The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยในชั้นเรียน 1/2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nantanat.th, 2022-09-14 10:48:34

วิจัยในชั้นเรียน 1/2565

วิจัยในชั้นเรียน 1/2565

วิจัยในชั้นเรียน ปีการศึกษา 2565
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อน
ด้วยวิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method)
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

นางสาวนันทนัช ดิษดำ

ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย

โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม







การพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน เร่ือง คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อน
ด้วยวธิ กี ารสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method)
ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2

จดั ทำโดย
นางสาวนันทนัช ดษิ ดำ

ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย

โรงเรยี นหนองกพ่ี ิทยาคม
อำเภอหนองกี่ จงั หวัดบรุ ีรมั ย์
สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาบรุ ีรัมย์

ชือ่ ผลงาน การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง คำประสม คำซ้ำ และคำซอ้ น
ดว้ ยวธิ ีการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method)
ผวู้ จิ ยั ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2
สถานศกึ ษา นางสาวนนั ทนชั ดิษดำ
ปีการศกึ ษา โรงเรียนหนองก่ีพิทยาคม สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาบรุ รี ัมย์
2565

ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา
รายวิชาภาษาไทย 3 เรื่อง คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อน รหัสวิชา ท22101 ระดับชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม เป็นเนื้อหาที่มีความสำคัญในการจัดการเรียนการสอน
ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 และเป็นเนื้อหาต่อเน่ืองในการพัฒนาทักษะหลกั การใช้ภาษาไทย
ซึง่ เปน็ ทักษะสำคัญในการเรียนรรู้ ายวชิ าภาษาไทยในระดับชน้ั ต่อไป

จากการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาไทยในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
พบปัญหาการสอนเรื่อง คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อน ส่งผลกระทบโดยตรงต่อความเข้าใจของ
นักเรยี น และกระทบตอ่ ผลการเรียน รวมถึงการจัดการเรยี นการสอนในระดบั ชนั้ ถดั ไป

ปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
ไดค้ ลคี่ ลายลง ทำใหส้ ามารถจัดการเรยี นการสอนรูปแบบ On site ได้อย่างเตม็ รูปแบบ จึงทำให้ผู้สอน
สามารถออกแบบวิธีการสอนให้สอดคล้องกับนักเรียนมากขึ้น โดยวิธีการสอนด้วยกระบวนสืบเสาะหา
ความรู้ (Inquiry Method) นั้นคือการหาคำตอบของปัญหาจากการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ
แล้วสรุปเป็นคำตอบ ส่งผลให้นักเรียนได้ลงมือเรียนรู้ และค้นพบคำตอบด้วยการลงมือปฏิบัติเอง
ถือเปน็ การเรียนรอู้ ยา่ งยงั่ ยืน

ดังนั้นจึงจัดทำวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาในชั้นเรียน โดยการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เรื่อง คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อน ด้วยวิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method)
ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2

วัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั
เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทยเรื่อง คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อน

ด้วยวธิ ีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method) ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2

ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทยเรื่อง คำประสม

คำซ้ำ และคำซอ้ นสงู ขน้ึ

สมมตุ ิฐานการวิจัย
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทยเรื่อง คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อนหลังเรียน
สงู กวา่ กอ่ นเรยี น

ขอบเขตการศึกษา
1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
1.1 ประชากร คือ ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม ที่กำลังศึกษาใน
ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 จำนวน 3 ห้องเรยี น จำนวน 129 คน
1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 3 โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม
จำนวน 44 คน โดยวธิ กี ารสมุ่ ตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
2. ตวั แปรที่ศึกษา ประกอบดว้ ย
2.1 ตัวแปรต้น คือ วธิ ีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method)
2.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทยเรื่อง คำประสม คำซ้ำ
และคำซ้อน
3. ระยะเวลาที่ใช้ในการศกึ ษา คอื ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โดยใชเ้ วลา 6 ชวั่ โมง
4. เนื้อหา ผู้วิจัยใช้เนื้อหาครั้งนี้ตามหนังสือหลักการใช้ภาษาไทย เรื่อง คำประสม คำซ้ำ
และคำซอ้ น

เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการศกึ ษา
1. แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน เรื่อง คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อน
2. แผนการจดั การเรยี นร้วู ชิ าภาษาไทย เร่ือง คำประสม คำซำ้ และคำซ้อน จำนวน 6 ช่ัวโมง

วธิ ีดำเนินการวิจยั
1. ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม ที่กำลัง
ศกึ ษาในภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 129 คน
กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 3 โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม
จำนวน 44 คน โดยวิธกี ารสุม่ ตวั อย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย/นวัตกรรม ป้ายคำอิเล็กทรอนิกส์/แบบฝึกทักษะ/แบบทดสอบ
ก่อน - หลังเรยี น

3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล จากแบบทดสอบ ซ่งึ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในคาบเรียน
4. การวิเคราะหข์ ้อมลู ค่าเฉลย่ี คะแนน

ผลการวจิ ัย
ตารางท่ี 1 แสดงการเปรียบเทียบผลคะแนนก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง

คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อน ดว้ ยวธิ กี ารสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method) ของนกั เรียน
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 2

