The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by napakhon, 2022-05-05 04:17:27

ใบความรู้ที่ 5

ใบความรู้ที่ 5

ใบความรูท้ ี่ 5
ผังงาน (Flow Chart)

เวลา 6 ชั่วโมง

ผงั งาน (Flow Chart)

1. การเขยี นผังงาน (Flowchart)
ผงั งาน คือ แผนภาพทีม่ กี ารใช้สัญลกั ษณร์ ูปภาพและลูกศรท่ีแสดงถงึ ขัน้ ตอนการทำงานของ

โปรแกรมหรือระบบทีละขั้นตอน รวมไปถึงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที่
ต้องการ

2. ประโยชนข์ องผงั งาน
- ช่วยลำดบั ขัน้ ตอนการทำงานของโปรแกรม และสามารถนำไปเขยี นโปรแกรมได้โดยไมส่ บั สน
- ชว่ ยในการตรวจสอบ และแกไ้ ขโปรแกรมได้งา่ ย เมือ่ เกดิ ขอ้ ผิดพลาด
- ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทำไดอ้ ย่างรวดเร็วและสะดวก
- ชว่ ยใหผ้ ู้อืน่ สามารถศกึ ษาการทำงานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขน้ึ
-

3. วธิ ีการเขียนผงั งานที่ดี
- ใชส้ ญั ลักษณ์ตามทก่ี ำหนดไว้
- ใช้ลกู ศรแสดงทิศทางการไหลของขอ้ มูลจากบนลงลา่ งหรอื จากซ้ายไปขวา
- คำอธิบายในภาพควรสนั้ กะทดั รัด และเขา้ ใจง่าย
- ทกุ แผนภาพต้องมลี ูกศรแสดงทศิ ทางเข้า-ออก
- ไมค่ วรโยงเส้นเชอ่ื มผังงานท่ีอยไู่ กลมากๆควรใช้สญั ลกั ษณจ์ ดุ เชอ่ื มตอ่ แทน
- ผงั งานควรมกี ารทดสอบความถูกตอ้ งของการทำงานก่อนนำไปเขียนโปรแกรม

4. ความหมายสญั ลกั ษณ์ ANSI

การเขยี นผังโปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใชส้ ัญลักษณ์มาตรฐานต่างๆท่เี รียกวา่ สญั ลักษณ์ ANSI
(American National Standards Institute) ในการสรา้ งผังงาน ดังตวั อย่างทแี่ สดงในรปู ต่อไปนี้

ใบความรทู้ ่ี 5
ผงั งาน (Flow Chart)

เวลา 6 ชั่วโมง

จดุ เรม่ิ ตน้ /สนิ้ สดุ ของโปรแกรม

ลกู ศรแสดงทิศทางการทางานของโปรแกรมและการ
ไหลของขอ้ มลู
ใชแ้ สดงคาส่งั ในการประมวลผลหรือการกาหนดค่า
ขอ้ มลู ใหก้ บั ตวั แปร
แสดงการอา่ นขอ้ มลู จากหน่วยเกบ็ ขอ้ มลู สารองเขา้ สู่
หน่อยความจาหลักภายในเคร่ืองหรือการแสดง
ผลลพั ธจ์ ากการประมวลผลออกมา
การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตดั สินใจโดยจะมีเสน้ ออก
จากรูปเพื่อแสดงทิศทางการทางานต่อไป เงื่อนไข
เป็นจรงิ หรือเป็นเท็จ
แสดงผลหรอื รายงานทถี่ กู สรา้ งออกมา

แสดงจดุ เช่ือมต่อของผงั งานภายใน หรือเป็นท่ี
บรรจบของเสน้ หลายเสน้ ที่มาจากหลายทศิ ทางเพ่ือ
จะไปส่กู ารทางานอยา่ งใดอย่างหน่งึ ทเ่ี หมอื นกนั
การขนึ้ หนา้ ใหม่ ในกรณที ีผ่ งั งานมคี วามยาวเกนิ กวา่
ที่จะแสดงพอในหน่งึ หนา้

ใบความรูท้ ่ี 5
ผังงาน (Flow Chart)

เวลา 6 ชวั่ โมง

5. โครงสร้างการทำงานแบบมกี ารทำงานซ้ำ
เป็นโครงสร้างที่มีการประมวลผลกลุ่มคำสั่งซ้ำหลายครั้ง ตามลักษณะเงื่อนไขกำหนด อาจเรียก การ

ทำงานซ้ำแบบนไ้ี ดอ้ กี แบบว่า การวนลปู (Looping) โครงสร้างแบบการทำงานซำ้ นี้จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ

DO WHILE
เป็นโครงสร้างที่มีการทดสอบเงื่อนไขก่อน ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงก็จะเข้ามาทำงานในกลุ่มคำสั่งที่ต้อง
ทำซำ้ ซึง่ เรยี กวา่ การเข้าลปู หลงั จากนนั้ ก็จะยอ้ นกลับไปตรวจสอบเงอ่ื นไขใหม่อีก ถา้ เงื่อนไขยงั คงเป็นจริงอยู่
กย็ ังคงต้องทำกลุ่มคำส่ังซ้ำหรือเข้าลปู ตอ่ ไปอีก จนกระท่ังเง่อื นไขเปน็ เท็จ กจ็ ะออกจากลูปไปทำคำส่ังถัดไปที่
อยู่ถดั จาก DO WHILE หรอื อาจเปน็ การจบการทำงาน

DO UNTIL
เป็นโครงสรา้ งการทำงานแบบทำงานซ้ำเช่นกัน แต่มีการทำงานที่แตกต่างจาก DO WHILE คือ จะมี
การเข้าทำงานกลมุ่ คำส่งั ทอี่ ยภู่ ายในลปู ก่อนอยา่ งนอ้ ย 1 คร้ัง แลว้ จึงจะไปทดสอบเงอ่ื นไข ถ้าเงอ่ื นไขเปน็ เทจ็ ก็
จะมีการเข้าทำกลุ่มคำสั่งท่ีต้องทำซ้ำอีก หลังจากนั้นก็จะย้อนกลับไปตรวจสอบเงื่อนไขใหม่อีก ถ้าเงื่อนยังคง
เป็นเท็จอยู่ ก็ยังต้องทำกลุ่มคำสั่งซ้ำหรือเข้าลูปต่อไปอีก จนกระทั่งเงื่อนไขเป็นจริง จึงจะออกจากลูปไปทำ
คำสัง่ ถดั จาก UNTIL หรอื อาจเปน็ การจบการทำงาน

6. ข้อแตกต่างระหว่าง DO WHILE และ DO UNTIL (จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมข้อท่ี 6)
- DO WHILE ในการทำงานครัง้ แรกจะต้องมีการตตรวจสอบเงื่อนไขทุกครัง้ ก่อนที่จะทำการ

เข้าลปู การทำงาน
- DO UNTIL การทำงานครั้งแรกจะยังไม่มีการตรวจสอบเงื่อนไข แต่จะเข้าไปทำงานในลูป

ก่อนอย่างนอ้ ย 1 คร้ัง แลว้ จึงจะไปตรวจสอบเงอ่ื นไข
- DO WHILE จะมกี ารเขา้ ไปทำงานในลปู กต็ อ่ เม่ือตรวจสอบเงือ่ นไขแล้วพบวา่ เงื่อนไขเป็นจรงิ

แต่เมือ่ พบว่าเงื่อนไขเปน็ เทจ็ ก็จะออกจากลูปทันที
- DO UNTIL จะมกี ารเข้าไปทำงานในลูปก็ตอ่ เม่อื ตรวจสอบเงอื่ นไขแล้วพบว่า เงอื่ นไขเป็นเท็จ

แตเ่ ม่อื พบวา่ เงื่อนไขเปน็ จริง ก็จะออกจากลูปทนั ที

การเขียนแบบและอา่ นแบบผังงาน แสดงดังตวั อย่างต่อไปน้ี
ตวั อยา่ งที่ 1 เขยี นผงั งานวธิ กี ารอุ่นอาหารด้วยเตาไมโครเวฟ
วิธที ำ

1. นำอาหารเขา้ เตาไมโครเวฟ
2. ตงั้ ระดับความรอ้ นและเวลาเตาไมโครเวฟ
3. เตาไมโครเวฟทำการอนุ่ อาหาร
4. มสี ญั ญาณเตอื นดว้ ยเสียงเมื่ออุน่ อาหารเสรจ็
5. นำอาหารออกจากเตาไมโครเวฟ

ตัวอย่างท่ี 1 เขยี นผงั งานวิธกี ารโยนเหรียญตดั สินใจในการ
ทานอาหารด ถ้าเหรียญออกหัวผูโ้ ยนจะทานก๋วยเตี๋ยว ถ้าเหรียญ
ออกกอ้ ยผู้โยนจะทานข้าวผัด
วิธที ำ

1. โยนเหรยี ญ
2. ผลการโยนออก “หวั ” หรอื “ก้อย”
3. ออก “หวั ” ไปทานกว๋ ยเตย๋ี ว
4. ออก “ก้อย” ไปทานข้าวผดั

ตวั อย่างท่ี 3 เขียนผังงานแสดงการบวกกันของตัวแปร 3 ค่า ไดแ้ ก่ X, Y และ Z

วธิ ที ำ

1. อา่ นคา่ ตัวแปร X
2. อา่ นคา่ ตวั แปร Y
3. อ่านค่าตวั แปร Z
4. คำนวณการบวกกนั ของตัวแปร

W=X+Y+Z
5. แสดงคา่ ผลรวมของตวั แปรทั้ง 3 ตวั


Click to View FlipBook Version