โรงเรียนหนองกี่พิ ทยาคม
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๕
นางสาวนันทนัช ดิษดำ
ครูผู้สอน
รหัสวิชา ท๓๑๑๐๑ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
หน่วยการเรียนรู้ ร้อยเรียงถ้อยความ เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง
เรื่อง การเขียนเรียงความ สอนวันที่...............................
ครูผู้สอน นางสาวนันทนัช ดิษดำ
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒ เขียนเรียงความ ๑. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการเขียนเรียงความ
สาระสำคัญ การเขียนเรียงความเป็นการเขียนที่ผู้เขียน ๒. นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นการเขียนเรียงความ
มุ่งถ่ายทอดประสบการณ์ เรื่องราว ความคิด ความรู้สึกไปยัง
ผู้อ่าน ส่วนการเขียนจดหมายส่วนตัวเป็นการเขียนสื่อสารกัน ๓. นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้
ระหว่างบุคคลและเขียนเกี่ยวกับเรื่องส่วนตัว การเขียนทั้งสอง
แบบพบได้บ่อยในชีวิตประจำวัน การศึกษาเรื่องการเขียน กิจกรรมการเรียนรู้
เรียงความและการเขียนจดหมายส่วนตัวจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ
องค์ประกอบและรูปแบบการเขียน รวมถึงได้เรียนรู้เรื่องมารยาท ขั้นนำ
ในการเขียน เพื่อให้สามารถนำไปใช้กับการเขียนในชีวิตประจำวัน ๑. นักเรียนอ่านคำว่า การเขียนเรียงความ และครูสุ่มให้นักเรียน
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับดังกล่าว
สมรรถนะสำคัญ ๒. ครูอธิบายความหมายการเขียนเรียงความก่อนนำเข้าสู่หลักการ
- ความสามารถในการสื่อสาร เขียนเรียงความ
- ความสามารถในการคิด
ขั้นลงมือปฏิบัติ
สื่อการเรียนรู้ ๓. นักเรียนร่วมกันสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเขียน
เรียงความว่านักเรียนมีรูปแบบหรือวิธีการเขียนเรียงความอย่างไร
๔. นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าการเขียนเรียงความ
ส่งผลดีต่อการเรียนวิชาภาษาไทยและการใช้ภาษาไทยในชีวิต
ประจำวันหรือไม่ อย่างไร
- หนังสือเรียนภาษาไทย : หลักภาษา และการใช้ภาษา ม.๔ ขั้นสรุป
- เอกสารนำเสนอ (Power Point)
๕. ครูสรุปคำตอบของนักเรียนในภาพรวมและให้ข้อเสนอแนะ
การวัดและประเมินล เพิ่มเติม เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนในชั่วโมงต่อไป
๑. การสังเกตการตอบคำถาม
๒. การสังเกตการตอบคำถาม
๓. การสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้
ลงชื่อ............................................ ผู้สอน ลงชื่อ............................................
(นางสาวนันทนัช ดิษดำ) (นายชาตรี อัครสุขบุตร)
ผู้อำนวยการโรงเรียน
รหัสวิชา ท๓๑๑๐๑ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
หน่วยการเรียนรู้ ร้อยเรียงถ้อยความ เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง
เรื่อง รูปแบบการเขียนเรียงความ สอนวันที่...............................
ครูผู้สอน นางสาวนันทนัช ดิษดำ
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒ เขียนเรียงความ ๑. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการเขียนเรียงความ
๒. นักเรียนสามารถวิเคราะห์การเขียนเรียงความ
สาระสำคัญ การเขียนเรียงความเป็นการเขียนที่ผู้เขียน ๓. นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้
มุ่งถ่ายทอดประสบการณ์ เรื่องราว ความคิด ความรู้สึกไปยัง
ผู้อ่าน ส่วนการเขียนจดหมายส่วนตัวเป็นการเขียนสื่อสารกัน กิจกรรมการเรียนรู้
ระหว่างบุคคลและเขียนเกี่ยวกับเรื่องส่วนตัว การเขียนทั้งสอง
แบบพบได้บ่อยในชีวิตประจำวัน การศึกษาเรื่องการเขียน ขั้นนำ
เรียงความและการเขียนจดหมายส่วนตัวจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ ๑. นักเรียนทบทวนความหมายของการเขียนเรียงความ
องค์ประกอบและรูปแบบการเขียน รวมถึงได้เรียนรู้เรื่องมารยาท ๒. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความรู้ที่ได้เรียนในชั่วโมงที่แล้ว
ในการเขียน เพื่อให้สามารถนำไปใช้กับการเขียนในชีวิตประจำวัน
สมรรถนะสำคัญ ขั้นลงมือปฏิบัติ
- ความสามารถในการสื่อสาร ๓. นักเรียนร่วมกันศึกษาเรื่องการเขียนเรียงความจากหนังสือเรียน
- ความสามารถในการคิด เอกสารนำเสนอ (Power Point) หรือสื่อสารสนเทศต่าง ๆ เช่น
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต เป็นต้น จากนั้นนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้รับ
โดยมีครูคอยให้คำอธิบายเพิ่มเติม
สื่อการเรียนรู้ ๔. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน จากนั้นสืบค้นเรียงความ
ที่ประทับใจ แล้วนำมาอ่านและวิเคราะห์ในประเด็นต่าง ๆ ลงใน
- หนังสือเรียนภาษาไทย : หลักภาษา และการใช้ภาษา ม.๔ ใบงาน เช่น รูปแบบการเขียนเรียงความ ความถูกต้องตามองค์
- เอกสารนำเสนอ (Power Point) ประกอบของเรียงความ การใช้ภาษา ฯลฯ
การวัดและประเมินล
๑. การสังเกตการตอบคำถาม ขั้นสรุป
๒. การสังเกตการตอบคำถาม
๓. การสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ ๕. ครูสรุปคำตอบของนักเรียนในภาพรวมและให้ข้อเสนอแนะ
เพิ่มเติม เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนในชั่วโมงต่อไป
ลงชื่อ............................................ ผู้สอน ลงชื่อ............................................
(นางสาวนันทนัช ดิษดำ) (นายชาตรี อัครสุขบุตร)
ผู้อำนวยการโรงเรียน
ห น่ ว ย ก า ร เ รีย น รู้ ที่ ๓
ก า ร วิเ ค ร า ะ ห์ เ รีย ง ค ว า ม
ชื่ อ เ รื่ อ ง : ผู้ แ ต่ ง : ร ะ ดั บ ชั้ น :
ชื่ อ - ส กุ ล : เ ล ข ที่ :
บ ท ส รุ ป ข อ ง เ รื่ อ ง ร า ว
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ขี ย น เ รีย ง ค ว า ม
ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า
ก า ร ใ ห้ ค ะ แ น น แ ล ะ ข้ อ เ ส น อ แ น ะ
รหัสวิชา ท๓๑๑๐๑ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
หน่วยการเรียนรู้ ร้อยเรียงถ้อยความ เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง
เรื่อง การเขียนเรียงความ สอนวันที่...............................
