The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก โรงเรียนบ้านหนองรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suthratinee, 2022-07-11 08:28:42

การพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก โรงเรียนบ้านหนองรี

การพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก โรงเรียนบ้านหนองรี



คำนำ

แบบประเมินผลงานการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
ประกอบดว้ ย ส่วนที่ 1 ความเปน็ มาและความสำคัญของนวัตกรรม ส่วนที่ 2 กระบวนการ/ขัน้ ตอนการดำเนินงาน
ส่วนที่ 3 ผลการดำเนินการ ส่วนที่ 4 คุณประโยชน์ที่ได้การขยายผล และส่วนที่ 5 การเผยแพร่การได้รับการ
ยอมรับ พร้อมเอกสารหลักฐานอ้างอิงตามข้อเท็จจริง ซึ่งการนำเสนอนี้เกิดจากผลการปฏิบัติงานจริงของโรงเรียน
บ้านหนองรี เพ่ือเป็นแนวทางในการสง่ เสริมและพฒั นาทกั ษะความสามารถของผ้เู รยี นใหเ้ ต็มศักยภาพ

ขอขอบคุณคณะกรรมการผู้ทรงเกียรติทุกท่าน ท่ีไดใ้ หค้ วามอนเุ คราะห์ในการประเมินผลงานการส่งเสริม
สนบั สนนุ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) ไว้ ณ โอกาสน้ี

โรงเรียนบ้านหนองรี

สารบญั ข

เร่อื ง หนา้
คำนำ ก
สารบญั ข
1
รายงานนวัตกรรมการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนเชิงรกุ (Active Learning) 1
ความเป็นมาและความสำคัญของนวตั กรรม 2
กระบวนการ/ขั้นตอนการดำเนินงาน 3
ผลการดำเนินการ 4
คณุ ค่า/คุณประโยชน์ทไ่ี ด้ 4
การขยายผล/การเผยแพร่ 4
การไดร้ ับการยอมรบั /รางวลั ท่ีได้รบั 5
ภาคผนวก



การพฒั นาการจดั การเรยี นรเู้ ชิงรุก
(Active Learning)

รายงานนวตั กรรมการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนเชิงรุก (Active Learning)

1. ความเปน็ มาและความสำคัญของนวัตกรรม

การปฏิรูปการเรียนการสอนในยุคประเทศไทย 4.0 ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมี
ความหมาย เน้นใหผ้ ูเ้ รียนไดม้ บี ทบาทในการเรียนรู้มากขึ้น และครผู ู้สอนต้องลดบทบาทการสอนจากเดิมด้วยการ
บอกเล่า ให้เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นและได้ลงมือปฏิบัติเพื่อให้
เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง และเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา covid-19 ทาง
โรงเรียนบ้านหนองรีได้ปรับรูปแบบการการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็น On – Hand ที่ผ่านมา จากการ
รายงานการเรียนการสอนดังกล่าวพบว่า นักเรียนมีภาวะการเรียนรู้ถดถอย (Learning Loss) และไม่มีความ
กระตอื รอื ร้นในการเรียน

โรงเรียนบ้านหนองรีไดต้ ระหนักถึงการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน มงุ่ เนน้ ให้ผู้เรยี นไดม้ ีส่วนร่วมในการ
ปฏิบัติกิจกรรมในการเรียนรู้ด้วยตนเองมากข้ึน และการปรับเปลี่ยนบทบาทของครู ให้เป็นครูยุคใหม่ที่มีคุณภาพ
โดยเพิ่มทักษะในการจัดการเรียนการสอน การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และการวัด ประเมินผลการจัดการ
เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นคนดี เก่งและมี
คุณภาพสู่ความเป็นพลเมืองที่สมบูรณ์ ทางโรงเรียนบ้านหนองรีจึงได้กำหนดรูปแบบพัฒนาโดยใช้นวัตกรรม
“B.N.R. active” ประกอบด้วย

B behavior ศกึ ษานักเรยี นเปน็ รายบุคคล เพื่อส่งเสริมและพฒั นาใหเ้ ต็มศักยภาพ

N novation นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ท่ีทันสมัยและนา่ สนใจ

