The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การสร้างพล็อตนิยาย วาณิตา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nattanan2269, 2022-01-10 10:33:47

การสร้างพล็อตนิยาย วาณิตา

การสร้างพล็อตนิยาย วาณิตา

การสร้างพลอ็ ตนยิ าย

จดั ทาโดย
เด็กหญิงวาณติ า แสงมณี
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 หอ้ ง 9 เลขที่ 39

รายงานฉบับน้เี ปน็ สว่ นหนึ่งของวชิ าห้องสมุดเพ่ือการเรียนรู้
สารสนเทศ ง 21214 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนหาดใหญว่ ทิ ยาลัย ๒

การสรา้ งพลอ็ ตนยิ าย

จัดทาโดย
เดก็ หญงิ วาณติ า แสงมณี
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1/9 เลขที่ 39

รายงานฉบับนเี้ ป็นสว่ นหน่ึงของวชิ าห้องสมุดเพือ่ การเรยี นรู้
สารสนเทศ ง 21214 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นหาดใหญว่ ทิ ยาลยั ๒



คานา

รายงานฉบบั น้เี ป็นการศกึ ษาคน้ ควา้ เรอื่ งการสร้างพล็อตนิยาย มีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือใหค้ วามรู้
เกย่ี วกบั การสรา้ งพลอ็ ตนิยายตา่ งๆ ประกอบดว้ ย ความรู้ท่ัวไป ประเภท การนาไปใช้ ผลกระทบ
ภาพประกอบเกย่ี วกบั การสร้างพล็อตนิยาย

ขอบคุณครู ณัฏฐนันท์ นนท์ตุลา ที่ให้ความรู้และคาแนะนาในการทารายงานฉบับน้ี ขอบคุณ
คุณพ่อ คุณแม่ เพื่อนและผู้ที่เก่ียวข้องทั้งหมดที่คอยให้กาลังใจในการทารายงานฉบับน้ี จนสาเร็จ และ
หวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่ารายงานฉบับน้ีคงเปน็ ประโยชน์แกผ่ สู้ นใจ

วาณิตา แสงมณี
27 ธ.ค 2564

สารบญั ข

เร่อื ง หนา้

คานา ก
สารบัญ ข
ความร้ทู ่ัวไปของการสรา้ งพลอ็ ตนิยาย 1
การออกแบบคาแรคเตอรต์ ัวละคร 1
กาหนด MOOD&TOEN และปมของเรอ่ื ง 8
กาหนดคดิ Gimmick ของเร่ือง 8
กาหนด Setting ของเร่ือง 9
9
กาหนดหมวดหมู่ 11
กาหนดฉากสถานท่ี 15
บรรณานกุ รม

ความรทู้ ั่วไปของการสร้างพล็อตนยิ าย

พล็อต หมายถึงชุดของเหตุการณ์ท่ีทาให้เร่ืองมีความหมายและก่อให้เกิดผลบางอย่าง ซึ่งใน
นิยายหรือนวนิยาย โดยส่วนมากเหตุการณ์มักจะเกิดขึ้นจาก ความขัดแย้ง หรือปัญหาที่ตัวละครสาคัญ
ไดพ้ บ หรอื ได้รบั รู้ ความขัดแย้งน้ีอาจจะมากจากสิง่ ภายนอกทีเ่ ปลยี่ นแปลงไปจากเดมิ

องค์ประกอบพล็อตทด่ี ี

1. เบ็ดเกี่ยว ในทีน่ ้ี หมายถึงการสรา้ งสถานการณ์ หรือเขยี นเรื่องราวทสี่ ร้างความประหลาดใจ
รวมไปถึงความประทับใจให้เกดิ ต่อผู้อา่ น โดยสร้างความสงสัย ความอยากรอู้ ยากเห็นจนผู้อา่ นตอ้ งรบี
เปิดหนา้ ถัดไปเพื่ออ่านต่อ

2. ตวั ละคร ตอ้ งสรา้ งตัวละครทุกตวั ให้ดสู มจริง และนา่ เชือ่ ถือ ไมว่ า่ จะเปน็ พระเอก นางเอก ตัว
ร้าย หรือตวั ประกอบอ่ืนๆเพื่อทาให้ผูอ้ า่ นรูส้ กึ อยากตดิ ตาม และใกล้ชิดกับตวั ละครทุกตัวในเร่ืองทีจ่ ดจ่อ
ที่สาคญั ตวั ละครจาเป็นต้องต้องมีขอ้ ดี และข้อด้อยในแบบฉบับของตนเอง เพ่ือสร้างให้ดูมมี ติ ิและ
สมจริงมากขึ้น

3. ความขัดแย้ง ท่เี กิดข้ึนในเร่ือง จาเป็นต้องสรา้ งขน้ึ มาอย่างสมเหตุสมผล และมีมากเพียงพอทา
ใหเ้ น้อื เรอ่ื งไม่นา่ เบ่อื จนเกนิ ไป

4. พลอ็ ตย่อย นอกจากพล็อตหลกั ท่ีตัวละครพบเจอแลว้ เพ่ือดาเนินถงึ เป้าหมาย พล็อตยอ่ ยคือสิ
สาคญั ที่จะแสดงความเป็นตวั ตน และสภาพสิง่ แวดลอ้ มทีต่ ัวละครต้องเผชิญ และต้องคอยฝ่าฟัน
อปุ ลรรคตา่ งๆใหไ้ ด้ เพ่อื สรา้ งความดงึ ดูดใหผ้ ู้อ่าน

5. จดุ สาคญั สงู สุดของเรอื่ ง หรอื ไคลแมกซ์ เพราะฉะนั้น ก่อนเน้ือเรื่องจะดาเนนิ มาถงึ จดุ สูงสุด
จะต้องเขียนปูเนื้อหาเพ่ือโยงเขา้ หาไคลแมกซ์ให้ดี เพ่ือใหเ้ น้ือเร่อื งคลคี่ ลายอยา่ งสมเหตุสมผล

6. ผลสดุ ท้าย ไม่ใชว่ า่ พอหมดจุดไคลแมกซ์ เราก็เขียนจบแบบหว้ นๆนะ แตเ่ ราต้องเขยี นตอนจบ
ให้ผอู้ ่านรสู้ ึกว่า ทกุ อยา่ งคลีค่ ลายลงหมดแลว้ ตวั ละครใชช้ ีวติ อย่างไร เพราะตอนจบยังสามารถสรา้ ง
ความประทับใจ และความประหลาดใจให้แก่ผอู้ า่ นได้อีก ดังนน้ั การเขียนตอนจบต้องเป็นที่นา่ จดจา ถอื
จะเปน็ การประสบความสาเร็จอย่างแทจ้ ริง

การออกแบบแรคเตอร์ตัวละคร

องค์ประกอบ 1 การสรา้ งตัวละคร
การสรา้ งตัวละครประกอบดว้ ย
สว่ นท่ี 1 เร่ืองราว (Story)
เป็นแนวคิดที่ใชก้ ากับในการออกแบบตัวละครเรื่องราวชว่ ยกาหนดพื้นทใ่ี ห้กบั ตวั ละครบอก

ชว่ งเวลาอกี นยั หน่งึ คือช่วยสร้างโลกใหก้ ับตวั ละครเรอ่ื งราวยงั ชว่ ยกาหนดประเภท (Genr) ของงาน
ออกแบบตวั ละครทน่ี าเสนอเช่นตลกขบขันสยองขวัญบางกรณยี ังช่วยกาหนดการแสดงออกของตัวละคร

