The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กระบวนการการศึกษาค้นคว้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nattanan2269, 2021-10-27 03:59:15

กระบวนการการศึกษาค้นคว้า

กระบวนการการศึกษาค้นคว้า

หน่วยที่ 1
การศึกษาคน้ ควา้

กระบวนการศึกษาคน้ ควา้

รวบรวมโดยนางณฏั ฐนนั ท์ นนทต์ ุลา

การศึกษาคน้ ควา้

กระบวนการศึกษาคน้ ควา้

การเรยี นรหู้ รอื กระบวนการศกึ ษาคน้ ควา้ เรม่ิ จากการศกึ ษาคน้ ควา้ ใน
เรอ่ื งทต่ี นสนใจ เพอ่ื ใหไ้ ดร้ บั ขอ้ มลู สารสนเทศและความรู้ เพอ่ื เพมิ่ พนู ความรู้
ความสามารถ การรวู้ ธิ คี น้ หาสารสนเทศ และความรจู้ งึ มคี วามสาคญั ทช่ี ว่ ยใหเ้ รา
มคี วามรกู้ วา้ งขวางขน้ึ ดงั นนั้ ความรจู้ งึ มี 2 ลกั ษณะ คอื ความรใู้ นเน้อื หาวชิ า
นนั้ ๆ กบั ความรวู้ า่ จะคน้ หาความรไู้ ดจ้ ากทใ่ี ด

ข้นั ตอนของกระบวนการศึกษาคน้ ควา้

1. ความรู้ (Knowledge) เกดิ ขน้ึ จากการไดร้ บั ขอ้ มลู ขา่ วสาร
(Information) แลว้ ประมวลสาระทไ่ี ดไ้ ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์หลงั จากท่แี ตล่ ะคน
ไดเ้ รยี นรู้ จงึ เกดิ เป็นความรตู้ ดิ ตวั ผเู้ รยี น โดยวดั จากการจาไดห้ รอื ปฏบิ ตั ไิ ด้
2. ความเข้าใจ (Comprehension) คอื การทบ่ี คุ คลสามารถแปล
ความหมาย หรอื อธบิ ายความหมายของสง่ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรมู้ าแลว้ ในขนั้ ท่ี 1 จน
เกดิ เป็นความเขา้ ใจ
3. การนาไปใช้ (Application) เมอ่ื ไดเ้ รยี นรจู้ นมคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจ
แลว้ สามารถนาไปใชไ้ ดห้ รอื นาไปปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งดี เชน่ เรยี นรกู้ ารหา
พน้ื ทข่ี องรปู สเ่ี หลย่ี มโดยใชส้ ตู ร ดา้ นกวา้ ง คณู ดา้ นยาว

ข้นั ตอนของกระบวนการศึกษาคน้ ควา้

4. การวิเคราะห์ (Analysis) เมอ่ื ไดเ้ รยี นรถู้ งึ ขนั้ ท่ี 3 แลว้ มคี วามสามารถ
ในการวเิ คราะห์ ทม่ี าของสตู รได้
5. การสงั เคราะห์ (Synthesis) เชน่ มคี วามสามารถในการสงั เคราะห์ หรอื
สรา้ งสตู รขน้ึ มาใหมไ่ ด้
6. การประเมินผล (Evaluation) เมอ่ื ไดเ้ รยี นรถู้ งึ ขนั้ ท่ี 5 แลว้ สามารถ
ตดั สนิ หรอื ประเมนิ สงิ่ ทพ่ี บเหน็ ไดว้ า่ ถกู ตอ้ ง ดงี ามและเหมาะสมหรอื ไม่ (น้า
ทพิ ย์ วภิ าวนิ . 2547 : 6-11)

องคป์ ระกอบของกระบวนการศึกษาคน้ ควา้ มีดงั ต่อไปน้ ี

1. การวางแผนการศึกษา เป็ นสิ่งสำคญั อยำ่ งย่งิ สำหรบั กำรศึกษำ กำรวำงแผนในกำรศึกษำ
จะทำใหน้ ักเรียนรจู้ ุดหมำยปลำยทำงของกำรศึกษำ วำ่ จะประสบผลเชน่ ไร
กำรศึกษำท่ีมุง่ หวงั คุณภำพ จำเป็ นอยำ่ งยิง่ ที่จะตอ้ งมีกำรวำงแผนกำรศึกษำและมีกำรปฏิบตั ิ
ตำมแผนที่ไดก้ ำหนดไวอ้ ยำ่ งเคร่งครดั จึงจะบรรลุเป้ำหมำยที่ต้งั ไวไ้ ด้

กำรศึกษำที่ดีตอ้ งเริ่มตน้ ดว้ ยเจตคติที่ดี มีควำมพยำยำมมุง่ มนั่ ในกำรเอำชนะอุปสรรค
ต่ำงๆ หลีกเลี่ยงส่ิงท่ีไมเ่ ป็ นประโยชน์ต่อกำรศึกษำ ส่ิงเหล่ำน้ ีจะชว่ ยใหน้ ักเรียนเกดิ
ควำมพรอ้ มในกำรเรียน กำรเร่ิมตน้ ของกำรเรียนที่ดีน้ัน มีขอ้ ควรปฏบิ ตั ิคือ