ครูผู้สอน นางสาวนันทนัช ดิษดำ
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒ เขียนเรียงความ ๑. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการเขียนเรียงความ
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘ มีมารยาทในการเขียน ๒. นักเรียนสามารถเขียนเรียงความ
สาระสำคัญ การเขียนเรียงความเป็นการเขียนที่ผู้เขียน ๓. นักเรียนมีมารยาทในการเขียน
มุ่งถ่ายทอดประสบการณ์ เรื่องราว ความคิด ความรู้สึกไปยัง
ผู้อ่าน ส่วนการเขียนจดหมายส่วนตัวเป็นการเขียนสื่อสารกัน กิจกรรมการเรียนรู้
ระหว่างบุคคลและเขียนเกี่ยวกับเรื่องส่วนตัว การเขียนทั้งสอง
แบบพบได้บ่อยในชีวิตประจำวัน การศึกษาเรื่องการเขียน ขั้นนำ
เรียงความและการเขียนจดหมายส่วนตัวจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ ๑. นักเรียนทบทวนความรู้เรื่องการเขียนเรียงความ ประกอบด้วย
องค์ประกอบและรูปแบบการเขียน รวมถึงได้เรียนรู้เรื่องมารยาท ความหมาย รูปแบบ และองค์ประกอบในการเขียนเรียงความ
ในการเขียน เพื่อให้สามารถนำไปใช้กับการเขียนในชีวิตประจำวัน ๒. นักเรียนเสนอข้อมูลที่ครูมอบหมายให้ไปศึกษา
สมรรถนะสำคัญ ขั้นลงมือปฏิบัติ
- ความสามารถในการสื่อสาร ๓. นักเรียนศึกษาข้อมูลที่ตนได้ไปศึกษาอย่างละเอียด และนำมา
- ความสามารถในการคิด วางโครงเรื่องในการเขียนเรียงความ ประกอบด้วย คำนำ เนื้อหา
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สรุป
๔. นักเรียนส่งโครงร่างการเขียนเรียงความให้ครูตรวจสอบและ
สื่อการเรียนรู้ ให้คำแนะนำ
๕. นักเรียนลงมือเขียนเรียนความของตนเอง
- หนังสือเรียนภาษาไทย : หลักภาษา และการใช้ภาษา ม.๔
- เอกสารนำเสนอ (Power Point) ขั้นสรุป
การวัดและประเมินล
๖. ครูและนักเรียนสรุปความรู้จากการเรียนเรื่องการเขียน
๑. การสังเกตการตอบคำถาม เรียงความ
๒. การประเมินผลงาน ๗. นักเรียนส่งผลงานประกวดการเขียนเรียงความเพื่อเป็น
๓. การสังเกตพฤติกรรมการมีมารยาทในการเขียน ตัวแทนของห้องในการแข่งกันระดับสายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ลงชื่อ............................................ ผู้สอน ลงชื่อ............................................
(นางสาวนันทนัช ดิษดำ) (นายชาตรี อัครสุขบุตร)
ผู้อำนวยการโรงเรียน
ชื่อ-สกุล : เลขที่ :
ระดับชั้น : วันที่ :
โครงร่างเรียงความ
เ รี ย ง ค ว า ม ข อ ง ฉั น
คำสั่ง : ให้นักเรียนวางโครงร่างการเขียนเรียงความตามหลักการเขียนเรียง
ความในช่องว่างที่กำหนดให้
ส่วนที่ ๑ คำนำ ส่วนที่ ๓ สรุป
........................................................................................... ...........................................................................................
............................................................................................. .............................................................................................
.. ..
............................................................................................. .............................................................................................
............................................................................................. .............................................................................................
............................................................................................. .............................................................................................
............................................................................................. .............................................................................................
............................................................................................. .............................................................................................
............................................................................................. .............................................................................................
............................................................................................. .............................................................................................
............................................................................................. .............................................................................................
............................................................................................. .............................................................................................
............................................................................................. .............................................................................................
............................................................................................. .............................................................................................
ส่วนที่ ๒ เนื้อหา
.........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
..
ชั้ น เ รี ย น ก า ร เ ขี ย น เ รี ง ค ว า ม
เ รื่ อ ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ชื่อ-สกุล : เลขที่ :
ระดับชั้น : วันที่ :
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเรียงความตามหัวข้อที่กำหนด ให้ถูกต้องตามหลักการ
เ ขี ย น เ รี ย ง ค ว า ม
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................................
รหัสวิชา ท๓๑๑๐๑ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
หน่วยการเรียนรู้ ร้อยเรียงถ้อยความ เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง
เรื่อง การเขียยจดหมายส่วนตัว สอนวันที่...............................
ครูผู้สอน นางสาวนันทนัช ดิษดำ
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ตรงตาม ๑. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการเขียนจดหมายส่วนตัว
วัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูล และสาระ ๒. นักเรียนสามารถเขียนจดหมายส่วนตัว
สำคัญชัดเจน ๓. นักเรียนมีมารยาทในการเขียน
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘ มีมารยาทในการเขียน
สาระสำคัญ กิจกรรมการเรียนรู้
จดหมายส่วนตัว เป็นการเขียนจดหมายที่ติดต่อระหว่าง
บุคคลที่สนิทสนมคุ้นเคยกัน เช่น พ่อ แม่ ญาติพี่น้อง เพื่อน ขั้นนำ
เพื่อส่งข่าวคราว เล่าหรือสอบถามเรื่องราวต่าง ๆ ไต่ถามทุกข์ ๑. นักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ว่าเคยใช้
สุขส่วนตัว แลกเปลี่ยนข้อมูลที่น่าสนใจ เป็นการแสดงไมตรีจิต การเขียนสื่อสารในรูปแบบใดบ้าง และใช้ในการติดต่อสื่อสาร
หรือขอบคุณโดยการติดต่อกันแบบไม่เป็นทางการ เรื่องใด อย่างไร
๒. นักเรียนตอบคำถามว่าเคยมีประสบการณ์การเขียนติดต่อ
สมรรถนะสำคัญ สื่อสารด้วยจดหมายหรือไม่ อย่างไร
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด ขั้นลงมือปฏิบัติ
- ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๔. นักเรียนร่วมกันศึกษาเรื่องการเขียนจดหมายส่วนตัวจาก
หนังสือเรียน เอกสารนำเสนอ (Power Point) หรือสื่อสารสนเทศ
สื่อการเรียนรู้ ต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เป็นต้น จากนั้นนักเรียนร่วมกันสรุป
ความรู้ที่ได้รับ โดยมีครูคอยให้คำอธิบายเพิ่มเติม
- หนังสือเรียนภาษาไทย : หลักภาษา และการใช้ภาษา ม.๔ ๕. นักเรียนฝึกเขียนจดหมายส่วนตัวลงในใบงาน โดยให้นักเรียน
- เอกสารนำเสนอ (Power Point) เลือกเขียนจดหมายส่วนตัวในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้แก่ เขียน
จดหมายถึงญาติผู้ใหญ่ เขียนจดหมายถึงบิดามารดา หรือเขียน
การวัดและประเมินล จดหมายถึงเพื่อน คนละ ๑ สถานการณ์
๑. การสังเกตการตอบคำถาม ๖. นักเรียนกับครูร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ประเมินผลงาน
๒. การประเมินผลงาน และให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง
๓. การสังเกตพฤติกรรมการมีมารยาทในการเขียน
ขั้นสรุป
๗. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้รับจากการทำกิจกรรม
การเรียนรู้ โดยมีครูอธิบายเพิ่มเติม
๘. นักเรียนซักถามข้อสงสัยในประเด็นที่สอดคล้องกับเนื้อหาใน
บทเรียน
ลงชื่อ............................................ ผู้สอน ลงชื่อ............................................