สว่ นท่ี 2 ขอ้ มลู ตัวละคร (Character profile)
ขอ้ มลู ตัวละครประกอบดว้ ย

1) ลกั ษณะทางกายภาพของตัวละคร เชน่ สผี วิ สว่ นสงู เพศ อายุ

2

2) ลักษณะนสิ ัยบุคลิกภาพเป็นตน้
ส่วนท่ี 3 รปู แบบตัวละคร
หมายถึงรูปแบบทางลักษณะกายภาพของตวั ละครเชน่ สมจริง (Realistic) กึง่ สมจรงิ (Semi-
Realistic) สไตล์ไลซต์ (Stylized
องคป์ ระกอบท่ี 2 การแสดงออกของตัวละคร
ในการออกออกแบบตัวละครแนวภาพประกอบการแสดงออกของตวั ละครเปน็ ชอ่ งทางในการ
นาเสนอบคุ ลกิ ความเป็นตัวละครดว้ ยทา่ ทางและสีหนา้ ผา่ นภาพนิ่งภาพเดียว
ผู้เขียนสร้างคาสาคัญ (Key Wards) จากเรือ่ งราว ขอ้ มลู หรือตน้ แบบของตัวละครเหล่านน้ั เพ่ือใชเ้ ขยี น
การแสดงออกของตัวละครให้มีทิศทางทีช่ ัดเจนการแสดงออกของตวั ละครแบ่ง

1) แสดงออกผ่านทางกาย (Body Gesture) ภาษากายมีความสาคัญยิ่งในการแสดง
บคุ ลกิ ความร้สู กึ ตัวละครเพราะผูอ้ า่ นสามารถทาความเขา้ ใจตัวละครได้ในภาพรวม

2) แสดงออกผ่านทางสีหน้า (Facial Expression) แม้จัดว่าเป็นรองภาษากาย แต่
เป็นช่องทางหลักในการสื่อสารอารมณ์ของเราเช่นมีความสุขจะยิ้มแย้มไม่พอใจจะเบะปากสีหน้า
สามารถสะท้อนถึงบุคลิกต้นแบบตัวละครเช่นตัวละครผู้บริสุทธ์ิ (The Innocent) ซึ่งมองโลกในแง่ดี
เตม็ ไปด้วยความหวงั จะมีดวงตาโตเบกิ โตหากต่นื เตน้ สนุกสนานเป็นตน้
องค์ประกอบที่ 3 องค์ประกอบศิลป์และหลกั การออกแบบ

องคป์ ระกอบศลิ ป์และหลกั การออกแบบตัวละครทม่ี ีบทบาทสาคัญและสัมพนั ธโ์ ดยตรงกับ
กระบวนการสร้างสไตล์ (Stylization) ซงึ่ ให้ความสาคัญกับ

1) ความเกนิ จรงิ (Exaggeration) ของรูปรา่ ง-สดั ส่วนตัวละคร
2) ความร้สู กึ เคล่อื นไหว (Dynamism) ของท่าทางด้วยการเส้นโค้งตัวเอส
(S-Curve)
3) ความอสมมาตร (Asymmetry) ของการจัดวางองคป์ ระกอบเพื่อนาเสนอตัวละคร
กระบวนการสร้างสไตล์ทางานร่วมกบั องคป์ ระกอบศิลป์และหลกั การออกแบบดังต่อไปน้ี
- รปู รา่ ง (Shape) องคป์ ระกอบพืน้ ฐานทสี่ าคัญยิง่ ในการออกแบบตัวละคร เพราะ
ส่งผลตอ่ จิตวิทยาพน้ื ฐานของมนุษย์ในการรบั ร้บู คุ ลกิ ของตัวละครเหล่านั้น เชน่ วงกลมให้ความรสู้ ึก
ออ่ นโยน สเี่ หลีย่ มใหค้ วามรสู้ ึกมนั่ คง เป็นตน้
- ซลี ูเอตต์ (Silhouette) คอื รปู เงาทบึ ทีใ่ ชต้ รวจสอบความชัดเจนของท่าทางของตัว
ละคร และตรวจสอบ ความสะอาด (Cleanliness) ความชัดเจนของรปู ร่างของตวั ละคร
- ความแตกตา่ ง (Contrast) หลกั การข้อน้ีทางานสมั พันธ์องค์ประกอบอ่ืน ๆ เช่น
ความแตกตา่ งของสัดส่วน ขนาดคา่ น้าหนกั สี เพื่อสรา้ งความน่าสนใจจาการปะทะกนั ขององคป์ ระกอบ
เดียวกันทีถ่ กทาให้แตกตา่ งกันความแตกตา่ งมีความสาคญั ในการสรา้ งงานตัวละครสไตล์ไลซต์ การสรา้ ง
ความแตกต่างของสัดส่วนขนาดสรา้ งความอสมมาตร (Asymmetry) และทาให้เกดิ ลักษณะเกนิ จริง
(Exaggeration) ซง่ึ ท่หี ลายระดบั จึงปัจจยั ที่ช่วยสรา้ งความหลากหลายให้กับงานออกแบบตวั ละครใน
รปู แบบนี้

3

- เส้น (Line) การใช้เส้นตรงตัดกับเส้นโค้ง(Straight against Curves) เป็นคาศัพท์
ท่ีนิยมใช้ในวงการออกแบบตัวละครเม่ือต้องการตดั ทอนเกลาความสมจริงและรายละเอียดขอกลา้ มเนือ้
ในกายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) ให้เรียบง่ายเส้นที่ชัดเจนจะสร้างรูปร่างท่ีสะอาดซ่ึงเป็นคุณลักษณะ
ของตวั ละครแนวสไตล์ไลซต์ นอกจากนเ้ี สน้ ยังเปน็ องคป์ ระกอบสาคัญในการแสดงทา่ ทางตัวละคร ได้แก่
เสน้ แสดง

ทา่ ทาง (Line of Action) ท่จี ะช่วยใหท้ า่ ทางดูมีความเคลอื่ นไหว ถึงแมว้ ่าเสน้ แสดงท่าทาง
นค้ี อื หน่ึงใน ประเภทเสน้ ทม่ึ องไม่เหน็ ตามหลักองค์ประกอบศิลปะ แต่ใชเ้ ฉพาะเจาะจงกับการ
แสดงออกของทา่ ทางตัวละคร

- ทา่ ทาง (Pose) ซึง่ เป็นองค์ประกอบท่ีสมั พันธ์โดยตรงกับการแสดงออกของตวั ละคร
เนือ่ งจากความรสู้ ึกเคล่อื นไหวของท่าทางสาคัญ ลกั ษณะเส้นแสดงทา่ ทางจึงมลี ักษณะโค้งรูปตัวอักษร
เอส ชว่ ยสรา้ งอากัปกรยิ า (Geature)ที่พล้วิ ไหว อนั จะนาไปสู่ทา่ ทางเชน่ ทา่ น่งั ทา่ ยนื ทา่ เดินทเ่ี รากาหนด
ไวข้ น้ั สุดท้ายอกี ที