R recommend แนะนำใหค้ ำปรกึ ษา อำนวยความสะดวกใหก้ ับผเู้ รยี น

A activity จดั กจิ กรรมทส่ี ่งผลให้ผเู้ รียนไดล้ งมอื ปฏบิ ตั เิ พื่อให้เกดิ การเรยี นรู้

C creative เสรมิ สรา้ งทักษะกระบวนการคดิ อย่างสรา้ งสรรค์

T teamwork เสริมสรา้ งทกั ษะความร่วมมือและการทำงานเป็นทีม

I improvement ปรบั ปรงุ แก้ไขและพัฒนาให้ดีข้ึน

E evaluation การประเมนิ ผล



2. กระบวนการ/ข้ันตอนการดำเนินงาน
1. ผู้บรหิ าร และคณะครูไดร้ ว่ มประชมุ วางแผนในการปฏบิ ตั ิงาน วิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปญั หาของนกั เรียน
ท่ีมภี าวะความรู้ถดถอย (Learning Loss) โดยส่งสง่ เสรมิ ใหค้ รผู ู้สอนจดั กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) สง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนมที กั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 โดยใช้ “B.N.R. active” Model
2. ศกึ ษาวเิ คราะหห์ ลักสูตรและทฤษฎที ่เี กี่ยวข้อง
 แนวคิดของบลูม (Bloom’s Taxonomy) เชื่อวา การเรยี นการสอน ที่จะประสบความสำเร็จและมี
ประสทิ ธภิ าพน้นั ผู้สอนจะตองกำหนดจุดมุ่งมายใหชดั เจนเพอ่ื ใหผู้สอน กำหนดและจัดการเรียนรู
รวมทงั้ วดั และประเมนิ ผลได้ถูกตอง
 สเ่ี สาหลักทางการศกึ ษา (Four Pillars of Education)

Input Process Outcome

มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั กาหนดช่ือหน่วยการเรยี นรู้ ทกั ษะในศตวรรษที่ 21
แนวคิดของบลมู ออกแบบการเรียนรู้
3Rs + 8Cs

สี่เสาหลกั การศกึ ษา การจดั การเรียนรู้
การวดั และประเมินผล

แผนภาพที่ 1 กระบวนการออกแบบการจัดการเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning)



3. สรา้ งเครือ่ งมอื หรือนวตั กรรม โดยใชก้ ารบริหารจัดการตามรูปแบบ “B.N.R. active” Model

“B.N.R. active” Model
B behavior ศกึ ษานกั เรียนเปน็ รายบุคคล เพอ่ื สง่ เสริมและพฒั นาให้เตม็ ศักยภาพ
N novation นวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ท่ีทนั สมยั และน่าสนใจ
R recommend แนะนำใหค้ ำปรกึ ษา อำนวยความสะดวกใหก้ ับผเู้ รยี น
A activity จัดกิจกรรมทสี่ ง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นได้ลงมอื ปฏบิ ัตเิ พื่อให้เกดิ การเรียนรู้จากประสบ

การณ์
C creative เสรมิ สรา้ งทกั ษะกระบวนการคดิ อย่างสรา้ งสรรค์
T teamwork เสริมสร้างทกั ษะความร่วมมือและการทำงานเป็นทีม
I improvement ปรบั ปรงุ แก้ไขและพัฒนาใหด้ ขี ้นึ
E evaluation การประเมินผล

4. ออกแบบกิจกรรมแผนการจดั การเรยี นรแู้ ละนวตั กรรมที่สอดคล้องกบั ผ้เู รยี น
5. นิเทศติดตาม ประเมนิ ผลการจัดการเรยี นร้เู ชิงรุก (Active Learning)

3. ผลการดำเนนิ การ
1. จากการส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากการใช้นวัตกรรม
การบริหารจัดการตามรปู แบบ “B.N.R. active” Model ส่งผลให้ผู้เรียนมีเจตคติท่ีดีต่อการจดั การเรียนการ
สอน มีความกระตือรือร้นและสนุกสนานในการทำกิจกรรม มีทักษะในการคิด วิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์
สามารถวางแผนในการทำงานอย่างเปน็ ระบบมีภาวะผู้นำใหค้ วามร่วมมือในการทำงานรว่ มกนั เปน็ ทีม
2. นกั เรยี นโรงเรยี นบ้านหนองรีเกดิ การเรียนร้จู ากประสบการณ์ การลงมือปฏบิ ตั ิด้วยตนเอง โดยมคี รผู ู้สอนเป็น
ผูด้ ูแลแนะนำใหค้ ำปรึกษา อำนวยความสะดวกให้กบั ผเู้ รยี น
3. โรงเรียนบ้านหนองรีมีนวัตกรรมการบริหารจัดการส่งเสริมสนับสนุน การจัดจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตามรูปแบบ “B.N.R. active” Model ได้
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ



4. คุณคา่ /คณุ ประโยชนท์ ไ่ี ด้
1. ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมีความต่นื ตัวกระตือรือร้นในการเรยี น
2. ช่วยพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ของผเู้ รียนให้เรยี นรแู้ ละพัฒนาได้ดว้ ยตนเอง ทำให้เกดิ การเรียนรอู้ ยา่ ตอ่ เนื่อง
(Life-Long Learning)
3. สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนกลา้ แสดงออก และมบี ทบาทในการจัดการเรียนรมู้ ากย่ิงข้ึน
4. ส่งเสรมิ และพัฒนาให้ครผู ู้สอนออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และการวดั ประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ
(Active Learning)

5. การขยายผล/การเผยแพร่
โรงเรียนบา้ นหนองรไี ด้ทำการเผยแพรท่ ง้ั ในและนอกสถานศึกษา ผ่านการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา และ
การประชมุ ผ้ปู กครอง ตลอดจนการเผยแพร่ทางเพจ Facebook ของโรงเรียน

6. การได้รับการยอมรบั /รางวลั ที่ไดร้ ับ
1. ได้รบั รางวัลการแขง่ ขนั ศลิ ปหัตถกรรมนักเรียนกิจกรรม การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ระดบั
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4-6 ปีการศึกษา 2562
2. นกั เรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นท่ไี ดร้ ะดบั 3 ขนั้ ไป ในปีการศกึ ษาทผี่ า่ นมาสูงขึ้น



ภาคผนวก



กระบวนการ/ขนั้ ตอนการดำเนินงาน

ผู้บริหาร และคณะครูไดร้ ว่ มประชุมวางแผนในการปฏิบัติงาน วิเคราะห์แนวทาง
การแก้ไขปัญหาของนักเรยี นทม่ี ภี าวะความรู้ถดถอย (Learning Loss) โดยสง่
ส่งเสรมิ ให้ครูผ้สู อนจัดกิจกรรมการจดั การเรียนรูเ้ ชิงรกุ (Active Learning)
สง่ เสริมให้ผเู้ รยี นมีทักษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 โดยใช้ “B.N.R. active”
Model

Plan

ศกึ ษาวเิ คราะห์หลกั สูตรและทฤษฎที ีเ่ กยี่ วขอ้ ง

แนวคดิ ของบลูม (Bloom’s Taxonomy) เชอื่ วา การเรยี นการสอน ท่ีจะ
ประสบความสำเร็จและมปี ระสิทธภิ าพน้นั ผู้สอนจะตองกำหนดจุดมุง่ มายให
ชดั เจนเพื่อใหผู้สอน กำหนดและจัดการเรียนรู รวมทั้งวัดและประเมินผลไดถ้ ูกตอง

สี่เสาหลักทางการศึกษา (Four Pillars of Education)

Do สรา้ งเคร่อื งมอื หรือนวัตกรรม โดยใชก้ ารบรหิ ารจดั การตามรูปแบบ “B.N.R.
active” Model
Check
Action ออกแบบกิจกรรมแผนการจัดการเรยี นรแู้ ละนวัตกรรมท่ีสอดคล้องกบั ผ้เู รยี น
นเิ ทศตดิ ตาม ประเมนิ ผลการจดั การเรียนรูเ้ ชิงรุก (Active Learning)
นำผลการประเมิน มาวิเคราะห์เพื่อพฒั นาปรบั ปรุงแก้ไขให้ดียง่ิ ขึน้



ภาพกจิ กรรมการเรียนรเู ชงิ รุก (Active Learning)
บทบาทสมมติ (Role Plays)



บทบาทสมมติ (Role Plays)