(นางสาวนันทนัช ดิษดำ) (นายชาตรี อัครสุขบุตร)
ผู้อำนวยการโรงเรียน
ชื่อ-สกุล : เลขที่ :
ระดับชั้น :
การเขียนจดหมายส่วนตัว
คำชี้แจง : ให้นักเรียนฝึกเขียนจดหมายส่วนตัวลงในใบงาน โดยให้นักเรียนเลือก
เขียนจดหมายส่วนตัวในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้แก่ เขียนจดหมายถึงญาติผู้ใหญ่
เขียนจดหมายถึงบิดามารดา หรือเขียนจดหมายถึงเพื่อน คนละ ๑ สถานการณ์
พร้อมจ่าหน้าซองให้ถูกต้อง
ภาคผนวก
ร ว ม แ บ บ ป ร ะ เ มิ น
การวดั และประเมนิ ผล วิธวี ดั ผล เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน
การวดั และประเมินผล การสังเกตพฤติกรรม แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์
การตอบคำถาม ร้อยละ ๘๐
๑. ๑. นกั เรยี นสามารถอธบิ าย การตอบคำถาม การสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์
หลกั การเขยี นเรยี งความ (K) การสงั เกตพฤติกรรม การตอบคำถาม รอ้ ยละ ๘๐
๒. นักเรยี นสามารถแสดงความ แบบสงั เกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์
คดิ เหน็ การเขยี นเรยี งความ (P) การตอบคำถาม การมีสว่ นรว่ มใน รอ้ ยละ ๖๐
๓. นักเรียนมีสว่ นร่วมในการจดั การสังเกตพฤติกรรม การจดั การเรยี นรู้
การเรียนรู้ (A)
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการจัดการเรยี นรู้
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
๒. ปญั หาและอุปสรรค
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
๓. แนวทางการแก้ไข
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...............................................ครผู ้สู อน
(นางสาวนนั ทนชั ดิษดำ)
วนั ที่.......เดอื น..........................พ.ศ. ............
คำช้แี จง แบบสังเกตพฤตกิ รรมการตอบคำถาม
ของนักเรียน ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการตอบคำถามและให้คะแนนลงในช่องท่ีตรงกบั พฤตกิ รรม
เลขที่ ชื่อ - สกุล ความ ูถกต้อง สรปุ ผล
ความ ีมเหตุผล รวม การประเมิน
การนำไปใ ้ชใน ีช ิวตประจำ ัวน
๓ ๓ ๓ ๙ ผ่าน ไม่ผ่าน
ลงช่ือ................................................ผู้ประเมิน
( ...............................................)
วนั ท.่ี ......เดือน.........................พ.ศ. ......
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการตอบคำถาม
เกณฑ์การประเมิน ๓ ระดบั คะแนน ๑
๒ ไมส่ ามารถตอบคำถาม
ไดถ้ ูกตอ้ ง ครบถ้วน
๑. ความถกู ต้อง สามารถตอบคำถามได้ สามารถตอบคำถามได้ ไมแ่ สดงเหตุผล
ถกู ต้อง ครบถ้วน ถกู ต้อง ไม่สามารถนำความรู้
มาประยุกต์ใช้ใน
๒.ความมีเหตุผล สามารถแสดงความคดิ เห็น สามารถแสดงความ ชีวติ ประจำวนั ไดเ้ ลย
อย่างมเี หตุผล คดิ เหน็ มเี หตุผลบ้าง
๓. การนำไปใชใ้ น แสดงถงึ คำตอบทีม่ ีการนำ มีการนำความรมู้ า
ชวี ติ ประจำวัน ความร้มู าประยุกต์ใชใ้ น ประยุกต์ใชใ้ น
ชีวิตประจำวันได้มาก ชวี ิตประจำวันไดบ้ า้ ง
เกณฑ์การแปลความหมายคะแนนกำหนดไว้ ดงั น้ี
๗ – ๙ คะแนน หมายถึง ดี
๔ – ๖ คะแนน หมายถงึ พอใช้
๑ – ๓ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
หมายเหตุ ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป (๗ คะแนน ขึน้ ไป)
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการมสี ่วนร่วมในการจดั การเรยี นรู้ สรุป
พฤตกิ รรม
เลขท่ี ช่อื -สกุล ความ ั้ตงใจในการเรียน (๓) รวม ผ่าน/
การตอบคำถาม (๓) (๑๒) ไม่
การทำงานทันตามกำหนดเวลา (๓) ผ่าน
การ ีม ่สวนร่วมใน ิกจกรรม (๓)
ลงช่ือ ......................................ผู้ประเมนิ
(............................................................)
วันท.ี่ ......เดือน.........................พ.ศ. ......
