพัฒนาฝีมือแรงงานกาญจนบุรี สำำ� นักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานสตูล วิทยาลัยเทคนิคพิจิตร วิทยาลัยเทคนิคน่าน วิทยาลัยเทคนิคนครขอนแก่น วิทยาลัยเทคนิค เลิงนกทา วิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช และวิทยาลัยเทคนิคราชสิทธาราม เพื่อใช้สำำ� หรับการฝึกอบรมให้แก่ ช่างติดตั้งและซ่อมบำ�ำรุงเครื่องปรับอากาศทั่วประเทศ จำ�ำนวน 4,560 คน ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในหลักการ ของระบบทำ�ำความเย็น และระบบปรับอากาศในเทคโนโลยีสาร HFC-32 4. กิจกรรมประกวดผลงานศิลปะ Ozone2Climate กรมโรงงานอุตสาหกรรม เข้าร่วมกิจกรรมการประกวดผลงานศิลปะ Ozone2Climate ของโครงการสิ่ง แวดล้อมแห่งสหประชาชาติประจำ�ำภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก (UN Environment Programme, Asia and the Pacific Office: UNEP) โดยได้จัดกิจกรรมการประกวดผลงานศิลปะ Ozone2Climate ในระดับประเทศ และระดับ ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงความสำำ� คัญของการปกป้องชั้นบรรยากาศโอโซน และปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก รวมถึงส่งเสริมภาพลักษณ์ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ของประเทศไทยต่อการดำ�ำเนินงานภายใต้พิธีสารมอนทรีออล 4.1 ระดับประเทศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้จัดกิจกรรมประกวด ผลงานศิลปะ Ozone2Climate มีผลงานส่งเข้าประ กวดฯ รวมทั้งสิ้น 605 ผลงาน ดังนี้ 1. ประเภทภาพถ่าย ระดับเยาวชน จำำ� นวน 37 ผล งาน และ ระดับบุคคลทั่วไป จำ�ำนวน 169 ผลงาน 2. ประเภทภาพวาด ระดับเยาวชน จำำ� นวน 86 ผล งาน และ ระดับบุคคลทั่วไป จำ�ำนวน 81 ผลงาน 3. ประเภทออกแบบกราฟิก ระดับระดับเยาวชน จำำ� นวน 52 ผลงาน และระดับบุคคลทั่วไป จำำ� นวน 180 ผลงาน และได้จัดพิธีมอบรางวัลให้แก่ผู้ชนะการประกวดฯ ในทุกประเภททุกระดับ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ 4.2 ระดับภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก กรมโรงงานอุตสาหรรม ได้ส่งผลงานชนะเลิศ ของทุกประเภทและทุกระดับ เข้าแข่งขันระดับภูมิภาค เอเชียและแปซิฟิก ในนามประเทศไทย โดยหน่วย อนุรักษ์โอโซน (National Ozone Unit: NOU) ของ ประเทศไทย ได้รับรางวัลในความร่วมมือที่โดดเด่นใน
80 การจัดประกวดผลงานศิลปะ Ozone2Climate และผลงานจากประเทศไทยได้รับรางวัล จำ�ำนวน 5 รางวัล ได้แก่ รางวัลรองชนะเลิศลำ�ำดับที่ 1 ประเภทภาพถ่าย ระดับเยาวชน ได้แก่ ด.ญ.ขวัญข้าว เจริญชัยนพกุล รางวัลรองชนะเลิศลำ�ำดับที่ 2 ประเภทภาพถ่าย ระดับบุคคลทั่วไป ได้แก่ นายสุกฤษฎิ์ หิรัญสารพงศ์ รางวัลรองชนะเลิศลำ�ำดับที่ 1 ประเภทภาพวาด ระดับบุคคลทั่วไป ได้แก่ นางสาววิกาวี รัตตมณี รางวัลรองชนะเลิศลำ�ำดับที่ 1 ประเภทออกแบบกราฟิก ระดับเยาวชน ได้แก่ ด.ญ.สิริกร ล่องสุวรรณ รางวัลรองชนะเลิศลำ�ำดับที่ 2 ประเภทออกแบบกราฟิก ระดับบุคคลทั่วไป ได้แก่ นายสุทัศน์ ปาละมะ การดำำ � เนินงานด้านการเปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศและ่ การลดก๊าซเรือนกระจก กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) เป็น หน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนการลดก๊าซ เรือนกระจก ในสาขากระบวนการอุตสาหกรรม และการใช้ผลิตภัณฑ์ (Industrial Process and Product Use: IPPU) รวมถึงน้�้ำำเสีย อุตสาหกรรม เพื่อสนับสนุนนโยบายของ รัฐบาล ซึ่งยกระดับเป้าหมายการลดก๊าซ เรือนกระจกของประเทศ ที่ร้อยละ 40 ภายใน ปี พ.ศ. 2573 มุ่งสู่ความเป็นกลางทาง คาร์บอน ภายในปี พ.ศ. 2593 และปล่อยก๊าซ
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 81 เรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ ภายในปี พ.ศ. 2608 รวมทั้งเพื่อปฏิบัติตามพันธกรณีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและความตกลงปารีส ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กรอ. ร่วมกับ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) (อบก.) และสำำ� นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ได้ดำำ� เนินการพัฒนาระบบการตรวจวัด รายงาน และทวนสอบ (Measurement, Reporting and Verification: MRV) และวิธีการคำำ�นวณสำำ� หรับประเมิน ผลมาตรการลดก๊าซเรือนกระจกภายใต้แผนปฏิบัติการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ปี พ.ศ. 2564 – 2573 สาขากระบวนการอุตสาหกรรมและการใช้ผลิตภัณฑ์ รวมถึงน้�้ำำเสียอุตสาหกรรม ได้แก่ (1) มาตรการทดแทนปูน เม็ด โดยการใช้วัสดุทดแทนปูนเม็ดในกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ไฮดรอลิก และการใช้วัสดุทดแทนปูนซีเมนต์เพิ่ม ขึ้นในคอนกรีตผสมเสร็จ (2) มาตรการทดแทน/ปรับเปลี่ยนสารทำ�ำความเย็น และการกำ�ำจัดทำ�ำลายของเสียและ สารทำ�ำความเย็นที่เสื่อมสภาพอย่างถูกวิธี และ (3) มาตรการการจัดการน้�้ำำเสียอุตสาหกรรม โดยการเพิ่มการ ผลิตก๊าซชีวภาพจากน้�้ำำเสียอุตสาหกรรมด้วยการนำ�ำก๊าซมีเทนกลับมาใช้ประโยชน์ โดยการประเมินผลในเบื้อง ต้นจากข้อมูลกิจกรรมย้อนหลัง 2 ปี (พ.