The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pim_d19, 2021-02-21 21:54:38

farmer06

farmer06

ผักสมุนไพร

รวบรวมโดย บุษราคัม อดุ มศกั ด์ิ

สมนุ ไพรไทยนม้ี คี า มาก
พระเจา อยหู วั ทรงฝากใหร กั ษา

แตป ยู า ตายายใชก นั มา
ควรลกู หลานรรู กั ษาใชส บื ไป
เปน เอกลกั ษณข องชาตคิ วรศกึ ษา
วิจัยยาประยกุ ตใ ชใ หเ หมาะสมยั
รูป ระโยชนร โู ทษสมนุ ไพร
เพอ่ื คนไทยอยรู อดตลอดกาล
พระราชนพิ นธส มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าสยามบรมราชกมุ ารี

ผกั สมนุ ไพร 2

คาํ นาํ

สมุนไพรเปนตํารบั ยาพน้ื บา นทค่ี นไทยรจู กั และใชก นั มานานตง้ั แตส มยั
ปูยาตายาย ซึ่งการรักษาทางการแพทยแผนใหมยังไมพัฒนา คนไทยโดยเฉพาะใน
ชนบทไดร จู กั นําเอาของทม่ี อี ยใู กลต วั มาใชร กั ษาโรคภยั ไขเ จบ็ โดยเริม่ จากประสบการณ
การลองผิดลองถูกและไดมีการบอกเลาตอๆกัน และไดม กี ารรวบรวมเปน ตําราเกดิ ขน้ึ
จนกระทั่งถึงยุคการแพทยกาวหนาสมุนไพรดูจะหางหายไปจากชีวิตประจําวันของคน
ไทย การรกั ษาโดยยาทเ่ี ปน สารสงั เคราะหต า งๆ ไดเขามามีบทบาทแทน จะหลงเหลือ
อยูบางก็เฉพาะชนบทที่หางไกลเทานั้น แตในปจจุบันคนทั่วไปรวมถึงวงการแพทย เรม่ิ
ตระหนักถึงพิษภัยการรักษาดวยยาท่ีเปนสารสังเคราะหทางเคมีวามีการตกคางและ
ผลขางเคียงในอันที่จะกอใหเกิดโรคอื่นตามมาสมุนไพรจึงกลับมาไดรับความสนใจ
อีกคร้ัง เชนเมื่อไมนานน้ีทางองคการเภสัชก็ไดผลิตขมิ้นชันเปนยาแคปซูลเพื่อรักษา
โรคระบบกระเพาะอาหารขึน้ จาํ หนายแลว

ในการรวบรวมผักท่ีเปนสมุนไพรขึ้นมานี้ก็เพื่อใหเห็นประโยชนของผัก
ตางๆ นอกจากคณุ คา ทางอาหารทม่ี ปี ระโยชนแ ลว ผักหลายชนิดก็ยังมีสรรพคุณทางยา
อีกดวย ถึงแมวาบางครั้งอาจจะไมชวยรักษาใหหายโดยเฉียบพลัน แตอยางนอ ยก็ชวย
บรรเทาอาการลงได และเปน สง่ิ ซง่ึ มใี กลต วั อยแู ลว เนอ่ื งจากเปน อาหารในชวี ติ ประจํา
วัน อยางนอ ยกเ็ พอ่ื บาํ รงุ สขุ ภาพ อกี ทง้ั ไมก อ ใหเ กดิ อนั ตรายใดๆ ถารูจักเลอื กใชใ หเปน
ประโยชน

❦กระเจย๊ี บ ❦ตาํ ลงึ ❦มะเขอื เทศ
❦กระชาย ❦แตงกวา ❦มะเขอื พวง
❦กระเทียม ❦ถ่ัวฝก ยาว ❦มะนาว
❦กระเพรา ❦บัวบก ❦มะระ
❦ขมิ้นชัน ❦ผักชี ❦มะละกอ
❦ขา วโพด ❦ผกั บงุ ❦แมงลัก
❦ขงิ ❦พริกขี้หนู ❦สะระแหน
❦แครอท ❦ฟก ❦ผักสมุนไพรอื่นๆ
❦คื่นไฉ ❦ฟก ทอง
❦ตะไคร ❦มะกรูด

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ผกั สมนุ ไพร 3

บทนํา

ผักเปนพชื ทม่ี คี ณุ คา ทางอาหารมากมาย ผกั เกอื บทกุ ชนดิ มสี ารอาหาร
ท่ีมีประโยชน หลายชนดิ มวี ติ ามนิ ทม่ี ปี ระโยชนส งู เชน ผักบุง ตาํ ลงึ หรือ ผักที่มีใบ
สีเขียว บางชนดิ มโี ปรตนี สงู ถงึ 30% เชน ผกั ตระกลู ถว่ั หรอื ในผกั พน้ื บา น เชน มะรมุ
มีโปรตนี สงู ถงึ 26.8% ของนา้ํ หนักแหง วติ ามนิ เอ 45,200 หนวยสากล (IU) วติ ามนิ
ซี 440 มลิ ลกิ รมั แคลเซียม 1,760 มิลลิกรมั บางชนดิ นอกจากมสี ารอาหารตา งๆ
แลวยังมีสารประกอบอื่นที่มีสรรพคุณทางยา เชน มะระมสี าร โพลีเปปไทด-พี ซง่ึ มคี ณุ
สมบัติคลายอนิ ซลู นิ ซง่ึ ชว ยลดนา้ํ ตาลในคนทเ่ี ปน โรคเบาหวานได หรือในผักที่รสเปรี้ยว
เชน มะนาว ซง่ึ อดุ มไปดว ยวติ ามนิ ซกี ช็ ว ยบรรเทาอาการจาก ไขหวัดไดเชนกัน