เกณฑก์ ารสงั เกตพฤติกรรมการมีมารยาทในการเรียนรทู้ ี่ดี
รายการประเมนิ ดีมาก (๓) เกณฑก์ ารให้คะแนน พอใช้ (๑)
ปานกลาง (๒)
๑. ความตง้ั ใจในการเรียน ตั้งใจเรียนตามเกณฑ์ ตงั้ ใจเรียนตามเกณฑ์ ตงั้ ใจเรยี นตามเกณฑ์
๑.๑ ไมเ่ ลน่ กัน ๓ ข้อ ๒ ข้อ ๑ ข้อ
๑.๒ ไม่คยุ กนั
๑.๓ เตรียมหนังสือและอุปกรณ์
การเรยี นพร้อมทีจ่ ะเรียน
๒. การตอบคำถาม การตอบคำถามตาม การตอบคำถามตาม การตอบคำถามตาม
๒.๑ ร่วมตอบคำถามผสู้ อน เกณฑ์ ๓ ข้อ เกณฑ์ ๒ ข้อ เกณฑ์ ๑ ข้อ
๒.๒ ตอบตรงตามประเดน็
๒.๓ คำตอบถกู ต้อง
๓. การทำงานทันตามกำหนดเวลา ทำงานทนั ตาม ทำงานทันตาม ทำงานทนั ตาม
๓.๑ ทำงานเสร็จทันเวลา กำหนดเวลา กำหนดเวลา กำหนดเวลา
๓.๒ ทำงานถูกต้องและชดั เจน ตามเกณฑ์ ๓ ขอ้ ตามเกณฑ์ ๒ ข้อ ตามเกณฑ์ ๑ ข้อ
๓.๓ ทำงานเป็นระเบยี บ
เรยี บร้อย
๔. การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรม มสี ่วนร่วมในกจิ กรรม มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรม มีส่วนรว่ มในกิจกรรม
๔.๑ ใหค้ วามร่วมมือ ตามเกณฑ์ ๓ ข้อ ตามเกณฑ์ ๒ ขอ้ ตามเกณฑ์ ๑ ข้อ
๔.๒ ให้การชว่ ยเหลือ
๔.๓ มีความกระตอื รือร้น
เกณฑ์การใหค้ ะแนน กำหนดไวด้ ังน้ี
๓ หมายถึง ดีมาก
๒ หมายถึง ปานกลาง
๑ หมายถึง พอใช้
เกณฑ์การแปลความหมายคะแนนกำหนดไว้ ดังนี้
๑๐ – ๑๒ คะแนน หมายถงึ ดมี าก
๗ – ๙ คะแนน หมายถงึ ปานกลาง
๔ – ๖ คะแนน หมายถงึ พอใช้
หมายเหตุ นกั เรียนผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐ ที่คะแนน ๗ คะแนนขนึ้ ไป
การวดั และประเมนิ ผล วธิ วี ัดผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน
การวัดและประเมนิ ผล การสงั เกตพฤติกรรม แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์
การตอบคำถาม ร้อยละ ๘๐
๑. ๑. นกั เรียนสามารถอธิบาย การตอบคำถาม แบบประเมนิ ผลงาน ผา่ นเกณฑ์
หลักการเขียนเรียงความ (K) การประเมนิ ผลงาน ร้อยละ ๘๐
๒. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ แบบสงั เกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์
การเขียนเรยี งความ (P) การสงั เกตพฤติกรรม การมีสว่ นร่วมใน ร้อยละ ๖๐
๓. นกั เรียนมสี ว่ นรว่ มในการจดั การจัดการเรียนรู้
การเรียนรู้ (A)
บนั ทึกหลังการสอน
๑. ผลการจัดการเรยี นรู้
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
๒. ปญั หาและอุปสรรค
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
๓. แนวทางการแก้ไข
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ลงชื่อ...............................................ครผู ู้สอน
(นางสาวนนั ทนชั ดิษดำ)
วนั ท่ี.......เดอื น..........................พ.ศ. ............
คำช้แี จง แบบสังเกตพฤตกิ รรมการตอบคำถาม
ของนักเรียน ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการตอบคำถามและให้คะแนนลงในช่องท่ีตรงกบั พฤตกิ รรม
เลขที่ ชื่อ - สกุล ความ ูถกต้อง สรปุ ผล
ความ ีมเหตุผล รวม การประเมิน
การนำไปใ ้ชใน ีช ิวตประจำ ัวน
๓ ๓ ๓ ๙ ผ่าน ไม่ผ่าน
ลงช่ือ................................................ผู้ประเมิน
( ...............................................)
วนั ท.่ี ......เดือน.........................พ.ศ. ......
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการตอบคำถาม
เกณฑ์การประเมิน ๓ ระดบั คะแนน ๑
๒ ไมส่ ามารถตอบคำถาม
ไดถ้ ูกตอ้ ง ครบถ้วน
๑. ความถกู ต้อง สามารถตอบคำถามได้ สามารถตอบคำถามได้ ไมแ่ สดงเหตุผล
ถกู ต้อง ครบถ้วน ถกู ต้อง ไม่สามารถนำความรู้
มาประยุกต์ใช้ใน
๒.ความมีเหตุผล สามารถแสดงความคดิ เห็น สามารถแสดงความ ชีวติ ประจำวนั ไดเ้ ลย
อย่างมเี หตุผล คดิ เหน็ มเี หตุผลบ้าง
๓. การนำไปใชใ้ น แสดงถงึ คำตอบทีม่ ีการนำ มีการนำความรมู้ า
ชวี ติ ประจำวัน ความร้มู าประยุกต์ใชใ้ น ประยุกต์ใชใ้ น
ชีวิตประจำวันได้มาก ชวี ิตประจำวันไดบ้ า้ ง
เกณฑ์การแปลความหมายคะแนนกำหนดไว้ ดงั น้ี
๗ – ๙ คะแนน หมายถึง ดี
๔ – ๖ คะแนน หมายถงึ พอใช้
๑ – ๓ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
หมายเหตุ ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป (๗ คะแนน ขึน้ ไป)
แบบประเมนิ ผลงาน
คำชแ้ี จง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรยี นในการตอบคำถามและใหค้ ะแนนลงในช่องท่ีตรงกับพฤตกิ รรม
ของนักเรยี น
สรุปผล
การประเมิน
รวม
เลขท่ี ช่ือ - สกุล
ความถูกต้อง
การใ ้ชภาษา
๓ ๒ ๕ ผา่ น ไมผ่ า่ น
ลงช่ือ................................................ผปู้ ระเมิน
( ...............................................)
เกณฑก์ ารประเมนิ ผลงาน
เกณฑ์การประเมิน ระดบั คะแนน ๑
๓๒ ถูกต้องตามเกณฑ์ ๑
๑. ความถกู ตอ้ ง ถกู ต้องครบถ้วนตามเกณฑ์ ถูกต้องตามเกณฑ์ ๒ ขอ้ ข้อ
๑.๑ ตอบคำถามไดค้ รบถ้วน ๓ ข้อ ใชภ้ าษาตามเกณฑ์ ๑
ข้อ
๑.๒. ตอบคำถามเร่ืองได้
ถูกต้อง
๑.๓ ไม่ตดั หรอื เพ่ิมคำถามท่ี
ไม่เกีย่ วข้อง
๒. การใชภ้ าษา ใชภ้ าษาตามเกณฑ์ ๒
๒.๑ ใชค้ ำถกู ตอ้ งเหมาะสม ขอ้
๒.๒ เขยี นสะกดตาม
หลกั การใชภ้ าษาไทย
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน กำหนดไวด้ งั น้ี
๓ หมายถึง ดี
๒ หมายถงึ พอใช้
๑ หมายถึง ปรบั ปรงุ
แปรผลการประเมนิ
๔ - ๕ คะแนน หมายถงึ ดี
๒ – ๓ คะแนน หมายถึง พอใช้
๑ คะแนน หมายถงึ ปรับปรุง
หมายเหตุ นักเรยี นผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ ๘๐ ท่ีคะแนน ๔ คะแนนขึน้ ไป
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการมสี ่วนร่วมในการจดั การเรยี นรู้ สรุป
พฤตกิ รรม
เลขท่ี ช่อื -สกุล ความ ั้ตงใจในการเรียน (๓) รวม ผ่าน/
การตอบคำถาม (๓) (๑๒) ไม่
การทำงานทันตามกำหนดเวลา (๓) ผ่าน
การ ีม ่สวนร่วมใน ิกจกรรม (๓)
ลงช่ือ ......................................ผู้ประเมนิ
(............................................................)