ศ. 2563) ตามหลักเกณฑ์ของความตกลงปารีส พบปริมาณการลด ก๊าซเรือนกระจกที่ประเมินได้ รวม 5.80 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (MtCO2 eq) นอกจากนี้ กรอ. มี การดำ�ำเนินการ ดังนี้ การประกาศ‘MISSION2023’มุ่งเป้าลดก๊าซเรือนกระจก 1,000,000ตันCO2จากมาตรการทดแทนปูนเม็ด สู่ความเป็น กลางทางคาร์บอน โดย กรอ. ร่วมกับ 24 หน่วยงาน จากภาครัฐ ภาควิชาชีพ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการศึกษา ได้ประกาศ ‘MISSION 2023’ ผนึกกำ�ำลังมุ่งเป้าลดก๊าซเรือนกระจก 1,000,000 ตัน CO2 ภายในปี พ.ศ. 2566 เพื่อสนับสนุน นโยบายของรัฐบาลในการยกระดับเป้าหมายการลดก๊าซ เรือนกระจกของประเทศ โดยมี ปลัดกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ปลัดกระทรวงคมนาคม ปลัดกระทรวงมหาดไทย รองปลัด กระทรวงพาณิชย์ และรองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานร่วมกล่าวสนับสนุนการผนึกกำ�ำลังของภาคีร่วม ดำ�ำเนินการ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2565 ณ โรงแรมแชงกรี-ลา กรุงเทพมหานคร การเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีการลดก๊าซเรือนกระจก โดย กรอ. ร่วมกับ กลุ่ม บริษัท ดาว ประเทศไทย ได้จัดการสัมมนา เรื่อง นวัตกรรม BCG สู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนและอุตสาหกรรม ยั่งยืน เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2565 ณ อาคารกรมโรงงานอุตสาหกรรม และผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเสริม สร้างความตระหนักและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อตอบโจทย์เป้าหมายการจัดการ ก๊าซเรือนกระจกในภาคอุตสาหกรรม และส่งเสริมความรู้ด้านเศรษฐกิจหมุนเวียนตามนโยบาย BCG โดยมีผู้เข้า ร่วมจากหน่วยงานภายในกระทรวงอุตสาหกรรม และหน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมกว่า 200 คน
82 การดำ�ำเนินโครงการ Climate Action Programme for Chemical Industry (CAPCI) ระยะที่ 2 ซึ่ง กรอ. ร่วมกับองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) อยู่ระหว่างดำำ� เนินการ เพื่อยกระดับศักยภาพการ ดำำ� เนินการอุตสาหกรรมเคมีที่ยั่งยืนและปกป้องสภาพภูมิอากาศ ตั้งแต่ส่วนของกระบวนการผลิต ตลอดทั้งห่วง โซ่มูลค่า (value chain) ของอุตสาหกรรม โดยมีการประชุมเชิงปฏิบัติการทางไกล (On-line workshop) เมื่อวัน ที่ 5 กรกฎาคม 2565 เพื่อพัฒนาแผนปฏิบัติการ (Operational Plan) สำ�ำหรับการส่งเสริมอุตสาหกรรมเคมีที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนต่อไป การยกระดับห้องปฏิบัติการทดสอบสาขาสิ่ งแวดล้อม ของไทยสู่มาตรฐานสากล กรมโรงงานอุตสาหกรรม สำ�ำนักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และกรม วิทยาศาสตร์บริการ ได้ลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือระหว่าง 3 หน่วยงาน เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 4 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา ณ ห้องประชุม อัครเมธี กรมวิทยาศาสตร์บริการ เพื่อบูรณาการ ความร่วมมือในการสนับสนุนและส่งเสริมให้ห้อง ปฏิบัติการทดสอบสาขาสิ่งแวดล้อมของไทยสู่ มาตรฐานสากล เน้นตรวจกำ�ำกับด้วยมาตรฐาน เดียว ลดความซ้�้ำำซ้อน และอำ�ำนวยความสะดวกแก่ ผู้ประกอบการ โดยการร่วมมือในครั้งนี้จะทำ�ำให้ห้องปฏิบัติ การวิเคราะห์ด้านสิ่งแวดล้อมที่ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ISO/IEC 17025 (มอก.17025) ในสาร มลพิษที่ทดสอบตามวิธีมาตรฐาน (Standard Method) ตามที่กฎหมายกำ�ำหนดกรมโรงงาน อุตสาหกรรมก็จะรับขึ้นทะเบียนโดยไม่ต้องตรวจ สอบซ้�้ำำ เพื่ออำ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการ นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสสำ�ำหรับบุคลากร ซึ่ง กรมวิทยาศาสตร์บริการจะได้ให้การรับรองความ สามารถตาม ISO/IEC 17024 สาขาการควบคุมคุณภาพ การวิเคราะห์ด้านสิ่งแวดล้อม ให้เป็นคุณสมบัติที่สามารถ ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ควบคุมดูแลห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ เอกชนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ตามกฎหมายต่อ ไปภายหลังการลงนามความร่วมมือทั้ง 3 หน่วยงานก็จะ ร่วมกันกำ�ำหนดหลักเกณฑ์การตรวจสอบ/ตรวจประเมิน ห้องปฏิบัติการในการทดสอบสาขาสิ่งแวดล้อมรวมทั้ง เสริมสร้างความรู้และประสบการณ์ในด้านการทดสอบ สาขาสิ่งแวดล้อมสำ�ำหรับบุคลากรของทุกฝ่ายอันจะเป็น ประโยชน์ในการพัฒนาความร่วมมือให้บรรลุวัตถุประสงค์ อย่างเป็นรูปธรรม