การจัดการเรียนรแู้ บบโครงงาน (Project based Learning)

๑๐

การจดั การเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรห์ รือวธิ ีวจิ ัย (Research-based Learning)

๑๑

การจดั การเรยี นรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning)

๑๒

การจดั การเรยี นรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning)

๑๓

เกียรติบตั รการพฒั นาตนเองของคณะครูโรงเรยี นบ้านหนองรี

๑๔

เกียรติบตั รการพฒั นาตนเองของคณะครูโรงเรยี นบ้านหนองรี

๑๕

เกียรติบตั รการพฒั นาตนเองของคณะครูโรงเรยี นบ้านหนองรี

๑๖

เกียรติบตั รการพฒั นาตนเองของคณะครูโรงเรยี นบ้านหนองรี

๑๗

เกียรติบตั รการพฒั นาตนเองของคณะครูโรงเรยี นบ้านหนองรี

๑๘

เกียรติบตั รการพฒั นาตนเองของคณะครูโรงเรยี นบ้านหนองรี

๑๙

รายงานการพฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องคณะครโู รงเรียนบ้านหนองรี

๒๐

รายงานการพฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องคณะครโู รงเรียนบ้านหนองรี

๒๑

รายงานการพฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องคณะครโู รงเรียนบ้านหนองรี

๒๒

รายงานการพฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องคณะครโู รงเรียนบ้านหนองรี

๒๓

รายงานการพฒั นาการจดั การเรียนรขู้ องคณะครโู รงเรียนบ้านหนองรี

๒๔

ตัวอย่างแผนการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning)

แผนการจดั การเรยี นรู้

ชอ่ื รายวิชา วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 5
ชื่อหนว่ ย โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 10 ชว่ั โมง

หวั ข้อเรือ่ ง

1.1 ความหมาย ของโครงงานวิทยาศาสตร์

1.2 หลกั การของกิจกรรมโครงงานวทิ ยาศาสตร์

1.3 จุดม่งุ หมายของโครงงานวิทยาศาสตร์

1.4 ลกั ษณะของโครงงานวิทยาศาสตร์

1.5 คณุ คา่ ของโครงงานวิทยาศาสตร์

แนวคิดสำคัญ

โครงงานวิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมทีเ่ ก่ยี วกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที ่ีนักเรยี นศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง
ตามขนั้ ตอนกระบวนการทางวิทยาศาสตรโ์ ดยมีครหู รือผู้เช่ียวชาญเปน็ ท่ปี รึกษาการทำกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์
ผ้เู รียนมีโอกาสในการศกึ ษา และลงมอื ปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเองทำให้ได้รบั ประสบการณ์ตรง และยังไดฝ้ ึกใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ความ
ชำนาญ และมคี วามมน่ั ใจในการนำเอาวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ไปใชใ้ นการแก้ปญั หา ประดิษฐค์ ิดคน้ หรือคน้ ควา้ หาความรู้
ต่าง ๆ ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีความสนใจในวทิ ยาศาสตร์ และชว่ ยพัฒนาคณุ ลักษณะอ่นื ๆ ให้กับผู้เรียน เช่น การ
สงั เกต มวี นิ ยั มีความซื่อสตั ย์ ความละเอยี ดรอบครอบ และมคี วามรับผิดชอบ ยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อ่ืน มเี จตคตทิ ี่
ดตี ่อวิทยาศาสตร์ มคี วามเชือ่ มนั่ ในตนเอง มคี วามอดทนและเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรด์ ขี ้ึน

สมรรถนะย่อย

แสดงความรูแ้ ละปฏิบตั เิ กีย่ วกบั ความรูเ้ บ้ืองต้นโครงงานวิทยาศาสตร์ สามารถทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้

จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ

1. บอกความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์

2. บอกจุดม่งุ หมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์

๒๕

3. อธบิ ายองค์ประกอบของโครงงานวทิ ยาศาสตร์

4. บอกคณุ ค่าของโครงงานวิทยาศาสตร์

5. ทำโครงงานวิทยาศาสตร์

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกด้านความสนใจใฝ่รู้ การตรงต่อเวลา ความซื่อสตั ย์ สจุ ริต มีความรบั ผิดชอบ อดทน