- สดั สว่ น (Proportion) ในที่นคี้ ือความสมั พันธซ์ ง่ึ กนั และกันของขนาดช้นิ สว่ นต่างๆ
ของตวั ละครเช่นโดยทวั่ ไปความสูงของมนษุ ย์แบ่งสัดส่วนออกเปน็ 7 สว่ นคร่ึงส่วนในทีนี่คือขนาดความ
ยาวของศรี ษะมาต่อกนั 7 ส่วน อย่างไรก็ตามสดั ส่วนในตวั ละครสไตล์ไลซต์ไมอ่ ิงกับธรรมชาติ ดงั น้ันนกั
ออกแบบสามารถสรา้ งสดั สว่ นตัวละครให้เกินจรงิ โดยใหต้ ัวละครสูงขนาดหา้ ส่วนสามส่วนสองส่วนศีรษะ
ตัวละคร เป็นต้น

- คา่ นา้ หนกั (Value) เปน็ องค์ประกอบท่ีสามารถสรา้ งระยะ (Depth) และมิตใิ หก้ บั
ตวั ละคร

- สี (Color) และหลกั การใช้สีเช่นการใชส้ ีเอกรงค์ (Monotone Colors) สี
ข้างเคยี ง (Analogous Colors) การใชส้ คี ผู่ เู้ ช่ียวชาญส่วนใหญว่ างสไี วเ้ ปน็ องค์ประกอบสดุ ท้ายของ
การออกแบบตวั ละคร

รปู ท่ี 1 ระดบั การสรา้ งสไตล์ (Stylization) ทแี่ สดงความเกินจริงของรูปร่างและสดั ส่วน

4

องคป์ ระกอบที่ 4 ขัน้ ตอนการออกแบบตัวละคร
1) การคน้ คว้าขอ้ มูลและงานอา้ งอิงเพ่ือหาแนวคิดในการ
2) การสรา้ งตวั ละครขั้นตอนน้ปี ระกอบด้วยการกาหนดเร่ืองราว ข้อมูลตัวละคร

ต้นแบบตัวละคร ซึง่ การสรา้ งตัวละครในแตล่ ะโจทยจ์ ะแตกตา่ งกันไปในรายละเอยี ด
3) การกาหนดคาสาคัญ (Key Words) เพ่ือใชก้ ากับ

การแสดงของตวั ละครสาหรบั ข้นั ตอนนี้ผเู้ ขียนออกแบบเพิ่มขึ้นมาในการทางานตวั ละครภาพประกอบไว้
เพอ่ื กาหนดทิศทางของการแสดงออกของตวั ละคร

4) การสร้างแบบร่าง (Sketch) การแตกแบบร่างด้วย
รายละเอยี ดภายใต้โครงสร้างเดยี วกนั (Variations)

5) การให้คา่ นา้ หนัก-สี
6) การเก็บรายละเอียด
การสร้างตัวละครตลอดจนการแสดงออกของตัวละครจะเป็นตัวกากับทิศทางการก
เลือกใช้องค์ประกอบศิลป์และหลักการออกแบบตัวละครในทาง กลับกันองค์ประกอบศิลป์ที่ใช้ ต้ อง
เหมาะสมกับรูปแบบตัวละครสามารถถ่ายทอดลักษณะกายภาพบุคลิกตัวละครเพ่ือให้สามารถสื่อสาร
การแสดงออกและความเป็นตัวละครน้ันได้ขั้นตอนการออกแบบน้ันถ่ายทอดความสัมพันธ์ระหว่างการ
สร้างตวั ละครการแสดงออกของ
ตัวละคร และองคป์ ระกอบศิลป์กับหลักการออกแบบใหเ้ ป็นรปู ธรรม ผู้เขยี นใช้
ความสัมพนั ธข์ ององค์ประกอบทั้ง 4 น้ี เปน็ กรอบแนวคดิ การสร้างสรรค์งานออกแบบตวั ละคร

5

รปู ท่ี 2 กรอบแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานออกแบบตัวละคร นาเสนอ
ความสมั พันธข์ ององค์ประกอบทงั้ 4 ด้านการสรา้ งตัวละคร-การแสดงออกของตวั ละคร-องค์ประกอบ
ศิลป์-ขั้นตอนการออกแบบตัวละครจากกรอบแนวคดิ ที่วางไว้ผวู้ จิ ัยไดส้ รา้ งแนวทางการออกแบบตัว
ละครสาหรบั 5 หวั ข้อ (รปู ท่ี3-7) ดงั น้ี

รปู ท่ี 3 แผนภาพแสดงแนวทางในการออกแบบตัวละคร หวั ข้อ Carnival of Brazil

รูปท่ี 4 แนวทางในการออกแบบตวั ละคร หวั ขอ้ Norse Gods

6

รปู ที่ 5 แนวทางในการออกแบบตัวละคร หวั ขอ้ Doctor & Nurse
รปู ที่ 6 แนวทางในการออกแบบตัวละคร หวั ข้อ Aztec Warrior

7

รปู ที่ 7 แนวทางในการออกแบบตวั ละคร หัวข้อ Yokai & Kami
รูปที่ 8 สรปุ ประเด็นเพม่ิ เตมิ สาหรับแนวทางการออกแบบตัวละคร

8

กาหนด Mood & Tone และปมของเร่ือง

ในแต่ละคร้ังผลงานท่ีสร้างสรรค์สาเร็จอาจเป็นเพราะองค์ประกอบต่างๆ รวมกัน และส่ิงต่างๆ
ท่ีประกอบกันนั้นเองท่ีล้วนแล้วแต่มีความสาคัญแต่ผลงานทั้งสิน้ สาหรับวันนี้จะพูดถึงเร่ือง Mood and
Tone กับงานออกแบบ ว่าเป็นส่ิงสาคัญและมีความสาคัญกับงานออกแบบอย่างไร Mood and Tone
คือการกาหนด Concept ของงาน Design โดยใช้อารมณ์และความรู้สึกเป็นตัวช่วย Mood หมายถึง
อารมณ์ของภาพ ประกอบด้วย อารมณ์สนุกสนาน เศร้า และร่าเริง เป็นต้น ในงานออกแบบนั้นจะ
สามารถบ่งบอกและสื่อความหมายในตัวของมันเอง ในขณะเดยี วกนั

