The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pornpimon.earnearn, 2022-05-12 10:49:27

สรุปปัจจัยพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร

พรพิมล โนนแก้ว 64919401015

G1 ปัจจัยพ้ืนฐานด้านปรชั ญาการศกึ ษา (Fundamentals of Educational Philosophy)

1. พ้ืนฐานการพฒั นาหลกั สูตรดา้ นปรชั ญา
ปรชั ญาการศกึ ษา คอื แนวความคิด หลกั การ และกฎเกณฑ์ ในการกาหนดแนวทางในการจดั การศึกษา
นอกจากน้ีปรัชญาการศึกษายงั พยายามทาการวเิ คราะห์และทาความเข้าใจเก่ียวกบั การศกึ ษา สามารถมองเหน็
ปญั หาของการศกึ ษาได้อย่างชัดเจน
การจัดการศึกษาตอ้ งอาศัยปรชั ญาในการกาหนดจดุ มุ่งหมายและหาคาตอบทางการศกึ ษา

1.1 ความหมายของปรัชญา
“ปรชั ญา” คือ “วิธคี ดิ อยา่ งมรี ะเบยี บเก่ยี วกบั สิง่ ตา่ งๆท่มี อี ยหู่ รอื เป็นความพยายามทจ่ี ะคน้ หาความ

สอดคล้องของแนวความคดิ และประสบการณ์ทง้ั หมด” (Kneller,1964,p.1)
2. ปรชั ญากบั ปรัชญาการศกึ ษา

2.1 ปรชั ญากบั ปรัชญาการศึกษา
คาวา่ ปรัชญาการศกึ ษา เปน็ การนาศาสตร์ 2 ศาสตร์ คือ ปรัชญา + การศกึ ษา มาประยกุ ต์ เข้าดว้ ยกนั
หมายถงึ การนาเอาหลกั บางประการของปรัชญาอันเป็นแม่บทมาดัดแปลงให้เปน็ ระบบเพอื่ ประโยชน์ใน
การศึกษา

2.2 ความหมายปรัชญาการศกึ ษา
จิตรกร ตงั้ เกษมสุข (2525:22) ปรชั ญาการศกึ ษา คอื การนาเอาเนือ้ หาและวธิ กี ารของปรัชญามาประยุกตใ์ ช้

ในการจัดการศึกษา
ทศิ นา แขมมณี (2553) ปรชั ญาการศกึ ษา เปน็ ปรัชญาท่แี ตกหน่อมาจากปรัชญา แมบ่ ทหรอื ปรชั ญาทวั่ ไปทว่ี ่า

ดว้ ยความรู้ความจริงของชวี ติ
Kneller (1971:2) ปรัชญาการศกึ ษา คอื ผลจากการแสวงหาความเข้าใจเกยี่ วกบั การศึกษาอยา่ งชัดเจน

3. ลกั ษณะของปรัชญาการศึกษา
3.1 อภิปรัชญา (Metaphysics หรอื Ontology) ไดแ้ ก่ การเรยี นรเู้ พอื่ หลักความจริงตา่ ง ๆ
3.2 ญาณวิทยา (Epistemology) และตรรกวทิ ยา (Logic)
ญาณวทิ ยา (Epistemology) เปน็ เรื่องทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับธรรมชาตขิ องความจริง
ตรรกวทิ ยา(Logic) เป็นเร่อื งทีเ่ กย่ี วกบั กฎเกณฑท์ ่มี าจากเหตุผล
3.3 คุณวทิ ยา (Axiology) จาแนกออกเปน็ 2 แขนง คือ สุนทรยี ศาสตร์ (Aesthetic) และจริยศาสตร์

(Ethics)

4. ปรัชญาการศึกษา
1.1 ปรชั ญาสารตั ถนยิ ม (Essentialism)
1) ปรัชญาสารัตถนิยมตามแนวคิดของลทั ธจิ ิตนิยม ถือวา่ บคุ คลเปน็ ส่วนหนง่ึ ของสังคมและ
เปน็ เครอ่ื งมอื ของสงั คม มคี วามเห็นว่าสงิ่ ที่สาคญั ที่สดุ คือการสืบทอดวัฒนธรรม
2) ปรชั ญาสารัตถนิยมตามแนวคิดของลทั ธสิ ัจนยิ ม ทุกสง่ิ ทกุ อยา่ งทมี่ นษุ ย์จะต้องเรยี นรู้
เก่ียวกบั กฎเกณฑท์ างธรรมชาติ