1.1 จดั ตำรำงเรียนใหเ้ ป็ นระบบ
1.2 เรียนรเู้ กี่ยวกบั พ้ ืนฐำนของแต่ละรำยวชิ ำ
1.3 ตอ้ งติดตำมควำมกำ้ วหน้ำของวชิ ำน้ันๆ ถำ้ สงสยั สิ่งใดใหถ้ ำมคุณครู
1.4 คิดจุดมุง่ หมำยของกำรเรียนในแต่ละรำยวิชำไวล้ ่วงหน้ำ วำ่ เมอ่ื เรียนแลว้ ควร
จะไดผ้ ลกำรเรียนระดบั ใด และจะนำไปใชไ้ ดอ้ ยำ่ งไร
1.5 วำงแผนกำรใชเ้ วลำสำหรบั กำรเรียนในแต่ละรำยวชิ ำ

องคป์ ระกอบของกระบวนการศึกษาคน้ ควา้ มดี งั ต่อไปน้ ี

2. การบริหารเวลา เวลำเป็ นสิ่งท่ีทุกคนมเี ท่ำกนั คือวนั ละ 24 ชวั่ โมง แต่กำรใชเ้ วลำของแต่
ละบุคคลไมด่ งั น้ันเพ่ือใหก้ ำรใชเ้ วลำในแต่ละวนั ของเรำมีประโยชน์และคุม้ ค่ำท่ีสุด เรำจึง
ควรปฏิบตั ิดงั นี
2.1 วำงแผนกำรใชเ้ วลำ รูจ้ กั แบ่งเวลำ เพรำะเวลำท่ีสญู เสียไปโดยเปลำ่ ประโยชน์

อำจส่งผลต่อเป้ำหมำยในกำรศึกษำท่ีวำงไวไ้ ด้ ควรหลีกเล่ียงส่ิงที่เป็ นศตั รูของเวลำ ดงั ต่อไปน้ ี
1) กำรผดั วนั ประกนั พรุง่ 2) นิสยั เกียจครำ้ น 3) ใชเ้ วลำไมเ่ ป็ น

2.2 ตำรำงกำรใชเ้ วลำ ทำตำรำงเวลำวำ่ ในแต่ละวนั จะอำ่ นหรือทบทวนบทเรียน
หรือศึกษำคน้ ควำ้ เพิ่มเติมในแต่ละรำยวิชำในเวลำใด และเป็ นเวลำมำกนอ้ ยเพียงใด
3. การเพ่ิมสมรรถภาพในการเรยี น นอกจำกกำรวำงแผนกำรในกำรศึกษำ และรจู้ กั
บริหำรเวลำแลว้ กำรเพิ่มสมรรถภำพในกำรเรียนเพ่ือใหก้ ำรเรียนรูแ้ ละกำรศึกษำคน้ ควำ้ ของ
นักเรียนประสบผลสำเร็จสมควำมต้งั ใจ โดยกำรเตรียมควำมพรอ้ มในกำรเรียน หำนักเรียน
มีควำมพรอ้ มในทุกๆ ดำ้ นท้งั ทำงดำ้ นรำ่ งกำย จติ ใจ และควำมพรอ้ มทำงดำ้ นวิชำกำรแลว้
กำรศึกษำยอ่ มไดผ้ ลดี

ทกั ษะในการศึกษาคน้ ควา้

ทกั ษะในการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง มีความเก่ียวข้องกันอยู่ 2 ส่วน คือ
1. ทกั ษะการศกึ ษาหรือทกั ษะการเรียน เป็นทกั ษะในด้านการอา่ น การฟัง

การเขียนและการจา
2. ทกั ษะการค้นคว้า เป็นทกั ษะในด้านการค้นหาข้อมลู จากแหลง่ เรียนรู้ทงั้ ภายใน

โรงเรียนและภายนอกโรงเรียน สามารถวเิ คราะห์แหลง่ ข้อมลู ท่ีต้องการ รู้จกั ใช้เครื่องมือช่วย
การค้นคว้าทงั้ การค้นด้วยมือ และการค้นโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยค้น

ทกั ษะพ้ ืนฐำนของกำรศึกษำหำควำมรู้

ทักษะพนื้ ฐานในการหาความรู้ 4 ประการคือ สุ จิ ปุ ิิ
สุ ได้แก่ สตุ คือ การฟัง
จิ ได้แก่ จินตนะ คือ การคิด
ปุ ได้แก่ ปจุ ฉา คือ คาถาม
ลิ ได้แก่ ลิขิต คอื การเขียน

ทกั ษะพ้ ืนฐำนของกำรศึกษำหำควำมรู้

การฟัง
การฟังเป็ นการเปิ ดใจเพอื่ รบั ฟังขอ้ มูล ข่าวสาร กอ่ นทจี่ ะคดิ ว่าเรอื่ งทรี่ บั ฟังน้ัน มเี หตุผล