PART 6 Bio-Circular-Green Economy (BCG) DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022
84 การดำ�ำเนินงานตามนโยบาย BCG Model ของ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมดำ�ำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบาย BCG Model โดยแนวทางการขับเคลื่อน BCG Model จะมุ่งเน้นไปที่การสร้างความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีเป้าหมายการขับเคลื่อนในมิติทางด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ การสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ เพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ สร้างงาน และยกระดับรายได้ของประชากร มิติทางด้านความมั่นคง ได้แก่ การสร้างความมั่นคงทางสังคม สร้างความมั่งคงทางอาหาร สุขภาพ และพลังงานในทุกระดับ เพื่อการ ยกระดับคุณภาพชีวิต และมิติทางด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การสร้างความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ ลดของเสียและมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงตอบโจทย์การพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs ทั้ง 17 เป้าหมาย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้มีการดำ�ำเนินงานเพื่อตอบสนอง นโยบาย BCG Model ในทั้ง 3 มิติ ดังกล่าวข้างต้น ดังนี้
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 85 1. การสนับสนุนและส่งเสริมตามมาตรการพัฒนา อุตสาหกรรมชีวภาพของไทยในพื้นที่ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี จังหวัดลพบุรี เป็นแหล่งวัตถุดิบทางการเกษตรที่สำ�ำคัญ โดยโรงงานส่วนใหญ่จะเป็นอุตสาหกรรมต่อเนื่องจาก ภาคการเกษตร ได้แก่ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการผลิต พืชและสัตว์ รวมทั้งอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ดังนั้น กรมโรงงานอุตสาหกรรมจึงได้การดำ�ำเนินงานขยายผล มาตรการฯ เชิงพื้นที่ตามนโยบายรัฐบาลเพิ่มเติมจากพื้นที่ นำ�ำร่องในระยะที่ 1 โดยเลือกพื้นที่มีศักยภาพและประสาน กรมโยธาธิการและผังเมือง ในการกำ�ำหนดที่ดินประเภท อุตสาหกรรมและคลังสินค้า (พื้นที่สีม่วง) ในเขตพื้นที่ จังหวัดลพบุรี เพื่อสนับสนุนและผลักดันนโยบายส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมในรูปแบบเขตประกอบการ อุตสาหกรรม หรือเขตส่งเสริมการลงทุน บนพื้นที่กว่า 4,800 ไร่ โดยจัดสรรพื้นที่สำ�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรมที่ เน้นเทคโนโลยีและนวัตกรรมชั้นสูงด้านการแปรรูปผลผลิตการเกษตรและพลังงานทดแทนภายใต้ระบบเศรษฐกิจ ชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy) ตามนโยบายของรัฐบาล ที่จะสร้างเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยให้โรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องและต่อเนื่อง เข้ามาอยู่รวมกันอย่างเป็นระบบและมีระเบียบ ตลอดจนมีการบริหารจัดการที่เกื้อกูลกัน ประกอบด้วยสิ่งอำ�ำนวย ความสะดวก สาธารณูปโภค และสาธารณูปการที่ครบ ครัน โดยโครงการแรกที่ภาคเอกชนเสนอแผนการ ลงทุน คือ “ลพบุรี ไบโอ คอมเพลกซ์” พื้นที่ 2,717 ไร่ มูลค่าการลงทุนกว่า 32,000 ล้านบาท ตั้งอยู่ที่อำำ�เภอ บ้านหมี่ เป็นการร่วมมือกับภาคการเกษตรในพื้นที่ โดย พื้นที่อุตสาหกรรมที่กำำ�หนดดังกล่าวสามารถประกอบ กิจการที่สนับสนุนหรือเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมด้าน การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพตามนโยบายของ กระทรวงอุตสาหกรรมเท่านั้น โดยในปัจจุบันประกาศ กระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 27 เมษายน 2565 เรื่อง การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดลพบุรี พ.ศ. 2565 ได้บังคับใช้แล้วตั้งแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป 2. อุตสาหกรรมสีเขียวเป็นการดำ�ำเนินงานภาคสมัครใจของสถานประกอบการที่ต้องการดำ�ำเนินธุรกิจให้ เป็นมิตรกับชุมชนและสิ่งแวดล้อมเพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยได้นำ�ำหลักการบริหารจัดการคุณภาพทั่วทั้ง องค์กร (Total Quality Management – TQM) ผนวกกับหลักการสร้างความสมดุลระหว่าง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม (Triple Bottom Line) พัฒนาและปรับปรุงเป็นหลักการของ “อุตสาหกรรมสีเขียว” บนพื้นฐาน สำำ� คัญของ 2 เสาหลักคือ การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement) และ การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) ขององค์กร อันจะส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรมมีภาพลักษณ์ที่ดี น่าเชื่อถือ ประชาชน ไว้วางใจ และเป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมสู่การสร้างเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ซึ่งจะ ทำ�ำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมสีเขียวของประเทศ (Green GDP) มีมูลค่าสูงขึ้นด้วย โดยอุตสาหกรรมสีเขียวได้มีการ ดำ�ำเนินการอย่างเป็นระบบใน 5 ระดับ จากระดับที่ง่ายไปสู่ระดับที่ยาก ดังนี้