3) ปรัชญานิรนั ตรนยิ ม (Perenialsm)
เน้นความสาคญั ของความคงที่หรอื ความเปล่ียนแปลง ถือว่าความจรงิ คือความรู้ในอดตี ยอ่ มสามารถ
นามาใชไ้ ดใ้ นปัจจุบนั

4) ปรัชญาพิพัฒนนิยม (Progressivism)
จะถือว่าโรงเรยี นเปน็ เครื่องมือของสังคมทจี่ ะถา่ ยทอดวฒั นธรรมอนั เปน็ มรดกของสังคมให้ไปสู่
อนชุ นรนุ่ หลัง ควรจะนานกั เรยี นไปสคู่ วามสขุ ในชวี ติ ของอนาคต

5) ปรัชญาปฏิรปู นิยม (Reconstructionism)
การศึกษาควรจะเป็นเครอื่ งมอื โดยตรงสาหรับการเปลย่ี นแปลงสังคมในภาวะทส่ี งั คมกาลงั เผชิญ
ปัญหาตา่ ง ๆ เน้นการมบี ทบาทในการแก้ปญั หาและพฒั นาสังคม

5. ปรชั ญาการศกึ ษากบั การพัฒนาหลกั สูตร
5.1 รปู แบบการพฒั นาหลักสูตรจากแนวคิดตา่ งประเทศ ทาบา (Taba)
1) วเิ คราะห์ความตอ้ งการ
2) กาหนดจดุ มงุ่ หมาย
3) คัดเลอื กเนอ้ื หาสาระ
4) การจัดรวบรวมเนื้อหาสาระ
5) คัดเลือกประสบการณก์ ารเรียนรู้
6) การจัดรวบรวมประสบการณ์การเรียนรู้
7) กาหนดวิธีวดั และประเมินผล
5.2 รปู แบบการพฒั นาหลกั สูตรจากแนวคดิ ของไทย
รปู แบบการดาเนินงานพัฒนาหลักสูตร 4 ลักษณะ
1) การพัฒนาหลักสูตรโดยการปรบั กิจกรรมการเรียนการสอน
2) การพฒั นาหลกั สูตรโดยการปรบั รายละเอียดของเน้ือหา
3) การพฒั นาหลักสูตรโดยการพฒั นาส่อื การเรยี นการสอน
4) การพฒั นาหลกั สตู รโดยการจัดทาวชิ า/รายวิชาเพม่ิ เตมิ ขึ้นมาใหม่

G2 ปัจจยั พ้ืนฐานดา้ นด้านสังคมและวัฒนธรรม

การพัฒนาหลักสตู รจงึ จาเป็นจะต้องคานึงถึงข้อมูลทางสงั คมและวัฒนธรรมทเ่ี ป็นปัจจุบนั การศกึ ษามีบทบาท
สาคญั มี 2 ประการ คอื อนุรกั ษ์และถ่ายทอดวฒั นธรรมของสงั คมให้ไปสอู่ นชุ นรุ่นหลัง และปรบั ปรุง
เปลย่ี นแปลงวฒั นธรรมของสงั คมให้เข้ากบั การเปล่ียนแปลงทางดา้ น
ข้อมูลทางสงั คมและวฒั นธรรมท่ีเป็นพนื้ ฐานในการพฒั นาหลกั สูตร แบ่งออกได้ 4 กลุ่ม คือ
1. ระบบสงั คม วัฒนธรรม และคา่ นยิ ม

1.1 ระบบสังคม
1) ลักษณะสงั คมเกษตรกรรมหรือสงั คมชนบท และ
2) สังคมอุตสาหกรรมหรือสังคมเมือง ซึง่ มแี นวโนม้ เพมิ่ มากข้ึน

1.2 คา่ นยิ มในสงั คม
1) ความเฉื่อย
2) การถอื ฐานานรุ ปู
3) การถอื วนตวั
4) การถอื ประโยชนข์ องตนเอง
5) การถอื อานาจ

1.3 ธรรมชาติของคนในสงั คม
1) ยึดมนั่ ในตัวบุคคลมากกวา่ หลกั การและเหตผุ ล
2) ยกยอ่ งคนท่ีมีความรหู้ รือไดร้ บั การศึกษาสูง
3) เคารพและคล้อยตามผมู้ ีวยั วุฒิสูง
4) ยกยอ่ งผมู้ เี งนิ
5) รกั ความเปน็ อิสระและชอบทางานตามลาพงั
6) นิยมการเลน่ พวก

1.4 วฒั นาในสงั คม
วฒั นธรรมเปน็ สญั ลกั ษณ์อันสาคญั ทจี่ ะแสดงให้ทราบว่าเป็นคนในสังคมเดยี วกนั หรอื เปน็ คนชาติ
เดียวกัน

1.5 ศาสนาในสังคม
ทกุ ศาสนาก็มีเปา้ หมายสดุ ยอดรว่ มกนั คือ ใหท้ าตนเป็นคนดีเพ่ือความสงบสขุ ในการอยูร่ ่วมกนั ใน
สังคมนั่นเอง และขณะเดยี วกนั กเ็ ปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นได้มีเสรีภาพในการปฏิบัติพิธีการทางศาสนาที่
ตนนบั ถือ

1.6 ความเปล่ยี นแปลงทางวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นสง่ิ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปตามกาลเวลา

2. ระบบการเมอื ง การปกครอง และเศรษฐกจิ
2.1 ระบบการเมอื งการปกครอง บรรจเุ นอ้ื หาสาระเพอื่ เปน็ การสรา้ งความเข้าใจใหแ้ กป่ ระชาชนในการทจ่ี ะ
อยรู่ ม่ กันในสังคม
2.2 รากฐานของประชาธิปไตย การจัดการเรียนการสอนกค็ วรจะได้มงุ่ เนน้ พฤตกิ รรมประชาธิปไตย
เพอ่ื ใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจอันถกู ต้องซ่ึงจะสร้างสรรคใ์ ห้ทุกคนอยู่รว่ มกนั ในสังคมได้อยา่ งเป็นสนั ตสิ ุข
2.3 พื้นฐานทางเศรษฐกจิ และระบบเศรษฐกิจ เน้นการพฒั นาอาชพี

3. การเปล่ียนแปลงทางสงั คมและครอบครัว
กลุม่ ปฏิรูปนยิ ม จะมคี วามเชื่อวา่ การเปลย่ี นแปลงของสงั คมโดยเทคโนโลยีและความก้าวหนา้ ทาง

วิทยาศาสตร์ พร้อมกบั กาหนดค่านยิ มและเปา้ หมายเพ่อื จะสามารถทาให้ผู้คนในสังคมสามารถดารงอยใู่ น
สงั คมประชาธปิ ไตยไดอ้ ยา่ งมีความสุข

3.1 อทิ ธิพลของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
3.2 การขยายตัวทางด้านอตุ สาหกรรม
3.3 การเปล่ยี นแปลงทางประชากร

3.4 การเปลีย่ นแปลงในชวี ิตและครอบครัว
3.5 แนวโน้มการเปล่ยี นแปลงทางสังคม
4. สภาพปญั หาและแนวทางในการแก้ปัญหาของสงั คม
4.1 ปัญหาทางด้านสง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาติ
4.2 ปญั หาทางดา้ นสงั คม
4.3 ปญั หาทางดา้ นเศรษฐกจิ
4.4 ปญั หาทางด้านเมือง