Tone คือสีในงานออกแบบ สีนั้นจะบอกความรู้สึก และสิ่งท่ีเราสามารถสัมผัสได้ โดยลักษณะ
การเรียกที่เราคุ้นชินนั่นก็คือ สีโทนเย็นและสีโทนร้อน ส่วนการเลือกโทนนี้น้ันมาจากความต้องการของ
เจ้าของงานว่าต้องการให้งานมีเอกลักษณ์และรูปแบบไปในทิศทางใดMood and Tone น้ัน เป็นส่ิงท่ี
วงการออกแบบต่างๆ น้ันใช้กัน ไม่ว่าจะเป็นนักตกแต่งภายใน การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ บรรจุภัณฑ์
และสอื่ ส่งิ พมิ พ์ตา่ งๆ รวมไปถงึ วงการแฟชั่นทีไ่ ด้มีการผสมผสานสตี ่างๆ ให้ลงตัว เกดิ เปน็ แฟช่นั ใหมๆ่ ท่ี
มีความน่าสนใจอยู่ในปัจจุบัน การสร้าง Mood and Tone น้ันสามารถเป็นแนวทางในการสร้าง
เอกลักษณ์ให้กับงานของเราได้เป็นอย่างดี เพราะ Mood and Tone นั้นสามารถกาหนดได้มากกว่าสี
ไม่วา่ จะเปน็ รปู แบบของตัวหนังสือ สสี ัน รปู แบบกราฟิกทีใ่ ช้ รวมไปถึงการจดั วางตามรปู แบบตา่ งๆ ทีท่ า
ใหเ้ กิดเป็นความรู้สึกและอารมณ์บางอย่างได้ และเพื่อให้การสื่อความหมายน้นั รบั รูต้ รงกันท้ังผู้ออกแบบ
และผู้รับสาร Mood and Tone คือสิ่งสาคัญในการออกแบบ อีกท้ังยังเป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้ผู้ออกแบบ
เข้าใจในสิ่งท่ีผู้ว่าจ้างต้องการให้ออกแบบได้อย่างชัดเจน เพราะ Mood and Tone นั้นไม่มีข้อกาหนด
สามารถเลือกใช้สีได้ตามความรู้สึก ความต้องการ ได้อย่างตามใจชอบ ยกตัวอย่าง หากออกแบบงาน
หรือสินค้าท่ีเกี่ยวกับธรรมชาติ นักออกแบบก็ต้องการให้เราน้ันสามารถสัมผัสได้ถึงความเป็นธรรมชาติ
ของสินค้าดดยที่ไม่ต้องมีคาอธิบายใดๆ หรือต้องการงานที่สดใส Mood and Tone น้ันก็ต้องมีความ
น่ารักสดใส เพ่ือเป็นการเสริมให้งานช้ินนั้นออกมาสมบูรณ์แบบมากท่ีสุดน่ันเอง อย่าลืมว่าการเลือก
Mod and Tone ให้เหมาะสมกับงานและสินค้าต่างๆ จะทาให้งานของเราน้ันเป็นที่น่าสนใจและเป็น
การสร้างภาพลกั ษณ์ใหก้ ับตัวเองอกี ด้วย

การคิด gimmick ของเร่อื ง
gimmickในความหมายของนิยาย กมิ มิคมคี วามหมายคล้ายๆกบั คาแรคเตอร์ของตัวละคร

หมายถึง สิ่งท่ีคนใหัความสนใจ เห็นแล้วจดจา เหมือนกบั ตัวละครที่มีคาแรกเตอร์ที่ไม่เหมอื นกันแต่รู้วา่
ลกั ษณะแบบนี้คือ ฮโี รห่ รือตวั ร้ายการสรา้ งกิมมคิ

ขั้นตอนที่ 1 กาหนดบทเรยี นของนยิ าย
เลอื กบทเรียนหรือข้อคดิ ทีส่ าคญั ทีส่ ดุ ออกมา แลว้ ใช้เปน็ กุญแจไขประตูสูเ่ รื่องราวทั้งหมด
บทเรียนน้ตี ้องไม่ใช่บทเรียนท่ีเฉพาะเจาะจงในบางสถานการณ์เทา่ นั้น (สถานการณ์ในนยิ าย) เราต้อง

9

เลือกบทเรยี นทเ่ี ป็นภาพรวม และไม่ควรมีแง่คิดท่ีแฝงไว้มากจนเกนิ ไป ให้จบในหนงึ่ บทเรียนจะทาให้
เกดิ การจดจาไดด้ ีทีส่ ุด

ขั้นตอนที่ 2 เลือกตัวละครหลัก
นยิ ายสว่ นใหญใ่ ชม้ นุษย์ สัตว์ ส่ิงของนามาเป็นตวั ละครแต่ละเร่ืองจะมตี ัวละครจานวนไม่
เหมอื นกันแต่ไม่เกนิ 5-10ตัวละคร ซ่งึ หากมีน้อยๆ จะน่าสนใจและน่าจดจากว่า เพราะมีจุดโฟกัสมากข้ึน
ในข้นั ตอนน้ี ต้องเลือกตวั ละครที่สามารถใส่ความหมายแฝงได้ เปน็ สากล และนักอ่านส่วนใหญ่เขา้ ใจ
ขน้ั ตอนท่ี 3 กาหนดความขัดแย้ง
ตวั ละคร>ลกั ษณะนิสยั ตัวละคร>ความขัดแย้ง>บทเรยี น รา่ งแผนผังแบบน้จี ะทาใหน้ ิยายมี
ความชดั เจนย่ิงขึ้น
ขัน้ ตอนท่ี 4 ลงมือเขยี น
นิยายจะมีเน้ือเรอ่ื งทซี่ ับซ้อนคอยซอ่ นอยู่จะต้องดาเนนิ เร่อื งตามคาแรคเตอรท์ เ่ี ราวางไวแ้ ละพา
ไปใหถ้ ึงบทสรุปของเรื่องให้ได้

กาหนด Setting ของเร่ือง

จะต้องกาหนดสิง่ ตา่ งๆในเนื้อเร่ืองเช่น บทสนทนา ฉาก สถานที่ บรรยากาศในเรอ่ื ง พลอ็ ตเรื่อง
1. กาหนดหมวดหมู่ เปน็ แก่นหลกั ในการดาเนนิ เร่ือง

ประเภทของนวนยิ าย (Fiction)
1. นวนยิ ายรัก
นวนิยายรักมคี วามรักเปน็ แก่นสาคัญของเร่อื ง เปน็ อีกแนวที่ได้รบั ความนิยมทุกยคุ ทุกสมัย
เพราะความรกั เปน็ สิ่งสากลในความร้สู ึกของผู้คนทกุ เพศทุกวัย ไมว่ า่ ใครกเ็ ข้าถงึ ได้ อาจเคยเพ้อฝนั หรือ
มปี ระสบการณ์จนอา่ นแลว้ อินกบั เรอื่ งราวทาใหอ้ ่านสนุกย่ิงข้ึน และหลายครั้งกช็ ว่ ยเติมเตม็ จนิ ตนาการ
หวานๆ เกย่ี วกบั ความรักด้วย แตน่ วนยิ ายรักแบบไม่สมหวงั ก็มีเชน่ กนั
2. นวนิยายแนวแฟนตาซี
นยิ ายแนวนมี้ ีอีกชอ่ื เรยี กว่านนวนิยายจนิ ตนมิ ติ หมายถงึ นิยายทพ่ี ดู ถงึ สงิ่ ที่ไมม่ ีอยจู่ รงิ เป็นธีมห
ลักหรอื แก่นหลักของนยิ าย เช่น แดนนรก แดนสวรรค์ การใชเ้ วทย์มนต์ ปีศาจ สัตวใ์ นตานาน
ยกตัวอย่างนยิ ายคอื The Lord of the ring, Game of Thrones เป็นต้น
3. นวนิยายสยองขวญั
พดู ถึงความสยองขวญั แล้ว นวนยิ ายแนวนมี้ ักเกี่ยวข้องกับความลึกลับ เล่นกบั เร่ืองราวเหนอื
ธรรมชาตทิ ่หี าคาตอบทางวทิ ยาศาสตรไ์ ม่ไดซ้ งึ่ เปน็ สิ่งท่ีทาใหผ้ ้คู นเกิดความกลวั เชน่ ภูตผปี ีศาจ และมัก
มฉี ากทน่ี า่ สะพรึงกลวั อย่างบา้ นผีสงิ คุกใต้ดนิ บรรยากาศภายในเรอ่ื งมกั หดหู่ มืดมน สน้ิ หวงั และตัว
ละครมักตอ้ งเผชญิ กบั หายนะบางอย่าง