จากสารอาหารตางๆในผักนั่นเองท่ีมีคุณสมบัติในการรักษาโรคได
หลายชนิดโดยทเ่ี มอ่ื รา งกายไดร บั สารอาหารทม่ี ปี ระโยชน เชน วติ ามนิ เขา ไปกเ็ ปน การ
ชวยเสริมสรา งใหร า งกายแขง็ แรง หรอื บางชนดิ มสี รรพคณุ รกั ษาโรคไดโ ดยตรง ซง่ึ ใน
การรักษาโรคน้ันก็อาจจะไดจากท่ีเราได รับประทานเปนอาหารในชวี ติ ประจาํ วนั หรอื
ปรุงแตง รว มกบั อาหารอน่ื เชน นา้ํ ผึ้ง เกลอื นา้ํ มะนาว หรือ สกดั เอานา้ํ คน้ั มาถทู าตรง
สว นที่เกดิ โรค เปน ตน

กระเจย๊ี บ

Ladies’ fingers กระเจย๊ี บ ชื่อวิทยาศาสตร
Abelmoschus esculentus (L.)
ลกั ษณะ
เปนพืชลมลุก ใบมขี น ดอกมี กลบี สเี หลอื ง
โคนกลีบดานในสีมวงแดง ปลายผลแหลม
แกจัดผลจะแตก มเี มลด็ จํานวนมาก

สวนที่ใช ผล
ประโยชนทางอาหาร ผลสดรับประทานเปนผักสดหรือตมจ้ิมนํ้า
พริก
สรรพคุณทางยา แกผลในกระเพาะ
วิธีใช 1. ผลแหงน้ํามาปนผสมกับนํ้ารับประทาน

แกแผลในกระเพาะ
2. รับประทานผลสดซึ่งมีสารเมือกจะไป

ชว ยเคลอื บกระเพาะ

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ผกั สมนุ ไพร 4

กระชาย ชื่อวิทยาศาสตร
Kaempferia pandurata Roxb.
สวนที่ใช ลกั ษณะ
ประโยชนทางอาหาร เปนไมล ม ลกุ ลงหัว ใบยาวคลา ยใบขา ดอกสมี ว ง
สรรพคุณทางยา แดงลาํ ตน อยใู ตด นิ เรียกวา เหงา มสี เี หลอื ง
วิธีใช
เหงา (หัว)
เปนเครอ่ื งปรงุ เชน เครอ่ื งแกง
แกป ากเปอ ย ปากเปน แผลขก้ี ลาก บาํ รงุ กาํ ลงั
1. นําเหงาฝนกับนํ้าฝนใหขน ๆ ทาแผลในปาก

หรือบรเิ วณทเ่ี ปน กลาก
2. เหงา สด นาํ มาปง ใหส กุ ตําละเอยี ดใสน า้ํ ปนู ใส

ครึ่งแกวรับประทานแกปวดทืองเหงา สดตม
กบั นาํ้ รวมกบั หญา ขดั มอญ ดม่ื บาํ รงุ กําลงั

กระเทียม ชื่อวิทยาศาสตร
Allium sativum Linn.
สวนที่ใช ลกั ษณะ
ประโยชนทางอาหาร ใบสีเขียว แขง็ ยาว หวั อยใู ตด นิ มกี ลบี เกาะกนั มเี ยอ่ื
สรรพคุณทางยา บางๆหุม หวั เปน ชน้ั ๆ ดอกเปน ชอ สขี าว
วิธีใช
หัว ใบ ตน
ใบ หัวตน ประกอบเปน อาหารหรอื เปน ผกั สด
ขับลม ขบั เสมหะ ขบั เหงอ่ื ขบั ปส สาวะ ลดไข ขบั
พยาธเิ สน ดา ย คออกั เสบ แกหืด อมั พาต จุกแนน
ปวดสะโพก ทาแก โรคเกลอ้ื นโรคผิวหนงั
1 . หัวกระเทียม 2 ชอนโตะทุบใหแตก แช

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ผกั สมนุ ไพร 5

แอลกอฮอล 80% 10 ชอ นโตะ ทิ้งไว 7 วัน รบั
ประทานครง่ึ ชอ นโตะ ทุก 3 ชั่วโมง แกไขตัว
รอ นจดั
2. กระเทยี มแหง 1-2 หัว โขลกกบั นมสดหรอื กะทิ
สด 10 ชอ นโตะ กรองเอานา้ํ มาดม่ื ชา ๆ อาทติ ย
ละ 3-4 ครง้ั ชว ยขับพยาธิเสน ดาย
3. หวั กระเทียม 1-2 หวั โขลกกบั น้ําสม 1 ชอ นโตะ
กวาดในคอเปน ยาสมานแกเ จบ็ คอ
4. โขลกกระเทียมละเอียด ขยี้ผมหลังสระผม
5. รับประทานหัวกระเทียมบอยๆ ชวยรักษาโรค
ปอดบวม แกฟกชํ้า ปวดมวนทอ ง
6. หัวกระเทียมสด ทารกั ษาโรคเกลอ้ื นบางชนดิ ให
หายได

กระเพรา ชื่อวิทยาศาสตร
Ocimum sanctum L.
สวนที่ใช ลกั ษณะ
ประโยชนทางอาหาร เปนพมุ เตย้ี ใบสแี ดงคลา ยสะระแหน ตน สแี ดง ดอก
สรรพคุณทางยา เปนชอคลายโหระพาถาเขียว ใบเขียว เรียก
วิธีใช กระเพราขาว

ใบ
ใบใชป รงุ อาหาร เชน ผดั กบั เนอ้ื หมู ไก
แกป วดทอ ง ทอ งขน้ึ จุกเสียด
1. กระเพราสด 3 ใบ ผสมเกลอื เลก็ นอ ยใหล ะเอยี ด

ละลายดวยน้ําสุกหรือนํ้าผึ้งรับประทานแกปวด
ทอง ทอ งอดื
2. ใบนํามาแกงเลียงรับประทานหลังคลอดชวย
ขบั ลม บาํ รงุ ธาตุ หืด ไอ แกฝพุพอง

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ผกั สมนุ ไพร 6

ขมิ้นชัน

สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร
ประโยชนทางอาหาร Curcuma lonnga linn.
ลกั ษณะ
สรรพคุณทางยา เปนพืชลมลุก มีเหงาอยูใตด นิ สเี หลอื งฤดแู ลง ใบจะ
แหง ตาย แตจะแตกใหมเมื่อฝนตกชุก
วิธีใช
เหงา
เหงาใชแ ตง สอี าหาร เชน ขาวหมกไก แกงเหลอื ง
แกงกะหรี่
แกท อ งอดื เฟอ ลดการจุกเสียด แนนทอง ทองผูก
ปวดศรีษะ แกโรคผิวหนัง ผน่ื คนั
1. ขมิ้นชันแกจัดนํามารับประทานเปนผักสดชวย

ขับลม แกทองอืดเฟอ จุกเสียดแนนทอง
2. เหงาขมิ้นชนั ตากแหง ปน เปน ผง ทาแกโรคผิว

หนัง
3 . ปจจุบันองคการเภสัชผลิตเปนแคปซูล รับ

ประทานครง้ั ละ 2 แคปซูล วนั ละ 4 ครง้ั หลงั
อาหารและกอนนอน บรรเทาอาการทองอืด
ทองเฟอ จุกเสียด

ขา วโพด

ชื่อวิทยาศาสตร
Zea may L.
ลกั ษณะ
เปนพืชไรล ม ลุก ลาํ ตน ตง้ั ตรง เปน ขอ ๆ ใบยาวเรียว
มีขน ผลออกระหวา งกานใบ ผลมเี ปลอื กสเี ขยี วหมุ
เปนช้ันๆ สว นปลายมเี สน ไหมสแี ดงอมมว ง เมลด็
เรียงเปน แถวสขี าว สเี หลอื ง

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

สวนที่ใช ผกั สมนุ ไพร 7
ประโยชนทางอาหาร
ผลที่เรียกฝก ไหม
สรรพคุณทางยา ผลหรอื ฝก ออ นรบั ประทานเปน ผกั ฝกแกตม
วิธีใช รับประทานหรอื ปรงุ เปน ขนม
บรรเทาโรคไตอักเสบ กระเพาะปสสาวะ อักเสบ
ความดนั โลหติ สงู ลดคลอเลสเตอรอล
1. รับประทานเปนประจําแกโรคความดันโลหิตสูง

และชว ยลดคลอเรสเตอรอล
2. ไหมขาวโพดแหง 1 หยิบมือชงกับน้ําเดือด

ดม่ื แทนน้าํ ชาชวยบรรเทาโรคไต
3. ซังนํามาตมกับน้ําใสเกลือเล็กนอย ใหเด็กด่ืม

แกปสสาวะ รดทน่ี อน

ขิง ชื่อวิทยาศาสตร
Zingiber officinale roscoe
สวนที่ใช ลกั ษณะ
ประโยชนทางอาหาร เปนพืชอายุหลายป มลี ําตน ใตด นิ เรยี กวา เหงา มี
สรรพคุณทางยา กลิ่นหอมฉุน ใบออกสลบั กนั ดอกออกเปน ชอ จาก
วิธีใช ลาํ ตน ใตด นิ มสี เี หลอื ง

เหงา ใบ
เหงาสดใชปรุงอาหาร หรอื รบั ประทานสด
แกอาเจียน ไขหวัดใหญ ไอ จุกแนน หนา อก ปวด
ขอ ทองอดื
1. เหงา สดคน้ั เอานา้ํ 1-2 ชอ นโตะ ผสมน้ําผึ้ง

กินหรอื เหงา สดตม ดม่ื แทนนา้ํ ชา แกไขหวัด
2. เหงาสดตมกับน้ําสมสายชู รินเอาแตน้ําด่ืม