วันท.ี่ ......เดือน.........................พ.ศ. ......
เกณฑก์ ารสงั เกตพฤติกรรมการมีมารยาทในการเรียนรทู้ ี่ดี
รายการประเมนิ ดีมาก (๓) เกณฑก์ ารให้คะแนน พอใช้ (๑)
ปานกลาง (๒)
๑. ความตง้ั ใจในการเรียน ตั้งใจเรียนตามเกณฑ์ ตงั้ ใจเรียนตามเกณฑ์ ตงั้ ใจเรยี นตามเกณฑ์
๑.๑ ไมเ่ ลน่ กัน ๓ ข้อ ๒ ข้อ ๑ ข้อ
๑.๒ ไม่คยุ กนั
๑.๓ เตรียมหนังสือและอุปกรณ์
การเรยี นพร้อมทีจ่ ะเรียน
๒. การตอบคำถาม การตอบคำถามตาม การตอบคำถามตาม การตอบคำถามตาม
๒.๑ ร่วมตอบคำถามผสู้ อน เกณฑ์ ๓ ข้อ เกณฑ์ ๒ ข้อ เกณฑ์ ๑ ข้อ
๒.๒ ตอบตรงตามประเดน็
๒.๓ คำตอบถกู ต้อง
๓. การทำงานทันตามกำหนดเวลา ทำงานทนั ตาม ทำงานทันตาม ทำงานทนั ตาม
๓.๑ ทำงานเสร็จทันเวลา กำหนดเวลา กำหนดเวลา กำหนดเวลา
๓.๒ ทำงานถูกต้องและชดั เจน ตามเกณฑ์ ๓ ขอ้ ตามเกณฑ์ ๒ ข้อ ตามเกณฑ์ ๑ ข้อ
๓.๓ ทำงานเป็นระเบยี บ
เรยี บร้อย
๔. การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรม มสี ่วนร่วมในกจิ กรรม มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรม มีส่วนรว่ มในกิจกรรม
๔.๑ ใหค้ วามร่วมมือ ตามเกณฑ์ ๓ ข้อ ตามเกณฑ์ ๒ ขอ้ ตามเกณฑ์ ๑ ข้อ
๔.๒ ให้การชว่ ยเหลือ
๔.๓ มีความกระตอื รือร้น
เกณฑ์การใหค้ ะแนน กำหนดไวด้ ังน้ี
๓ หมายถึง ดีมาก
๒ หมายถึง ปานกลาง
๑ หมายถึง พอใช้
เกณฑ์การแปลความหมายคะแนนกำหนดไว้ ดังนี้
๑๐ – ๑๒ คะแนน หมายถงึ ดมี าก
๗ – ๙ คะแนน หมายถงึ ปานกลาง
๔ – ๖ คะแนน หมายถงึ พอใช้
หมายเหตุ นกั เรียนผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐ ที่คะแนน ๗ คะแนนขนึ้ ไป
การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีวดั ผล เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมนิ
การสังเกตพฤติกรรม แบบประเมนิ การตอบ
การวดั และประเมนิ ผล ผ่านเกณฑ์
การตอบคำถาม คำถาม รอ้ ยละ ๘๐
๑. นกั เรียนสามารถอธิบาย การประเมินผลงาน แบบประเมินผลงาน ผา่ นเกณฑ์
หลกั การเขยี นเรยี งความ (K) รอ้ ยละ ๘๐
๒. นกั เรยี นสามารถเขยี น การสงั เกตพฤติกรรม แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์
เรียงความ (P) การมีมารยาทในการเขยี น ร้อยละ ๖๐
๓. นกั เรียนมมี ารยาทใน
การเขียน (A)
บนั ทึกหลังการสอน
๑. ผลการจัดการเรยี นรู้
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
๒. ปญั หาและอุปสรรค
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
๓. แนวทางการแก้ไข
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ...............................................ครผู ู้สอน
(นางสาวนนั ทนชั ดษิ ดำ)
วันท่ี.......เดอื น..........................พ.ศ. ............
คำช้แี จง แบบสังเกตพฤตกิ รรมการตอบคำถาม
ของนักเรียน ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการตอบคำถามและให้คะแนนลงในช่องท่ีตรงกบั พฤตกิ รรม
เลขที่ ชื่อ - สกุล ความ ูถกต้อง สรปุ ผล
ความ ีมเหตุผล รวม การประเมิน
การนำไปใ ้ชใน ีช ิวตประจำ ัวน
๓ ๓ ๓ ๙ ผ่าน ไม่ผ่าน
ลงช่ือ................................................ผู้ประเมิน
( ...............................................)
วนั ท.่ี ......เดือน.........................พ.ศ. ......