คือ อุตสาหกรรมที่ยึดมั่นในการปรับปรุงกระบวนการผลิตและการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง เพื่อการประกอบกิจการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พรอมกับยึดมั่นในการประกอบกิจการดวยความรับผิดชอบตอสังคม ทั้งภายในและภายนอกองคกร ตลอดหวงโซอุปทานเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน “ “คืออะไร !? Scan QR Code ที่นี่ 1 2 3 4 5 ความมุงมั่นสีเขียว (Green Commitment) คือ การแสดงความมุงมั่นในรูปแบบ ของนโยบายเปาหมายและแผนงานที่จะลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และมีการสื่อสาร ภายในองคกรใหทราบโดยทั่วกัน ปฏิบัติการสีเขียว (Green Activity) คือ การดำเนินกิจกรรมตามนโยบาย เปาหมาย และแผนงานที่กำหนดเพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางเปนรูปธรรมและ สำเร็จตามความมุงมั่นที่ตั้งไว ปฏิบัติการสีเขียว (Green Activity) คือ การดำเนินกิจกรรมตามนโยบาย เปาหมาย และแผนงานที่กำหนดเพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางเปนรูปธรรมและ สำเร็จตามความมุงมั่นที่ตั้งไว วัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture) คือ การที่ทุกคนในองคกรมีจิตสำนึก รวมกันในการสงวนและรักษาไวซึ่งสิ่งแวดลอมที่ดีและใหความรวมมือรวมใจ ในทุกดานของการประกอบกิจการใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและดำเนินการตางๆ จนกลายเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมองคกร เครือขายสีเขียว (Green Network) คือ การขยายขอบเขตของการเปนอุตสาหกรรม สีเขียวจากภายในองคกรเองออกสูภายนอก ตลอดโซอุปทาน (Supply Chain) โดยสนับสนุนใหคูคาและพันธมิตรเปนอุตสาหกรรมสีเขียวดวย 1 30,501 โรงงาน 2 4 3 5 38 โรงงาน 1,602 โรงงาน 122 โรงงาน 1,441 โรงงาน ผลการดำเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีจำนวนโรงงานที่ไดรับการรับรอง GI 1 - 5 ดังนี้ 86
คือ อุตสาหกรรมที่ยึดมั่นในการปรับปรุงกระบวนการผลิตและการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง เพื่อการประกอบกิจการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พรอมกับยึดมั่นในการประกอบกิจการดวยความรับผิดชอบตอสังคม ทั้งภายในและภายนอกองคกร ตลอดหวงโซอุปทานเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน “ “คืออะไร !? Scan QR Code ที่นี่ 1 2 3 4 5 ความมุงมั่นสีเขียว (Green Commitment) คือ การแสดงความมุงมั่นในรูปแบบ ของนโยบายเปาหมายและแผนงานที่จะลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และมีการสื่อสาร ภายในองคกรใหทราบโดยทั่วกัน ปฏิบัติการสีเขียว (Green Activity) คือ การดำเนินกิจกรรมตามนโยบาย เปาหมาย และแผนงานที่กำหนดเพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางเปนรูปธรรมและ สำเร็จตามความมุงมั่นที่ตั้งไว ปฏิบัติการสีเขียว (Green Activity) คือ การดำเนินกิจกรรมตามนโยบาย เปาหมาย และแผนงานที่กำหนดเพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางเปนรูปธรรมและ สำเร็จตามความมุงมั่นที่ตั้งไว วัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture) คือ การที่ทุกคนในองคกรมีจิตสำนึก รวมกันในการสงวนและรักษาไวซึ่งสิ่งแวดลอมที่ดีและใหความรวมมือรวมใจ ในทุกดานของการประกอบกิจการใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและดำเนินการตางๆ จนกลายเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมองคกร เครือขายสีเขียว (Green Network) คือ การขยายขอบเขตของการเปนอุตสาหกรรม สีเขียวจากภายในองคกรเองออกสูภายนอก ตลอดโซอุปทาน (Supply Chain) โดยสนับสนุนใหคูคาและพันธมิตรเปนอุตสาหกรรมสีเขียวดวย 1 30,501 โรงงาน 2 4 3 5 38 โรงงาน 1,602 โรงงาน 122 โรงงาน 1,441 โรงงาน ผลการดำเนินงานในปงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีจำนวนโรงงานที่ไดรับการรับรอง GI 1 - 5 ดังนี้ DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 87 3. กรมโรงงานอุตสาหกรรมดำ�ำเนินการสนับสนุนและส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด (Cleaner Technology: CT) ซึ่งเปนเครื่องมือการจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพที่จะช่วยในการปรับปรุงหรือ เปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตหรือผลิตภัณฑเพื่อใหเกิดการใชวัตถุดิบ พลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติใหเป็น ไปอยางมีประสิทธิภาพสูงสุ ดโดยทาใหํ เกิ ดของเสียนอยที่สุ ด หรือไมมีเลย รวมถึงการเปลี่ยนวัตถุ ดิบ การใชซ ํ้า และ การนากลับมาใช ํ ใหม จึงเป นการลดมลพิษที่แหลงก าเนิ ํดชวยอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติล ดความเสี่ยงที่อาจเกิด ขึ้นกับมนุษย และลดตนทุนการผลิต ตลอดจนคาใชจายในการบําบัดหรือกําจัดของเสีย ทั้งยังได้มีการนำ�ำระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System: EMS) มาใช้เป็นเครื่องมือในการสนับสนุนการ ดำ�ำเนินงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบในกลุ่มอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม ส่งผลให้เกิด การเพิ่มผลผลิต ลดมลพิษที่แหล่งกำ�ำเนิด ป้องกันและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วยการสร้างสมดุลระหว่าง ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและการอนุรักษ์ปกป้องรักษาระบบนิเวศไปพร้อมๆ กัน โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้ร่วมดำ�ำเนินการวิจัยกับคณะผู้วิจัยจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ผ่าน การดำ�ำเนินโครงการวิจัยมาตรการถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมการพัฒนาระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนใน อุตสาหกรรมพลาสติกระดับ SMEs โครงการวิจัยมาตรการถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมการพัฒนาระบบ เศรษฐกิจหมุนเวียนในอุตสาหกรรมฟอกหนังระดับ SMEs และโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมการ พัฒนาระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนในอุตสาหกรรมพลาสติกและฟอกหนัง เพื่อพัฒนาโรงงานต้นแบบการพัฒนา ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนรูปแบบต่าง ๆ ตามหลักสากลจนกระทั่งได้ Concept Model of Circular Economy ที่ เป็นรูปธรรมสามารถนำ�ำไปประยุกต์ใช้กับกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นได้ต่อไป ดังนี้
88 นอกจากนี้กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ดำ�ำเนินการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกากอุตสาหกรรม โดยการนำำ� กากอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นจากการประกอบกิจการโรงงานไปใชประโยชน ตามหลัก 3Rs และหลักการ KAIZEN ดังนี้ 3RS โดยหลักการตามที่กล่าวในข้างต้นจะช่วยเพิ่มศักยภาพ การใชประโยชนของเสียเพิ่มเติมในการลดคาใชจายในการ บำ�ำบัด/กำ�ำจัด เพิ่มมูลคาของเสีย เพื่อใหสอดคลองกับ หลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ซึ่งนำำ� ไป สูการใชประโยชนของเสียไดทั้งหมด (Zero Waste to Landfill) ซึ่งตอบสนองนโยบาย BCG Model ของกระทรวง อุตสาหกรรม ที่สนับสนุนใหเกิดการดำ�ำเนินธุรกิจที่เปนมิตร กับสิ่งแวดลอม และเกิ ดการพัฒนาอุตสาหกรรมอยางยั่งยืน โดยในปี พ.ศ. 2565 กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีผลการ ดำ�ำเนินงานผ่านการดำ�ำเนินโครงการต่างๆ ในภาพรวม ดังนี้ EMS GI CT 3RS &KAIZEN โครงการเพิ่มศักยภาพการ ผลิตของโรงงาอุตสาหกรรม ด้วยระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม เพื่อรองรับ อุตสาหกรรมสีเขียว โรงงานผ่านการตรวจ ประเมินระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม โครงการตรวจประเมิน สถานประกอบการที่ขอเทียบ ระดับ หรือเลื่อนระดับสู่ GI ระดับ 3 - 5 โรงงานได้รับการพัฒนา ยกระดับอุตสาหกรรมสีเขียว และจัดทำ�ำรายงานประเมินผล การลดก๊าซเรือนกระจก โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี ที่สะอาดระดับรายสาขา การลดปริมาณน้�้ำำในโรงงาน อุตสาหกรรมและส่งเสริม อุตสาหกรรมสีเขียว โรงงานได้รับการถ่ายทอด เทคโนโลยีสะอาดและ ความรู้ด้านเทคโนโลยีน้�้ำำ อุตสาหกรรม โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการกากอุตสาหกรรม ที่มีปัญหาเสี่ยงต่อการ ลักลอบทิ้งโดยใช้หลักการ 3Rs และ KAIZEN โรงงานมีแนวทางการ พัฒนาที่ยั่งยืนและมีการ ใชทรัพยากรใหเกิดประโยชน สูงสุด เพื่อปองกันและลดผล กระทบตอสิ่งแวดลอมจาก แหลงกำ�ำเนิดมลพิษเปน ขั้นตอนแรก กอนจะหา แนวทางกำ�ำจัดของเสียที่เกิด ขึ้นในลำ�ำดับถัดไป ลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก 110,650 ตันต่อปี ลดปริมาณการใช้น้�้ำำ 2.25 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ผลประหยัด 234 ล้านบาทต่อปี
Digital Transformation PART 7