แกอาเจียน
3. เหงาสดตําละเอียด เคี่ยวใหขนทาทองอุนๆ

แกท องอดื

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ผกั สมนุ ไพร 8

แครอท ชื่อวิทยาศาสตร
Daucus carota Linn.
สวนที่ใช ลกั ษณะ
ประโยชนทางอาหาร เปน พชื ลม ลกุ อายุ 1-2 ป มรี ากใตด นิ ทเ่ี รยี กวา หวั
สรรพคุณทางยา มีสีสม ลกั ษณะยาวเรยี ว ใบเปน ฝอย
วิธีใช
ราก (หัว) เมลด็
ปรุงเปนแกงจืด หรือเปนผักสด เชน สลัดหรือ
แตง หนา อาหาร
บาํ รงุ สายตา บาํ รงุ ผวิ ยอ ยอาหาร
1. รบั ประทานเปน ประจาํ ชวยบํารงุ สายตา แกโรค

ตาฟาง ขบั ปส สาวะ ยอ ยอาหาร
2. น้ําคั้นจากหัวแครอทผสมกับนํ้ามะนาวทาผิว

หนาชวยลบรอยเหี่ยวยน

คื่นไฉ

ชื่อวิทยาศาสตร
Apium graveolens Linn.
ลกั ษณะ
เปนพชื ลม ลกุ อายุ 2 ป ใบยอ ย เปน รปู ลม่ิ ขอบใบ
หยักแบบซี่ฟน ดอกสขี าว ชอ ดอกเปน แบบซร่ี ม ซอ น
ผลมีขนาดเลก็ เปน เสน สนี า้ํ ตาล ทง้ั ตน มกี ลน่ิ หอม

สวนที่ใช ลาํ ตน ใบ และเมล็ดแก
ประโยชนทางอาหาร ท้ังตนและใบรบั ประทานเปน ผกั สด เชน เปน ผกั โรย
หนา อาหารพวกยาํ ตา งๆ หรือ ใสแกงจืด
สรรพคุณทางยา ขับปส สาวะ ขบั ลม ไขขอ อกั เสบ
วิธีใช 1. รับประทานบอยๆ ชวยเจริญอาหาร ชวยขับ

ปส สาวะ

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ผกั สมนุ ไพร 9

2. น้ําค้ันจากลําตน รับประทานแกอ าการบวมน้าํ
ปวดขอ จากอาการไขขอ อกั เสบ

ตระไคร ชื่อวิทยาศาสตร
Cymbopogon citratus (DC.)
สวนที่ใช ลกั ษณะ
ประโยชนทางอาหาร เปนพืชลมลุกขึ้นอยูเปนกอ ใบยาวแคบและคาย
สรรพคุณทางยา มีหัวอยูที่ผิวดิน เรียกวา หนอ มกี ลน่ิ หอมแรง
วิธีใช
ทง้ั ตน
ลาํ ตน นํามาปรงุ เปน เครอ่ื งแกง พลา ตม ยาํ
ขับลม ขบั เหงอ่ื แกป วดเมอ่ื ย แนนทอง ลดไข แก
ประจาํ เดอื นไมป กติ
1. รับประทานสด หรือนํามาตน กบั นา้ํ สดู ดมชว ย

ขับลม ขบั เหงอ่ื ลดไข แนนทอง
2. คน้ั นา้ํ ทาแกปวดเม่ือย
3. โคนตน (ที่เรียกหัว) ผสมกับพลิกไทยดํารับ

ประทานแก ประจาํ เดอื นไมป กติ

ตําลึง

สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร
Cocinia grandis (L.) Voig
ลกั ษณะ
เปนไมเ ถาเลอ้ื ย ใบมี 2 ชนิด ชนิดแรกใบจกั เวา ลกึ
เกือบถึงโคนเรียกตําลึงตัวผู อีกชนิดหนึ่งใบเวาเล็ก
นอย เรียกตาํ ลงึ ตวั เมยี ดอกสขี าว หาแฉก ผลออ นสี
เขียว เมอ่ื แกม สี แี ดง

ยอด ใบ เถา

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ประโยชนทางอาหาร ผกั สมนุ ไพร 10
สรรพคุณทางยา
วิธีใช ใบ ยอดปรงุ เปน อาหาร
ลมพิษ แกตาแดง บาํ รงุ สายตา
1. ใบนํามาตําใหละเอียดผสมน้ําเล็กนอย ดื่มหรือ

เอานํ้ามาทาบริเวณท่ีเปนลมพิษ ถูกขนบุงหรือ
อาการแพตางๆ
2. เถาตําลงึ นํามาตดั 2 ขา ง คลงึ ใหบ วม แลว เปา
ฟองออกมาหยอดตา แกตาแดง ตาแฉะ
3. รบั ประทานเปน อาหารประจาํ ชวยบาํ รงุ สายตา

แตงกวา ชื่อวิทยาศาสตร
Cucunis sativus L.
สวนที่ใช ลกั ษณะ
ประโยชนทางอาหาร เปนพชื เถาเลอ้ื ย อายุ 1 ป ตน มขี นหยาบ ใบออก
สรรพคุณทางยา สลับกับทรงสามเหลี่ยม เวา เขา ขอบใบหยกั ดอกมี
วิธีใช สีเหลือง ผลออ นสเี ขยี ว ผลแกสีเหลือง เมลด็ รแี บน
สขี าว