ความมนี ้ำใจและแบง่ บนั ความรว่ มมือ/ยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อื่น

เนือ้ หาสาระ

กจิ กรรมการเรยี นรู้

(1) ก่อนดำเนนิ การสอน
ขั้นที่ 1 ขั้นกระตุ้นความสนใจ เป็นการสร้างสิ่งซึ่งเร้าให้นักเรียนเกิดความสนใจ โดยควรเริ่มจากการ

สร้างบรรยากาศในชั้นเรียนก่อน ควรสร้างบรรยากาศที่เป็นกันเองไม่เครียด เพื่อนักเรียนเกิดความพร้อมในการ
เรียนรู้ จากนั้นจับกลุ่มนักเรียนด้วยวิธีการที่ทำใหน้ ักเรียนเกิดความสนุกสนาน มีความสุข และเกิดความสนใจใน
เรอื่ งท่ีจะเรียน สำหรับวธิ กี ารจับกลุ่มสามารถกระทำไดโ้ ดยวิธที ่หี ลากหลาย เช่น การใช้เกม ใช้เนื้อเพลง ใช้เนื้อหา
ทจ่ี ะเรยี น จับฉลาก เปน็ ตน้

ข้ันท่ี 2 ข้นั กำหนดปญั หา เป็นการเลือกกำหนดปัญหาทจ่ี ะศึกษา ซง่ึ ตอ้ งเริ่มจากความสนใจของนักเรียน
ครูพยายามให้นักเรียนได้เลือกศึกษาปัญหาที่เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของนักเรียน และมีแนวทางที่
สามารถพิสูจน์ ทดสอบ หาคำตอบได้ ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นในการกำหนดปัญหาด้วย
วธิ ีการทห่ี ลากหลายดงั นี้
 การตัง้ คำถามจากเร่อื งใกลต้ วั
 ใชก้ ารสำรวจ โดยการมอบหมายใหน้ ักเรยี นไปสำรวจในท้องถิ่น
 ใช้การศึกษานอกสถานที่ เป็นการเปลี่ยนบรรยากาศในห้องเรียนและนักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงท่ี
หลากหลาย
 การสร้างบรรยากาศที่เอื้อให้เกิดปัญหาและความสงสัยกับตัวผู้เรียน เช่น การจัดสภาพห้องเรียน สื่อ ป้าย
นเิ ทศ เปน็ ต้น

๒๖

ข้นั เลอื กหรอื กำหนดปญั หานเ้ี ป็นข้ันทค่ี รูต้องใช้ความพยายามในการกระตุ้นนักเรยี น แม้ปัญหาท่นี กั เรียน
ร่วมกันกำหนดจะมีความหลายหลาย ครูต้องพยายามตะล่อมให้นักเรียนเลือกปัญหาที่สอดคล้องกับหน่วยการ
เรยี นร้ทู วี่ เิ คราะหไ์ ว้

ข้ันที่ 3 ขั้นวางแผน เปน็ ขั้นทีค่ รูใหน้ ักเรยี นรว่ มกันเขยี นโครงร่างของโครงงาน โดยผสู้ อนใช้การสนทนา
ประกอบทีแ่ สดงขนั้ ตอนของโครงงาน เพอื่ ใหเ้ กดิ ความชัดเจนในภาพรวมของโครงงานแต่ละขัน้ อยา่ งต่อเน่ืองด้วย
การเริม่ ทีละข้ันตอนดงั น้ี

3.1 การกำหนดปญั หา แตล่ ะกลุม่ เขียนปัญหาหรือความสำคัญของปญั หาใหช้ ดั เจนถึง

1) สาเหตขุ องปัญหา

2) ความสำคัญของปญั หา

3) แนวทางการแกไ้ ข

3.2 การตั้งสมมติฐาน เป็นการหาแนวโน้มและคาดคะเนคำตอบไว้ล่วงหน้า เป็นการกระตุ้นนักเรียนให้ต้องการ
ทราบถงึ ผลลพั ธท์ ่ไี ดว้ ่าตรงกบั สมมตฐิ านที่ตั้งไว้หรือไม่