90 Online Monitoring ระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยมลพิษระยะไกล ระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยมลพิษระยะไกลเป็นระบบใหม่ที่ใช้แทนที่ระบบ CEMS/OPMS เดิม สำ�ำหรับดูข้อมูล ผลการตรวจวัดจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อาทิ CEMS WPMS (OPMS) Mobile Station E-report Lab CCTV โดยสามารถใช้งานได้ทั้ง Website และ Mobile Application มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการตรวจสอบมลพิษ ระยะไกลแบบอัตโนมัติและต่อเนื่อง เพื่อการเฝ้าระวัง/เตือนภัย มลพิษจากโรงงาน และจากแหล่งมลพิษต่าง ๆ เพื่อ ให้มีข้อมูลข่าวสารด้านมลพิษโรงงานแบบปัจจุบันที่ทันสมัย สะดวกกับการใช้งาน พร้อมเผยแพร่ไปสู่ประชาชน ทั่วไป และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเพื่อลดเหตุร้องเรียนและลดผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อม รายงานผลการเชื่อมโยงข้อมูลระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยมลพิษระยะไกล (POMS) ณ วันที่ 1 กันยายน 2565 1. ระบบตรวจวัดมลพิษทางน้�้ำำแบบอัตโนมัติ อย่างต่อเนื่อง (Water Pollution Monitoring System: WPMS) 2. ระบบตรวจวัดมลพิษทางอากาศจาก ปล่องแบบอัตโนมัติอย่างต่อเนื่อง (Continuous Emission Monitoring System: CEMS)
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 91 การตรวจประเมินค่าความคลาดเคลื่อนของเครื่องมือหรือ เครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม สำ�ำหรับการตรวจวัดค่าบีโอดี ค่าซีโอดี แบบอัตโนมัติ อย่างต่อเนื่อง กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ดำำ� เนินการตรวจประเมินค่าความ คลาดเคลื่อนของเครื่องมือผ่านการดำำ� เนินโครงการตรวจประเมิน ค่าความคลาดเคลื่อนเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษ ตรวจวัด ค่าบีโอดี ค่าซีโอดี แบบอัตโนมัติ อย่างต่อเนื่อง ประจำำ� ปีงบประมาณ 2565 (Error – Water Pollution Monitoring System : E – WPMS) จำำ� นวน 120 โรงงาน ใน 28 จังหวัด โดยพื้นที่ประกอบอุตสาหกรรม เ ป ็ น โ ร ง ง า น น อ ก นิ ค ม อุ ตสา ห ก ร ร ม เ ข ต ป ร ะ ก อ บ ก า ร สวนอุตสาหกรรม 99 โรงงาน ในนิคมอุตสาหกรรม 8 โรงงาน ในเขตประกอบการ 5 โรงงาน ในสวนอุตสาหกรรม 8 โรงงาน ผลการดำำ� เนินงานพบว่ามีโรงงานที่ปฏิบัติตามกฎหมาย 98 โรงงาน ปฏิบัติตามกฎหมาย (เฉพาะค่าบีโอดี) 1 โรงงาน และไม่ปฏิบัติตาม กฎหมาย 21 โรงงาน โดยคิดเป็นอัตราส่วนร้อยละดังแสดงใน แผนภูมิ ทั้งนี้ กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ดำำ� เนินการสั่งการตามมาตรา 37 แห่งพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ให้ปรับปรุงแก้ไขเครื่องมือให้มีความคลาดเคลื่อนเป็นไปตามประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2550 เรื่อง หลักเกณฑ์การให้ความเห็นชอบให้โรงงานที่ต้องมีระบบบำ�ำบัดน้�้ำำเสียต้องติดตั้ง เครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม พ.ศ. 2550 รวมถึงได้แจ้งขอ ความร่วมมือให้ปรับปรุงเครื่องมือในกรณีโรงงานที่ไม่เข้าข่ายต้องดำ�ำเนินการตามประกาศดังกล่าว Online License ระบบขอใบรับรองและขอใช้ตราสัญลักษณ์อุตสาหกรรมสีเขียวผ่านระบบออนไลน์
92 สามารถเข้าสู่ระบบ HSSS ผ่านทาง QR code ในปัจจุบันผู้ประกอบการสามารถ ยื่นสมัครขอการรับรอง หรือขอใช้ ตราสัญลักษณ์อุตสาหกรรมสีเขียว ผ่านระบบขอใบรับรองและขอใช้ตรา สัญลักษณ์อุตสาหกรรมสีเขียวผ่าน ระบบออนไลน์ได้แล้ว โดยสามารถเข้าสู่ ระบบผ่าน https://diw-info.diw.go.th/ giapp/index.jsp หรือสามารถสแกน QR Code หากผู้ประกอบการยังไม่เคย เข้าใช้งานระบบ โปรดลงทะเบียนก่อน ในลำ�ำดับแรก โดยเลือกลงทะเบียน ตามสถานะของสถานประกอบการ หากมีข้อสอบถามเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กลุ่มส่งเสริมอุตสาหกรรมสีเขียว กองส่งเสริมเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม โรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม โทร. 0 2430 6315 ต่อ 2414 หรือ 2408 ตัวอย่างใบรับรอง Green Industry สามารถเข้าสู่ระบบขอใบรับรองและขอใช้ ตราสัญลักษณ์อุตสาหกรรมสีเขียวผ่าน ทาง QR code ระบบอิเล็กทรอนิกส์สำ�ำหรับการกำ�ำกับดูแลและให้บริการงานด้านวัตถุอันตราย ปัจจุบันผู้ประกอบการด้านวัตถุอันตรายสามารถยื่นขอขึ้นทะเบียน และขออนุญาตวัตถุอันตราย ตลอดจน การพิจารณาของเจ้าหน้าที่ สามารถดำ�ำเนินการผ่านทางระบบการอนุญาตวัตถุอันตราย ณ จุดเดียว (HSSS : Hazadous Subtance Single Submission) โดยขณะนี้อยู่ระหว่างแก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวง เพื่อให้สามารถ ออกใบอนุญาต และต่ออายุใบอนุญาต รวมทั้งชำ�ำระค่าธรรมเนียมอิเล็กทรอนิกส์ด้วย นอกจากนี้ในอนาคต