ผล ใบ เถา และราก
ผลสดรบั ประทานเปน ผกั สด หรอื ตม จดื
ขับปส สาวะ แกไข คอเจบ็ ตาแดง ไฟลวก ผน่ื คนั บิด
บวม
1. รับประทานผลสดเปนประจําชวยขับปสสาวะ

แกไข คอเจบ็
2. ใบสดตม หรอื คน้ั เอานา้ํ กนิ แกท องเสีย บิด
3. เถาสด 30-60 กรมั ตม นา้ํ พอก แกโรคผิวหนัง
4. รากตํามาพอกแกบ วมอกั เสบ

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ผกั สมนุ ไพร 11

ถั่วฝกยาว ชื่อวิทยาศาสตร
Vigna sinensis Savi
สวนที่ใช ลกั ษณะ
ประโยชนทางอาหาร เปนไมเ ถา ใบเปน ใบประกอบ มใี บยอ ย 3 ใบ ชอ
สรรพคุณทางยา ดอกสน้ั กวา ใบ มดี อกยอ ย 2-3 ดอก กลบี ดอก
วิธีใช มีลักษณะคลายผีเสื้อสีมวงออน สขี าวหรอื เหลอื ง
มีฝกยาว 20-60 ซม. หอยลงมา

ราก ใบ เมลด็ ฝก
ฝกสดนาํ มาปรงุ อาหารหรอื รบั ประทานสด เปน
ผักแกลม
บาํ รงุ มา ม ไต แกบิด อาเจียน ระงบั ปวด แกบวม
แกห นองใน ทําใหเจริญอาหาร
1. ฝกสดรบั ประทานแกท อ งอดื
2. ฝก สดตม ผสมเกลอื กินทุกวัน บาํ รงุ ไต
3 . เ ม ล็ ด นํ า ม า ตุ  น กั บ เ นื้ อ ไ ก  แ ล ะ ผั ก บุ  ง

รับประทานลดระดขู าว

บัวบก

ชื่อวิทยาศาสตร
Centella asiatica (Linn.) Urban
ลกั ษณะ
เปนพืชเลอ้ื ยตามดนิ แฉะๆ มรี ากงอกตามขอ ของลําตน
ใบคลายไต ปลายใบกลม กา นยาว ขอบใบหยัก ดอก
สีมว งแดง

สวนที่ใช ทง้ั ตน
ประโยชนทางอาหาร รับประทานเปน ผกั สด หรอื ตม นา้ํ ดม่ื
สรรพคุณทางยา ยาบาํ รงุ กระตนุ ความจาํ โรคเรอ้ื น วณั โรค

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ผกั สมนุ ไพร 12

วิธีใช นําใบมารับประทานเปนผักสด หรือค้ันนํ้าทําเปน
เครอ่ื งดม่ื ใชเ ปน ยาบาํ รงุ กระตนุ ความจาํ บาํ บดั โรค
เรอ้ื นและวณั โรค

ผักชี ชื่อวิทยาศาสตร
Coriandrum sativum L.
สวนที่ใช ลกั ษณะ
ประโยชนทางอาหาร เปนพืชปเดียว ลําตนตั้งตรงมีรากฝอยมาก ใบมี
สรรพคุณทางยา กานยาวใบยอย 2 ชั้น ขอบใบหยัก ดอกออกเปน ชอ
วิธีใช สีขาวหรือชมพู ผลกลมออกดอก ฤดรู อ น ออกผลฤดู
หนาว

ทั้งตนและผล
ใบใสโรยอาหารเพม่ิ ความหอม และดบั กลน่ิ คาวปลา
และเนอ้ื
ขับเหงอ่ื ขบั ลม แกผื่นหัด ทอ งอดื ละลายเสมหะ
ผกั ชสี ด 60-150 กรมั ตม หรอื คน้ั นา้ํ กไ็ ด นาํ นา้ํ มา
ด่ืม ชวยขับเหงื่อ ขบั ลม ทองอดื หรือ ทาแกผื่นหัด
(ถาผลใหใช 6-12 กรัม ตม นา้ํ หรือ บดเปน ผง)

ผกั บุง

ชื่อวิทยาศาสตร
Ipomoea aquatica Forsk
ลกั ษณะ
เปนพืชเล้ือยตามโคลนหรือลอยอยูในน้ําจืด ใบมี
กานยาว ปลายแหลม ฐานใบเปน รปู ลกู ศร หรอื กลม
ขอบใบเรียบหรือเปนเหล่ียม ดอกสขี าวหรอื มว งแดง
ขอลางๆ จะมรี ากงอก

สวนที่ใช ยอดออ น ใบ ดอกตมู

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ประโยชนทางอาหาร ผกั สมนุ ไพร 13
สรรพคุณทางยา
วิธีใช เปน ผกั สดหรอื ตม สกุ หรือนํามาปรงุ อาหาร
ยาระบาย บาํ รงุ สายตา รดิ สดี วงทวาร กลากเกลอ้ื น
1. รับประทานประจําชวยบํารงุ สายตา และเปนยา

ระบาย
2. ตาํ ผักบุงใหละเอียด พอกรักษาโรคสีดวงทวาร
3. น้ําคั้นจากดอกตูมชวยรักษา โรคกลากเกลอ้ื น

พรกิ ขี้หนู

สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร
ประโยชนทางอาหาร Capsicum frutescens L.
สรรพคุณทางยา ลกั ษณะ
เปนพืชปเดียวใบยาวรี ปลายใบแหลม ดอกสขี าวออก
วิธีใช ตามงาม ผลกลมยาวปลายแหลม สีเขียวเม่ือแกมี
สีแดง กา นผลยาว เมลด็ มจี ํานวนมากลกั ษณะกลม
แบนสเี หลอื งออ น

ผล รากและตน
ใชปรงุ หรอื ประกอบอาหารเพอ่ื เพม่ิ รสเผด็
ชวยเจริญอาหาร ชวยยอย บดิ ทอ งเสยี ไตและอัณฑะ
บวม
1. บิด ทอ งเสยี ใชพริก 1 ผล บด เปน ผงสอดใน

เตาหูรับประทาน
2. รับประทานเปนอาหารชวย เจริญอาหาร และ

ชวยยอย
3 . ไตแ ละอัณฑะบวมใชรากแ ละเน้ือหมูตม

รับประทาน

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ผกั สมนุ ไพร 14

ฟก

สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร
ประโยชนทางอาหาร Benincasa hispida Cogn.
สรรพคุณทางยา ลกั ษณะ
วิธีใช เปน ไมเ ลอ้ื ยอายุ 1 ป ลาํ ตน และใบมขี น ลกั ษณะ
กลมชอบใบเปนแฉก ดอกมี 5 กลบี สเี หลอื ง ผลออ น
มีขนมากลักษณะยาวหัวทายมน เมื่อแกขนจะหลุด
ไปเมลด็ แบนรลี บิ

ผล เมลด็ ใบและเถา
ปรุงเปน อาหาร เชน ตม จดื
แกไ ข กระหายนํา้ รดิ สดี วง ผดผน่ื คนั ได
1. เดก็ อายุ 1-5 เดอื นมไี ขใ หก นิ น้าํ ตม ฟก บอยๆ
2. ริดสีดวงทวาร คน้ั เอานา้ํ จากผลมาชะลา ง
3. เปนผด ผน่ื คนั หั่นผลฟกเปนแผน ถูทาบริเวณที่

คนั
4. ไอ ใชเปลือกผลแหง 15 กรมั ผสมนา้ํ ผง้ึ กรองนา้ํ

มาดม่ื
5. ฝา หรือจดุ ดา งดําบนผวิ หนงั ใชน า้ํ คน้ั จากไสใ น

ผลสด ทาบอยๆ

ฟก ทอง

ชื่อวิทยาศาสตร
Cucurbita maxima Duchesne
ลกั ษณะ
เปนไมเ ถาขนาดยาวมาก ใบมี 5 หยัก สากมอื ดอกสี
เหลืองรูปกระดง่ิ ผลมขี นาดใหญเ ปน พเู ปลอื กผลคอ น
ขางแขง็ บางชนดิ มสี เี ขยี ว บางชนดิ สนี า้ํ ตาลแดง

สวนที่ใช ผล ดอก ยอดออ น

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ประโยชนทางอาหาร ผกั สมนุ ไพร 15
สรรพคุณทางยา
วิธีใช ใชป รงุ อาหาร หรือทาํ ขนมหวาน
บาํ รงุ สายตา โรคพยาธิตัวตืด
1. รบั ประทานเปน ประจําชวยบาํ รงุ สายตา
2. เมล็ดมนี า้ํ มนั ใชถ า ยพยาธติ วั ตดื โดยใชเ มลด็ ฟก

ทอง 60 กรัม ปน ใหล ะเอยี ดผสม นา้ํ ตาล เลก็
นอย เตมิ นมครง่ึ ลติ ร ดม่ื 3 ครง้ั ทกุ 2 ชั่วโมง
แลว ดม่ื นา้ํ มนั ละหงุ เพอ่ื ถา ยออก

มะกรดู

สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร
ประโยชนทางอาหาร Citrus hustrix D.C.
สรรพคุณทางยา ลกั ษณะ
เปนไมยืนตนขนาดเล็กลําตนและกิ่งมีหนามใบเรียว
วิธีใช หนาคอด กว่ิ ตรงกลางใบ ดอกสขี าวเกสรสเี หลอื ง ผล
โตกวา มะนาว ผวิ ขรขุ ระ มกี ลน่ิ หอม

ใบ ผล ราก
ใบปรงุ อาหารดบั กลน่ิ คาว เชน ตม ยาํ
ผิวมะกรดู ผสมเปน เครอ่ื งแกง
ขับลม แกจุกเสียด เลอื ดออกไรฟน แกลม วิงเวียน
1. น้ํามะกรดู ใชถูฟน แกเ ลอื ดออกตามไรฟน
2. ผลนํามาดองเปรย้ี ว รบั ประทานขบั ลม ขบั ระดู
3. เปลือกผล ฝานบางๆ ชงนาํ้ เดอื ดใสก าระบเู ลก็

นอยรับประทานแกลมวิงเวียน

มะเขอื เทศ

ชื่อวิทยาศาสตร
Lycopersicon esculentum Mill.
ลกั ษณะ
เปนพชื ปเดยี ว ลาํ ตน ตง้ั ตรงสงู 1-2 เมตร ใบรปู ขนน