G3 ปัจจัยพน้ื ฐานดา้ นทฤษฎกี ารเรยี นูร้ในการพัฒนาผเู้ รยี น

1.กลมุ่ พฤติกรรมนยิ ม
1.1 ทฤษฎกี ารเรียนรกู้ ารวางเงอ่ื นไขแบบคลาสสกิ ของอวี าน พาฟลอฟ (Classical Conditioning Theory)
- ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล ความแตกต่างทางดา้ นอารมณ์
- การวางเงื่อนไข
- การลบพฤตกิ รรมท่ีวางเงอ่ื นไข
- การสรปุ ความเหมือนและการแยกความแตกตา่ ง
1.2 ทฤษฎีการเชอื่ มโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connected theory)
การลองผดิ ลองถกู จะนาไปสู่การเช่อื มโยงระหวา่ งสง่ิ เร้าและการตอบสนอง และการเรยี นรู้
1.3 ทฤษฎกี ารเรยี นรู้แบบลงมอื กระทาของสกนิ เนอร์ (Operant Conditioning Theory)
Skinner ให้ความสนใจกบั ผลกรรม (Consequences) 2 ประเภท
1. ถา้ ต้องการจัดใหเ้ ดก็ เปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมไปในลักษณะเชน่ ใดในอนาคตก็ควรจะได้ใช้
กระบวนการเสรมิ แรงเข้าไปช่วยสร้างพฤตกิ รรมนนั้ ๆ
2. การเรียนการสอนควรจะไดใ้ ช้วัสดอุ ุปกรณ์ท่ีมีแรงเสริมอยูใ่ นตวั เป็นอุปกรณท์ ี่สาคญั
3. จดั สภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรยี นให้ดเี พื่อให้เดก็ เกดิ การเรยี นเพิม่ ิข้น
1.4 ทฤษฎีการเสรมิ แรงของฮัลล์ (Hull’s Reinforcement Theory)
1. การจดั หลกั สตู รและวสั ดกุ ารเรียนการสอนใหเ้ หมาะสม
2. จัดลาดบั เนือ้ หา
3. จัดแบ่งเวลาการเรยี นการสอนพอเหมาะความสนใจของผเู้ รียน
4. หลีกเลยี่ งการบบี บงั คับ ควรจะเป็นไปโดยกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ

2. กลุ่มพทุ ธินิยม
2.1 ทฤษฎีเกสตอลท์ (Gestalt Theory)
1. การรับรู้ (Perception)
- กฏแหง่ ความแนน่ อนหรอื ชดั เจน (Law of Pragnanz)
- กฏแห่งความคล้ายคลึง (Law of Similarity)
- กฏแหง่ ความใกล้ชดิ (Law of Proximity)

- กฏแหง่ การิส้นสดุ (Law of Closure)
- กฎแหง่ ความต่อเิน่อง (Law of Continuity)
- กฎแหง่ ความสมบรู ณ์ (Law of Closer)
2. การหย่งั เห็น (Insight)
2.2 ทฤษฎีสนาม (Field Theory)
1. ผู้เรียนไดเ้ รียนสง่ิ ท่ีเป็นสว่ นรวมกอ่ น
2. เนอื้ หาสาระในหลกั สตู รจะตอ้ งมีความยากง่ายพอเหมาะกับความรู้ความสามารถของผ้เู รยี น
3. การเรียนรจู้ ะเกดิ ข้นึ เม่อื ผู้เรยี นเห็นว่า สิง่ ท่ีเรียนน้นั เปน็ การลดความกดดนั
2.3 ทฤษฎอี นิ ทรียข์ องวลี เลอร์ (Wheeler’s Organismic Theory)
1. ศึกษาผู้เรียนแตล่ ะคนมีระดบั วฒุ ภิ าวะเพียงใด
2. สร้างประสบการณก์ ารเรยี นรู้ วัสดกุ ารเรยี นการสอนตอ้ งสรา้ งในรปู ที่สมบูรณท์ ่ีสดุ ไม่กระจัดกระจายกนั
3. ไมค่ วรใหผ้ ูเ้ รียนเรียนสงิ่ หน่ึงส่ิงใดนานเกินไป
2.4 ทฤษฎีความมุ่งหวังของทอลแมน (Tolman’s Purposive Theory)
ต้งั จดุ ม่งุ หมายให้เหมาะสมกบั ความสามารถผู้เรยี น
3.กลุ่มมนษุ ยนยิ ม
ทฤษฎีการเรยี นรู้ของมาสโลว์ (Maslow)
1. เขา้ ใจพฤติกรรมพ้ืนฐานของมนุษย์
2. การให้อสิ รภาพและเสรีภาพแก่ผเู้ รียนในการเรียนรู้และการจดั บรรยากาศทเ่ี ออื้ ตอ่ การเรียนรู้ จะทาให้
ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ไดด้ ี
ทฤษฎกี ารเรียนรูของรอเจอรส์ (Rogers)
1. การจัดสภาพแวดลอ้ มทางการเรียนใหอ้ บอุ่น ปลอดภัย ไมน่ า่ หวาดกลัว น่าไวว้ างใจ จะชว่ ยให้ผ้เู รียน
เกิดการเรยี นรไู้ ดด้ ี
2. สอนแบบชี้แนะ(non-directive) โดยให้ผู้เรยี นเป็นผนู้ าทางในการเรียนรู้ของตน (self- directive)
และครคู อยชว่ ยเหลอื ผู้เรียนใหเ้ รยี นอยา่ งสะดวกจนบรรลผุ ล
4. กลุ่มผสมผสาน
สร้างแบบของการเรยี นรู้จากข้ันต่าไปหาขนั้ สูง การเรียนรูใ้ นขน้ั สูงจะตอ้ งอาศยั การเรียนรูใ้ นข้ันตา่ เป็น
รากฐาน ตามประเภทการเรียนรู้ 8 ประเภทของกาเย่ โดยลาดบั การเรียนร้จู ากง่ายไปยาก