เลขท่ี ชอื่ -สกุล กอ่ นเรียน หลงั เรียน ผลตา่ ง รอ้ ยละ

(30คะแนน) (30คะแนน) ความก้าวหน้า

1 เดก็ ชาย กมลภพ จติ ตรีธรรม 20 27 7 23.33

2 เด็กชาย กฤษณะกันณ์ ขำเอนก 9 21 12 40.00

3 เดก็ ชาย จิรวัฒน์ ภาษติ 10 18 8 26.67

4 เดก็ ชาย จิรวฒั น์ สินสพุ รรณ์ 10 22 12 40.00

5 เดก็ ชาย ชลกร ไทยกลาง 13 24 11 36.67

6 เดก็ ชาย ชตุ พิ งศ์ อินพะเนาว์ 9 20 11 36.67

7 เด็กชาย ณฐั กานต์ ทองงาม 9 22 13 43.33

8 เด็กชาย ณัฐกติ ติ์ หวลโคกสูง 21 29 8 26.67

9 เดก็ ชาย ณฐั พฒั น์ เตสะ 7 20 13 43.33

10 เดก็ ชาย ณัฐภัทร ฉิมจารย์ 20 26 6 20.00

11 เดก็ ชาย นดั ตะวนั หวงั ดี 13 20 7 23.33

12 เด็กชาย บุณยภทั ร อดุ มชวโรจน์ 10 17 7 23.33

13 เดก็ ชาย พันธวธั น์ ร่งุ ไรโคก 12 20 8 26.67

14 เดก็ ชาย รชั พล พรยา 7 17 10 33.33

15 เด็กชาย รฐั ศาสตร์ ปะนามะทงั 5 16 11 36.67

16 เด็กชาย วฒุ ิภัทร บุญตาม 10 19 9 30.00

17 เด็กชาย สนั ติภาพ เก่งสนั เทยี ะ 8 18 10 33.33

18 เดก็ ชาย สรุ ศกั ด์ิ หากระสงั 10 19 9 30.00

19 เดก็ ชาย อริยทรัพย์ พรานกลาง 14 21 7 23.33

20 เด็กหญิง กนกพรรณ สงวนพมิ พ์ 6 16 10 33.33

เลขท่ี ช่ือ-สกุล ก่อนเรยี น หลังเรยี น ผลตา่ ง รอ้ ยละ

(30คะแนน) (30คะแนน) ความก้าวหนา้

21 เดก็ หญิง กนกวรรณ เสาวพนั ธ์ 15 21 6 20.00
22 เด็กหญิง กวินตรา ฉวรี มั ย์
23 เดก็ หญงิ จริ นันท์ คึมยะราช 10 18 8 26.67
24 เดก็ หญงิ ชญาดา เที่ยงกระโทก
25 เด็กหญิง ชญาภรณ์ สรภมู ิ 17 25 8 26.67
26 เดก็ หญงิ ชญั ญานุช คงอนุ่
27 เด็กหญงิ ธนัญชนก คงอุ่น 18 26 8 26.67
28 เดก็ หญงิ ธิญาภรณ์ อรุณพาส
29 เด็กหญิง นภสั วรรณ ทาจนั ทึก 19 26 7 23.33
30 เด็กหญิง นนั ทน์ ภสั ศรปี ระดู่
31 เดก็ หญงิ นิตยา เตง็ กลาง 18 25 7 23.33
32 เด็กหญิง นรี นชุ ผิวผักแวน่
33 เดก็ หญงิ ปรียารัตน์ ออ่ นศรี 18 25 7 23.33
34 เด็กหญิง ปญั จพาณ์ สรุ ยิ พันธุ์
35 เดก็ หญงิ ปิยะรัตน์ หงษ์โยธี 22 28 6 20.00
36 เดก็ หญงิ พราวนภา ศิริกำเนดิ
37 เด็กหญิง วาสนา ศรีคลงั 13 21 8 26.67
38 เดก็ หญิง วลิ าสินี ปล้มื หมู่
39 เด็กหญงิ วีรจีเนยี จจี ี ตอรเ์ ร 9 18 9 30.00
40 เด็กหญิง ศภุ ารัตน์ ญาตสิ มบูรณ์
41 เดก็ หญิง อภัสรา ดวงฉมิ มา 14 21 7 23.33
42 เดก็ หญิง อรพรรณ เทยี บทอง
43 เดก็ หญงิ อรญิ ชยา พรมดษิ ฐ์ 14 23 9 30.00
44 เดก็ หญงิ อริศราภรณ์ ค้าสุกร
13 22 9 30.00
̅
S.D. 12 27 12 40.00
ร้อยละ
14 21 7 23.33

12 20 8 26.67

11 19 8 26.67

12 18 6 20.00

18 20 2 6.67

17 24 7 23.33

19 25 6 20.00

19 24 5 16.67

18 23 5 16.67

19 24 5 16.67

13.50 21.66 8.16 27.20

4.52 3.31 2.33 7.77

45 72.20 27.20 90.66

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบผลคะแนนก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง คำประสม

คำซ้ำ และคำซ้อน ด้วยวิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method) ของนักเรียน

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2

การทดสอบ จำนวน ̅ S.D. df คา่ t

นักเรียน

กอ่ นเรียน 44 13.50 4.52 43 -23.21 *

หลงั เรยี น 44 21.66 3.31

*นยั สำคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .05

จากตารางที่ 1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน
จากกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 จำนวน 44 คน ก่อนเรียนมีค่าเฉลีย่ คะแนนเท่ากับ
13.50 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.52 คิดเป็นร้อยละ 45 และหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยของคะแนน
เท่ากับ 21.66 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.31 คิดเป็นร้อยละ 72.20 จึงสรุปได้ว่า
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ดงั ตารางท่ี 2