10

4. นวนิยายนักสืบ
นวนิยายนกั สบื หรอื สบื สวนสอบสวนอาจเรียกอีกชื่อว่าอาชญนยิ าย มักเป็นเร่ืองเก่ียวกับการ
ฆาตกรรม คดีอาชญากรรม เนือ้ เรือ่ งเปน็ การดาเนินเรอื่ งเพ่ือคลี่คลายคดี หาตัวคนรา้ ย เช่น เชอรล์ อ็ ก
โฮล์มส์ ของ เซอร์อาร์เธอร์ โคแนน ดอยล์
5. นวนยิ ายวิทยาศาสตร์
นวนยิ ายวิทยาศาสตร์ เป็นนยิ ายท่ดี าเนินเรอ่ื งอยบู่ นสมมตฐิ านทางวทิ ยาศาสตร์ โดย
วทิ ยาศาสตร์มักสรา้ งผลกระทบต่อมนุษยชาติในเรื่อง สามารถแบง่ ได้เปน็ สามแบบ คือ
What if จะเกิดอะไรขน้ึ ถ้า…
If only ถ้าเพยี ง…
If this goes on ถา้ สง่ิ นี้เกิดข้ึนต่อเน่ือง…
6. นวนิยายผจญภยั
นวนยิ ายผจญภยั มแี กน่ เรอ่ื งเก่ียวกบั การเดินทางต่อส้กู ับอุปสรรคตา่ งๆ จนกวา่ จะบรรลุตาม
เปา้ หมาย เชน่ ล่องไพร, เพชรพระอมุ า ของพนมเทียน
7. นวนิยายจิตวทิ ยา
นวนิยายทมี่ ีเน้ือหาพูดถึงจติ ใจ และอารมณข์ องตวั ละครเป็นหลกั
8. นวนิยายกึ่งอัตชีวประวัติ
คอื เรื่องราวก่ึงชวี ิตท่เี จ้าของประวตั เิ ขยี นเอง เชน่ เรอ่ื งชดุ มหาลยั เหมืองแร่ ของอาจนิ ต์
ปญั จพรรค์
9. นวนิยายกาลังภายใน
เป็นนวนยิ ายจนี ทีม่ กี ารต่อส้ดู ้วยวิทยายทุ ธต์ า่ งๆ ท่มี ลี กั ษณะเฉพาะตวั เชน่ กาลงั ภายใน เพลง
มวย และตัวละครต้องมีความกล้าหาญ มีคุณธรรม เนื้อเรื่องมกั ต้องแสดงวีรกรรมตา่ งๆ
10. นวนิยาย Boy love
นวนิยาย Boy love หรอื ทีเ่ รียกว่า Yaoi เปน็ นวนิยายรักประเภทหนง่ึ แต่ได้รบั การแยก
ประเภทออกมาเพราะความนิยมทม่ี ากขน้ึ และมีผู้อ่านเฉพาะกลุ่ม แกน่ หลักของเร่ืองคือความรกั ของชาย
รกั ชาย ปัจจบุ นั ในเว็บไซต์และแอพพลิเคชัน่ อ่าน-เขียนนวนยิ ายออนไลนม์ ักมกี ารจดั หมวดหมูส่ าหรับ
ประเภทนวนิยายน้แี ทบทุกแหง่ และยงั มีเว็บไซตส์ าหรับนวนิยายแนวนโ้ี ดยเฉพาะ
11. นวนยิ าย Girl love
นวนิยาย Girl love หรือท่ีเรียกวา่ Yuri มลี ักษณะคล้ายกบั นวนิยาย Boy love เพียงแต่เปลี่ยน
แก่นหลกั ของเรื่องเปน็ ความรักของหญงิ รักหญงิ มกี ารจดั หมวดหมู่ของนวนิยายประเภทนีต้ ามเว็บไซต์
และแอพพลิเคชัน่ อา่ น-เขียนนวนิยายออนไลน์เช่นกนั
12. แฟนฟิคช่นั
สาหรับเว็บไซต์หรอื แอพพลเิ คช่นั อ่าน-เขยี นนวนยิ ายออนไลน์ นเ่ี ปน็ ประเภทท่ขี าดไมไ่ ด้เพราะ
ได้รบั ความนิยมมาก ผแู้ ตง่ จะนาศิลปนิ ดาราที่ช่ืนชอบ มาใชเ้ ปน็ ตัวละครในการดาเนินเร่ือง ซึง่ ผเู้ ขยี น
มักมีความชืน่ ชอบศิลปินหรือดารานัน้ ๆ อย่แู ลว้ และต้องการสร้างเรอ่ื งราวไว้เผยแพร่กับกลุ่มแฟนคลับ

11

ศิลปนิ ด้วยกนั จงึ เป็นประเภททีม่ กี ลุ่มผู้อา่ นเฉพาะตวั แฟนฟคิ ชัน่ ยงั รวมถึงการเขยี นนวนิยายโดยใช้ตวั
ละครหรือฉากต่างๆ จากนวนิยายเร่อื งอ่ืนมาต่อยอดตามจินตนาการที่ต้องการ ท้งั น้แี ฟนฟคิ ช่นั ไม่
สามารถตีพิมพ์ผา่ นองค์กรหรือหนว่ ยงานท่ีมีการจดทะเบียนถกู ต้องตามกฎหมายได้ เน่อื งจากงานเขยี น
นม้ี ีลักษณะเป็นธุรกิจสเี ทา ทางเจา้ ของเร่ืองท่ีเปน็ ต้นฉบับหรอื ศลิ ปินดารามักไมฟ่ ้องร้องเพราะเปน็
เหมอื นการช่วยโปรโมตและเผยแพรใ่ หม้ ีคนรูจ้ กั เร่ืองของตนมากขน้ึ แตก่ ็ไม่จัดเปน็ งานท่มี ีลิขสทิ ธ์ิถูกต้อง
ตามกฎหมาย

นวนิยายเร่ืองหนึ่งจะมีแก่นหลักท่ีช่วยบ่งบอกประเภทเพื่อท่ีจะได้จัดตามช้ันหนังสือ เว็บไซต์
และแอพพลิเคชั่นอ่านนิยายออนไลน์ได้ง่าย แต่ก็มักมีแก่นรองลงมาเพื่อเพิ่มเติมความสนุกให้กับเนื้อ
เรื่อง เช่น นวนิยายรัก แก่นหลักของเร่ืองคือความรัก แก่นรองของเรื่องอาจเป็นแนวอะไรก็ได้ เช่น การ
ผจญภัย โดนพระเอกและนางเอกอาจต้องผจญภัยค้นหาบางสิ่งบางอย่างที่ช่วยทาให้ความรักสมหวัง
เปน็ ต้น

นวนยิ าย Boy love หรือทเ่ี รียกวา่ Yaoi เป็นนวนยิ ายรกั ประเภทหนง่ึ แตไ่ ด้รับการแยก
ประเภทออกมาเพราะความนิยมที่มากขน้ึ และมผี ้อู ่านเฉพาะกลมุ่ แกน่ หลกั ของเรื่องคือความรกั ของชาย
รกั ชาย ปัจจบุ ันในเว็บไซต์และแอพพลเิ คชัน่ อา่ น-เขยี นนวนยิ ายออนไลน์มักมกี ารจดั หมวดหมู่สาหรับ
ประเภทนวนยิ ายนแี้ ทบทุกแห่ง และยงั มีเว็บไซต์สาหรบั นวนิยายแนวนโ้ี ดยเฉพาะ