G4 ปัจจยั พื้นฐานด้านดา้ นเทคโนโลยแี ละส่อื การเรียน

ICT ยอ่ มาจาก Information and Communication Technology หมายถึง เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สอื่ สาร
เป้าหมายของการใช้ ICT เพอื่ การเรยี นรู้

1. เป็นเคร่อื งมอื ช่วยเพม่ิ ผลงาน และการตดิ ตอ่ สื่อสาร
2. ความร่วมมอื ของนกั เรยี น โดยการวเิ คราะหข์ ้อมูลรว่ มกัน
3. บรหิ ารจัดการข้อมูล โดยการค้นควา้ ข้อมลู

4. ความร่วมมือของครู โดยครทู างานรว่ มกันเอง ทางานรว่ มกบั นกั เรยี น และเพ่ือนภายนอกโรงเรยี น
5. ความรว่ มมือระหวา่ งโรงเรียน โดยนกั เรยี นทางานร่วมกับผู้อน่ื ทอี่ ย่นู อกโรงเรยี น
6. การสร้างงาน โดยการจดั ทาชน้ิ งาน การเผยแพรผ่ ลงาน
7. ช่วยบททวนบทเรยี น โดยซอร์ฟแวร์เสรมิ การเรียน
1. บทบาทของสารสนเทศ
- เทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มามีสว่ นช่วยเร่อื งการเรยี นรู้ ชว่ ยในการเรียนรู้
- เทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มาสนบั สนนุ การจัดการศึกษา
- เทคโนโลยีสารสนเทศกับการสอ่ื สารระหวา่ งบุคคล
- พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา โดยเกิดการศกึ ษาในรูปแบบใหม่
1.1 เทคโนโลยีกับการเรียนการสอน จะเก่ียวข้องกับการเรยี นการสอน 3 ลกั ษณะ คอื
1. การเรียนรูเ้ กย่ี วกับเทคโนโลยี
2. การเรียนรูโ้ ดยใชเ้ ทคโนโลยี
3. การเรียนรู้กับเทคโนโลยี
1.2 การใชเ้ ทคโนโลยีพฒั นาความสามารถในการแกป้ ญั หาการเรยี นร้ทู เ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นศนู ย์กลาง
โดยใช้เทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือช่วย และครูชว่ ยกากับผลการเรียนรใู้ หเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานคุณภาพท่ี
ตอ้ งการ
2. การจัดปัจจัยสนบั สนุนการใชเ้ ทคโนโลยีช่วยการเรยี นรู้ คือ การสร้างความพรอ้ มรวมถึงอานวยความ
สะดวกให้สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรยี นรู้
1. คูส่ ร้างโอกาสในการใช้เทคโนโลยใี นการเรียนรู้
2. ครแู ละผเู้ รียนจดั แหลง่ ระบบและแหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ
3. สถานศกึ ษาจัดศนู ย์ขอ้ มลู สารสนเทศ
4. การบริหารหรอื หน่วยงานกลางทางเทคโนโลยี


Click to View FlipBook Version