อภปิ รายผล
ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนเรื่อง คำประสม คำซ้ำ

และคำซ้อน ด้วยวิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method) ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 จำนวน 44 คน ก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยคะแนนเท่ากับ 13.50 ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 4.52 คิดเป็นร้อยละ 45 และหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยของคะแนนเท่ากับ 21.66
ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากบั 3.31 คิดเป็นร้อยละ 72.20 จึงสรปุ ได้วา่ นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่
กำหนดไว้ เนื่องจากวิธีการสอนเหมาะสมกับเนื้อหาและนักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ปริมาณของ
เนอื้ หาไมม่ าก ไม่นอ้ ยเกินไป และเสรมิ สรา้ งความเข้าใจในบทเรียนสง่ ผลต่อผลสัมฤทธิท์ ดี่ ีขนึ้

ขอ้ เสนอแนะ
1. ผู้สอนควรกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ให้แน่นอน และให้นักเรียนได้ฝึกทักษะอย่างสม่ำเสมอ
และตอ่ เนื่อง จึงจะทำให้นกั เรียนเกดิ ความรู้ความเข้าใจในเร่ือง คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อน
ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ
2. พัฒนาวิธีการสอนและจัดการเรียนรู้ในเรื่องอื่น ๆ พร้อมทั้งทดลองใช้กับนักเรียนใน
ระดบั ชั้นอน่ื ๆ

ภาคผนวก

ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรียนรู้วชิ าภาษาไทย
ดว้ ยวธิ ีการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method)

กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 เรื่อง คำประสม คำซ้ำ และคำซอ้ น แผนท่ี 1/6

แผนการจดั การเรยี นรู้ เรื่อง คำมลู มนู คำ ภาคเรยี นท่ี 1/2565

สอนวนั ที่......................................... เวลา 1 ชว่ั โมง

............................................................................................................................. .................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้ีวดั

มาตรฐาน ท 4.1

ม.2/2 สรา้ งคำในภาษาไทย

2. สมรรถนะทีต่ อ้ งการ

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร

2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

4. ความสามารถในการทักษะชีวติ

3. สาระสำคญั

คำมูล คือ คำพ้นื ฐานท่ีมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง กล่าวคือ เป็นคำทส่ี รา้ งข้นึ โดยเฉพาะ อาจเป็น

คำไทยดงั้ เดิมหรือเปน็ คำทีม่ าจากภาษาอ่ืน กไ็ ด้ และจะเป็นคำ “พยางค”์ เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้

4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. นักเรยี นสามารถบอกความหมายและลักษณะของคำมูลได้ (K)
2. นักเรยี นสามารถนำคำมลู มาประสมเป็นคำใหม่ได้ (P)
3. นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ (A)

5. สาระการเรยี นรู้
ดา้ นความรู้ (Knowledge) ความรู้เรอื่ งการสร้างคำ
ดา้ นทกั ษะ (Process) การจำแนกประเภทของการสรา้ งคำ
ดา้ นเจตคติ (Attitude) การนำความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจำวัน

6. การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ดว้ ยรูปแบบการจดั การเรยี นรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
กิจกรรมที่ 1 รู้จกั ทักทาย (30 นาท)ี
วธิ ีการดำเนินกิจกรรม
1. ครทู กั ทายนักเรยี น และพูดคยุ กับนักเรียนเพื่อสรา้ งความสมั พนั ธท์ ด่ี ีก่อนเรียน
2. ครูใหน้ ักเรียน Brain gym ดว้ ยกจิ กรรม “น้องชือ่ อะไร?” มีเน้อื เพลงดังนี้
นอ้ งช่อื อะไร น้องชื่ออะไร
นอ้ งชอื่ …. นอ้ งช่อื ….
ทา่ ของนอ้ ง อย่างนี้ อย่างนี้
โดยให้นกั เรียนทำเปน็ รายบุคคล ในขณะที่ทำต้องบอกชือ่ เลน่ ตัวเอง และทำทา่ ทางประกอบ

คนละ 1 ท่า หา้ มซ้ำกนั
3. ครแู จกแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่อง คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อนให้นักเรียนคนละ 1 ชดุ

โดยแบบทดสอบกอ่ นเรียน จำนวน 20 ข้อ ชนดิ ปรนัย 4 ตวั เลอื ก พร้อมท้งั ชี้แจงกติกาให้การทำแบบทดสอบ
กอ่ นเรยี น เพื่อเกิดการเป็นระเบยี บ และเข้าใจได้ตรงกัน ดงั น้ี

- ใหเ้ วลาในการทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เป็นเวลา 20 นาที
- จะหมดเวลาทำแบบทดสอบในเวลา
- ใช้ความร้เู ดิมทม่ี ี ไม่ต้องคำนึงถึงคะแนน
- หา้ มลอกหรือถามเพื่อน
- หากไม่เข้าใจในข้อไหน ให้ยกมือถามครู
กจิ กรรมที่ 2 เตรียมการ (30 นาที)
วธิ ีการดำเนนิ กิจกรรม
1. ครชู แี้ จงวตั ถุประสงค์ในการเรยี นเรื่องการสร้างคำว่าประกอบดว้ ย คำมูล คำประสม คำซ้ำ
และคำซ้อน โดยในชั่วโมงน้จี ะสอนเฉพาะคำมลู ชวั่ โมงต่อๆไปจะเรยี นเร่ือง คำประสม คำซำ้ และคำซ้อน และ
ในการสอนจะมีกิจกรรมเกมเรือ่ ย ๆ ขอใหน้ ักเรียนต้งั ใจเรยี น หา้ มคุยหรือเล่นกนั ขณะท่เี รยี นหรือทำกิจกรรม
2. ครสู อนเร่ือง คำมูล โดยใช้ป้ายคำอิเล็กทรอนกิ ส์
3. ครูใหน้ ักเรียนทำกิจกรรม “ชื่อน้มี ที ่ีมา” โดยการทายชื่อตา่ ง ๆ วา่ แปลว่าอะไร และมีทีม่ า
จากอะไร เช่น ชือ่ จงั หวัด ชื่อละคร ช่อื เล่นนักเรียน เป็นตน้