การผจญภัย โดนพระเอกและนางเอกอาจต้องผจญภัยคน้ หาบางสง่ิ บางอยา่ งทีช่ ่วยทาให้ความ
รักสมหวงั เปน็ ตน้
2.กาหนดฉาก สถานท่ี

1) การบรรยายฉาก
1.1.ถามคาถามกับตวั เอง

เม่อื จะเริม่ สร้างและบรรยายฉากนัน้ ให้ถามตัวเองดว้ ยคาถามโดยนากระดาษมาแล้วเขียน
คาตอบของคาถามแต่ละข้อ เพ่ือชว่ ยพฒั นาการสร้างฉากให้อา่ นแล้วคล้อยตามและมีประสทิ ธภิ าพ

-เร่อื งเกิดขนึ้ ท่ีใด
-เรือ่ งเกดิ ขึน้ ตอนไหน
-สภาพอากาศหรอื ฤดูของฉากเป็นอยา่ งไร
-มเี หตกุ ารณ์ทางสังคมอะไรเกิดข้ึนบ้าง
-ภูมปิ ระเทศของฉากเปน็ อย่างไร
มีรายละเอยี ดอะไรบ้างท่ชี ่วยใหเ้ ขา้ ใจภาพรวมของฉากไดอ้ ยา่ งชดั เจน
1.2.ตัดสนิ ใจบรรยายฉากในมุมมองกว้างหรอื มุมมองแคบ
คุณจะบรรยายฉากของคุณอย่างไร คุณใช้มุมกล้องแบบกว้างหรือซูมภาพเข้าไปให้แคบลง
ตัดสินใจดูว่าเน้ือเร่ืองของคุณต้องการอะไร คุณต้องบรรยายเมืองทั้งเมืองเลยหรือไม่ หรือคุณต้องการ
บรรยายแค่ตัวบ้าน พิจารณาดูวา่ การบรรยายแบบไหนให้บรรยากาศตามท่ีเน้ือเร่อื งต้องการ
ลองบรรยายตัวละครในฉากในมุมมองกวา้ งแลว้ ค่อยๆ ตีกรอบใหแ้ คบลงเปน็ สถานที่เฉพาะ เริ่มเขียน
รูปแบบการบรรยายจากประเทศหรอื ภูมภิ าค จากนน้ั ให้ตีกรอบลงมาเป็นเมือง แลว้ ตกี รอบใหแ้ คบลงมา

12

เป็นหมบู่ า้ นในเมืองคณุ อาจจะต้องการเรม่ิ จากฉากทางกายภาพ (Physical setting) แลว้ คอ่ ยขยายไป
กล่าวถึงผคู้ นในเมอื งดว้ ยการบรรยายลักษณะของคนทีอ่ าศัยภายในเมือง วธิ นี ีเ้ ปน็ วิธีทว่ั ไปในการเปลยี่ น
มมุ มองจากสงิ่ ไม่มีชีวิตไปเป็นส่ิงมีชวี ติ ท่มี คี วามคิด ความรสู้ ึก และอารมณ์ ซึ่งจะทาใหเ้ ร่อื งราวมี
ความหมาย

1.3.ใชส้ มั ผัสท้งั หา้
ใช้สัมผัสทั้งห้า คือ รูป รส กล่ิน เสียง สัมผัส นักเขียนจานวนมากใช้เพียงแค่รูปในการบรรยาย
ซึ่งเป็นวิธีท่ีผิดเพราะจะทาใหเ้ ร่อื งราวดูแบนราบ แน่นอนว่าคุณต้องบรรยายวิธีท่ีบางส่ิงบางอย่างใชม้ อง
แต่คุณก็ต้องกล่าวถึงรายละเอียดของฉากจากการใช้สัมผัสส่วนอื่นๆ ด้วยเช่นกัน คิดดูว่ากล่ินของห้อง
เปน็ อย่างไร ทรายทีอ่ ยู่ใต้เท้าของตัวละครจะให้ความรู้สึกแบบไหน ขอบของภูเขานั้นมีรปู รา่ งเหมือนกับ
มือของตัวละครหรือไม่ หรือบรรยายรสชาติของอาหารมื้อโปรดตัวละครยกตัวอย่างเช่น เธอเข้าไปที่
ห้องรับแขก คุณนายแมคดูกอลนั่งประทับบนเก้าอ้ีนวมสีฟ้าเหมือนกับพระราชินิวิคตอเรีย และขยับ
เคล่ือนตัวเชื้อเชิญอลิซาเบธให้นั่งเก้าอ้ีฝั่งตรงข้ามที่มีพนัก ผนังสีส้มเหมือนเน้ือปลาแซลมอนทาให้ผมสี
ขาวของคุณนายดูเป็นสีชมพู อลิซาเบธสะดุ้งเม่ือถ่านไม้ที่ลุกไหม้ในเตาผิงท่ีขยับร่วงหล่น ล้อมรอบไป
ด้วยหินอ่อนที่ทา่ นลอรด์ แมคดกู อลคนก่อนได้นามาจากอียปิ ตด์ ว้ ยตนเอง

1.4.อยา่ ใหก้ ารบรรยายฉากเข้ามาแทรกในการดาเนินเนอ้ื เรอ่ื ง
ฉากควรจะช่วยให้เร่ืองราวดูดียงิ่ ขึ้น ไม่ทาให้เน้ือเรื่องติดขัด ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นได้ถ้าคุณบรรยาย
ฉากคั่นระหว่างการดาเนินเรื่องเพื่อบรรยายโลกรอบตัวละคร แทนที่จะแยกส่วนบรรยายฉากออกมา
ต่างหาก ให้บรรยายฉากผ่านการกระทาของตัวละคร ฉากควรจะรวมเข้ากับสิ่งที่ตัวละครทาอยู่
ยกตัวอย่าง เช่น ถ้าตัวละครกาลังวิ่งหนีแวมไพร์ในป่า อย่าหยุดแล้วบรรยายถึงความน่ากลัวของป่า ให้
ตัวละครสังเกตเห็นความมืดและความเงียบสงัดของป่า ให้ตัวละครว่ิงผ่านรากไม้ท่ีโผล่ข้ึนเหนือพื้นดิน
และถูกก่ิงไม้บาดแก้มจนเป็นแผล เขียนให้เห็นว่าตัวละครมองไม่เห็นอะไรเลย ได้ยินแต่เสียงฝีเท้า
ตามหลงั เธอมา การเขียนแบบผสานฉากเข้ากับการกระทาจะช่วยใหเ้ นื้อเร่ืองดาเนนิ ไดอ้ ยา่ งราบรืน่

1.5.แสดง แตอ่ ยา่ บอก
บรรยายมุ่งเน้นท่ีแสดงฉากให้ผู้อ่านเห็นมากกว่าเล่าฉากให้ผู้อ่านรู้ อย่าเขียนว่า “ทะเลทรายน้ันร้อน”
ในทางกลับกัน แสดงให้เห็นถึงความร้อนของทะเลทรายด้วยการบรรยายวา่ ดวงอาทิตย์กาลงั เผาผวิ หนงั
ของตัวละคร ความรอ้ นผุดออกมาจากทรายเปน็ คล่ืน และอากาศหนาแนน่ จนหายใจไม่ออกในการเขียน
แบบนี้ ให้ใช้ภาษาท่ีชัดเจน เลือกใช้คานามและคาคุณศัพท์ในการบรรยายฉาก และใช้กริยาที่เป็น
รูปธรรมการบอกให้รู้: เด็กผู้หญิงต่ืนเต้นมากการแสดงให้เห็น: ลานแสดงเต็มไปด้วยเสียงกรีดร้องและ
เสียงหัวเราะ ลอนผมท่ีอ่อนนุ่มกลับลีบแบนด้วยเหง่ือและกิจกรรมในการเข้าร่วมงาน พวกเขาถือเน็คไท
ของกนั และกัน ฉดุ รั้งกันเอาไว้เพอ่ื ไม่ให้ลม้ ลง แขนชูขน้ึ โบกไปมา และเสียงสะท้อนไปมาด้วยน้าเสียงอัน
หลากหลาย เหตกุ ารณ์ท้ังหมดเกดิ ข้ึนทนี่ ี่