3.3 วางแผนการรวบรวมข้อมูล เป็นการวางแผน กำหนดหน้าที่ของสมาชิกในการศึกษาข้อมูล ความรู้ และ
กำหนดวธิ ีการศกึ ษาที่หลากหลายเพอื่ เป็นหนทางสคู่ ำตอบ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การทดลอง การค้นคว้า
จากอนิ เทอรเ์ น็ต การศึกษานอกสถานที่ เป็นต้น โดยนักเรียนควรเลือกตามความถนดั หรอื ความเหมาะสม

3.4 วางแผนการวิเคราะหข์ ้อมลู เป็นการนำขอ้ มูลที่ไดม้ าจดั เรียบเรยี งอย่างเปน็ ระบบ และทำการวิเคราะห์ โดย
ขอ้ มูลจากการวิเคราะห์อาจทำเปน็ คำอธิบาย ตัวเลข ตารางเปรยี บเทยี บ ค่าสถติ ิ เปอร์เซน็ ต์ เป็นต้น

3.5 วางแผนการนำเสนอข้องมลู โดยครูอาจนำรูปเลม่ และแผงโครงงานไดศ้ ึกษาเป็นตวั อยา่ ง เพอ่ื ใหน้ กั เรียนเกิด
ความเขา้ ใจวิธกี ารนำเสนอและนำเสนอได้อยา่ งถกู ต้อง

ขั้นท่ี 4 ขั้นลงมือปฏิบัติ เป็นขั้นที่มีความสำคญั มาก คือการดำเนินการ หรือลงมือปฏิบตั ิตามแผนท่วี าง
ไว้ในขั้นที่ 3 ครูต้องใช้การเสริมแรงและสนับสนุนให้นักเรียนเลือกวิธีการตามที่นักเรียนต้องการ แต่ต้องอยู่บน
พืน้ ฐานของการนำข้อมลู มาจดั หมวดหมู่ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และเช่อื มโยงขอ้ มลู ต่าง ๆ

ขน้ั ที่ 5 ขน้ั สรปุ และนำเสนอ เป็นการให้นักเรียนสรุปข้อมูลจากการวเิ คราะห์ และสงั เคราะห์เป็นผลงาน
นำเสนอข้อมูลและเผยแพร่ข้อมูล โดยนักเรียนสามารถนำเสนอในส่วนที่เป็นกระบวนการ วิธีการ ขั้นตอนและ
ผลลัพธ์หรือผลที่ได้จากการศึกษา ครูควรให้คำแนะนำ กระตุ้นให้เกิดการซักถามภายในชั้นเรียน และควรมีการ
นำเสนอผลงานต่อโรงเรยี น ชุมชน เขตพนื้ ที่การศึกษา หรอื ในระดับอนื่ ๆ

ขั้นที่ 6 การประเมินผล เป็นการประเมินจากการปฏิบัติของนักเรียนสามารถประเมินได้เป็นสองส่วน
คอื

๒๗

1) ส่วนของนักเรียนที่ประเมินการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง โดยดูที่คุณภาพเป็นเกณฑ์ ลักษณะและวิธีการที่ใช้
ในการประเมินใช้การอภิปรายจากการทำงานและชิ้นงาน ซึ่งในส่วนนี้นักเรียนจะเป็นผู้มีบทบาทในการแสดง
ความคดิ เหน็ พรอ้ มให้ค่าคะแนนตามเกณฑท์ ี่ตกลงรว่ มกนั

2) สว่ นที่ครูประเมนิ การทำโครงงาน ซ่ึงครูจะประเมินในดา้ นของเนื้อหาสาระของโครงงาน กระบวนการ
ทำงาน การนำเสนอโครงงาน โดยใช้วิธีใหค้ ะแนนตามเกณฑ์ที่สรา้ งข้ึน และควรให้ผูเ้ รียนรับทราบเกณฑ์ดังกล่าว
ด้วยเพื่อความเขา้ ใจทตี่ รงกนั

การนำเสนอโครงงานดว้ ยวาจา การนำเสนอโครงงานหรอื การพูดต่อทช่ี มุ ชนโดยการใช้ศาสตรว์ าทศาสตร์
หรอื วาทศลิ ป์ ซ่ึงไดก้ ล่าวถึงหลกั การนำเสนอและบุคลิกภาพของผนู้ ำเสนอไว้ดังน้ี

