The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by napakhon, 2022-05-05 04:16:42

ใบความรู้ที่ 4

ใบความรู้ที่ 4

ใบความรู้ท่ี 4
การเขียนแบบชนดิ ต่างๆ

เวลา 6 ชั่วโมง

การเขียนแบบชนดิ ต่างๆ

การเขียนแบบของสกีเมตริกไดอะแกรม (Schematic Diagram) คือ การเขียนวงจรด้วยสัญลักษณ์ที่มี
การลากเส้นต่อถึงกนั ซึง่ เปน็ วิธีทน่ี ิยมใชใ้ นการเขยี นแบบมากท่ีสดุ

การเขียนแบบของซิงเกิลไลน์ไดอะแกรม (Single line Diagram) หรือเรียกว่าแบบงานติดตั้ง คือ การ
เขียนวงจรด้วยสญั ลกั ษณ์ทีม่ ีการลากเสน้ ถงึ กัน ซึ่งเป็นวธิ ีทน่ี ิยมใชใ้ นการเขียนแบบทางไฟฟ้ามากทส่ี ดุ

การเขยี นแบบวายรงิ่ ไดอะแกรม (Wiring Diagram) คือ การเขียนแบบจะเป็นวงจรท่ีแสดงส่วนประกอบ
ในการตอ่ อปุ กรณ์ในการเดนิ สายโยงให้เหน็ จริง ซึง่ จะมขี นาดเล็ก เพอ่ื ใช้สำหรบั ผู้เรม่ิ ในการเรียนอิเล็กทรอนิกส์

การเขียนแบบของพิคทอเรียลไดอะแกรม (Pictorial Diagram) คือ การเขียนภาพจากอุปกรณ์จริงหรือ
การเขยี นภาพเหมือนท่ีแสดงการโยงสายไฟและสายสัญญาณใหถ้ งึ กัน

1. การเขยี นแบบของสกเี มตรกิ ไดอะแกรม (Schematic Diagram)
การเขยี นแบบของสกีเมตรกิ ไดอะแกรม (Schematic Diagram) คอื การเขยี นวงจรดว้ ยสัญลักษณ์ท่ีมี

การลากเส้นต่อถึงกัน ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้ในการเขียนแบบมากที่สุด เพราะสามารถเขียนได้ทั้งระบบซ่ึงแสดง
ความหมายด้วยสัญลักษณ์ได้ แบบจะไม่ยุ่งยากมากนัก และใช้พื้นที่ในการเขียนวงจรน้อย การอ่านและดู
ทางเดนิ ของสัญญาณทำไดอ้ ย่างสะดวกและรวดเร็ว ช่างอิเลก็ ทรอนิกส์ทม่ี ีความรู้ในเร่ืองของสญั ลกั ษณส์ ามารถ
ไล่ทิศทางเดนิ ของสญั ญาณและสามารถอ่านวงจรในรปู แบบของสกีเมตริกไดอะแกรม (Schematic Diagram)
ได้เป็นส่วนมาก วงจรในการเขียนของสกีเมตริกไดอะแกรม (Schematic Diagram) จะใช้สัญลักษณ์
มาตรฐานสากลที่ใช้กันทั่วโลก เช่น วงจรของเครื่องขยายเสยี ง วิทยุและโทรทัศน์ ในปัจจุบันส่วนมากแล้วจะ
เขยี นแบบออกมาเป็นสกีเมตริกไดอะแกรม (Schematic Diagram) ทั้งสนิ้

ใบความรทู้ ี่ 4
การเขียนแบบชนิดตา่ งๆ

เวลา 6 ช่วั โมง

2. การเขยี นแบบของซงิ เกลิ ไลนไ์ ดอะแกรม (Single line Diagram)
การเขียนแบบของซิงเกลิ ไลน์ไดอะแกรม (Single line Diagram) หรือเรียกวา่ แบบงานติดต้งั คือ การ