1.6.มงุ่ เนน้ ทีร่ ายละเอียดทส่ี าคญั ของฉาก แนน่ อนว่าฉากอาจจะมีสิ่งใหบ้ รรยายมากเกนิ ไป
ดังนั้น หลกี เล่ียงการบรรยายสง่ิ ท่ีไมส่ าคญั ตอ่ เนือ้ เรื่องและแก่นเรอ่ื ง แลว้ ตดั สินใจใหแ้ น่นอนวา่ จะเลอื ก
ส่ิงใดมาบรรยาย การบรรยายฉากแตล่ ะฉากควรมีเหตุผลทีว่ ่าทาไมถงึ ต้องมีฉากนเ้ี กดิ ขน้ึ ในเรื่อง

13

2) การเลือกฉากในการเขียน
2.1.เร่ิมตน้ จากสถานท่ี

ฉากนน้ั ประกอบไปดว้ ยองค์ประกอบหลายอยา่ ง แต่สง่ิ ทส่ี าคัญทส่ี ุดในการเริ่มต้นคอื สถานที่
คณุ ต้องเลอื กสถานทท่ีใดท่หี น่ึงในการดาเนนิ เร่ือง ตวั เลือกของสถานทนี่ ั้นเปน็ ส่ิงที่สาคัญมาก เพราะจะ
ชว่ ยในการสรา้ งอารมณ์ ความเชอ่ื มโยง และสง่ิ ท่ที กุ คนเข้าใจร่วมกนั (Stereotypes) ที่คณุ สามารถ
เลือกใชเ้ พ่อื สนบั สนุนเรือ่ งราวของคณุ หรือชว่ ยใหต้ วั ละครมสี ่ิงทีต่ อ้ งตอ่ สู้ฟนั ฝา่ เร่ิมจากการเลอื ก
ประเทศ จงั หวดั ภูมภิ าค หรือเมือง คุณสามารถใช้สถานที่เฉพาะก็ได้ เช่น บรรยายละแวกบ้านหรือท้อง
ถนน เป็นต้น ตดั สินใจดวู า่ จะเลอื กใชส้ ถานท่ีเป็นในเมืองใหญ่ ฟารม์ เกาะ หรอื ภูเขา

2.2.บรรยายห้อง
ใหร้ ายละเอยี ดทางกายภาพของบ้าน สวน หรือห้อง และใช้รายละเอยี ดเหล่าน้ีในการบรรยาย
ตวั ละคร คุณยังสามารถใชร้ ายละเอยี ดทางกายภาพในการบอกถงึ แก่นเรอ่ื ง ค่านิยม และทัศนคตไิ ด้อีก
ดว้ ย การเขียนบรรยายฉากด้วยวธิ นี จ้ี ะชว่ ยให้เร่ืองราวมีความหมาย ยกตวั อย่าง เชน่ กาแพงทที่ ามาจาก
หนิ สเี ข้มกาลงั ส่องสหี มน่ ๆ ท่ีเกิดจากแสงของคบไฟ มีมา้ นง่ั ต้ังอยขู่ า้ งตัวเขา แตต่ รงหนา้ ของเขานั้น เปน็
ม้านั่งทส่ี งู ทสี่ ุด และเห็นรูปร่างเห็นเป็นเงาอยู่มากมาย เงาเหล่าน้นั กาลังพูดด้วยเสียงตา่ ๆ แตเ่ สียงประตู
บานใหญท่ ่เี หวีย่ งปิดอยู่ดา้ นหลังของแฮร่ีได้ทาลายความเงียบนั้นออกไป

2.3.เนน้ การกาหนดเวลา
การต้ังเวลาเป็นสิ่งที่สาคัญในการบรรยายเนอื้ เร่ือง ซงึ่ ส่งผลต่อโครงเร่ืองและพฤติกรรมของตวั ละคร
โดยเวลาดังตอ่ ไปนี้เป็นช่วงเวลาที่สาคัญท่ีคุณควรตัดสนิ ใจเลอื กใช้:

-เวลาของวัน: เร่อื งเกิดข้ึนตอนเชา้ กลางวัน หรือตอนหัวค่า ชว่ งเวลาไหนท่ีเน้ือเร่ือง
ดาเนนิ อยู่ จาไว้วา่ ตวั ละครจะมพี ฤติกรรมที่แตกตา่ งกนั ออกไปตามแตล่ ะเวลา

-เวลาของป:ี เรอื่ งดาเนนิ ในฤดรู ้อน ฤดูหนาว หรือฤดใู บไม้ผลิ เนื้อเรื่องมีศูนย์กลางอยู่
ท่ชี ่วงวันหยดุ เช่น วนั ครสิ ตมาสตห์ รอื วันฮัลโลวนี หรอื ไม่ ช่วง

-เวลาของปยี งั รวมไปถึงวนั ครบรอบของเหตกุ ารณ์ทางประวตั ิศาสตรห์ รอื เหตกุ ารณ์
เฉพาะบุคคลดว้ ย

-เวลาลว่ งผา่ น: คิดถึงการเปลี่ยนแปลงของเวลาในเนื้อเร่ือง ซ่ึงอาจจะเปน็ ชวั่ โมงหรอื
เปน็ เดือน คุณต้องบรรยายเวลาทีล่ ่วงผ่านในฉากดว้ ย ซง่ึ จะชว่ ยใหเ้ นอ้ื เรือ่ งเป็นไปตามเวลา หรอื ย้อน
ผู้อา่ นกลับไปในชว่ งอดีต

2.4.บรรยายสภาพอากาศ สภาพอากาศมีสว่ นช่วยสรา้ งอารมณ์ให้กบั ตัวละคร และยงั
ส่งผลต่อโครงเร่อื งอกี ดว้ ย ใหบ้ รรยายอุณหภูมิวา่ ฝนตกหรือมลี มแรง หรือแม้แตบ่ รรยายความสวา่ งของ
ดวงอาทิตย์ ถ้าเรอ่ื งดาเนินในสภาพอากาศที่แปรปรวน คุณตอ้ งบรรยายให้ผู้อา่ นได้รับรู้ด้วย บรรยาย
ความยากลาบากของการมชี ีวิตสภาพอากาศที่ร้อนหรือเย็นจดั หรอื อธิบายความสบายของการใชช้ ีวติ ใน
บ้านริมชายหาดยกตวั อย่างเช่น และหลงั จากน้นั อากาศก็เป็นเหมือนอดุ มคติ พวกเขาคงไมเ่ คยมีวันที่
สมบูรณ์แบบในปาร์ต้หี ลังสวน อากาศท่สี งบ ไมม่ ลี บ เตม็ ไปดว้ ยความอบอุ่น และท้องฟา้ ทีไ่ ม่มีก้อนเมฆ

