จดุ ประกายคิดพชิ ติ ฝน� สรา้ งสรรค์นวตั กรรมเพอ่ื ชมุ ชน
ชาคริยา ชายเกล้ียง
จุดประกายคดิ
ย ุ ท ธ ศ า ส ต ร ์ ช า ต ิ ร ะ ย ะ 20 ป � เ ป � น ก ร อ บ
การพัฒนาระยะยาวเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศ
มคี วามมนั่ คง ม่งั คง่ั ยงั่ ยืน เป�นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการ
พฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” เพื่อความสุขของ
คนไทยทุกคน ซึ่งเป�นการวางแผน
กบั การเปลี่ยนแปลงทมี่ ีอย่างรวดเรว็ ซบั ซ้อน หลายมิติ และจะ
ส่งผลต่ออนาคตการพัฒนาประเทศไทย ซึ่งมองว่าคนไทย
จะต้อง “รู้เท่าทัน” และ “เข้าใจ” บริบทต่าง ๆ อย่างลึกซึ้ง
และการศึกษาของคนไทยเป�นสิ่งสำคัญของการพัฒนานี้ จงึ
จำเป�นต้องปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา และการเรียนรู้ให้
ตอบสนองความต้องการในการพัฒนาตนเอง มีการแสวงหา
ความรู้เพื่อยกระดับศักยภาพของตนที่นอกเหนือจากระบบ
การศึกษามาตรฐาน จึงมีการปฏิรูปการศึกษาให้สามารถ
ร อ ง ร ั บ เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ ค ว า ม ต ้ อ ง ก า ร
ของผู้เรียนที่จะเปลี่ยนไปในอนาคต ซึ่งคนไทย
ในอนาคตต้องเป�นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ มีความพรอ้ มทง้ั กายใจ สตปิ �ญญา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชวี ิต มีทักษะใน
ศตวรรษที่ 21 มีความรู้ และทักษะหลากหลาย คิดวิเคราะห์แยกแยะ และเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง โดยยึด
ประโยชน์ส่วนรวม สุขภาพกายใจดี มีคุณธรรม การออกแบบระบบการเรียนใหม่โดยเปลี่ยนบทบาทของครู
เพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบบริหารจัดการศกึ ษา และพัฒนาระบบการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ (สำนักงานเลขาธิการสภา
การศกึ ษา, 2560)
การเข้าร่วมประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Programme for International Student
Assessment หรือ PISA) ของประเทศไทยนั้นเป�นส่วนหนึง่ ท่ีจะพัฒนานักเรียนให้ใช้ความรู้ และทักษะในชีวิตจรงิ
แลว้ ยังเป�นการตรวจสอบคุณภาพของระบบการศึกษาร่วมกบั ประเทศทวั่ โลกมากกว่า 80 ประเทศ ซง่ึ คาดหวัง
ว่าสมรรถนะของนักเรียนวัยเรียนจบการศึกษาภาคบังคับของชาติ จะมีความรู้ และทักษะที่จำเป�นสำหรับ
อนาคต โดยใชม้ าตรฐานของประเทศทีพ่ ัฒนาแล้วเป�นเกณฑ์ช้ีวัดผลสัมฤทธ์ิ
แนวโนม้ ผลการประเมิน PISA ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ของนักเรยี นไทย
ดา้ นการประเมิน PISA 2012 PISA 2015 PISA 2018
การอา่ น 427 409 393
คณิตศาสตร์ 441 415 419
วิทยาศาสตร์ 444 421 426
จากผลการวิเคราะห์มีข้อสังเกตว่า ความฉลาดรู้ด้านการอ่านมีความสัมพันธ์กับความฉลาดรู้
ดา้ นคณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์แต่แนวโน้มคะแนนการอ่านของไทยลดลงอย่างต่อเน่ือง เม่อื นำผลการประเมิน
PISA 2018 ของไทยเทียบกับค่าเฉลี่ย OECD พบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยในด้านการอ่าน 393 คะแนน