7. สอ่ื และแหล่งเรียนรู้
1. เพลง “น้องชื่ออะไร?”
2. แบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่อง คำประสม คำซำ้ และคำซ้อน
3. ป้ายคำอเิ ล็กทรอนิกส์

8. การวดั และประเมนิ ผล วิธกี ารวดั และประเมินผล เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการวัด เกณฑ์การประเมนิ
การวดั และประเมนิ ผล ประเมินนกั เรียนจาก แบบทดสอบกอ่ นเรยี น นักเรียนมีคะแนนการ
ทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบก่อนเรยี น เรื่อง คำประสม คำซ้ำ ประเมิน รอ้ ยละ 80
และคำซ้อนชนิดปรนัย 4 ขึ้นไป
ตวั เลือก จำนวน 20 ขอ้

9. ผลการจดั การเรียนรู้
พฤติกรรมการเรยี นรู้ของผเู้ รียน..............................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

สมรรถนะของผเู้ รยี น...............................................................................................................................
............................................................................................................................................ ..................................
................................................................................................ ..............................................................................

คุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผเู้ รียน.....................................................................................................
...................................................................................................................................................................... ........
.......................................................................................................................... ....................................................

จุดเดน่ -จดุ ทคี่ วรพฒั นาของการจัดกิจกรรม............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ขอ้ เสนอแนะในการจดั การเรียนรู้............................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................... ..........................

ลงชอ่ื .................................................................ผ้สู อน
(..................................................................................)

แผนการจดั การเรยี นรู้วิชาภาษาไทย เรื่องคำประสม คำซำ้ และคำซ้อน
ดว้ ยวิธกี ารสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method)

แบบทดสอบกอ่ นเรียน-แบบทดสอบหลงั เรียน

เรื่อง คำประสม คำซำ้ และคำซ้อน

คำชี้แจง ให้นักเรยี นเลอื กคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุด

1. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ความหมายของคำประสม ก. แม่ลกู ข. แม่หลับ ค. แมบ่ า้ น ง. แมน่ อน
ก. เกดิ เปน็ คำใหม่
ข. มีความหมายใหม่ 11. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ความหมายของคำซำ้
ค. ไมม่ เี ค้าของความหมายเดิม
ง. คำทส่ี รา้ งจากคำมลู ตง้ั แตส่ องคำข้นึ ไป ก. เกดิ จากการนาํ คําเดียวกันมาซ้ำกัน

2. ขอ้ ใดไมใ่ ชล่ กั ษณะของคำประสม ข. ในการเขยี นจะใช้เครื่องหมายไมย้ มก (ๆ) แทนคาํ
ก. เกดิ จากคำมูลต้งั แต่สองคำข้ึนไปมาประสมกนั
ข. คำมูลต้งั แตส่ องคำข้นึ ไปรวมกัน ไม่เกิดคำใหม่และ หลัง
ความหมายใหม่
ค. คำมลู ต้ังแตส่ องคำข้ึนไปท่ีนำมาประสมกันจะเปน็ คำ ค. เมอ่ื นำคำมาซำ้ แล้วต้องเกิดเปน็ ความหมายใหม่
มูลในภาษาใดก็ได้
ง. สามารถแยกเปน็ คำ ๆ ได้ และคำท่ีแยกได้แตล่ ะคำมี เท่านน้ั
ความหมายต่างกัน
ง. เมอ่ื กล่าวซำ้ กันแลว้ อาจมีความหมาย เนน้ หนักข้นึ
3. คำในข้อใดเป็นคำประสม
ก. ลูกนก ข. ลูกพอ่ ค. ลูกวิ่ง ง. ลูกเหบ็ หรอื เบาลง หรอื ไม่ก็เปลี่ยนไปเปน็ อยา่ งอ่ืน

4. คำในขอ้ ใดไมเ่ ป็นคำประสม 12. คำในข้อใดไม่มีคำซำ้
ก. น้ำมนั ข. น้ำมือ ค. นำ้ มา ง. น้ำมนต์
ก. สวัสดีคะ่ เพื่อน ๆ ทุกคน
5. คำในข้อใดไมเ่ ป็นคำประสม
ก. ลกู คอ ข. ลูกคดิ ค. ลูกครู ง. ลกู ครงึ่ ข. นาฬกิ าเรอื นนสี้ ๊วยสวย

6. ข้อใดเปน็ คำประสมทเ่ี กิดจากคำไทยประสมกับคำไทย ค. เดก็ คนน้ีด้อื จรงิ ๆ
ก. ไฟฟา้ ข. ทุนทรัพย์ ค. นาดำ ง. ตักบาตร
ง. ดีอกดใี จอะไรนกั หนา
7. ข้อใดเป็นคำประสมที่เกิดจากคำนาม + นาม
ก. กนิ ใจ ข. แม่น้ำ ค. เข็มกลัด ง. น้ำแข็ง 13. “เขาต่อวา่ ฉนั ต่าง ๆ นานา ที่แตง่ เนื้อแตง่ ตัววับ ๆ