เขียนวงจรด้วยสญั ลักษณท์ ่ีมกี ารลากเส้นถงึ กัน ซ่ึงเปน็ วธิ ที น่ี ิยมใช้ในการเขียนแบบทางไฟฟา้ มากท่ีสุด เพราะ
สามารถเขียนได้ท้ังระบบซึ่งแสดงความหมายดว้ ยสัยลักษณ์ได้ แบบจะไม่ยุ่งยากนัก และใช้พื้นที่ในการเขยี น
วงจรน้อย เพราะเป็นการรวมสายหลายๆเส้น ที่จะเดินไปยังจุดเดียวกัน จึงทำให้รูว้ ่ามสี ายไฟไปจุดนัน้ ๆกีเ่ ส้น
การอ่านและดูทางเดนิ ของสญั ญาณทำไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และสะดวก

- วงจรควบคุมมอเตอร์

ใบความรู้ที่ 4
การเขยี นแบบชนิดตา่ งๆ

เวลา 6 ชวั่ โมง
3. การเขยี นแบบวายรงิ่ ไดอะแกรม (Wiring Diagram)

การเขียนแบบวายริ่งไดอะแกรม (Wiring Diagram) คือ การเขียนแบบจะเป็นวงจรที่แสดง
ส่วนประกอบในการต่ออปุ กรณ์ในการเดนิ สายโยงใหเ้ หน็ จรงิ ซ่งึ จะมขี นาดเลก็ เพ่ือใช้สำหรับผู้เริ่มในการเรียน
อเิ ล็กทรอนิกส์ท่ยี งั ไมม่ คี วามรทู้ างดา้ นสัญลกั ษณ์อิเลก็ ทรอนกิ สม์ ากนกั ในการเขียนแบบของวายริง่ ไดอะแกรม
(Wiring Diagram) สว่ นมากจะใชแ้ บบที่มขี นาดเล็ก แตถ่ ้าเปน็ วงจรขนาดใหญ่ การเขียนแบบวายรง่ิ ไดอะแกรม
(Wiring Diagram) กจ็ ะทำให้การโยงสายต่างๆเกิดความสบั สน

- การส่งสัญญาณโมบาย (Mobile)

ไปยังสถานีฐาน ซึ่งเราเรียกว่าลักษณะการส่งสัญญาณในโหมดนี้ว่าเป็นการอัพลิ้งค์ ในทาง
กลบั กันซงึ่ เปน็ การสง่ สญั ญาณจากสถานีฐานไปยงั สว่ นโมบาย เราเรียกว่า เป็นดาวลง้ิ ค์

ใบความรทู้ ่ี 4
การเขยี นแบบชนดิ ต่างๆ

เวลา 6 ชวั่ โมง

4. การเขียนแบบของพิคทอเรยี ลไดอะแกรม (Pictorial Diagram)
การเขียนแบบของพิคทอเรียลไดอะแกรม (Pictorial Diagram) คือ การเขียนภาพจากอุปกรณ์จริง

หรือการเขียนภาพเหมือนที่แสดงการโยงสายไฟและสายสัญญาณให้ถึงกัน เพื่อให้รู้ลักษณะของการต่อ
สัญญาณจุดเข้าและจุดออกของสัญญาณส่วนมากการอ่านแบบพิคทอเรียลไดอะแกรม (Pictorial Diagram)
เมอ่ื เห็นรปู แบบพิคทอเรียลไดอะแกรม (Pictorial Diagram) เราสามารถท่จี ะตอ่ การโยงสายและสายสัญญาณ
ไดต้ ามแบบพิคทอเรียลไดอะแกรม (Pictorial Diagram) ไดท้ นั ทีเพราะสามารถเขา้ ใจไดง้ ่าย

- วงจรอนุกรมและวงจรขนาน

อุปกรณ์ที่ต่อด้วยวิธีต่างกันจะมพี ฤติกรรมต่างกันโดยสิ้นเชิง การต่อแบบ “อนุกรม” ความ
ต่างศักย์จากแบตเตอรี่จะถูกแยกไปอยู่ที่หลอดไฟเพราะหลอดไฟทำหน้าที่เป็นตัวแบ่งศักย์ แบตเตอรี่จึงขับ
กระแสให้ผ่านแต่ละหลอดได้ไม่มากพอ หลอดไฟจึงมีแสงสลัวๆ ส่วนการต่อ “ขนาน” หลอดไฟแต่ละหลอด
ได้รับความต่างศักย์ทั้งหมดจากแบตเตอรี่ที่คร่อมมันอยู่ ดังนั้นกระแสผ่านแต่ละหลอดจึงมากพอที่จะทำให้
หลอดไฟสว่างจ้าได้


Click to View FlipBook Version