จะมีการเชื่อมโยงข้อมูลการอนุญาตกับหน่วยงานอนุญาตอื่น ภายใต้ พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง และคณะกรรมการอาหารและยา เพื่ออำ�ำนวยความสะดวกแก่ ผู้ประกอบการและในอนาคต กรมโรงงานอุตสาหกรรมจะมีการปรับเปลี่ยนระบบการรับแจ้งเป็นแบบ license per invoice คือ ออกใบรับแจ้งเป็นใบเดียว เพื่ออำ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ประกอบการมากยิ่งขึ้น ระบบการจัดการวัสดุที่ ไม่ใช้แล้วทางอิเล็กทรอนิกส์ การขออนุญาตกักเก็บในบริเวณโรงงาน (สก.1) การขออนุญาตนำ�ำออกนอกบริเวณโรงงาน (สก.2) การส่งรายงานประจำ�ำปี (สก.3, สก.5) และการรายงานการแจ้งการขนส่งและการรับกำ�ำจัด (สก.6-9) เกี่ยวกับ กากอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นในโรงงานให้เป็นไปตาม ประกาศ อก. เรื่อง การกำ�ำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548 สามารถดำ�ำเนินการผ่าน “ระบบการจัดการวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทางอิเล็กทรอนิกส์” ที่กรมโรงงาน
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 93 อุตสาหกรรมได้จัดทำ�ำไว้แล้ว เพื่อการดำ�ำเนินการที่รวดเร็ว และเป็นการอำ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ก่อกำ�ำเนิด ผู้ขนส่ง และผู้รับกำ�ำจัด สามารถเข้าสู่ระบบการจัดการวัสดุ ที่ไม่ใช้แล้วทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่าน ทาง QR code สามารถรับชมขั้นตอนการขอ อนุญาตสิ่งปฏิกูลและวัสดุไม่ใช้แล้ว ให้ถูกวิธี และรายละเอียดต่างๆ ได้ ทาง QR code ระบบข้อมูลเพื่อการจัดการความปลอดภัยด้านสารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรม (facchem) การรายงานข้้อมููลสารเคมีีอัันตรายผ่่านระบบข้้อมููลเพื่่อการจััดการ ความปลอดภััยด้้านสารเคมีีในโรงงานอุุตสาหกรรม (facchem) ตามประกาศ กระทรวงอุุตสาหกรรม เรื่่อง มาตรการความปลอดภััยเกี่่ยวกัับการจััดการ สารเคมีีในโรงงานอุุตสาหกรรม พ.ศ. 2565 กำำหนดให้้ผู้้ประกอบกิิจการ โรงงานต้้องรายงานข้้อมููลสารเคมีีอัันตราย ที่่มีีการเก็็บหรืือการใช้้ในการ ประกอบกิิจการโรงงาน ในปริิมาณตั้้งแต่่หนึ่่งตัันต่่อปีีต่่อสารเคมีีอัันตราย หนึ่่งชนิิด ให้้กรมโรงงานอุุตสาหกรรมทราบ ปีีละหนึ่่งครั้้ง โดยนัับแต่่วัันที่่ 23 ตุุลาคม 2565 ที่่ประกาศนี้้มีีผลใช้้บัังคัับ ผู้้ประกอบกิิจการโรงงาน 24 ประเภทตามบััญชีีแนบท้้ายประกาศฉบัับนี้้ต้้องรายงานข้้อมููลให้้กรมโรงงาน อุุตสาหกรรมทราบ ภายในวัันที่่ 20 เมษายน 2566 ส่่วนผู้้ประกอบกิิจการ โรงงานนอกเหนืือจากที่่กำำหนดตามบััญชีีแนบท้้ายประกาศฉบัับนี้้ ต้้อง รายงานข้้อมููลให้้กรมโรงงานอุุตสาหกรรมทราบ ภายในวัันที่่ 22 ตุุลาคม 2566 ส่่วนการรายงานครั้้งต่่อ ๆ ไปให้้ดำำเนิินการรายงานภายในวัันที่่ 1 มีีนาคมของปีีถััดไป สามารถเข้าสู่ระบบข้อมูลเพื่อการจัดการ ความปลอดภัยด้านสารเคมีในโรงงาน อุตสาหกรรม ผ่านทาง QR code สามารถรัับชมขั้้นตอนการเข้้าสู่่ระบบ ข้้อมููลเพื่่อการจััดการความปลอดภััย ด้้านสารเคมีีในโรงงานอุุตสาหกรรม ผ่่านทาง QR code
94 การตรวจสอบโรงงานด้้วยวิิธีีอิิเล็็กทรอนิิกส์์ (QR Code) กรมโรงงานอุตสาหกรรม พัฒนาระบบการตรวจสอบโรงงานด้วยวิธี อิเล็กทรอนิกส์ (QR Code) พร้อมให้ประชาชนตรวจสอบและรับรู้ข้อมูล โรงงานด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยได้ โดยเฉพาะโรงงานที่อยู่ใกล้ชิด กับชุมชน เพื่อมิให้เกิดปัญหาแบบโรงงานที่เพิ่งเกิดเรื่องมีการระเบิดจาก สารเคมี หรือวัตถุอันตรายเหมือนที่ผ่านมา และเตรียมส่ง QR Code ให้โรงงาน ทั่วประเทศภายใต้การกำ�ำกับของกระทรวงอุตสาหกรรมนำ�ำไปติดตั้งที่หน้า โรงงานในบริเวณที่เห็นเด่นชัด โดยขนาดของ QR Code ต้องไม่น้อยกว่า 15 ซม. × 15 ซม. และต้องเคลือบหรือทำ�ำด้วยวัสดุที่สามารถกันฝนกันแดดได้ เบื้องต้น ข้อมูลใน QR Code จะประกอบ ไปด้วยข้อมูลใบอนุญาตประกอบกิจการ โรงงาน (ร.ง.4) และมีพื้นที่ว่างให้ประชาชน สามารถส่งข้อความแสดงความคิดเห็นหรือ ข้อร้องเรียน กรณีพบเห็นการดำ�ำเนินการ ที่ไม่ถูกต้อง หรือไม่ชอบมาพากล เช่น การแอบลักลอบปล่อยน้�้ำำเสียโดยไม่ผ่านการบำ�ำบัด การลักลอบขนกาก อุตสาหกรรม ออกนอกบริเวณโรงงานโดยไม่ได้รับอนุญาต เป็นต้น โดยในระยะเริ่มต้นจะเป็นมาตรการเชิงขอ ความร่วมมือโรงงาน หลังจากนั้นจะประกาศเป็นมาตรการบังคับต่อไป
PART 8 กิจกรรม