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการตอบคำถาม
เกณฑ์การประเมิน ๓ ระดบั คะแนน ๑
๒ ไมส่ ามารถตอบคำถาม
ไดถ้ ูกตอ้ ง ครบถ้วน
๑. ความถกู ต้อง สามารถตอบคำถามได้ สามารถตอบคำถามได้ ไมแ่ สดงเหตุผล
ถกู ต้อง ครบถ้วน ถกู ต้อง ไม่สามารถนำความรู้
มาประยุกต์ใช้ใน
๒.ความมีเหตุผล สามารถแสดงความคดิ เห็น สามารถแสดงความ ชีวติ ประจำวนั ไดเ้ ลย
อย่างมเี หตุผล คดิ เหน็ มเี หตุผลบ้าง
๓. การนำไปใชใ้ น แสดงถงึ คำตอบทีม่ ีการนำ มีการนำความรมู้ า
ชวี ติ ประจำวัน ความร้มู าประยุกต์ใชใ้ น ประยุกต์ใชใ้ น
ชีวิตประจำวันได้มาก ชวี ิตประจำวันไดบ้ า้ ง
เกณฑ์การแปลความหมายคะแนนกำหนดไว้ ดงั น้ี
๗ – ๙ คะแนน หมายถึง ดี
๔ – ๖ คะแนน หมายถงึ พอใช้
๑ – ๓ คะแนน หมายถึง ปรับปรงุ
หมายเหตุ ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป (๗ คะแนน ขึน้ ไป)
แบบประเมนิ การเขยี นเรียงความ
รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ / ระดบั คะแนน
๑. องค์ประกอบของ
เรียงความ ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรบั ปรุง (๑)
๒. เนอื้ หา องค์ประกอบ
องค์ประกอบ องคป์ ระกอบ องคป์ ระกอบ ไมค่ รบถ้วน
๓. การเรยี บเรยี งเนอื้ หา หรอื ไมส่ มบรู ณ์
ครบถ้วนสมบรู ณ์ ไม่ครบถว้ น ไม่ครบถ้วน ๕ ตำแหน่งขึ้นไป
๔. การใชภ้ าษา เน้อื หาไมน่ ่าสนใจ
ท้ังหมด หรือไมส่ มบรู ณ์ หรอื ไมส่ มบรู ณ์ หรอื ไมต่ รงประเดน็
๕. การเขยี น หรือไมส่ อดคล้องกับ
สะกดคำ ๑ – ๒ ตำแหนง่ ๓ – ๔ ตำแหนง่ หวั ขอ้ ๕ ตำแหน่งข้นึ
ไป
เน้ือหานา่ สนใจ เนอื้ หาไมน่ ่าสนใจ เนอื้ หาไมน่ า่ สนใจ การเรยี บเรยี งเน้อื หา
ขาดเอกภาพ
ตรงประเดน็ หรือไมต่ รงประเดน็ หรอื ไมต่ รงประเด็น ขาดสารัตถภาพ และ
ขาดสัมพันธภาพ
สอดคล้องกับ หรอื ไมส่ อดคลอ้ งกบั หรือไมส่ อดคลอ้ งกับ สื่อความหมาย
ไม่ชดั เจน หรือไม่
หวั ข้อทัง้ หมด หวั ข้อ ๑ – ๒ หัวขอ้ ๓ – ๔ สอดคลอ้ งกบั หวั ข้อ ๕
ตำแหน่งขน้ึ ไป
ตำแหน่ง ตำแหนง่ เขียนสะกดคำ
ไมถ่ กู ตอ้ ง ๕ ตำแหนง่
การเรยี บเรยี งเนอ้ื หา มีข้อบกพรอ่ ง ๑ ขอ้ มขี ้อบกพรอ่ ง ๒ ขอ้ ขึ้นไป
มีเอกภาพ มสี ารตั ถ ไดแ้ ก่ ขาดเอกภาพ ไดแ้ ก่ ขาดเอกภาพ
ภาพ และ ขาดสารตั ถภาพ หรอื ขาดสารตั ถภาพ หรอื
สัมพนั ธภาพ ขาดสัมพันธภาพ ขาดสัมพนั ธภาพ
ส่อื ความหมายได้ ส่อื ความหมาย ส่ือความหมาย
ชดั เจน สอดคล้อง ไม่ชัดเจน หรอื ไม่ ไมช่ ัดเจน หรอื ไม่
กบั หวั ข้อทัง้ หมด สอดคล้องกบั หวั ข้อ ๑ สอดคลอ้ งกับหวั ขอ้ ๓
– ๒ ตำแหนง่ – ๔ ตำแหนง่
เขียนสะกดคำ เขยี นสะกดคำ เขียนสะกดคำ
ถูกต้องตามหลกั การ ไมถ่ ูกต้อง ๑ – ๒ ไมถ่ ูกต้อง ๓ – ๔
ท้ังหมด ตำแหน่ง ตำแหน่ง
เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๖ – ๒๐ ดีมาก
๑๑ – ๑๕ ดี
๖ – ๑๐ พอใช้
๐–๕ ปรับปรุง
แบบประเมนิ มารยาทในการเขียน สรุป
พฤตกิ รรม
ลำดับ ชอ่ื – สกลุ ความถูกต้องเหมาะสม รวม
ความสะอาด (๕) ผ่าน ไม่ผ่าน
๓๒
ลงชอ่ื ................................................ผู้ประเมนิ
(...............................................)
วนั ท.ี่ ......เดอื น.........................พ.ศ. .........
เกณฑ์การประเมนิ มารยาทในการเขียน
รายการประเมนิ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๑
๓๒ ความเหมาะสม
ตามเกณฑ์ ๒ ข้อ
๑. ความถูกต้อง เหมาะสม เหมาะสมครบตาม เหมาะสมตาม
สะอาดตามเกณฑ์
๑.๑ เขยี นคำถกู ต้อง เหมาะสม เกณฑ์ ๓ ข้อ เกณฑ์ ๒ ข้อ ๑ ขอ้
๑.๒ ใช้ภาษาเขยี นอยา่ งเหมาะสมกบั
กาลเทศะและบุคคล
๑.๓ ไม่เขียนล้อเลียนผู้อืน่ หรือทำให้
ผู้อ่นื เสยี หาย
๒. ความสะอาด สะอาดครบตาม
๒.๑ รักษาความสะอาดของงานเขยี น เกณฑ์ ๒ ข้อ
๒.๒ ไม่ขดี เขียนเลน่ ตามโตะ๊ เก้าอ้ี
ฝาผนงั หรือทีส่ าธารณะ
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนเกณฑ์ กำหนดไวด้ ังน้ี
๓ หมายถงึ ดี
๒ หมายถงึ พอใช้
๑ หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑก์ ารประเมนิ พฤตกิ รรมผเู้ รียนกำหนดไว้ดงั นี้
คะแนน ๕ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓ - ๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑ - ๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
หมายเหตุ นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐ ทค่ี ะแนน ๓ คะแนนขึน้ ไป
การวดั และประเมินผล วิธวี ัดผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมนิ
การสงั เกตพฤติกรรม
การวัดและประเมินผล แบบประเมินการตอบ ผ่านเกณฑ์
การตอบคำถาม คำถาม ร้อยละ ๘๐
๑. นักเรยี นสามารถอธิบาย การประเมินผลงาน ผ่านเกณฑ์
หลักการเขียนจดหมายสว่ นตวั (K) แบบประเมนิ ร้อยละ ๘๐
๒. นักเรยี นสามารถเขียน การสงั เกตพฤติกรรม การเขียนจดหมายสว่ นตวั ผ่านเกณฑ์
จดหมายสว่ นตวั (P) ร้อยละ ๖๐
๓. นกั เรียนมีมารยาทใน แบบประเมนิ
การเขยี น (A) การมมี ารยาทในการเขียน
บนั ทกึ หลังการสอน
๑. ผลการจดั การเรยี นรู้
............................................................................................................................. ..............................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
๒. ปัญหาและอุปสรรค
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
๓. แนวทางการแกไ้ ข
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ...............................................ครูผสู้ อน
(นางสาวนันทนชั ดษิ ดำ)
วันท่ี.......เดือน..........................พ.ศ. ............