น่าเชอื่ ถอื หรอื ไม่ อยา่ งไร การฟังเป็ นเครอื่ งมอื ในการแสวงหาความรู ้ ผูฟ้ ังทดี่ คี วรมสี มาธใิ นการ
ฟัง เพอื่ ใหม้ คี วามตอ่ เนื่องของเนือ้ หาและความเขา้ ใจ การฟังจะตอ้ งนามาคดิ ไตรต่ รอง ความ
น่ าเชอื่ ถือ การเป็ นผูร้ ูน้ อกจากจะเกิดจากการอ่านมากแลว้ ยงั มาจากการเป็ นผูฟ้ ังมาก
เรยี กวา่ พหสู ตู

การคดิ
การคดิ เป็ นการทางานของสมอง สมองของมนุษย ์ มี 2 ซกี คอื ซกี ซา้ ยและซกี ขวา

ทาหนา้ ทแี่ ตกต่างกนั โดยสมองซกี ซา้ ย ทาหนา้ ทีค่ วบคุมการใชเ้ หตุผล การคานวณ ส่วน
สมองซกี ขวา ควบคมุ ความคดิ สรา้ งสรรค ์ อารมณ์ จติ ใจ โดยมวี ธิ กี ารคดิ ดงั นี้

คดิ ใหเ้ กดิ สมาธิ หรอื การคดิ อยา่ งเป็ นระบบ (Systematic Thinking)
คดิ ใหเ้ กดิ ความคดิ สรา้ งสรรค ์ (Creative Thinking)
คดิ ใหเ้ กดิ ผลเชงิ วเิ คราะห ์ (Analytical Thinking)

ทกั ษะพ้ ืนฐำนของกำรศึกษำหำควำมรู้

การถาม
การซกั ถามเรอื่ งทสี่ งสยั และตอ้ งการขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ เป็ นการแสวงหาความรู ้ หลงั จาก

การอ่านและการฟัง เพอื่ ชว่ ยใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจไดช้ ดั เจนขนึ้ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความกระจ่าง และ
ความเขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ ง การไตถ่ ามควรคานึงถงึ กาลเทศะ และภาษาทใี่ ชถ้ ามดว้ ย

การเขยี นหรอื การจดบนั ทกึ
การเขียนหรอื การจดบันทึก เป็ นการบันทึกขอ้ ความเพื่อเตือนความจาเพื่อ

ประโยชนใ์ นการนาบนั ทกึ น้ันมาทบทวนในภายหลงั ควรจดเฉพาะใจความสาคญั เป็ นการจด
สรุปความ เพื่อความเขา้ ใจและป้ องกนั การสบั สนและการลืม การบนั ทึกหรอื การเขียน
ประกอบดว้ ยหวั ขอ้ สาคญั ขอ้ ความสาคญั และสรปุ ความ โดยจดเฉพาะใจความสาคญั

นอกจากทกั ษะพืน้ ฐานทีจ่ าเป็ นทง้ั 4 ประการขา้ งตน้ แลว้ ยงั มีทกั ษะซงึ่
ผูเ้ รยี นควรฝึ กฝนเพมิ่ เตมิ คอื

1. ทกั ษะการวางแผนการศกึ ษา ซงึ่ ไดแ้ ก่ การรูจ้ กั ตวั เอง การกาหนดเป้ าหมายใน
การศกึ ษา การวางแผนการใชเ้ วลาในการศกึ ษา การจดั สภาพแวดลอ้ มของการเรยี นและ
การสรา้ งนิสยั ในการเรยี นทดี่ ี เป็ นตน้
2. ทกั ษะการอา่ น รูห้ ลกั ในการอา่ นหนังสอื ประเภทต่างๆ รูห้ ลกั การอ่านเรว็ สามารถอา่ น
จบั ใจความได ้
3. ทกั ษะการเขยี น มีทกั ษะในการจดบนั ทึกย่อจากการอ่าน และการฟัง อย่างกะทดั รดั
ชดั เจน และมแี บบแผน
4. ทกั ษะการจา สามารถจดจาสงิ่ ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และจาไดน้ าน และมหี ลกั ในการจา
5. ทกั ษะการสอบ สามารถใชห้ ลกั การสอบ เป็ นประโยชนต์ อ่ การทาขอ้ สอบดว้ ยดี
6. ทกั ษะการศกึ ษาคน้ ควา้ มที กั ษะในการใชแ้ หลง่ สารสนเทศตา่ งๆ ทงั้ ภายในและภายนอก
โรงเรยี นใหเ้ ป็ นประโยชนต์ ่อการศกึ ษา รูจ้ กั ใชเ้ ครอื่ งมือชว่ ยในการคน้ ควา้ ทกั ษะการศกึ ษา
คน้ ควา้ ทกี่ ล่าวมาทงั้ หมดนี้ ลว้ นเป็ นทกั ษะพืน้ ฐานทสี่ าคญั ของการศกึ ษา ทนี่ ักเรยี นจะตอ้ งมี
ความรูค้ วามเขา้ ใจ และเป็ นสงิ่ ทนี่ ักเรยี นจาเป็ นตอ้ งใชใ้ นการศกึ ษาทุกแขนงวชิ าทง้ั ในปัจจุบนั
และในอนาคต


Click to View FlipBook Version