14

มเี พยี งแต่สฟี า้ ที่ปกคลุมไปดว้ ยแสงสีทอง เหมือนกับช่วงเวลาบางช่วงในฤดรู ้อน คนสวนต่นื ขึน้ มาตั้งแต่
เช้าตรู่เพือ่ มาตดั และกวาดหญ้า จนหญ้าและราสเี ข้มที่เกาะอยูท่ ต่ี น้ เดซี่นนั้ ดูสวา่ งไสว

2.5.สารวจภูมิประเทศ ภมู ปิ ระเทศในเนอ้ื เร่ืองเป็นส่งิ ทสี่ าคัญ ถ้าฉากมตี น้ ไม้ ดอกไม้
หรอื มีอาหารท่ีเติบโตในพืน้ ท่ี กใ็ หบ้ รรยายออกมา คิดดูว่าทาไมรายละเอียดเหลา่ น้ีถึงสาคัญต่อตัวละคร
และโครงเรือ่ งทมี่ ชี ีวิตอยู่ในภมู ิประเทศดังกล่าวคดิ ถึงรปู แบบภูมิประเทศ เช่น ภเู ขา แม่น้า ลาธาร หรือ
ป่า ตัวละครควรจะมีปฏสิ มั พันธ์ตอ่ สิ่งเหล่านี้ หรือควรเป็นสว่ นสาคญั ของเน้ือเรื่อง นอกจากน้ี ถาม
ตัวเองดว้ ยวา่ ทาไมถึงต้องสร้างฉากดงั กลา่ วเป็นประการแรก

2.6.เขียนถงึ ฉากทางประวัตศิ าสตร์ สังคม และวัฒนธรรม
ถา้ คณุ กาลังเขียนเรอ่ื งราวเชิงประวัติศาสตร์ คณุ ตอ้ งบรรยายฉากในเชิงยคุ สมัยทางประวัติ
ศาสตร์ ซง่ึ รวมไปถงึ วิธที ี่โลกมองเหตุการณ์ ณ ช่วงเวลานนั้ และบรรยายรูปแบบของเทคโนโลยใี นสมัย
นนั้ รวมไปถงึ พฤติกรรมของผู้คนคิดถึงฉากทางสงั คมและการเมือง รายละเอยี ดน้เี ป็นสว่ นสาคญั ของการ
เขยี นเรอ่ื งราวสมัยใหม่หรือสมัยประวตั ศิ าสตร์ ซึ่งจะสง่ ผลต่อค่านยิ มและพฤติกรรมของตวั ละครฉาก
ทางวฒั นธรรมนั้นประกอบด้วย ศาสนา ประเพณี การมีปฎิสัมพนั ธ์กับสังคม ประชากรในสถานท่ีของ
คณุ ควรมบี ทบาทในฉากดว้ ย ซึ่งอาจจะเปน็ สถานท่ีทม่ี ปี ระชากรหนาแน่น หรอื เป็นพน้ื ที่หา่ งไกล
3)ใช้ตัวละครบรรยายฉาก

3.1.บรรยายฉากผา่ นการกระทา
ใชต้ ัวละครในการบรรยายฉาก ในขณะท่ีตัวละครกาลังเคล่ือนไหวภายในฉาก ให้เธอสังเกตฉาก
รอบตัวเธอ เธอสังเกตเหน็ อะไรในทนั ที เธอสงั เกตเห็นอะไรในภายหลงั ใหต้ ัวละครไดม้ ีปฏิสัมพันธ์กับ
สง่ิ แวดลอ้ มแทนท่ีจะกลา่ ววา่ มีอะไรอยูใ่ นห้องบา้ งใหต้ วั ละครตอบสนองต่อฉาก ซึ่งจะช่วยใหค้ วามสาคัญ
กับตวั ละครและพฒั นาโครงเรื่องไปในทางท่ีดีขนึ้

3.2.ใช้ประสบการณ์ของตวั ละครในการบรรยายฉาก
คนท่แี ตกตา่ งกันก็จะมองโลกต่างกนั ตดั สนิ ใจเลือกวิธีทีต่ วั ละครใช้ในการบรรยายบางส่ิง
บางอย่าง ซึ่งจะสง่ ผลตอ่ วธิ ีที่คณุ ใชบ้ รรยายฉาก คนนวิ ยอร์กโดยกาเนิดอาจจะบรรยายรถไฟใต้ดินตา่ ง
จากคนที่มาจากฝัง่ ชนบททางใตค้ ่อนขา้ งมาก ลองตัดสินใจดวู ่าคุณตอ้ งการจะใช้มุมมองของใครในการ
บรรยายฉากและทาไมการใชม้ มุ มองของตวั ละครน้ันจงึ สาคัญ

3.3.สร้างฉากผ่านอารมณข์ องตวั ละคร
อารมณแ์ ละลกั ษณะนสิ ยั ของตวั ละครสง่ ผลตอ่ วธิ บี รรยายฉาก ลองคิดถงึ วธิ ีท่ตี ัวละครมองฉาก
และวิธีทีพ่ วกเขารสู้ กึ ต่อฉากนั้นๆ ลองคิดดูว่าเด็กทีเ่ ข้าโรงเรียนมธั ยมปลายปีแรกกบั ปสี ุดท้ายจะมอง
งานเตน้ ราของโรงเรียนเปน็ อยา่ งไร เดก็ ทเ่ี ข้าใหม่อาจจะต่ืนเต้นเพราะเปน็ การเตน้ ครัง้ แรก แต่เดก็ ปี
สุดทา้ ยอาจจะเบือ่ และไม่พอใจกับการมาอยู่ท่ีงานนี้ เดก็ ท่ีถูกลอ้ เลยี นบ่อยๆ อาจจะกลัวการไปงาน
เตน้ ราเพราะคนท่ลี ้อเลยี นเขาอาจจะอย่ทู ี่งาน แต่ประธานนักเรียนผู้โด่งดงั อาจจะตืน่ เต้นที่จะไดเ้ ห็น
เพอื่ นๆ ของเธอทง่ี านเตน้ รา
โครงเรอื่ งยังสง่ ผลต่ออารมณ์ของตวั ละคร ป่ารกทึบในตอนกลางวันอาจจะดูเปน็ กิจกรรมผอ่ นคลาย
สาหรบั ตวั ละครตวั หนึ่ง แตค่ นอนื่ ๆ อาจจะหลงป่าและหวาดกลวั

15

บรรณานกุ รม

การเขยี นนวนยิ ายเบื้องต้น. (2548). เข้าถึงได้จาก:
http://www.forwriter.com/mysite/forwriter.com/newwriterroom/newwritebasic.htm
20 ธันวาคม 2564.

จรรยา เหตะโยธิน. 2564. “แนวทางการออกแบบตัวละคร กรณศี ึกษา ‘เดอะ คาแรคเตอร์ ดีไซน์
ชาเลนจ์” วารสารวิชาการคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ สจล. 2021(32) : 4-13

พล็อตนวนยิ าย. 2564. เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://sites.google.com/site/niyayfic/niyay/phlxt
สืบคน้ เมอื่ 25 ธนั วาคม 2564

พ่นี ้อง. Archplot มาวางพลอ็ ตนิยายด้วยแผนภาพสามเหลย่ี มกนั เถอะ! | Dek-D.com. (2558).
http://www.dek-d.com/writer/36811/ สืบคน้ เมือ่ 15 ธนั วาคม 2564


Click to View FlipBook Version