1. หลกั การนำเสนอ
1.1 การวางแผน (Planning) ผ้นู ำเสนอจะตอ้ ง
1) รอบรูเ้ รอ่ื งทจ่ี ะนำเสนอ
2) รจู้ ักวเิ คราะหผ์ ู้ฟัง
3) ร้เู ป้าหมายการนำเสนออย่างชัดเจน
1.2 การเตรยี มการ (Preparation)
1) เลอื กเนื้อหา
2) เรียงลำดับเน้อื หา
3) กำหนดเวลา
4) เสนอกจิ กรรม
5) เตรยี มสอ่ื ประกอบการนำเสนอ
6) เขยี นแผนการนำเสนอ ซง่ึ ประกอบด้วย จดุ ประสงค์ การกำหนดเนือ้ หา ขั้นตอน
นำเสนอการดำเนินการ
7) ซกั ซอ้ มการนำเสนอ
1.3 การนำเสนอ (Presentation)
1) แนะนำตวั
2) บอกความจำเปน็ ทีต่ ้องนำเสนอ
3) บอกหวั ข้อทีน่ ำเสนอ
4) ดำเนนิ การนำเสนอ 3 ข้ันตอนคือ
1. ขัน้ ตน้ ควรใหต้ น่ื เตน้ เรา้ ความสนใจผู้ฟัง 5-10%
2. ขน้ั เสนอควรให้กลมกลนื 80-90%
3. ขนั้ สรุปควรใหจ้ บั ใจ 5-10%

๒๘

สื่อและแหล่งการเรยี นรู้
1. ส่อื การเรยี นรู้
หนังสอื เรียน หนว่ ยท่ี 1 เรื่อง ความรูเ้ ก่ียวกบั โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ใบกจิ กรรมท่ี 1.1–1.2

PowerPoint ประกอบการสอน หน่วยท่ี 1 วดี ีทัศน์โครงงานวิทยาศาสตร์ ตวั อยา่ ง บทคดั ย่อโครงงาน
วทิ ยาศาสตร์ แบบทดสอบก่อนเรยี น และหลังเรยี น

2. แหล่งการเรียนรู้
หนงั สือ วารสาร เก่ียวกบั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อินเทอรเ์ น็ต www.google.com
การวัดและการประเมินผล
1. การวดั ผลและการประเมนิ ผล

1.1 แบบประเมนิ พฤติกรรม ความมวี ินัย และความรบั ผดิ ชอบ ต้องได้คะแนน ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 70
ผา่ นเกณฑ์

1.2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรยี นหลงั เรยี น
1.3 สังเกตการปฏิบัติกจิ กรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมินผล การปฏบิ ตั ิกิจกรรมกลุ่ม
1.4 ตรวจใบกจิ กรรม
1.5 ตรวจแบบฝึกหดั
2. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
2.1 แบบประเมนิ พฤติกรรม ความมวี นิ ัยและความรบั ผดิ ชอบต้องได้คะแนน ไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ 70
ผา่ นเกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลงั เรยี น ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 70 ผ่านเกณฑ์
2.3 แบบประเมินพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิกิจกรรมกลมุ่ ต้องไดค้ ะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ผา่ นเกณฑ์
2.4 ใบกจิ กรรมตอ้ งได้คะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
2.5 แบบฝกึ หดั ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์

๒๙

งานท่ีมอบหมาย
มอบหมายใหน้ ักเรยี นศกึ ษาบทคัดย่อโครงงานวทิ ยาศาสตร์ และดำเนนิ การทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเร็จของผู้เรียน
1. ผลการนำเสนองานจากใบกจิ กรรม
2. ผลการทำแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1 ครูทบทวนเนื้อหาทเี่ รยี นในคร้ังที่
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test) หนว่ ยท่ี 1

เอกสารอ้างองิ
1. หนงั สือเรียนวิชา โครงการวิทยาศาสตร์ 2000–1306)

บริษทั ศูนยห์ นังสือเมืองไทย จำกดั
2. เวบ็ ไซต์และสือ่ สิ่งพมิ พท์ ่เี ก่ียวขอ้ งกับเนื้อหาบทเรียนตามบรรณานกุ รม


Click to View FlipBook Version