คำช้แี จง แบบสังเกตพฤตกิ รรมการตอบคำถาม
ของนักเรียน ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในการตอบคำถามและให้คะแนนลงในช่องท่ีตรงกบั พฤตกิ รรม
เลขที่ ชื่อ - สกุล ความ ูถกต้อง สรปุ ผล
ความ ีมเหตุผล รวม การประเมิน
การนำไปใ ้ชใน ีช ิวตประจำ ัวน
๓ ๓ ๓ ๙ ผ่าน ไม่ผ่าน
ลงช่ือ................................................ผู้ประเมิน
( ...............................................)
วนั ท.่ี ......เดือน.........................พ.ศ. ......
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการตอบคำถาม
เกณฑ์การประเมิน ๓ ระดบั คะแนน ๑
๒ ไมส่ ามารถตอบคำถาม
ไดถ้ ูกตอ้ ง ครบถ้วน
๑. ความถกู ต้อง สามารถตอบคำถามได้ สามารถตอบคำถามได้ ไมแ่ สดงเหตุผล
ถกู ต้อง ครบถ้วน ถกู ต้อง ไม่สามารถนำความรู้
มาประยุกต์ใช้ใน
๒.ความมีเหตุผล สามารถแสดงความคดิ เห็น สามารถแสดงความ ชีวติ ประจำวนั ไดเ้ ลย
อย่างมเี หตุผล คดิ เหน็ มเี หตุผลบ้าง
๓. การนำไปใชใ้ น แสดงถงึ คำตอบทีม่ ีการนำ มีการนำความรมู้ า
ชวี ติ ประจำวัน ความร้มู าประยุกต์ใชใ้ น ประยุกต์ใชใ้ น
ชีวิตประจำวันได้มาก ชวี ิตประจำวันไดบ้ า้ ง
เกณฑ์การแปลความหมายคะแนนกำหนดไว้ ดงั น้ี
๗ – ๙ คะแนน หมายถึง ดี
๔ – ๖ คะแนน หมายถงึ พอใช้
๑ – ๓ คะแนน หมายถึง ปรับปรงุ
หมายเหตุ ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป (๗ คะแนน ขึน้ ไป)
การเขยี นจดหมายสว่ นตวั
การเขียนสถานท่ี เขียนสถานที่ของผู้เขียนจดหมาย บอกบ้านเลขท่ี ตำบล
การเขียน วนั เดอื น ปี อำเภอ จงั หวดั และรหสั ไปรษณีย์
เขยี น วนั เดอื น ปี ท่เี ขยี นจดหมาย
การเขยี นคำขน้ึ ต้น คำลงท้าย และสรรพนาม
เขียนถงึ เพ่ือน คำขนึ้ ตน้ ใชว้ า่ (ชอื่ เพื่อน) เพือ่ นรักหรือท่ีรัก
คำลงท้าย ใชว้ า่ รกั และคดิ ถงึ
สรรพนามใชแ้ ทนตวั ผ้เู ขียนจดหมาย ใช้วา่ ผม ฉัน ดฉิ ัน
การเขียนหน้าซองจดหมาย
การเขียนหน้าซองจดหมายเป็นการเขียนชื่อและที่อยู่ของผู้รับจดหมายเพื่อให้บุรุษไปรษณีย์
นำจดหมายไปส่งไดถ้ ูกต้อง และควรเขียนที่อยู่ของผู้สง่ จดหมายด้วย บุรุษไปรษณีย์อาจสง่ จดหมายไมไ่ ด้
เนอ่ื งจากผู้รบั จดหมายย้ายท่ีอยู่ จะได้นำจดหมายส่งคืนผ้สู ่งจดหมายได้ ผู้ส่งจดหมายจะต้องปิดดวงตรา
ไปรษณยี ากรณต์ ามราคาที่กำหนด
รูปแบบการเขียนหน้าซองจดหมาย (จดหมายจะถึงไว ถา้ ใส่รหสั ไปรษณยี ์)
ชอื่ และที่อยู่ผู้ฝาก ที่ผนกึ
ตราไปรษณยี ากร
นนั ทนชั ดษิ ดำ
๑๓๙ หมู่ท่ี ๔ ตำบลเทอดไทย
อำเภอทงุ่ เขาหลวง จังหวดั ร้อยเอด็
๔๕๑๗๐ ชื่อและท่ีอยู่ผรู้ บั
กชพร กลมชติ
๑๐ หมู่บา้ นมติ สามัคคี ซอย ๑
ถนนหนา้ เมือง ตำบลในเมอื ง
อำเภอเมือง จงั หวดั มหาสารคาม
๔๔๐๐๐
ทดสอบ แบบทดสอบ
หลักการเขยี นจดหมายส่วนตวั
คำส่งั ใหน้ กั เรียนนำองคป์ ระกอบของจดหมายท่กี ำหนดให้ ไปเติมในจดหมายใหถ้ ูกต้อง
๑. ท่อี ยู่ของผเู้ ขียนจดหมาย ๒. คำขึน้ ตน้ ๓. คำลงทา้ ย
๔. วัน เดอื น ปี ท่เี ขียน ๕. รายละเอยี ดที่ตอ้ งการแจ้ง ๖. ช่อื ผูเ้ ขยี นจดหมาย
...........................................
...........................................
.......................................................
............................................................
..............................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
......................................................
......................................................
- เฉลย -
ทดสอบ แบบทดสอบ
หลกั การเขยี นจดหมายสว่ นตวั
คำส่ัง ให้นักเรียนนำองคป์ ระกอบของจดหมายที่กำหนดให้ ไปเตมิ ในจดหมายใหถ้ ูกต้อง
๑. ทอ่ี ยขู่ องผู้เขียนจดหมาย ๒. คำข้นึ ต้น ๓. คำลงท้าย
๔. วัน เดอื น ปี ท่เี ขยี น ๕. รายละเอยี ดท่ีต้องการแจง้ ๖. ชือ่ ผ้เู ขยี นจดหมาย
ท..อ่ี ..ย..ขู่ ..อ..ง..ผ..ูเ้.ข...ีย..น..จ..ด...ห..ม..า..ย.........
...........................................
.ค..า..ข..้นึ...ต..้น................................................ วัน เ..ด..ือ..น....ป..ี.ท...เ่ี .ข..ยี..น..................................
ร.า..ย..ล..ะ..เ..อ..ีย..ด..ท...ต่ี ..อ้..ง..ก..า..ร..แ..จ..ง้........................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
ค..า..ล..ง..ท..า้ ..ย..........................................
ช..่ือ..ผ...เู้ .ข..ยี ..น..จ...ด..ห..ม...า.ย.............................