96 Integrity and Transparency Assessment: ITA (ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�ำเนินงานของ หน่วยงานภาครัฐ ประจำ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) สำ�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ (ป.ป.ช.) ได้ประกาศผลการประเมินคุณธรรมและความ โปร่งใสในการดำ�ำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประจำ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2565 ผลปรากฎว่า กรมโรงงาน อุตสาหกรรม (กรอ.) ได้คะแนนประเมินเฉลี่ยรวม 94.99 คะแนน เทียบเกณฑ์ประเมิน (Rating Score ช่วงคะแนน 85.00 - 94.99) เท่ากับระดับ A คะแนนสูงขึ้นกว่าปีที่แล้ว 2.24 คะแนน ซึ่งคะแนน ที่สูงขึ้นดังกล่าว เป็นผลจากการผลักดันมาตรการต่างๆ ในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเป็นธรรม อาทิ การจัดทำ�ำแผนบริหารจัดการความเสี่ยงต่อการทุจริต การประกาศเจตนารมณ์ การขับเคลื่อนองค์กรคุณธรรม ระหว่างผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ภายในองค์กร การเสริมสร้าง ทัศนคติ และค่านิยม ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรฐานจริยธรรม ของเจ้าหน้าที่รัฐ โดยยึดถือผลประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า ผลประโยชน์ส่วนตน และไม่ทนต่อการทุจริตทุกรูปแบบ DIGI DATA AWARDS (รางวัลชุดข้อมูลเปิดทรงคุณค่า ในงานมอบรางวัลให้กับหน่วยงาน ที่ เปิดเผยชุดข้อมูลเปิดภาครัฐ ประจำ�ำปี 2565) กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ได้รับรางวัล ชุดข้อมูลเปิดทรงคุณค่า ในงานมอบรางวัลให้กับหน่วยงาน ที่เปิดเผยชุดข้อมูลเปิดภาครัฐ ประจำ�ำปี 2565 โครงการ DIGI DATA AWARDS 2022 เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2565 ณ โรงแรมอโนมา แกรนด์ กรุงเทพฯ จัดโดย สถาบันนวัตกรรมและธรรมาภิบาลข้อมูล สำ�ำนักงานพัฒนา รัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) โดยปัจจัยสำ�ำคัญในการขับเคลื่อน คือ การเปิดเผยชุดข้อมูลที่ภาครัฐจัดเก็บและ รวบรวมไว้นำ�ำมาเผยแพร่ให้กับประชาชน เป็นรางวัลสำ�ำคัญที่แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นตั้งใจในการปรับเปลี่ยน องค์กร สู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ หรือ Data Governance และการเปิดเผยข้อมูลผ่านศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ เพื่อยกระดับการบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูลภาค รัฐ ให้มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกันอย่างมั่นคง ปลอดภัย และมีธรรมาภิบาล
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 97
98 CSR กรมโรงงานอุตสาหกรรม กิจกรรมจิตอาสา “รู้รักสามัคคี รักษ์สิ่ งแวดล้อม พัฒนาคุณภาพ ชีวิต” กิจกรรม “รวมพลังต้นกล้า รักษ์คลองอู่ตะเภา จังหวัดสงขลา” ภายใต้โครงการจิตอาสารักษ์แม่น้ำ เพื่อเฉลิมพระเกียรติฯ พระบ �้ำาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ร่วมกับ กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) จัดโครงการกิจกรรมจิตอาสา “รวมพลังต้นกล้า รักษ์คลองอู่ตะเภา จังหวัดสงขลา” เพื่อแก้ไขปัญหาคุณภาพน้�้ำคลองอู่ตะเภา ซึ่งเกิดปัญหา มลพิษน้�้ำจากหลายภาคส่วน เช่น การเกษตร ชุมชน และน้�้ำทิ้งโรงงาน จนทำ�ำให้เกิดปัญหาปลาตาย น้�้ำเน่าเสีย โดย กรอ. มีมาตรการเฝ้าระวังป้องกันปัญหาจากน้�้ำทิ้งโรงงาน และการตรวจวัดคุณภาพน้�้ำคลองอู่ตะเภา ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง ด้วยระบบตรวจวัดมลพิษระยะไกลในการควบคุมกำ�ำกับดูแลการระบายน้�้ำทิ้งโรงงาน (POMS) และรายงานผลมายัง กรอ. ตลอดเวลา ซึ่งจะทำ�ำให้ชาวบ้านคลองอู่ตะเภาได้รับรู้รับทราบคุณภาพ น้�้ำคลองและข้อมูลคุณภาพน้�้ำทิ้งของโรงงานตลอดเวลา ซึ่งทำ�ำให้ผู้ประกอบกิจการโรงงาน มีความตระหนัก อันเป็นการสร้างจิตสำ�ำนึกดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม (CSR) ทำ�ำให้โรงงานสามารถอยู่รวมกับชาวบ้านคลองอู่ตะเภา ได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ยังได้มอบถังดักไขมันให้แก่ชุมชน อุปกรณ์การศึกษาให้กับนักเรียน พร้อมทั้งปลูกต้นไม้ และปล่อยพันธุ์ปลาลงคลองอู่ตะเภา กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) จัดกิจกรรมจิตอาสา “รู้รักสามัคคี รักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาคุณภาพชีวิต” เพื่อ น้อมรำ�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2564 โดยปรับปรุงภูมิทัศน์สถานที่ทำ�ำงาน ด้วยการทำ�ำความสะอาดพื้นที่โดยรอบอาคารกรมโรงงาน อุตสาหกรรม เพื่อให้เกิดความสะอาด สวยงาม ทั้งนี้ ส่วนราชการในกำ�ำกับของ กรอ. ซึ่งตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาค เช่น ศูนย์วิจัยและเตือนภัยมลพิษโรงงานภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ยังได้พร้อมใจกันจัดกิจกรรมเพื่อน้อมรำ�ำลึก ในพระมหากรุณาธิคุณ ด้วยการตั้งโต๊ะหมู่ประดิษฐาน พระบรมฉายาลักษณ์ พร้อมเครื่องราชสักการะ และปรับปรุง ภูมิทัศน์สถานที่ทำ�ำงานให้มีความเรียบร้อย
DEPARTMENT OF INDUSTRIAL WORKS ANNUAL REPORT 2022 99