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

สวนที่ใช ผกั สมนุ ไพร 16
ประโยชนทางอาหาร
สรรพคุณทางยา กออกสลบั กัน ขอบใบหยัก ดอกสเี หลอื ง ผลมหี ลาย
ลักษณะ เชน กลม กลมรี ผิวเรียบ เปน มนั สีแดงหรือ
วิธีใช สีเหลอื ง เนอ้ื ผลฉา่ํ นา้ํ ภายในมเี มลด็ มาก

ผล
รับประทานสด เชน สลดั ปรงุ
ยาระบายออ นๆ แกกระหายนํ้า เบอ่ื อาหาร ปวดฟน
ลางแผลจากถูกความเย็น บาํ รงุ กระเพาะอาหาร ไต
ลาํ ไส ขบั สารพิษ
1 . ผลรับปะทานสดหรือตมน้ํ า ชวยบํ ารุงไต

กระเพาะ ลาํ ไส และขบั สารพิษ
2. ใบบดละเอยี ด ใชทาแกผิวหนังถูกแดดเผา
3. ราก ลาํ ตน และใบแก ตม นา้ํ รบั ประทาน แกปวด

ฟน และลางแผลท่เี กิดจากความเย็น

มะเขอื พวง

สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร
ประโยชนทางอาหาร Solanum torvum Swartz
สรรพคุณทางยา ลกั ษณะ
เปนไมพ มุ ขนาดเลก็ สูง 1-3 เมตร ใบรปู ไขด อกสี
วิธีใช ขาว ผลออ นสเี ขยี วออกเปน พวง ผลแกม สี เี หลอื งปน
สม

ผล ราก
รับประทานเปน ผกั จ้ิม ใสแกง
ขับเสมหะ ขบั ปส สาวะ ชวยยอยอาหาร
หา มเลอื ด แกปวดฟน แกเทาแตกเปนแผล
1. ผลนาํ มาตม รบั ประทานขบั เสมหะ แกไอ
2. ตน ผล ราก ตม รบั ประทาน ชว ยยอ ยอาหารและ

หา มเลอื ด
3. ควันจากเมล็ดทเ่ี ผาใชสูดดมแกปวดฟน
4. รากตําพอกแกเทาแตกเปนแผล

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ผกั สมนุ ไพร 17

มะนาว

สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร
ประโยชนทางอาหาร Citrus aurantifolia Swing
สรรพคุณทางยา ลกั ษณะ
เปนไมพุม ตน มหี นามแหลมคลา ยมะกรดู แตเ ลก็ และ
วิธีใช ส้ันกวาดอกสขี าวอมเหลอื ง ผลกลม เปลอื ก บาง ผิว
เรียบ รสเปรี้ยวจัด

ผล ใบ ราก
น้ํามะนาวประกอบอาหาร เครอ่ื งดม่ื ผลดอง
เปน มะนาวดอง หรือทาํ เปนอาหารแหง
แกไอ เสียงแหง แกบวม ทาฝ แกปวด
1. น้ํามะนาวละลายดนิ สอพอง พอกแกบวม
2. นา้ํ มะนาวผสมกบั นา้ํ ผง้ึ อยา งละ 1 ชอนชา แก

เจ็บคอ
3. มะนาวสดใสน า้ํ ตาล เกลอื ดม่ื ระบายทอ ง
4. ใบหน่ั ฝอยชงดว ยน้ําเดอื ด ดม่ื ลดไข หรือ อมกลว้ั

คอฆา เชอ้ื

มะระ

สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร
ประโยชนทางอาหาร Momordica charantia Linn.
สรรพคุณทางยา ลกั ษณะ
วิธีใช เปนไมเ ลอ้ื ย ใบมี 5-7 หยัก ดอกเดย่ี วมสี เี หลอื ง ปล
มีรูปรา งขรขุ ระ รสขมมาก

ผล ใบ ราก
ผลและยอดรับประทานเปนผักตม หรือแกงจืดกับซ่ี
โครงหมู
แกไขหวัด แกหิด โรคผิวหนัง โรคเบาหวาน

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ผกั สมนุ ไพร 18

1. นาํ ผล ใบ ดอก และเถามาอยา งละ 1 กํามอื ตม
ใหเดือด 20-30 นาที กนิ ครง้ั ละ ½-1 แกกอน
อาหาร ชวยแกไข

2. ผูปวยโรคเบาหวานรับประทานมะระอยางนอย
สัปดาหล ะครง้ั จะเปน ผลดี

มะละกอ

สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร
ประโยชนทางอาหาร Carica papaya L.
ลกั ษณะ
สรรพคุณทางยา เปนไมเ นอ้ื ออ นยนื ตน ใบหยัก ออกทย่ี อดกา น ใบกลม
วิธีใช ยาว ผลดบิ มสี เี ขยี ว แกจัดสีเหลือง