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบประเมินการเขียนจดหมายส่วนตวั (๒๐ คะแนน)
ประเด็นการประเมนิ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
๕๔๓๒๑
๑. การระบทุ ่อี ยู่ ระบทุ อ่ี ยูไ่ ด้ ระบุที่อยู่ได้ ๔ ระบทุ ีอ่ ย่ไู ด้ ๓ ระบุที่อยูไ่ ด้ ๒ ระบุท่ีอยู่ได้ ๑
๑.๑ เลขท่ีท่อี ยู่ ครบ ๕ ข้อ ขอ้ ข้อ ขอ้ ขอ้
๑.๒ ตำบล
๑.๓ อำเภอ
๑.๔ จงั หวัด
๑.๕ รหสั ไปรษณีย์
๒. คำขน้ึ ต้น-คำลงท้าย ระบุคำขึ้นตน้ - ระบุคำข้ึนตน้ - ระบุคำขึน้ ตน้ -
๒.๑ ระบไุ ดเ้ หมาะสมกับบคุ คลที่ ลงทา้ ยถูกตอ้ ง ลงท้ายถกู ตอ้ ง ลงทา้ ยถูกต้อง
สง่ ถงึ ครบ ๓ ขอ้ ๒ ข้อ ๑ ขอ้
๒.๒ ถูกตอ้ งตามรปู แบบ
๒.๓ คำข้นึ ตน้ -คำลงท้าย
สอดคลอ้ งสมั พนั ธ์กัน
๓. เนอ้ื ความ เขียน เขยี น เขยี นเนื้อความ
๓.๑ ใชภ้ าษาไดเ้ หมาะสมตาม เนอื้ ความได้ เน้ือความได้ ได๑้ ขอ้
กาลเทศะ ครบ ๓ ขอ้ ๒ ข้อ
๓.๒ เขียนเนือ้ ความทสี่ ่อื
วตั ถุประสงค์ของจดหมายส่วนตัว
ชดั เจน
๓.๓ เขยี นได้อยา่ งนอ้ ย ๓-๔
บรรทดั ตามท่ีกำหนด
๔. ตำแหนง่ รูปแบบของ ตำแหน่ง ตำแหน่ง ตำแหน่ง ตำแหน่ง ตำแหน่ง
องค์ประกอบ ๖ ส่วนของจดหมาย ถูกตอ้ งครบ ๖ ถกู ตอ้ ง ถกู ตอ้ ง ถกู ต้อง ถูกตอ้ ง
บนหน้ากระดาษ สว่ น ๕ สว่ น ๔ ส่วน ๓ สว่ น นอ้ ยกว่า ๒
สว่ น
๕. ความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย เขียน เขยี นเรยี บรอ้ ย
๕.๑ เขียนเป็นระเบยี บ เรียบร้อย ๑ ข้อ
๕.๒ สะอาด ครบ ๒ ขอ้
สะกดคำผิด สะกดคำผดิ ๔
๖. การสะกดคำผดิ ไม่เกิน ๓ คำ คำข้นึ ไป
เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบประเมนิ การเขียนจา่ หนา้ ซองจดหมายสว่ นตัว (๑๕ คะแนน)
ประเด็นการประเมิน ๕ เกณฑก์ ารให้คะแนน ๑
๔๓๒
๑. การระบทุ อี่ ยู่ผสู้ ง่ ระบทุ ี่อย่ไู ด้ ระบทุ ี่อยู่ได้ ระบุที่อยู่ได้ ระบุท่ีอยไู่ ด้ ระบุท่ีอยไู่ ด้
๑.๑ เลขท่ที ีอ่ ยู่ ครบ ๕ ข้อ ๔ ขอ้ ๓ ข้อ ๒ ข้อ ๑ ข้อ
๑.๒ ตำบล
๑.๓ อำเภอ
๑.๔ จงั หวัด
๑.๕ รหสั ไปรษณยี ์
๒. การระบุทีอ่ ยผู่ รู้ ับ ระบุท่ีอยู่ได้ ระบุที่อย่ไู ด้ ระบทุ ี่อย่ไู ด้ ระบทุ ี่อยไู่ ด้ ระบทุ ี่อยไู่ ด้
๒.๑ เลขทท่ี อี่ ยู่ ครบ ๕ ขอ้ ๔ ขอ้ ๓ ข้อ ๒ ข้อ ๑ ขอ้
๒.๒ ตำบล
๒.๓ อำเภอ
๒.๔ จังหวดั
๒.๕ รหสั ไปรษณยี ์
๓. ตำแหน่งของรปู แบบ ระบุ ระบุ
๓.๑ ผู้สง่ จดหมาย ตำแหน่งได้ ตำแหนง่ ได้
๓.๒ ผรู้ บั จดหมาย ถกู ต้อง ถูกต้อง
๒ ขอ้ ๑ ข้อ
๔. ความเป็นระเบยี บเรยี บร้อย เขียน เขยี น เขยี น
๔.๑ เขยี นเปน็ ระเบยี บ เรียบร้อย เรยี บรอ้ ย เรยี บรอ้ ย
๔.๒ สะอาด ครบ ๓ ขอ้ ๒ ข้อ ๑ ข้อ
๔.๓ สะกดคำถูกต้อง
แบบประเมนิ มารยาทในการเขียน สรุป
พฤตกิ รรม
ลำดับ ชอ่ื – สกลุ ความถูกต้องเหมาะสม รวม
ความสะอาด (๕) ผ่าน ไม่ผ่าน
๓๒
ลงชอ่ื ................................................ผู้ประเมนิ
(...............................................)
วนั ท.ี่ ......เดอื น.........................พ.ศ. .........
เกณฑ์การประเมนิ มารยาทในการเขียน
รายการประเมนิ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๑
๓๒ ความเหมาะสม
ตามเกณฑ์ ๒ ข้อ
๑. ความถูกต้อง เหมาะสม เหมาะสมครบตาม เหมาะสมตาม
สะอาดตามเกณฑ์
๑.๑ เขยี นคำถกู ต้อง เหมาะสม เกณฑ์ ๓ ข้อ เกณฑ์ ๒ ข้อ ๑ ขอ้
๑.๒ ใช้ภาษาเขยี นอยา่ งเหมาะสมกบั
กาลเทศะและบุคคล
๑.๓ ไม่เขียนล้อเลียนผู้อืน่ หรือทำให้
ผู้อ่นื เสยี หาย
๒. ความสะอาด สะอาดครบตาม
๒.๑ รักษาความสะอาดของงานเขยี น เกณฑ์ ๒ ข้อ
๒.๒ ไม่ขดี เขียนเลน่ ตามโตะ๊ เก้าอ้ี
ฝาผนงั หรือทีส่ าธารณะ
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนเกณฑ์ กำหนดไวด้ ังน้ี
๓ หมายถงึ ดี
๒ หมายถงึ พอใช้
๑ หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑก์ ารประเมนิ พฤตกิ รรมผเู้ รียนกำหนดไว้ดงั นี้
คะแนน ๕ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๓ - ๔ คะแนน หมายถึง พอใช้
คะแนน ๑ - ๒ คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
หมายเหตุ นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐ ทค่ี ะแนน ๓ คะแนนขึน้ ไป