(ค่าเฉลี่ย OECD 487 คะแนน) คณิตศาสตร์ 419คะแนน (ค่าเฉลี่ย OECD 489) และวิทยาศาสตร์ 426
คะแนน (ค่าเฉลี่ย OECD 489 คะแนน) ซึ่งมีคะแนนตำ่ กวา่ ค่าเฉลี่ย OECD ทั้งสามด้าน ชี้ให้เห็นว่า นักเรียน
ไทยยังมีความรู้ และทักษะที่ไม่เพยี งพอต่อการดำรงชีวติ ในโลกที่มีการเปล่ียนแปลง (สถาบันส่งเสริมการสอน
วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 2564)
นักวิชาการ นักการศึกษา ร่วมกันหาวิธีการที่จะพฒั นาระบบการจัดการศกึ ษา สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ตระหนัก และเห็นความสำคญั ของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้ จงึ ได้ดำเนินการส่งเสริมทกั ษะกระบวนการคิดของนักเรยี น โดยการเขา้ รว่ มเป�นเครือข่ายพัฒนาทักษะ
การคดิ สรา้ งสรรค์ และคิดวเิ คราะหข์ องนกั เรยี นกับมูลนิธเิ พ่อื ทักษะแห่งอนาคต และมหาวิทยาลยั ศรปี ทุม โดย
สร้างประสบการณ์การใช้เครื่องมือ ทดลองใช้เครื่องมืออย่างเข้มข้นเพื่อเป�นครูต้นแบบ และเป�นทีมโค้ช
(Coach) ให้กับ 2 โรง คือ โรงเรียนระโนด และโรงเรียนคลองแดนวิทยา ผลการพัฒนาครูในครั้งน้ีพบว่า
ครูผู้สอน มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ เปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นการบูรณาการแบบมีส่วนร่วม ออกแบบ
กิจกรรมที่เน้นกระบวนการให้นักเรียนฝ�กสังเกต ตอบคำถาม นำเสนอ แก้ป�ญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ
คิดวเิ คราะห์จำแนกแยกแยะข้อมูลออกเปน� ส่วน ๆ เชอื่ มโยงองค์ความรู้ในชีวิตประจำวนั นกั เรียนทุกคนได้ลง
มอื ปฏบิ ัติจริงด้วยตนเอง นักเรียนมีสว่ นร่วมในการเรยี นรู้ รู้จักวางแผนการจัดระบบการคิด และนำมาต่อยอด
ใหเ้ กดิ ความคิดใหม่ มอี ิสระในการคิด การนำเสนอความคดิ ของตนเอง มที ักษะ ในการสงั เกต การซักถาม การ
ตอบคำถาม การคิดหาคำตอบในเรื่องต่าง ๆ รวมทั้งคิดค้นหาคำตอบ และวิธีการใหม่ ๆ ฝ�กการคิดรอบด้าน
อย่างมเี หตผุ ล ฝ�กการระดมสมองในการทำงานรว่ มกับผอู้ ่ืน และสามารถนำความรนู้ ีม้ าปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวัน
ส่งผลให้ผลการประเมินความคิดสร้างสรรค์และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ปรากฏดังตาราง
ค่าเฉลย่ี ค่าเฉล่ีย คา่ เฉลีย่
คะแนน ระดับสถานศึกษา ระดบั ภาคใต้ ระดับประเทศ
ก่อน หลงั ผลต่าง ก่อน หลัง ผลต่าง กอ่ น หลงั ผลต่าง
โรงเรียน
ระโนด 9.30 11.38 2.08 10.16 10.42 0.26 8.77 9.16 0.39
คลองแดนวิทยา 10.54 11.24 0.70
ท่ีมา: ผลการประเมนิ ในระบบฐานขอ้ มลู ของมูลนิธิเพอ่ื ทกั ษะแห่งอนาคต
สรุปผลจากตารางพบว่า นักเรียนโรงเรียนระโนดมีค่าเฉลี่ยก่อนพัฒนาโดยใช้โครงงานนวัตกรรม
เพื่อชมุ ชน 9.30 หลงั พัฒนา 11.38 โรงเรยี นคลองแดนวิทยามคี ่าเฉล่ียกอ่ นการพฒั นา 10.54 และหลังพัฒนา
11.24 แสดงว่านักเรียนท้ังสองโรงเรยี นมผี ลการประเมินความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละการคิดวเิ คราะหส์ ูงขนึ้ และเม่ือ
เทียบกับระดบั ภาคใตแ้ ละระดบั ประเทศนกั เรียนมีคะแนนสงู กว่าทั้งระดับภาคใตแ้ ละระดับประเทศ
จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าครู และนักเรียนมีแนวโน้มในการพัฒนาที่ดี สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูลจึงขยายผลโครงการตามความสมัครใจให้กับสถานศึกษา และครู ในสังกัด
เพิ่มขึ้น เพื่อเป�นการเตรียมความพร้อมนักเรียนให้มีทักษะจำเป�นในศตวรรษที่ 21 นำไปสู่ความเป�นเลิศด้าน
วชิ าการ มีขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
พิชติ ฝ�น
วตั ถุประสงค์
1. สนับสนุนสถานศึกษาให้เกิดสภาพแวดล้อมและกลไกการทำงานที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการดว้ ยโครงงานนวัตกรรมเพ่อื ชุมชน
2. สง่ เสริมใหค้ รเู ปลี่ยนบทบาทจากครผู ู้สอนเปน� โค้ช (Facilitator) จัดการเรยี นรแู้ บบ Active Leaning
(การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้วยโครงงานนวัตกรรมเพื่อชุมชน) นำผลการจัดการเรียนรู้
มาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) ร่วมกันแก้ป�ญหาและพัฒนานวัตกรรมที่จะ
ส่งผลตอ่ คุณภาพของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
3. พัฒนานักเรียน ด้านทักษะกระบวนการคิด ทักษะที่จำเป�นในศตวรรษที่ 21 (3Rsx8Cs) ร่วมกัน
สรา้ งสรรค์นวัตกรรมเพอ่ื ชมุ ชน
เปา้ หมาย
โรงเรยี นในสังกัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล ที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 21
โรงเรียน แบง่ ตามสหวิทยาเขต ดังนี้
สหวิทยาเขตสองทะเล จำนวน 8 โรง ได้แก่ โรงเรียนระโนด โรงเรียนคลองแดนวิทยา โรงเรียน
ตะเครียะวิทยาคม โรงเรียนระโนดวิทยา โรงเรียนสงขลาวิทยาคม โรงเรียนธรรมโฆสิต โรงเรียนชะแล้นิมิตวิทยา
และโรงเรียนสามบ่อวิทยา
สหวิทยาเขตอันดามนั จำนวน 4 โรง ไดแ้ ก่ โรงเรยี นวิทยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวิทยาลยั สตลู โรงเรียน
กำแพงวิทยา โรงเรียนปาลม์ พฒั นวิทย์ และโรงเรียนทา่ แพผดงุ วทิ ย์
สหวิทยาเขตนครหาดใหญ่ จำนวน 2 โรง ได้แก่ โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ โรงเรยี นควนเนียงวิทยา
สหวิทยาเขตทักษิณ จำนวน 7 โรง ได้แก่ โรงเรียนจะนะวิทยา โรงเรียนจะนะชนูปถัมภ์ โรงเรียน
ทับช้างวิทยาคม โรงเรียนจะโหนงพิทยาคม โรงเรียนสะบา้ ย้อยวิทยา โรงเรียนสะเดา “ขรรค์ชัยกัมพลานนท์
อนสุ รณ์” และโรงเรียนนาทววี ทิ ยาคม
สร้างสรรคน์ วัตกรรมเพ่อื ชุมชน
ขนั้ ท่ี 1 การวางแผน
(Plan)
1. การศึกษา สภาพ
ป�ญหา บริบทของการ
จัดการเรียนรู้ของโรงเรียน
จากการนิเทศ ติดตาม
การสังเกตชั้นเรียน ของ
โรงเรียนระโนด และ
โรงเรียนคลองแดนวิทยา
ที่สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับมูลนิธิเพื่อทักษะแห่งชีวิต และมหาวิทยาลัยศรีปทุม คัดเลือกเพื่อนำร่อง
พัฒนาการจัดการเรียนรดู้ ้วยโครงงานนวตั กรรมเพื่อชุมชน
2. จัดทำโครงการ “การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงในนักเรียนมัธยมศึกษาด้วยการพัฒนาต้นแบบ
“เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาแหง่ การเรยี นรู้"
3. สำรวจโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ ฯ (ขยายผล) ตามความสมัครใจ ซ่ึงมีโรงเรยี นนำร่อง 2 โรง และ
สมัครเพิม่ รุ่นขยายผล จำนวน 19 โรง (30 เม.ย. 64) รวมทงั้ สน้ิ 21 โรง
4. วางแผนร่วมกันระหวา่ งสำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู มลู นธิ ิเพือ่
ทักษะแห่งชีวติ มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม ศกึ ษานเิ ทศก์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น และคณะทำงาน (21,24 พ.ค. 64)
ข้ันท่ี 2 การให้ความรู้ (Inform)
การให้ความรู้ครทู ่ีสมัครเขา้ ร่วมพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ โดยการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารสรา้ งความเข้าใจ
เกี่ยวกับการจัดการเรียนรแู้ บบบรู ณาการด้วย“โครงงานนวัตกรรมเพือ่ ชมุ ชน” ทั้ง 21 โรง ซง่ึ จัดอบรมทง้ั แบบ
ออนไลน์ (Online) และ แบบออนไซต์ (On -Site) ตามความพรอ้ มของโรงเรยี น ระหว่างวนั ท่ี 11 ม.ิ ย. 64 ถึง
19 กุมภาพนั ธ์ 65 โดยมวี ทิ ยากรหลักคือ นางสาวชาครยิ า ชายเกลยี้ ง ศกึ ษานิเทศกส์ ำนักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล และวิทยากรครแู กนนำ รนุ่ 1 (โรงเรยี นระโนด และโรงเรยี นคลองแดนวิทยา)
ไดแ้ ก่
1. นางอุบลรัตน์บุญชู ครูกล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรยี นระโนด
2. นางสาวเพ็ญณี สาลเี กษตร ครกู ลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นระโนด
3. นายยุทธภพ เรอื งฤทธิ์ ครกู ลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย โรงเรียนคลองแดนวิทยา
4. นางสาวกอราฎี กอเฉม ครกู ลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนคลองแดนวิทยา
ข้ันท่ี 3 การดำเนินการนเิ ทศ (Do)
ลงพ้ืนท่ี ตดิ ตาม เสรมิ หนนุ นเิ ทศตดิ ตาม เสรมิ พลงั ตัง้ แตว่ ันท่ี 2 กุมภาพันธ์ 2565 – 22 มนี าคม 2565
ข้ันที่ 4 การสรา้ งชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC)
สถานศกึ ษาแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ที่สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา (22 กรกฎาคม 2565)
1. รวมกล่มุ โรงเรียนตามสหวิทยาเขต
2. รว่ มกันเสนอผลการจดั การเรยี นรดู้ ว้ ยโครงงานนวตั กรรมเพ่ือชุมชน/ปญ� หา/
ความต้องการในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
3. ร่วมกนั หาแนวทางในการแกป้ �ญหา และพฒั นานวตั กรรมของนักเรยี น
ข้ันที่ 5 การทบทวน ปรบั ปรุงและพัฒนาต่อยอด (Accountability)
จัดประชุมแบบออนไลน์ Zoom Meeting สะท้อนผลการนเิ ทศ ถอดบทเรยี นการจดั การเรียนรู้
โครงงานนวัตกรรมเพ่อื ชุมชน ของโรงเรยี นทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการท้ัง 21 โรง สรปุ และรายงานผลการนิเทศ และ
วางแผนขยายผลพฒั นาต่อยอดในรุ่นต่อไป
บทสรปุ จดุ ประกายคิดพิชิตฝ�นสรา้ งสรรค์นวัตกรรมเพอ่ื ชุมชน
จากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โครงงานนวัตกรรมเพื่อชุมชนของสถานศกึ ษา ครู และนกั เรยี น ที่เข้า
รว่ มโครงการฯ ท้ัง 21 แหง่ พบวา่