ใบ ผล เมลด็ ยอดออ น ราก
ผลดิบใชปรุงอาหารเชนแกงสมยางชวยทําใหเน้ือเปอย
ผลสกุ เปน ผลไม
แกก ระหายน้ํา บาํ รงุ หวั ใจ เปน ยาระบายออ นๆ
1. มะละกอสุกรับประทานชวยยอยอาหาร
2. เมล็ดใชข ับพยาธิ ใบแกบาํ รงุ หวั ใจ
3. รากเปน ยาขบั ปส สาวะ
4. ตนออนตม รบั ประทานขบั ระดขู าว

แมงลัก

ชื่อวิทยาศาสตร
Ocimum sanctum L.
ลกั ษณะ
เปนพชื ลม ลกุ สงู ประมาณ 1-2 ฟุต ดอกชเู ปน ชน้ั ๆ
ขาวเมล็ดเล็ก เมอ่ื แกจ ะมสี นี า้ํ ตาลหรอื สดี าํ แชนํ้าจะ
พองเปน เมอื กเยอ่ื ขาว

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

สวนที่ใช ผกั สมนุ ไพร 19
ประโยชนทางอาหาร
เมลด็ ใบ
สรรพคุณทางยา เมล็ดทําขนม ใบรบั ประทานเปน ผกั ใสข นมจนี หรอื แกง
วิธีใช เลยี ง
เปน ยาระบาย หา มเลอื กกาํ เดาขบั ลม แกไอ
1. เมล็ดแชน้ํารับประทานกับนํ้าเชื่อมชวยหยุดเลือด

กาํ เดา และเปน ยาระบาย
2. ใบรบั ประทานชว ยขบั ลม
3. ตนตม กบั นา้ํ รับประทานแกไอ

สะระแหน

สวนที่ใช ชื่อวิทยาศาสตร
ประโยชนทางอาหาร Mentha arvensis L.
ลกั ษณะ
สรรพคุณทางยา เปนตนไมเ ลก็ ๆ เลอ้ื ยตามดนิ ลาํ ตน สเ่ี หลย่ี ม ขอบใบ
วิธีใช หยัก มกี ลน่ิ หอมฉนุ

ใบ
ใบสดรบั ประทานเปน ผกั สด โรยหนาอาหารพวกยาํ
พลา ลาบ ใหน า รบั ประทาน
ขับลม แกทองอืดเฟอ และปวดทอ ง
รับประทานใบสดจากการประกอบอาหารหรือเม่ือ
ทองอืดทอ งเฟอชว ยขบั ลดบรรเทาอาการปวดทอ ง

ผกั สุมนไพร อื่นๆ

ชื่อผักสมุนไพร สรรพคุณ สวนที่ใชประโยชน
แค
พริกไทย ริดสดี วงจมกู น้าํ คน้ั จากดอกไมห ยอดจมกู

ถว่ั เหลอื ง ปวดฟน ผสมกับถ่ัวเขียวกัดไวตรงฟน

ซี่ที่ปวด

ลดเบาหวาน ลดการอุดตัน เมล็ดนํามารับประทานเปน

ของไขมนั ในเสน เลอื ด อาหาร เชน นา้ํ นมถว่ั เหลอื ง

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ

ผกั สมนุ ไพร 20

พริกหยวก ชว ยกระตนุ นา้ํ ยอ ย ชวยเจริญ นําผลมาปรงุ เปน อาหาร
หัวผักกาด
งา อาหาร

มะรมุ แกโ รคลกั ปด ลกั เปด ปรุงเปนอาหาร เชนแกงจืด
สะเดา
หอมหวั แดง แกงสม
ขเ้ี หลก็
หอมหวั แดง เปนยาบํารุง ชวยใหรางกาย นําเมล็ดมาปรุงอาหาร เชน
ถั่วพู
แข็งแรง ชวยใหผิวพรรณผุด ขนม
มะพรา ว
บัว ผอ ง
โหระพา
ลดไข บาํ รงุ หวั ใจ ชวยระบาย นาํ ผลมาปรงุ อาหาร เชน แกง

ออนๆ สม

ชวยเจริญอาหาร ชวยระบาย นํ า ใ บ ห รื อ ช  อ ด อ ก ม า รั บ

ประทาน

ขับปส สาวะ ทอ งอดื ลดไขมนั นํามาปรงุ เปน อาหาร

ในเลอื ด

แกน อนไมห ลบั ใบออ นลวกจม้ิ นา้ํ พริก

ชวยยอย แกบิด ทอ งเสยี หัวหอมปรงุ เปน อาหาร

แกอ อ นเพลยี บาํ รงุ กําลงั ฝก ดอก ยอดออ น หัวใตดนิ

นํามาปรุงเปนอาหาร เชน

ตมจม้ิ นา้ํ พริก สลดั แกงจืด

แกงเลยี ง

แกโรคผิวหนัง กลากเกล้ือน นา้ํ มนั จากมะพรา ว

แผลจากไฟไหม

ลดเสมหะ แกไอ บาํ รงุ กาํ ลงั รากบัว(ไหล) นํามาผัดกุง

แกงสม ตม ยาํ

ขับลม ลดอาการจกุ เสยี ด แก นํ าใบและตนมาปรุงเปน

ปวดหัว ชวยเจริญอาหาร อาหาร หรอื รบั ประทานเปน

ผักสด หรือผักโรยหนา

๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนาถัดไป ๐ กลับหนาหลัก/สารบัญ
จดั ทําเอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร


Click to View FlipBook Version