8. ขอ้ ใดเป็นคำประสมทเ่ี กิดจากคำกริยา + นาม แวม ๆ แต่ใคร ๆ ท่ีเหน็ ก็มักจะชมเชยว่าฉันสวยสุดและนำ
ก. ยาดม ข. พ่อบ้าน ค. เลน่ ตวั ง. ต้มยำ
สมัยจริง ๆ” ข้อความนี้มีคำซำ้ ก่ีคำ
9. ข้อใดเป็นคำประสมทเ่ี กิดจากคำกรยิ า + กริยา
ก. นอกคอก ข. เข้าใจ ค. หวานเยน็ ง. ต้มยำ ก. 3 คำ ข. 4 คำ

10. คำในข้อใดเป็นคำประสม ค. 5 คำ ง. 6 คำ

14. คำซำ้ ต่อไปน้ี เมื่ออย่ตู ามลำพังใชเ้ ปน็ ประโยคคำสงั่ ได้

ยกเวน้ ขอ้ ใด

ก. ชา้ ๆ ข. เงียบ ๆ

ค. เศรา้ ๆ ง. เบา ๆ

15. ข้อใดเปน็ คำซ้ำทม่ี ีความหมายเปน็ พหูพจน์ 21. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ความหมายของคำซ้อน
ก. พี่ๆ อยูใ่ นห้อง
ข. สดุ าพดู เสยี งดงั๊ ดงั ก. เกิดเป็นคำใหม่
ค. วนั น้ีหน้าเธอดูขาว ๆ เป็นพิเศษนะ
ง. เม่ือวานนอี้ ากาศดีด๊ ี ข. มคี วามหมายใหม่ หรือความหมายชัดเจนข้ึน

16. ขอ้ ใดเป็นคำซ้ำทมี่ คี วามหมายเน้นหนกั หรือเจาะจง ค. เกดิ จากการนำคำมูลตง้ั แต่ 2 คำ ขึ้นไปทม่ี ี
ก. อา่ นๆ เข้าจะได้รเู้ รื่องละเอียด
ข. อภริ ดไี ม่แสดงละครมาเป็นปีๆ แล้ว ความหมายคลา้ ยกันเทา่ นั้น
ค. ธดิ าทานกว๋ ยเตยี๋ วหมดเปน็ ถว้ ยๆ
ง. วันนค้ี ุณครแู ต่งตัวส๊วยสวย ง. เกิดจากการนำคำมูลต้ังแต่ 2 คำ ขน้ึ ไปทมี่ ี

17. ขอ้ ใดเปน็ คำซำ้ ทม่ี คี วามหมายใหม่ ความหมายคล้ายกนั ใกล้เคียงกัน หรอื ตรงกนั
ก. วันนส้ี าว ๆ จะไปเที่ยวไหนกันจะ๊
ข. ช่วงหลัง ๆ มาน่ีเธอดูซบู ไปนะ 22. ขอ้ ใดไมใ่ ช่คำซ้อนที่เกิดจากคำซึ่งมีความหมายตรงข้าม
ค. ข้อสอบวนั น้หี มู ๆ บอกเลย
ง. เดินเรว็ ๆ นะคะนกั เรียน ก. เท็จจรงิ ข. ถ้วยชาม ค. ถกู แพง ง. ทกุ ขส์ ุข

18. ข้อใดเปน็ คำซ้ำทกุ คำ 23. ขอ้ ใดไม่ใช่คำซ้อน
ก. บา้ นเรือน ลูกหลาน สวย ๆ
ข. ก่อกรรม ชา้ ๆ หนา้ ตา ก. ท่าทาง ข. หลายหลาก ค. เหลอื ลน้ ง. ทางหลวง
ค. งู ๆ ปลา ๆ เงยี บเชียบ
ง. รอ้ น ๆ เงยี บ ๆ ตา่ ง ๆ นานา 24. ข้อใดเป็นคำซ้อนท่ีเกดิ จากคำซ่งึ มคี วามหมายเหมือนกัน

19. ข้อใดไม่มคี ำซำ้ ก. บา้ นเรอื น ข. เรือแพ ค. ใจคอ ง. พนี่ อ้ ง
ก. หลานหลานคณุ ยายนา่ รักทกุ คน
ข. คนรวยคอื คนท่ีร้จู ักพอพอใจในส่ิงที่ตนมีอยู่ 25. ขอ้ ใดไม่เปน็ คำซ้อนทเี่ กิดจากคำซ่งึ มีความหมาย
ค. ผมเธอด๊ำดำใช้อะไรบำรุงผม
ง. เน้ือววั ยา่ งทบุ ทุบสักหน่อยทำใหท้ านงา่ ย คลา้ ยกนั

20. คำซ้ำในข้อใดทำหน้าทเี่ ป็นคำนาม ก. เช็ดถู ข. อ้วนผอม ค. ขดั ขวาง ง. อบอนุ่
ก. พ่ี ๆ เรยี กรวมแล้วนะ
ข. ขยับเขา้ มาใกล้ ๆ ฉนั หน่อยสิ 26. ขอ้ ใดเป็นลักษณะของคำซ้อนทเี่ ปน็ คำไทยกลางซ้อนกับ
ค. เธอจะมากิน ๆ นอน ๆ แบบน้ไี ม่ได้นะ
ง. ทำไมเธอถึงชอบทำตัวเหมือนอด ๆ อยาก ๆ จงั คำไทยถนิ่

ก. ใหญ่โต ข. หน้าตา ค. จติ ใจ ง. บาดแผล

27. คำซ้อนในข้อใดไมม่ ีสมั ผสั คูก่ ลาง

ก. โมโหโกรธา ข. ยากเยน็ เข็ญใจ

ค. ล้มหายตายจาก ง. ปากเปยี กปากแฉะ

28. คำซ้อนในข้อใดไมไ่ ดท้ ำหนา้ ท่ีเป็นคำนาม

ก. ขา้ วปลา ข. ฟอ้ นรำ ค. การงาน ง. ไรน่ า

29. คำซอ้ นในข้อใดทำหน้าทเ่ี ป็นคำกรยิ า

ก. ออ่ นแอ ข. ซกั ฟอก ค. สดใส ง. ซือ่ ตรง

30. ขอ้ ใดไมใ่ ช่คำซ้อนเพ่ือเสียง

ก. เกะกะ ข. ขรขุ ระ ค. เก้งก้าง ง. ไดเ้ สีย

ปา้ ยอิเลก็ ทรอนิกส์ เรื่อง คำประสม คำซ้ำ และคำซอ้ น

ตารางแสดงการเปรยี บเทียบผลคะแนนก่อนและหลงั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เร่อื ง คำประสม คำซำ้
และคำซ้อน ดว้ ยวิธกี ารสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method) ของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2

เลขท่ี ชอ่ื -สกุล กอ่ นเรียน หลังเรยี น ผลต่าง ร้อยละ

(30คะแนน) (30คะแนน) ความก้าวหน้า

1 เด็กชาย กมลภพ จติ ตรธี รรม 20 27 7 23.33

2 เด็กชาย กฤษณะกนั ณ์ ขำเอนก 9 21 12 40.00

3 เดก็ ชาย จิรวฒั น์ ภาษิต 10 18 8 26.67

4 เดก็ ชาย จริ วฒั น์ สินสพุ รรณ์ 10 22 12 40.00

5 เด็กชาย ชลกร ไทยกลาง 13 24 11 36.67

6 เด็กชาย ชตุ พิ งศ์ อินพะเนาว์ 9 20 11 36.67

7 เดก็ ชาย ณัฐกานต์ ทองงาม 9 22 13 43.33

8 เด็กชาย ณฐั กติ ติ์ หวลโคกสงู 21 29 8 26.67

9 เดก็ ชาย ณัฐพฒั น์ เตสะ 7 20 13 43.33

10 เดก็ ชาย ณฐั ภทั ร ฉิมจารย์ 20 26 6 20.00

11 เดก็ ชาย นัดตะวนั หวังดี 13 20 7 23.33

12 เดก็ ชาย บณุ ยภัทร อดุ มชวโรจน์ 10 17 7 23.33

13 เดก็ ชาย พนั ธวธั น์ ร่งุ ไรโคก 12 20 8 26.67

14 เด็กชาย รชั พล พรยา 7 17 10 33.33

15 เดก็ ชาย รัฐศาสตร์ ปะนามะทงั 5 16 11 36.67

16 เดก็ ชาย วุฒภิ ัทร บุญตาม 10 19 9 30.00

17 เดก็ ชาย สันติภาพ เก่งสนั เทียะ 8 18 10 33.33

18 เดก็ ชาย สรุ ศักด์ิ หากระสัง 10 19 9 30.00

19 เดก็ ชาย อรยิ ทรัพย์ พรานกลาง 14 21 7 23.33

20 เด็กหญงิ กนกพรรณ สงวนพิมพ์ 6 16 10 33.33

21 เดก็ หญิง กนกวรรณ เสาวพันธ์ 15 21 6 20.00

22 เดก็ หญงิ กวนิ ตรา ฉวรี ัมย์ 10 18 8 26.67

23 เดก็ หญงิ จริ นันท์ คึมยะราช 17 25 8 26.67

24 เด็กหญงิ ชญาดา เที่ยงกระโทก 18 26 8 26.67

25 เด็กหญิง ชญาภรณ์ สรภมู ิ 19 26 7 23.33

26 เด็กหญงิ ชญั ญานชุ คงอนุ่ 18 25 7 23.33

เลขท่ี ชื่อ-สกุล กอ่ นเรยี น หลังเรยี น ผลต่าง รอ้ ยละ

(30คะแนน) (30คะแนน) ความก้าวหนา้

27 เดก็ หญิง ธนัญชนก คงอ่นุ 18 25 7 23.33

28 เด็กหญิง ธญิ าภรณ์ อรุณพาส 22 28 6 20.00

29 เด็กหญงิ นภสั วรรณ ทาจนั ทึก 13 21 8 26.67

30 เด็กหญงิ นนั ท์นภสั ศรีประดู่ 9 18 9 30.00

31 เด็กหญิง นติ ยา เตง็ กลาง 14 21 7 23.33

32 เด็กหญงิ นีรนุช ผวิ ผักแว่น 14 23 9 30.00

33 เด็กหญงิ ปรยี ารตั น์ อ่อนศรี 13 22 9 30.00

34 เดก็ หญิง ปัญจพาณ์ สรุ ิยพันธ์ุ 12 27 12 40.00

35 เด็กหญงิ ปยิ ะรตั น์ หงษโ์ ยธี 14 21 7 23.33

36 เดก็ หญงิ พราวนภา ศิริกำเนิด 12 20 8 26.67

37 เดก็ หญิง วาสนา ศรีคลัง 11 19 8 26.67

38 เดก็ หญงิ วิลาสนิ ี ปล้ืมหมู่ 12 18 6 20.00

39 เดก็ หญิง วีรจีเนยี จจี ี ตอรเ์ ร 18 20 2 6.67

40 เด็กหญิง ศภุ ารตั น์ ญาตสิ มบูรณ์ 17 24 7 23.33

41 เด็กหญิง อภสั รา ดวงฉมิ มา 19 25 6 20.00

42 เดก็ หญิง อรพรรณ เทยี บทอง 19 24 5 16.67

43 เดก็ หญงิ อรญิ ชยา พรมดษิ ฐ์ 18 23 5 16.67

44 เดก็ หญงิ อรศิ ราภรณ์ ค้าสุกร 19 24 5 16.67

̅ 13.50 21.66 8.16 27.20
S.D. 4.52 3.31 2.33 7.77

รอ้ ยละ 45 72.20 27.20 90.66

ตารางท่ี 2 เปรียบเทยี บผลคะแนนก่อนและหลงั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เรือ่ ง คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อน

ด้วยวธิ ีการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method) ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2

การทดสอบ จำนวนนักเรียน ̅ S.D. df คา่ t
13.50 4.52 43 -23.21 *
กอ่ นเรียน 44

หลังเรียน 44 21.66 3.31

*นัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดบั .05

ทฤษฎที เ่ี กี่ยวข้องกับการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method)
หลักการ แนวคดิ ทฤษฎีทเี่ กย่ี วข้องกบั การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method)

การสอนแบบการแสวงหาความรูเ้ ป็นฐาน หมายถึง การสอนให้นักเรียนสบื เสาะหาคำตอบของปัญหาจากการ
รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ แล้วสรุปเป็นคำตอบ และทดสอบว่าคำตอบหรือข้อสรุปนั้นถูกต้องหรือไม่ ทำให้นักเรียนเกิดการ
เรยี นรู้ขน้ึ ได้ด้วยตนเอง

การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้
ความหมายและแนวคดิ เกี่ยวกับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method)

การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้มผี ูใ้ ห้ความหมายและแนวคดิ หลากหลาย ดงั นี้
ดวงเดือน เทศวานิช (2535) กลา่ ววา่ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้เปน็ รูปแบบการสอนที่เน้นทักษะการคิด
อย่างมรี ะบบ โดยคำนึงถงึ ความสมั พันธ์ระหว่างเหตุและผล ซงึ่ ต้องมหี ลักฐานสนับสนนุ วธิ ีน้ีเป็นวิธีท่ีนักเรียนพิจารณา
เหตุผล สามารถใชค้ ำถามท่ีถูกต้องและคล่องแคล่วสามารถสร้างและทดสอบสมมตฐิ านดว้ ยการทดลอง และตคี วามจาก
การทดลองด้วยตนเอง โดยไม่ขึ้นอยู่กับคำอธิบายของครู เป็นวิธีการที่ช่วยให้นักเรียนมีระบบวิธีการแก้ปัญหาในทาง
วิทยาศาสตร์ดว้ ยตนเอง
สมจิต สวธนไพบูลย์ (2541) กลา่ ววา่ หลักการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ผู้เรยี นจะตอ้ งเปน็ ผู้คน้ ควา้ หาความรู้
จะโดยทางตรงหรือทางอ้อมก็ตาม ส่วนครูจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกแนะนำและให้ความช่วยเหลือเท่าที่จำเป็น
ประกอบดว้ ยกระบวนการทสี่ ำคัญ ได้แก่ การสำรวจ และการสร้างองคค์ วามรู้
ชลสีต์ จันทาสี (2543) สรุปความหมายของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ไว้ว่าการสอนแบบสืบเสาะหา
ความรู้เป็นวิธีการที่มุ่งส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการแสวงหาความรู้
ซึ่งครมู หี น้าท่ีเพยี งเป็นผู้คอยให้ความชว่ ยเหลือ จัดเตรียมสภาพการณ์และกิจกรรมให้เอื้อตอ่ กระบวนการที่ฝึกให้คิดหา
เหตุผล สบื เสาะหาความรู้ รวมทงั้ การแกป้ ญั หาใหไ้ ด้โดยใช้คำถามและส่อื การเรยี นการสอนต่าง ๆ
กู๊ด (Good. 1973) ได้ใหค้ วามหมายของการสอนแบบการสืบเสาะหาความรูว้ า่ เป็นเทคนิคหรือกลวธิ ีอย่างหน่ึง
ในการจัดให้เกิดการเรียนรู้เนื้อหาบางอย่างของวิชาวิทยาศาสตร์ โดยกระตุ้นให้นักเรียนมีความอยากรูอ้ ยากเห็น เสาะ
แสวงหาความรู้โดยการถามคำถาม และพยายามค้นหาคำตอบใหพ้ บดว้ ยตนเอง
ดังนั้นกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process) เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรยี นสร้างองค์ความรู้
ใหมด่ ว้ ยตนเอง โดยผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิ

รปู แบบการสอนแบบการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method)

การขยายความรู้ การประเมนิ ผล
(Elaborate) (Evaluate)

การสํารวจและ การอธบิ าย
คน้ หา (Explore) (Explain)

การสรา้ ง

ความสนใจ
(Engage)

1) การสร้างความสนใจ (Engage)
ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการเรียนรู้ที่จะนำเข้าสู่บทเรียน จุดประสงค์ที่สำคัญของขั้นตอนนี้ คือ
ทำให้ผู้เรียนสนใจ ใคร่รู้ในกิจกรรมที่จะนำเข้าสู่บทเรียน ควรจะเชื่อมโยงประสบการณ์การเรียนรู้เดิมกับปัจจุบัน และ
ควรเป็นกิจกรรมที่คาดว่ากำลังจะเกิดขึ้น ซึ่งทำให้ผู้เรียนสนใจจดจ่อที่จะศึกษาความคิดรวบยอด กระบวนการ หรือ
ทกั ษะ และเริม่ คดิ เชอ่ื มโยงความคดิ รวบยอด กระบวนการ หรือทกั ษะกบั ประสบการณเ์ ดิม

2) การสำรวจและคน้ หา (Explore) ขัน้ ตอนนี้เปน็ ขั้นตอนท่ีทำใหผ้ ้เู รยี นมีประสบการณร์ ว่ มกันในการสร้างและ
พัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะ โดยการให้เวลาและโอกาสแก่ผู้เรียนในการทำกิจกรรมการสำรวจ
และค้นหาสิ่งที่ผู้เรียนต้องการเรียนรู้ตามความคิดเห็นผู้เรียนแต่ละคน หลังจากนั้นผู้เรียนแต่ละคนได้อภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการคิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะในระหว่างที่ผู้เรียนทำกิจกรรมสำรวจ

และค้นหา เป็นโอกาสที่ผู้เรียนจะได้ตรวจสอบหรือเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความคิดรวบยอดของผู้เรียน
ทย่ี ังไมถ่ ูกต้องและยังไม่สมบรู ณ์

3) การอธิบาย (Explain) ขั้นตอนนีเ้ ปน็ ข้ันตอนทีใ่ หผ้ ู้เรียนได้พัฒนาความ สามารถในการอธิบายความคิดรวบ
ยอดทไ่ี ดจ้ ากการสำรวจและค้นหา ครคู วรใหโ้ อกาสแกผ่ ูเ้ รยี นไดอ้ ภปิ รายแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ กนั เก่ยี วกบั ทักษะหรือ
พฤติกรรมการเรียนรู้ การอธิบายนั้นต้องการให้ผู้เรียนได้ใช้ข้อสรุปร่วมกันในการเช่ือมโยงสิ่งที่เรียนรู้ ในช่วงเวลาที่
เหมาะสมนี้ครูควรชี้แนะผู้เรียนเกี่ยวกับการสรุปและการอธิบายรายละเอียด แต่อย่างไรก็ตามครูควรระลึกอยู่เสมอว่า
กิจกรรมเหล่านี้ยังคงเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง นั่นคือ ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถในการอธิบายด้วยตัวผู้เรียนเอง
บทบาทของครูเพียงแต่ชี้แนะผ่านทางกิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสอย่างเต็มที่ในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจใน
ความคิดรวบยอดให้ชัดเจน ในที่สุดผู้เรียนควรจะสามารถอธิบายความคิดรวบยอดได้อย่างเข้าใจ โดยเชื่อมโยง
ประสบการณ์ ความรู้เดิมและสงิ่ ทเ่ี รยี นรูเ้ ข้าดว้ ยกัน

4) การขยายความรู้ (Elaborate) ข้ันตอนนีเ้ ปน็ ขน้ั ตอนที่ให้ผเู้ รยี นไดย้ นื ยนั และขยายหรอื เพม่ิ เติมความรู้ความ
เข้าใจในความคิดรวบยอดให้กวา้ งขวางและลึกซ้ึงยิ่งขึ้น และยงั เปิดโอกาสให้ผู้เรยี นไดฝ้ ึกทักษะและปฏิบัติตามท่ีผู้เรียน
ต้องการ ในกรณีที่ผู้เรียนไม่เข้าใจหรือยังสับสนอยู่หรืออาจจะเข้าใจเฉพาะข้อสรุปที่ได้จากการปฏิบัติการสำรวจและ
ค้นหาเทา่ น้ัน ควรให้ประสบการณใ์ หม่ผเู้ รียนจะได้พัฒนาความรู้ความเขา้ ใจในความคดิ รวบยอดให้กว้างขวางและลึกซึ้ง
ยิ่งขึ้น เป้าหมายที่สำคัญของขั้นนี้ คือ ครูควรชี้แนะให้ผู้เรียนได้นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน จะทำให้ผู้เรียนเกิด
ความคิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะเพ่มิ ขึ้น

5) การประเมินผล (Evaluate) ขนั้ ตอนนี้ผ้เู รยี นจะไดร้ บั ข้อมูลย้อนกลับเก่ยี วกบั การอธิบายความรู้ความเข้าใจ
ของตนเอง ระหว่างการเรียนการสอนในข้ันนี้ของรูปแบบการสอน ครูต้องกระตุ้นหรือส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนประเมินความรู้
ความเข้าใจและความสามารถของตนเอง และยังเปิดโอกาสให้ครูได้ประเมินความรู้ความเข้าใจและพัฒนาทักษะของ
ผู้เรียนด้วย

ภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ภู าษาไทย เรื่อง คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อน
ดว้ ยวิธกี ารสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method) ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 2

วิจัยในชั้นเรียน

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง คำประสม คำซ้ำ และคำซ้อน
ด้วยวิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method)
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2


Click to View FlipBook Version