1. สถานศกึ ษาส่งเสริมให้ครจู ัดการเรียนร้แู บบบรู ณาการหลากหลายรูปแบบ
บรู ณาการข้ามกลมุ่ สาระ เช่น ภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ศิลปะ การงานอาชพี
จดั การเรยี นร้ใู นวิชาโครงงาน ชมุ นุม และ บูรณาการวิชา IS เปน� ตน้
2. ครูเปลย่ี นรูปแบบการจดั การเรียนรูโ้ ดยเน้นให้นักเรยี นลงมอื ปฏิบัติจรงิ
ครูผู้สอน มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ เปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นการบูรณาการแบบมีส่วนร่วม
ออกแบบกจิ กรรมทเ่ี น้นกระบวนการใหน้ ักเรียนฝ�กสงั เกต ตอบคำถาม นำเสนอ แกป้ �ญหาในสถานการณต์ า่ ง ๆ
คดิ วเิ คราะห์จำแนกแยกแยะข้อมลู ออกเป�นส่วน ๆ เช่อื มโยงองคค์ วามรู้ในชีวิตประจำวนั เนน้ นกั เรียนทกุ คนได้
ลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริงด้วยตนเอง
3. นกั เรียนเรยี นรู้อยา่ งมคี วามสขุ สามารถสรา้ งนวัตกรรมเพอื่ ชุมชน ได้อย่างน้อย 1 นวัตกรรม
นักเรยี น มสี ว่ นรว่ มในการเรียนรู้ ร้จู ักวางแผนการจัดระบบการคิด และนำมาต่อยอดให้เกดิ
ความคิดใหม่ ลงมือปฏบิ ตั ิจริงดว้ ยตนเอง มอี สิ ระในการคิด การนำเสนอความคิดของตนเอง มีทกั ษะ ในการ
สงั เกต การซกั ถาม การตอบคำถาม การคิดหาคำตอบในเร่อื งต่าง ๆ รวมท้งั คดิ คน้ หาคำตอบ และวิธีการใหม่ ๆ
ฝ�กการคดิ รอบด้านอย่างมีเหตุผล ฝก� การระดมสมองในการทำงานรว่ มกับผ้อู ่นื และสามารถนำความรู้นม้ี าปรับ
ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
ช่ือนวัตกรรมเพ่อื ชุมชน
สหวทิ ยาเขต โรงเรียน ชื่อนวตั กรรม
เครือ่ งทำความสะอาดไขเ่ ป�ดเพอ่ื ชมุ ชน
สองทะเล ระโนด การพัฒนาผู้เรยี นดว้ ยกระบวนการเสรมิ สร้าง
ทักษะความคดิ สรา้ งสรรค์และคิดวิเคราะหใ์ น
คลองแดนวิทยา ชน้ั เรียนโดยใช้ KIDDEE Model
รถเกบ็ ขยะกง่ึ อัจฉรยิ ะ
อันดามนั ตะเครียะวทิ ยาคม Ranodwit kid Innovation (กระถางใยตาล)
ระโนดวทิ ยา ขยะกำจดั ขยะ
นครหาดใหญ่ สงขลาวทิ ยาคม Mr.Nut
ทักษณิ ธรรมโฆสิต เครอ่ื งทำกระถางต้นไม้
ชะแลน้ มิ ติ วิทยา เครื่องเปด� มะพรา้ วมหศั จรรย์
สามบอ่ วทิ ยา ถงั หมักขยะอนิ ทรยี ป์ ราศจากกลิ่น
วิทยาศาสตร์จฬุ าภรณราชวิทยาลยั สตูล Bring bottle
กำแพงวทิ ยา ธูปไลย่ งุ จากดอกปาล์มตัวผู้และชาสามเกลอ
ปาลม์ พัฒนวทิ ย์ สบ่เู หลวสมุนไพร
ทา่ แพผดงุ วทิ ย์ Upcycling (รัดเกลา้ ยอด)
หาดใหญร่ ัฐประชาสรรค์ Kee Chang Packaging
ควนเนียงวิทยา NORWOR MASSAGE OIL
จะนะวิทยา ซชู ขิ า้ วดอกรายชาวเลพนื้ เพชาวสะกอม
จะนะชนปู ถัมภ์ นวัตกรรมลูกชา้ ง
ทบั ชา้ งวิทยาคม ยาดมสม้ จี๊ด
จะโหนงพิทยาคม เครอ่ื งค่ัวกาแฟ
สะบา้ ยอ้ ยวิทยา ผงสยี อ้ มผ้าจากยางกล้วย
สะเดา “ขรรคช์ ัยกัมพลานนทอ์ นุสรณ”์ บู้บ้แี มชชนี
นาทวีวทิ ยาคม
เอกสารอา้ งอิง
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลย.ี (2564). ผลการประเมนิ PISA 2018 การอ่าน
คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579.
กรุงเทพมหานคร: สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา.