The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by atombenzene104, 2022-06-07 04:03:05

งานสำรวจฐานทรัพยากรท้องถิ่น

หมู่ที่ 18 บ้านกลาง

งานสำรวจฐานทรพั ยากรท้องถิน่

(ชอ่ื หมูบ่ ้าน ชุมชน แขวง) บ้านกลาง
ตำบล/แขวง บ้านโฮง่ อำเภอ/เขต บา้ นโฮง่ จงั หวัด ลำพนู

สนองพระราชดำรโิ ดย...

เทศบาลตำบลบา้ นโฮง่

อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวดั ลำพูน

ใบงานที่ 1

เรื่อง การเกบ็ ขอ้ มูลพ้ืนฐานในทอ้ งถิน่

1. ช่ือหมู่บ้าน ชุมชน (ท่ีเปน็ ทางการ) กลาง ชื่อชุมชนท่ีชาวบ้านเรียก กลาง
บ้านโฮ่ง
2. ท่ีตั้ง หมู่ 18 ซอย - ถนน - แขวง/ตาบล
ลาพูน
เขต/อาเภอ บ้านโฮ่ง เทศบาล ตาบลบา้ นโฮง่ จังหวัด
เหนอื
เสน้ ทางหลวง หมายเลข - เส้นทางท้องถิ่น -

แผนที่หมูบ่ ้านโดยสังเขป

3. ข้อมูลทางศาสนา  พุทธ วัด 1 แหง่ เจ้าอาวาส รูป พระ รูป
 อิสลาม มัสยิด แหง่ อิหม่าม คน แหง่
 คริสต์ โบสถ์ แหง่ บาทหลวง คน
 อื่นๆ เช่น ศาลเจ้า โรงเจ สถานปฏิบตั ิธรรม

4. จานวนประชากร 91 ครัวเรือน จานวนพ้ืนท่ี 200 ไร่

จานวนประชากร 271 คน ชาย 112 คน หญิง 159 คน
24 คน
เด็กเล็ก (แรกเกิด -12ปี) 41 คน ชาย 17 คน หญิง 8 คน
84 คน
วัยรุน่ (12-18 ปี) 18 คน ชาย 10 คน หญิง 43 คน

วัยทางาน (18-60 ปี) 145 คน ชาย 61 คน หญิง

ผู้สูงอายุ (60 ปีข้ึนไป) 67 คน ชาย 24 คน หญิง

หมายเหตุ : พิมพ์วันที่ 10 มีนาคม 2565 ข้อมูลจากรายงาน : นายสมยศ ศรีอรรถิกานนั ท์

5. ข้อมูลสถานศึกษาที่เปิดใหบ้ ริการ - แหง่  ประถมศึกษา - แหง่
 อนุบาล
 มัธยมศึกษาตอนต้น - แหง่  มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. - แหง่
 ปวส./อนุปริญญา
 สงู กว่าปริญญาตรี - แห่ง  ปริญญาตรี - แห่ง

- แห่ง  อ่ืนๆ - แหง่

โรงเรียน /สถานศึกษา

ช่ือโรงเรียน / สถานศึกษา

ผู้อานวยการโรงเรียน /สถานศึกษา

จานวนครู คน

จานวนนักเรียน คน นักเรียนชาย คน นกั เรียนหญิง คน

โรงเรียน /สถานศึกษา

ชื่อโรงเรียน / สถานศึกษา

ผู้อานวยการโรงเรียน /สถานศึกษา

จานวนครู คน

จานวนนกั เรียน คน นักเรียนชาย คน นกั เรียนหญิง คน

(หมายเหตุ : หากมีสถานศึกมากกว่า 2 แห่ง สามารถเพิ่มข้อมูลของสถานศึกษาได้ตามจริง)

6. ข้อมูลบริหารขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน

สถานที่ตัง้ ของหม่บู ้านสงั กัด  เทศบาล  องค์การบริหารส่วนตาบล  อื่นๆ
ตาแหนง่ นายกเทศมนตรี
ผู้บริหาร ช่ือ - สกุล นางศรีรัตน์ เขียวสงิ ห์

7. ศูนย์สุขภาพชุมชน /โรงพยาบาล - แหง่
แหง่
8. สถานีตารวจ -

9. การประกอบอาชีพ ใบงานท่ี 2
9.1 ด้านเกษตรกรรม เร่ือง การเกบ็ ขอ้ มลู การประกอบอาชีพในทอ้ งถน่ิ
พ้ืนท่ีทานา
- ไร่

พื้นท่ีทาสวน 343.89 ไร่ ( 135 ครัวเรือน)

พืชสวนที่สาคัญ ได้แก่

1 มะม่วง จานวน 290.59 ไร่ ( 98 ครัวเรือน)
184.36 ไร่ ( 75 ครัวเรือน)
- มะม่วงเขียวมรกต (ทองดา) จานวน 24.04 ไร่ ( 9 ครัวเรือน)

- มะม่วงมหาชนก จานวน 2.24 ไร่ ( 1 ครัวเรือน)
21.10 ไร่ ( 9 ครัวเรือน)
- มะม่วงงาช้างแดง จานวน 21.02 ไร่ ( 3 ครัวเรือน)
16.49 ไร่ ( 10 ครัวเรือน)
- มะม่วงอาร์ทูอีทู จานวน 21.34 ไร่ ( 5 ครัวเรือน)
46.56 ไร่ ( 19 ครัวเรือน)
- มะม่วงมันศรีวิชัย จานวน 46.56 ไร่ ( 19 ครัวเรือน)

- มะม่วงพันธุ์จินหวง จานวน - ไร่
2.88 ไร่ ( 1 ครัวเรือน)
- มะม่วงพันธ์ุอ่ืนๆ จานวน 2.88 ไร่ ( 1 ครัวเรือน)
0.98 ไร่ ( 2 ครัวเรือน)
2 ลาไย จานวน

- ลาไยพันธ์ุอีดอ จานวน

- ลาไยพันธ์ุอ่ืนๆ จานวน

5 โกโก้ จานวน

7 ไม้ยืนต้น จานวน

8 พืชผกั จานวน

พ้ืนท่ีทาไร่ 8.00 ไร่ ( 1 ครัวเรือน)

บันทึกข้อมลู โดยหน่วยงาน : สานกั งานเกษตรอาเภอ

ปศุสัตว์ ไก่พ้ืนเมือง - ตัว ไก่เน้อื - ตัว
จานวนสตั ว์ในพื้นท่ีโดยรวม ไก่ไข่ - ตัว อ่ืนๆ - ตัว
โคเนือ้ - ตัว
เป็ด - ตัว

บนั ทกึ ข้อมลู โดยหน่วยงาน : สานกั งานปศุสตั ว์อาเภอ

ประมง แห่ง พื้นท่ี
แหง่ พ้ืนที่
แหลง่ นา้ สาธารณะเพาะพันธ์ุสัตว์น้า - แหง่ - ไร่
ตัน/ปี - ไร่
สถานท่ีเพาะเล้ียงสัตว์นา้ เอกชน - ตัน/ปี

ท่าเทียบเรือ/สะพานปลา จานวน -

ผลผลติ สัตว์นา้ จากการเพาะเล้ียง -

ผลผลิตสตั ว์น้าจากแหล่งน้าสาธารณะ -

อ่ืนๆ -

ใบงานท่ี 2

เรื่อง การเกบ็ ขอ้ มูลการประกอบอาชพี ในทอ้ งถิ่น

9. การประกอบอาชีพ

9.1 ด้านเกษตรกรรม

พ้ืนท่ีทานา 19 ไร่ ครัวเรือน

พ้ืนท่ีทาสวน ไร่ ครัวเรือน

พืชสวนที่สาคัญ ได้แก่

1 มะม่วง จานวน 274.34 ไร่ ( 98 ครัวเรือน)

2 ลาไยพันธ์ุอีดอ จานวน 46.56 ไร่ ( 19 ครัวเรือน)

3 จานวน ไร่

4 จานวน ไร่

พื้นที่ทาไร่ ไร่ ครัวเรือน
พืชสวนที่สาคัญ ได้แก่
1 จานวน ไร่
2 จานวน ไร่
3 จานวน ไร่
4 จานวน ไร่

9.2 ด้านอุตสาหกรรม

จานวนโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ - แห่ง

(มีคนงานตัง้ แต่ 200 คนขึ้นไป หรือมีทรัพย์สินเกินกว่า 50 ล้านบาทขึ้นไป)

กิจการอุตสาหกรรม เก่ียวกับ

1

2

จานวนโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง - แหง่

(มีคนงานตัง้ แต่ 10-49 คน หรือมีทรัพย์สนิ ต้งั แต่ 10-50 ลา้ นบาท)

กิจการอุตสาหกรรม เก่ียวกับ

1

2

จานวนโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง - แหง่

(มีคนงานต่ากว่า 10 คน หรือมีทรัพย์สนิ ตง้ั แต่ 10 ล้านบาท)

กิจการอุตสาหกรรม เก่ียวกับ

1

2

10. การพาณิชย์

ธนาคาร - แห่ง สถานีบริการน้ามัน - แหง่
แหง่ ศูนย์การค้า/หา้ งสรรพสินค้า - แห่ง
บริษัท - แห่ง ตลาดสด - แห่ง
แหง่ โรงฆ่าสัตว์ - แห่ง
หา้ งหุ้นสว่ นจากัด - แหง่ โรงสีข้าว - แหง่

ร้านค้าต่างๆ (ร้านวารี) 1

อื่นๆ (สวนองนุ่ ราชพฤกษ์ ) 1

11. สถานบริการ - แหง่
โรงแรม - แหง่
ร้านอาหาร - แห่ง
โรงภาพยนตร์ - แหง่
สถานขี นส่ง - แหง่
อ่ืนๆ
บันทกึ ข้อมลู โดยหน่วยงาน : กองคลัง เทศบาลตาบลบ้านโฮ่ง

ใบงานที่ 3

เร่อื ง การเก็บข้อมลู ด้านกายภาพในทอ้ งถ่ิน

12.สภาพภูมิประเทศ เชน่ ทร่ี าบ ลาดเอยี ง เนนิ ภูเขา ล่มุ แอง่ สังคมพืช เชน่ ป่าชายหาด ป่าชายเลน ป่าพรุ

หมู่บ้านกลางเป็นชุมชนซึ่งตั้งเป็นแนวยาวตามลำน้ำลี้ สามารถติดต่อกันได้โดยตลอดการสัญจร
ระหว่างหมู่บ้านตลอดจนติดต่อกับอำเภอและจังหวัดได้สะดวกและรวดเร็ว โดยใช้ถนนสายดงฤาษี - บ้านกลาง - บ้านโฮ่ง
สภาพภูมปิ ระเทศทัว่ ไปเป็นทร่ี าบ มอี าณาเขตตดิ ตอ่ กัน ดังนี้

ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กับ ลำน้ำลี้ และหมบู่ ้านหว้ ยห้า หมทู่ ี่ 7 ต.บ้านโฮง่ อ.บา้ นโฮง่ จ.ลำพูน

ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั ท่งุ นา และหมบู่ ้านสนั เจดีย์ - ยางส้ม หมูท่ ่ี 6 ต.บ้านโฮง่ อ.บา้ นโฮ่ง จ.ลำพนู

ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ กับ ทุ่งนา และหมบู่ ้านโฮง่ หมทู่ ่ี 2 ต.บ้านโฮง่ อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพนู

ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกบั บา้ นดงฤาษี หมทู่ ี่ 8 ต.บา้ นโฮง่ อ.บา้ นโฮ่ง จ.ลำพนู

13.ลักษณะดนิ กลุ่มชดุ ดนิ ท่ี 33

ลักษณะกลุ่มชุดดนิ ที่ 33

ลักษณะเด่น กลุ่มดินทรายแป้งละเอียดหรือดินร่วนละเอียดลึกมากที่เกิดจากตะกอนแม่น้ำหรือตะกอนน้ำพา
รปู พดั ปฏิกริ ยิ าดนิ เปน็ กรดเลก็ นอ้ ยถึงเปน็ กลาง การระบายนำ้ ดีถึงดีปานกลาง ความอดุ มสมบูรณป์ านกลาง

สมบตั ิของดิน เป็นกลมุ่ ชดุ ดนิ ท่ีมีวตั ถตุ ้นกำเนดิ ดินเปน็ พวกตะกอนลำน้ำ พบบนสนั ดินริมน้ำเก่า เนินตะกอนรูป
พัด หรือที่ราบตะกอนน้ำพา พบบริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอนลาด
เป็นดนิ ลกึ มาก การระบายน้ำดีถึงดปี านกลาง เน้ือดินเป็นพวกดนิ ทรายแป้งหรือดินร่วนละเอยี ด สีดนิ เป็น สนี ้ำตาล
หรือสีน้ำตาลปนแดง บางแห่งในดินล่างลึกๆ มีจุดประสีเทาและสีน้ำตาล อาจมีแร่ไมกาหรือก้อนปูนปะปนอยูด่ ้วย
ดินชั้นบนมักมีปฏิกิริยาเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง ส่วนชั้นดินล่าง ถ้ามีก้อนปูนปะปน มีปฏิกิริยาเป็นกลาง
ถึงเป็นดา่ งจดั มีคา่ ความเป็นกรดเป็นดา่ งประมาณ 7.0-8.5

อินทรียวตั ถุ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความเปน็ กรดเปน็ ด่าง
(เปอร์เซ็นต์) (ส่วนตอ่ ลา้ นส่วน) (สว่ นตอ่ ล้านส่วน) (pH)

ดนิ บน 2.6 98.7 272.8 6.0-7.0
ดินลา่ ง 1.9 43.1 195.4 7.0-8.5

*เปอร์เซ็นต์ค่าไนโตรเจน มคี ่าเทา่ กบั เปอรเ์ ซ็นต์อินทรียวตั ถุ x 0.05

ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ ปานกลาง

การใช้ประโยชน์ ใช้ปลกู พืชไรต่ า่ งๆ เชน่ ข้าวโพด อ้อย ฝา้ ย ยาสูบ ถ่วั ต่างๆ และสบั ปะรด บางแห่งใชป้ ลูกไมผ้ ล
หรอื เป็นที่อยู่อาศัย

ปญั หา ดนิ กลุ่มน้ี ไมค่ ่อยมีปัญหาในการใช้ประโยชน์ แต่อาจขาดแคลนนำ้ ในระยะทีฝ่ นท้ิงช่วงนาน บางพน้ื ท่อี าจ
พบชัน้ ดานแข็งที่เกิดจากการเกษตรกรรม

แนวทางการจดั การดนิ เพื่อการเพาะปลูก

ปลกู พชื ไร่ หรือพืชผกั ไถพรวนขณะทดี่ นิ มีความชื้นท่เี หมาะสม จัดระบบการปลูกพชื หมนุ เวยี นให้มีการปลูกพืช
บำรุงดนิ อย่ดู ว้ ย ปรับปรุงดนิ ด้วยป๋ยุ หมักหรอื ปุ๋ยคอก 2-3 ตัน/ไร่ หรอื ไถกลบพืชปุ๋ยสด (หวา่ นเมล็ดถวั่ พร้า 8-10
กก./ไร่ เมล็ดถ่วั พ่มุ 6-8 กก./ไร่ หรือปอเทอื ง 4-6 กก./ไร่ ไถกลบระยะออกดอก ปล่อยไว้ 1-2 สัปดาห)์ รว่ มกบั
ปุย๋ เคมี หรอื ปยุ๋ อินทรีย์นำ้ มีวสั ดคุ ลมุ ดิน หรอื ทำแนวรั้วหญา้ แฝก มกี ารใชป้ ยุ๋ เคมหี รือปุย๋ อินทรยี ์น้ำตามชนดิ พืชที่ปลกู
เพื่อรักษาความสามารถในการผลติ ของดนิ ไวไ้ ม่ใหเ้ ส่ือมโทรมลงพัฒนาแหล่งนำ้ และจดั ระบบการให้นำ้ ในแปลงปลูก

ปลูกไมผ้ ล ขดุ หลมุ ปลูกขนาด 50x50x50 ซม. ปรบั ปรงุ หลมุ ปลูกดว้ ยปยุ๋ หมักหรือปุ๋ยคอก 20-35 กก./หลุม
มีวัสดุคลุมดนิ ปลูกพชื คลุมดิน ปลกู พืชแซม ทำแนวรั้วหรือฐานหญา้ แฝกเฉพาะต้น ในช่วงเจรญิ เตบิ โต

แหลง่ อา้ งองิ กรมพฒั นาท่ีดินกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
http://oss101.ldd.go.th/web_thaisoilinf/62_soilgroup/62sg_desc/desc_33.html

14. แหล่งน้ำ

แหล่งนำ้ ธรรมชำติ (จ้ำนวน ควำมกว้ำง ควำมยำว ปริมำณน้ำ มีน้ำตลอดปี หรือเป็นฤดูกำล)

คลอง ชื่อ ลำ้ เหมืองนำ้ เสีย

ขนำด ควำมกว้ำง 0.003 กิโลเมตร ควำมยำว 2.148 กิโลเมตร

o มีน้ำตลอดปี  มีนำ้ เปน็ ฤดูกำล

ช่ือ ลำ้ เหมืองบ้ำนโฮ่ง - บ้ำนกลำง

ขนำด ควำมกว้ำง 0.003 กิโลเมตร ควำมยำว 1.816 กิโลเมตร

o มีน้ำตลอดปี  มีน้ำเป็นฤดูกำล

แม่น้ำ ชื่อ แม่น้ำลี 0.030 กิโลเมตร ควำมยำว 0.676 กิโลเมตร
ขนำด ควำมกว้ำง  มีน้ำเปน็ ฤดูกำล
o มีน้ำตลอดปี

แหล่งน้ำชลประทำน (จ้ำนวน ควำมกว้ำง ควำมยำว ปริมำณนำ้ มีนำ้ ตลอดปี หรือเปน็ ฤดูกำล)

ฝำย ชื่อ

ขนำด ควำมกว้ำง กิโลเมตร ควำมยำว กิโลเมตร

o มีนำ้ ตลอดปี o มีน้ำเปน็ ฤดูกำล

คลองชลประทำน ชื่อ

ขนำด ควำมกว้ำง กิโลเมตร ควำมยำว กิโลเมตร

o มีน้ำตลอดปี o มีนำ้ เป็นฤดูกำล

เข่ือน ช่ือ

ขนำด ควำมกว้ำง กิโลเมตร ควำมยำว กิโลเมตร

o มีนำ้ ตลอดปี o มีน้ำเป็นฤดูกำล

อ่ำงเก็บนำ้ ชื่อ

ขนำด ควำมกว้ำง กิโลเมตร ควำมยำว กิโลเมตร

o มีน้ำตลอดปี o มีน้ำเปน็ ฤดูกำล

o ฝำยชะลอควำมชุ่มชืน จ้ำนวน ครอบคลมุ พืนท่ี

o ปริมำณน้ำฝนเฉล่ียต่อปี มิลลเิ มตร

o ปริมำณน้ำฝนเฉลี่ยสงู สุดต่อปี มิลลิเมตรช่วงเดือน -เดือน
-เดือน
o ปริมำณน้ำฝนเฉล่ียต่้ำสดุ ต่อปี มิลลเิ มตรช่วงเดือน

ปริมำณควำมต้องกำรใช้นำ้ เปรียบเทียบกับปริมำณนำ้ ท่ีมีในพืนท่ี

o เพียงพอตลอดปี

o นำ้ แห้งในช่วงเดือน -เดือน

o น้ำท่วมในช่วงเดือน -เดือน

คุณภำพของน้ำ

o ปนเป้ือนโลหะหนัก

o ปนเป้ือนจุลนิ ทรีย์

o นำ้ สะอำดไม่มีปัญหำกำรปนเปือ้ น

15. อุณหภูมิ เช้ำ องศำเซลเซียส เท่ียง องศำเซลเซียส เย็น องศำเซลเซียส
สูงสดุ องศำเซลเซียส ต้่ำสุด
องศำเซลเซียส ณ พืนที่เก็บโดยรวมต่อวัน

16. ปริมำณแสง เช้ำ เปอร์เซนต์ เที่ยง เปอร์เซนต์ เย็น เปอร์เซนต์

17. พกิ ดั ทำงภูมิศำสตร์ ค่ำ X: ค่ำ Y:

บันทึกข้อมลู โดยหนว่ ยงำน กองช่ำง เทศบำลตำ้ บลบำ้ นโฮ่ง

วัน/เดือน/ปี 25 มีนำคม 2565

ใบงานท่ี 4

เร่ือง การเกบ็ ข้อมลู ประวัติหมู่บา้ น ชุมชน วิถีชมุ ชน

18.ข้อมูลประวตั ิหมู่บ้าน ชุมชน แขวง

1. ชื่อบ้าน กลาง ความหมายคือ หมบู่ า้ นที่อย่ตู รงกลางระหวา่ งหมู่บา้ นอ่ืน ๆ

2. ประวัติชุมชน บ้านกลางเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ตั้งอยู่กลางทุ่ง ระหว่างบ้านโฮ่ง และบ้านดงฤาษี จึงได้นามว่า
“บ้านกลาง” เดมิ มชี าวบ้านอยูป่ ระมาณ 4-6 หลงั คาเรอื น แยกมาจากบ้านดงฤาษี หม่ทู ่ี 8 ต่อมากม็ ปี ระชากรเพิ่ม
9 – 10 หลังคาเรือน และเพิ่มจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ พอที่จะขอตั้งเป็นหมู่บ้านได้ จึงขอแต่งตั้ง โดยการนำของ
ผู้นำหมบู่ ้านและลกู บ้านในสมัยนน้ั บรเิ วณบ้านกลางมวี ัดเก่าแก่ของอำเภอบ้านโฮ่งปรากฏอยู่ คอื วดั พระเจา้ สะเลยี มหวาน
เป็นเสมือนวัดร้างในอดีต เป็นชุมชนที่ตั้งของเข้าเมืองโบราณเวียงหวาย ในอดีตที่ผู้คนส่วนหนึ่งอพยพ มาจาก
เวียงสะแกงสบน้ำลี้ ได้รับการบูรณะโดยหลวงพ่อท่านพระครูสังวรณาณร่วมกับคณะสงฆ์อำเภอบ้านโฮ่ง วัดน้ี
อยู่บริเวณกลางทุ่งนา ถือเป็นวัดประจำหมู่บ้าน มีการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมมาโดยตลอด ชาวบ้านส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำสวน ทำไร่ ทำนา

ปี พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2537 ผู้ใหญ่บ้านคนแรก คอื พอ่ หลวงชนิ วุฒิ เตชะคำ

ปี พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2542 ผู้ใหญ่บ้าน คือ พอ่ หลวงบญุ รตั น์ ตาเจรญิ เมอื ง

ปี พ.ศ. 2543 - พ.ศ. 2547 ผใู้ หญบ่ า้ น คอื พอ่ หลวงชนิ วุฒิ เตชะคำ

ปี พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2551 ผใู้ หญบ่ า้ น คือ พ่อหลวงอนนั ต์ ชนันชนะ

ปี พ.ศ. 2551 – ปัจจุบัน ผ้ใู หญบ่ ้าน คือ พ่อหลวงจรญั กนั ทะถ้ำ

สงิ่ ศักสทิ ธ์ขิ องหมบู่ ้าน คอื พระเจ้าสะเลยี มหวาน พระสิงห์ เป็นท่เี คารพของชาวอำเภอบา้ นโฮ่ง

ประวัตพิ ระเจ้าสะเลยี มหวาน

ในสมัยพุทธกาล ครั้งหนึ่งพระพุทธเจ้าเสด็จจาริกไปในปัจจันตชนบท เพื่อโปรดประชาสัตว์ โดยมีพระอานนท์เป็น
ปัจฉาสมตะ ลุถึงตำบลหนึ่งมีต้นไม้สะเลียม (สะเดา) ขึ้นอยู่หนาแน่นมีธารน้ำไหลผ่าน หลังจากพระองค์ทรง
บณิ ฑบาตในระแวกบ้าน ไดภ้ ัตตาหารพอสมควรแล้ว ทรงแวะเสวยภัตตาหารภายใต้ตน้ ไม้สะเลียมหวาน ทรงเสวย
ภัตตาหารเสร็จแล้วทรงเข้าสมาธิสขุ สมบัติจนกระทั่งตะวันบ่ายคล้อยไป ครั้งนั้นความอศั จรรย์ก็ปรากฏข้ึน คือ เงา
ไม้สะเดายังตรึงอยู่กับท่ีไมเ่ คล่ือนย้ายไปตามตะวันและสะเลียมน้ันมีรสหวาน ตอ่ มาก็มคี นผู้มจี ิตศรัทธาตัดต้นไม้สะ
เลยี มหวานมาแกะสลกั เปน็ พระพุทธรูป จึงขนานนามว่า “พระเจา้ สะเลยี มหวาน” มาตราบเท่าทกุ วันนี้

ประวตั กิ ารสร้างวัดพระเจา้ สะเลยี มหวาน

สถานที่ตั้งวัดพระเจ้าสะเลียมหวานในปัจจุบันเป็นวัดที่มีประวัติศาสตร์ของอำเภอบ้านโฮ่ง ตามตำนานเล่าไว้ว่า
บ้านโฮ่งในอดีตกาลที่เจริญสมัยหนึ่งมีพระยาองค์หนึ่งชื่อไม่ปรากฎ ตั้งเมืองขึ้นมาเรียกว่า “เวียงหวาย” มีบุตร 2
คน คนแรกชอ่ื พระยาจนั ทร์ (พระเจา้ แปดเหลีย่ ม) พระเจ้าแปดเหล่ียมเป็นผสู้ รา้ งวดั นี้ข้นึ มา

จึงได้นามว่า “วัดพระเจ้าสะเลียมหวาน” ต่อมากลายเป็นวัดสร้าง พระครูสังวรญาณ สมัยดำรงตำแหน่งเจ้าคณะ
อำเภอบ้านโฮ่งจงึ มาบูรณะขน้ึ มาใหม่ เป็นวัดพระเจ้าสะเลยี มหวานตราบจนทกุ วันนี้

19.ขอ้ มลู วถิ ชี ีวิตของหมู่บา้ น ชมุ ชน แขวง

ชาวบ้านกลาง ส่วนใหญ่ในอดีตที่ได้มาตั้งถิ่นฐาน มักจะย้ายมาจากหมู่บ้านใกล้ ๆ ลักษณะของภาษาที่ใช้
คือ ภาษาคำเมือง ภาษาอื่น ๆ มีบ้างเป็นส่วนน้อย ส่วนมากแปรสภาพตามครอบครัวอื่นที่มาอยู่ ด้านการแต่งกาย
ชาวบ้านส่วนใหญ่ในอดีตจะสวมใส่เสื้อผ้าตามแบบสมัยนิยม จะไม่เป็นเอกลักษณ์ว่าจะต้องแต่งกายตามเชื้อสาย
หรือชาติพันธุ์ เหมือนกับคนไทยเชื้อสายอื่น ความเป็นอยู่ สร้างบ้านเรือนแบบคนดั้งเดิม โดยสร้างบ้านแบบเสาไม้สัก
อดตี บา้ นเรอื นจะเป็นเรือนไม้ทัง้ หลัง หลงั คามงุ กระเบื้องดินแดง แผน่ เลก็ ๆ ซง่ึ ในปัจจบุ ันหาดูได้ยาก แต่ยังคงมีให้
เห็นส่วนมากจะรื้อแบะสร้างในรูปแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น ชาวบ้านบ้านกลาง บางคนยังใช้ชีวิตแบบดั้งเดิม คือ
ใช้วิธีการจักสาน เช่น สานก๋วย ไม้กวาดทางมะพร้าว สุ่มไก่ หรือภาชนะบางอย่างสำหรบั ใช้ในครัวเรือน แต่ก็มีน้อยมาก
บ้างก็ทำขายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัว ด้านการทอผ้า ปัจจุบันไม่ค่อยมีให้เห็น จะมีก็เพียงส่วนน้อย เด็กใน
สมัยปัจจุบันจึงไม่ได้รับการสืบต่อ จุดเด่นทางวัฒนธรรม ชาวบ้านกลางยังคงสืบสานประเพณีอันดีง ามไว้
เช่น ประเพณีการแห่แค่ในช่วงเดือนยี่เป็น ประเพณีสรงน้ำ พระเจ้าสะเลียมหวาน ประเพณีการเลี้ยงผีเสื้อบ้าน
และประเพณีอ่ืน ๆ อีกมากมาย

อาชีพของคนในหมู่บ้านห้วยห้า ในฤดูกาลต่าง ๆ

เดือน 3 เหนอื (ธ.ค. - ม.ค.) เดอื น 4 เหนอื (ม.ค. -ก.พ.) เดือน 5 เหนือ (ก.พ. - ม.ี ค.)

ปลกู หอมแดง ปลูกกระเทยี ม ปลกู เกบ็ ดอกหอม ปลกู ผักเพอ่ื จำหน่าย ถอนหอม และกระเทียม ปลูกผัก

ผกั เพื่อจำหนา่ ย เกบ็ ผักหวานจากภูเขา

เดือน 6 เหนอื (มี.ค. -เม.ย.) เดือน 7 เหนือ ( เม.ย. – พ.ค.) เดอื น 8 เหนอื (พ.ค. -มิ.ย.)

ถอนหอม และกระเทียม ปลกู ผัก ขุดดินยกแปลงเพ่ือทำเกษตร ปลกู หอมแดง ปลูกผัก

เดอื น9 เหนือ (มิ.ย. - ก.ค.) เดือน 10 เหนือ (ก.ค.- ส.ค.) เดือน 11 เหนือ (ส.ค. – ก.ย.)

ปลกู หอมแดง ถอนหอม และกระเทยี ม ปลูกผัก หว่านกลา้ ปลกู ขา้ วในนา

ปลกู ผักเพ่ือจำหน่าย ปลูกหอมแดง และปลูกผัก

เดอื น 12 เหนอื (ก.ย. - ต.ค.) เดอื น ยี่ เหนือ (ต.ค. - พ.ย.) เดอื น เกยี๋ ง เหนือ (พ.ย. - ธ.ค.)

ปลกู ผกั ทั่วไป เกบ็ เห็ดเหลืองจาก เกยี่ วขา้ ว ฟาดข้าว เกบ็ ดอกหอม

ภูเขา เพื่อการบริโภคและจำหน่าย เตรียมรบั การทำเกษตร

แบบบนั ทึกวิถีชีวติ ของหมู่บ้าน ชุมชน แขวง ลำพนู

คำชแ้ี จง : ให้แตล่ ะกลุ่มนำขอ้ มลู วิถีชีวติ มาสรุปข้อมูลเป็นวิถีชมุ ชน

ชื่อหมบู่ ้าน /ชุมชน บ้านกลาง

หม่ทู ี่ 18 ตำบล/แขวง บ้านโฮง่ อำเภอ/เขต บา้ นโฮง่ จังหวัด

วถิ ชี ุมชน/แขวง

1. เดือนมกราคม เดือน 4 เหนือ (มกราคม – กุมภาพันธ)์
- ประเพณีทำบุญตกั บาตรเน่ืองในวนั มาฆบูชา

2. เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ เดือน 5 เหนอื (กุมภาพันธ์ -มนี าคม )
- ประเพณีทำบุญก๋นิ ตานฉลองเสนาสนะวัดวาอารามต่าง ๆ

3. เดอื นมนี าคม เดือน 6 เหนือ (มนี าคม - เมษายน)
- ประเพณที ำบุญก๋นิ ตานฉลองเสนาสนะวัดวาอารามต่าง ๆ
- ประเพณีสรงนำ้ พระธาตุ ประเพณแี ห่ไม้คำ้ สะหลี

4. เดอื นเมษายน เดือน 7 เหนอื (เมษายน – พฤษภาคม)
- ประเพณปี ๋ีใหมเ่ มือง ประเพณีขนทรายเขา้ วดั ประเพณีรดน้ำ
- ดำหวั ประเพณีการตานขันข้าว ประเพณบี วชเณรภาคฤดรู อ้ น

5. เดอื นพฤษภาคม เดือน 8 เหนอื (พฤษภาคม - มถิ นุ ายน)
- ทำบุญตักบาตรวนั อาสาฬหบูชาและวันเขา้ พรรษา

6. เดอื นมิถุนายน เดือน 9 เหนอื (มิถนุ ายน – กรกฎาคม)
- ประเพณสี รงน้ำพระเจ้าสะเลียมหวาน ถวานต้นเทียนพรรษา

7. เดือนกรกฎาคม เดือน 10 เหนอื (กรกฎาคม - สงิ หาคม)
- ประเพณที ำบญุ เข้าพรรษา วันอาสาฬหบูชา
- ประเพณีหวา่ นกล้า ดำนา ปลูกขา้ ว

8. เดอื นสงิ หาคม เดอื น 11 เหนอื (สงิ หาคม - กนั ยายน)
- ประเพณีทำบญุ ตกั บาตรเน่ืองในวันแมแ่ ห่งชาติ

9. เดือนกันยายน เดือน 12 เหนอื (กนั ยายน – ตุลาคม)
- ประเพณีทำบญุ เขา้ พรรษา

10.เดอื นตุลาคม เดอื น ย่ี เหนือ ( ตุลาคม – พฤศจิกายน )
- ทำบุญตักบาตรวนั ออกพรรษา ถวายผ้าจำนำพรรษา
- ประเพณีการทอดกฐนิ และทำบุญตานกว๋ ยสลาก
- ประเพณลี อยกระทง ประเพณีการแหแ่ ค่หลวง ประเพณกี ารฟงั เทศน์มหาชาติ

11.เดอื นพฤศจิกายน เดอื น เก๋ียง เหนือ (พฤศจิกายน - ธันวาคม )
- กจิ กรรมเฉลิมพระชนมพรรษา วนั พ่อแห่งชาติ เทศกาล
- ส่งท้ายปเี กา่ ต้อนรับปใี หม่

12.เดือนธันวาคม เดือน 3 เหนือ (ธันวาคม – มกราคม)
- ประเพณีถวายทานขา้ วใหม่ การทำบญุ วนั ขึ้นปใี หม่
- ประเพณเี ข้าวัตรรุกมลู กรรม

บันทึกขอ้ มลู เพิ่มเตมิ

บันทกึ ข้อมลู โดยหน่วยงาน/โรงเรยี น หอศลิ ป์100 ปี ทวี่ า่ การอำเภอบา้ นโฮง่
วัน/เดอื น/ปี -

ทะเบียนพรรณ

(ชอื่ หมู่บา้ น ชุมชน แขวง) บ้า
ตำบล/แขวง บา้ นโฮง่ อำเภอ/เขต

ณไมใ้ นชมุ ชน

านกลาง
บา้ นโฮง่ จงั หวัด ลำพูน

การสำรวจคร้งั ที่ 1 /2565

ทะเบียนพรรณไมใ้ นชุมชน บ้านกลาง ตำบล/แขวง
(ชอ่ื หมู่บ้าน ชมุ ชน แขวง)

รหสั พรรณไม้ ชอื่ พื้นเมือง ลักษณะ ลักษณะเดน่ ของพชื

8-5510301-18- (ชื่อท่ีท้องถ่ิน วสิ ัย
001
8-5510301-18- นนั้ เรียก) (เช่น ไม้ (เชน่ สี กลิ่น ยาง มหี น
002
8-5510301-18- ต้น ไม้พุ่ม ฯลฯ)
003/1
8-5510301-18- ไมเ้ ลอ้ื ย
003/2
ไมร้ อเล้ือย

ฯลฯ)

กาแฟอารา ไม้ยืนต้น เมลด็ สุกสแี ดง รสชาติข

บิก้า

กาแฟ ไม้ยนื ต้น รสชาติขม ผลสุกมสี ีแด

มะเม่า ไมย้ นื ต้น ใบวงรีเล็กมขี นอ่อนๆ

มะเมา่ ไม้ยนื ต้น ใบเดย่ี ว สเี ขยี วเป็นมัน
โคนใบเรยี วมน ดอก
ออกเป็นชอ่ ตามซอกใบ
และปลายกิ่ง ดอกแยกเ
แยกตน้ ผลกลม ออก
รวมกนั เปน็ พวง ผลอ่อน
เขียว เมือ่ สกุ เป็นสีแดง
เตม็ ทเ่ี ปล่ยี นเป็นสีดำ

บา้ นโฮ่ง อำเภอ/เขต บ้านโฮง่ จงั หวดั ลำพูน

ช ข้อมูลภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ บรเิ วณท่ีพบ หมายเหตุ

นาม (เชน่ เป็นอาหาร ยารักษาโรค (ระบุ ชอ่ื หม่บู า้ น
เครอ่ื งมือเครอ่ื งใช้ ฯลฯ) ตำบล อำเภอ จงั หวดั )

ขม เมลด็ นำมารบั ประทาน 90 ม.18 ต.บ้านโฮ่ง

อ.บ้านโฮง่ จ.ลำพูน

ดง ผลใช้รบั ประทาน 14 ม.18 ต.บา้ นโฮง่

อ.บ้านโฮง่ จ.ลำพนู

ใชใ้ นการประกอบอาหาร 32 ม.18 ต.บ้านโฮง่

อ.บา้ นโฮ่ง จ.ลำพูน

นิยมนำใบและยอดมาใสแ่ กงเพ่ือเพม่ิ 33 ม.18 ต.บา้ นโฮ่ง

รสชาตเิ ปร้ียว อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพนู



เพศ

นสี
สุก

8-5510301-18- ว่านตะขาบ / ไม้ยืนต้น ใช้รักษาพิษตะขาบ
004 วา่ นจะเขบ็
8-5510301-18- เพลยี้ ฟาน ไมย้ ืนตน้ ใบวงรีเล็ก รสชาติออกข
005 โกฐท้งั เก้า ไมล้ ม้ ลกุ ออ่ นๆ
8-5510301-18- สม้ ปอ่ ย ไม้ยืนต้น ใบฝอย มีกลิ่นอ่อนๆ สี
006 เลบ็ ครฑุ ไมพ้ ุ่ม เขยี วสด
8-5510301-18- ผกั หวานบา้ น ไม้พุ่ม กลบี ใบละเอียด ลำตน้ ม
007 ผกั หวานบ้าน ไมพ้ ุ่ม หนาม
8-5510301-18- ใบย่อยๆ มลี ักษณะหยกั
008 ผกั หวานบ้าน ไมพ้ ุ่ม
8-5510301-18- ยอดอ่อนมรี สออกหวาน
009/1 ผักหวานบา้ น ไม้พุ่ม
8-5510301-18- เปน็ ผกั พ้ืนเมืองท่ีเป็นไม
009/2 พ่มุ ขนาดกลาง แตกก่ิงโ
ลงดา้ นล่าง ใบเดี่ยว กา้
8-5510301-18- ใบสัน้ ดอกเด่ยี ว ออกต
009/3 ซอกใบ กา้ นดอกห้อยล
เป็นผกั พื้นเมืองท่เี ป็นไม
8-5510301-18- พ่มุ ขนาดกลาง แตกกิ่งโ
009/4 ลงดา้ นล่าง ใบเด่ยี ว กา้
ใบสนั้ ดอกเดี่ยว ออกต
ซอกใบ ก้านดอกห้อยล
ต้นไมส่ งู มาก ใบรเี ลก็ ส
เขยี วสด

ใชต้ ้นและใบทำเป็นยาสมนุ ไพรใข้ 11 ม.18 ต.บา้ นโฮ่ง
รักษาพิษตะขาบ อ.บา้ นโฮง่ จ.ลำพนู
ขม ใชเ้ ป็นผักแนมกับอาหาร 11 ม.18 ต.บ้านโฮง่
อ.บา้ นโฮง่ จ.ลำพูน
ใช้เปน็ ผักแนมกับอาหาร 11 ม.18 ต.บ้านโฮ่ง
อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพนู
มี ใช้ในการประกอบอาหาร 78 ม.18 ต.บ้านโฮ่ง
อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพนู
กๆ นิยมนำมาแนมกับลาบ 68 ม.18 ต.บ้านโฮ่ง
อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพูน
น นยิ มนำยอดอ่อนมารับประทาน 34 ม.18 ต.บา้ นโฮ่ง
อ.บ้านโฮง่ จ.ลำพูน
ม้ ใช้ประกอบทำอาหาร 64 ม.18 ต.บา้ นโฮง่
โน้ม อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพนู
าน
ตาม 72 ม.18 ต.บ้านโฮ่ง
ลง อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพนู
ม้ ใชป้ ระกอบทำอาหาร
โน้ม 54 ม.18 ต.บ้านโฮง่
าน อ.บ้านโฮง่ จ.ลำพนู
ตาม
ลง
สี ใช้ในการประกอบอาหาร

8-5510301-18- ผักหวานบ้าน ไมพ้ ุ่ม ใบเป็นรปู รียาว ปลายใบ
009/5 มนแหลม รสชาติออก
ผกั หวานบ้าน ไมพ้ ุ่ม หวาน
8-5510301-18-
009/6 ผกั หวานบ้าน ไมพ้ ุ่ม ใบเป็นรปู รยี าว ปลายใบ
มนแหลม รสชาติออก
8-5510301-18- ดปี ลี เล้ือย หวาน
009/7
หนุมานถวาย ไมพ้ ุ่ม เปน็ ผักพ้นื เมืองทเี่ ป็นไม
8-5510301-18- แหวน พุ่มขนาดกลาง แตกก่ิงโ
010 ละมุดอนิ เดีย ไมย้ ืนต้น ลงด้านลา่ ง ใบเดีย่ ว ก้า
เพกา ไม้ยนื ตน้ ใบสนั้ ดอกเดีย่ ว ออกต
8-5510301-18- ซอกใบ กา้ นดอกห้อยล
011
8-5510301-18- มีใบสีเขียวเข้ม ใบเรียว
012 ปลายแหบมมผี ลสแี ดงเ
8-5510301-18- สุก
013/1
ใบมลี กั ษณะเป็นแฉกย่อ
มีดอกสีสม้ แดง

ลำตน้ สงู มผี ลสีเหลืองเม
สุก

ล้ินฟา้ ฝกั ยาวคลา้ ยดาบ
รสขม มะรมุ ใบเล็กย่อย
ดอกเปน็ ช่อสขี าว ฝกั ยา
ผักเฮือด ใบมลี ักษณะรี
ปลายแหลมยอดออ่ นมีส
ชมพูอมส้ม

บ ใชใ้ นการประกอบอาหาร 8 ม.18 ต.บา้ นโฮง่ อ.
บา้ นโฮ่ง จ.ลำพูน

บ ใชใ้ นการประกอบอาหาร 26 ม.18 ต.บา้ นโฮ่ง
อ.บา้ นโฮ่ง จ.ลำพนู

ม้ นิยมนำมา ต้ม น่งึ แกง 9 ม.18 ต.บ้านโฮ่ง อ.
โน้ม บา้ นโฮง่ จ.ลำพนู
าน
ตาม 67 ม.18 ต.บ้านโฮ่ง
ลง อ.บา้ นโฮ่ง จ.ลำพนู

ใชท้ ำเครื่องเทศเพราะมรี สชาตเิ ผ็ด
เมื่อ รอ้ น

อยๆ นิยมนำยางจากกา้ นใบมาทาแผลสด 49 ม.18 ต.บ้านโฮง่
อ.บา้ นโฮ่ง จ.ลำพนู
ม่อื นิยมทานผลจะมีรสชาติหวาน
36 ม.18 ต.บา้ นโฮ่ง
บมี ล้ินฟา้ นยิ มนำฝกั มาประกอบอาหาร อ.บา้ นโฮ่ง จ.ลำพนู
ย มะรุมนิยมนำยอดอ่อน/ฝกั มา
าว ประกอบอาหาร ผกั เฮือดนิยมนำ 21 ม.18 ต.บ้านโฮง่
อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพูน
ยอดอ่อนมาประกอบอาหาร
สี

8-5510301-18- เพกา ไมย้ นื ต้น ผล เป็นฝักแบนขนาดให
013/2 มะรุม ไมย้ นื ตน้ รปู ดาบ ปลายฝักแหลม

8-5510301-18- ไมย้ ืนตน้ ลิ้นฟ้า ฝกั ยาวคลา้ ยดาบ
014 ไมย้ นื ตน้ รสขม มะรมุ ใบเลก็ ย่อย
ดอกเป็นช่อสีขาว ฝกั ยา
8-5510301-18- ผกั เฮือด ผกั เฮือด ใบมลี กั ษณะรี
015/1 ปลายแหลมยอดออ่ นมสี
ชมพอู มส้ม
8-5510301-18- ผักเฮือด
015/2 ใบเลก็ ยอ่ ย ดอกเป็นช่อ
เชียงดา ขาว ฝักยาว ผกั เฮือด ใบ
8-5510301-18- ลกั ษณะรีปลายแหลมย
016 ดเี หย่ยี น อ่อนมีสชี มพูอมสม้

8-5510301-18- ว่านหาง ใบรียาวปลายแหลม
017 จระเข้
ส้มจนื้ ไมเ้ ล้อื ย ใบรปี ลายแหลมใบมันเง
8-5510301-18-
018 ผักกุ่มบก ไม้ยนื ต้น ใบรีไม่ใหญม่ าก สีเขียวส

8-5510301-18- ไม้พุ่ม ใบยาวแหลมมหี นาม
019 ไมย้ นื ตน้ บริเวณขอบใบ
ไมย้ ืนตน้
8-5510301-18- ใบยอ่ ยเปน็ รูปรี แตกก่งิ
020 กา้ นตำ่

ใบรีใหญ่

หญ่ นิยมนำผลมาเป็นเคร่ืองแนม 12 ม.18 ต.บา้ นโฮง่
ม อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพูน

บมี ลิ้นฟา้ นยิ มนำฝกั มาประกอบอาหาร 21 ม.18 ต.บ้านโฮง่
ย มะรุมนยิ มนำยอดอ่อน/ฝักมา อ.บา้ นโฮง่ จ.ลำพูน
าว ประกอบอาหาร ผักเฮือดนิยมนำ

ยอดอ่อนมาประกอบอาหาร
สี

อสี ลน้ิ ฟ้านยิ มนำฝกั มาประกอบอาหาร 21 ม.18 ต.บา้ นโฮง่
บมี มะรมุ นยิ มนำยอดอ่อน/ฝกั มา อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพูน
ยอด ประกอบอาหาร ผักเฮือดนยิ มนำ
86 ม.18 ต.บ้านโฮ่ง
ยอดอ่อนมาประกอบอาหาร อ.บา้ นโฮ่ง จ.ลำพนู
นยิ มนำยอดออ่ นมาประกอบอาหาร 6 ม.18 ต.บา้ นโฮง่ อ.
บา้ นโฮง่ จ.ลำพนู
งา นยิ มนำยอดอ่อนมาประกอบอาหาร 42 ม.18 ต.บ้านโฮง่
อ.บ้านโฮง่ จ.ลำพูน
สด เป็นเคร่ืองแนมประกอบอาหาร 81 ม.18 ต.บา้ นโฮง่
อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพนู
ใบเจลดา้ นในรักษาแผลสด ไฟไหม้ 30 ม.18 ต.บา้ นโฮง่
น้ำรอ้ นลวก อ.บา้ นโฮง่ จ.ลำพูน
ง ใชเ้ ปน็ ยารกั ษาโรค 23 ม.18 ต.บ้านโฮง่
อ.บา้ นโฮ่ง จ.ลำพนู
นยิ มนำไปเขา้ ยา

ทะเบียนพันธ

(ชอื่ หมู่บา้ น ชุมชน แขวง) บา้
ตำบล/แขวง บา้ นโฮง่ อำเภอ/เขต

ธส์ุ ตั ว์ในชมุ ชน

านกลาง
บา้ นโฮ่ง จังหวัด ลำพูน

การสำรวจคร้งั ที่ 1 /2565

ทะเบียนพนั ธสุ์ ตั ว์ในชมุ ชน ตำบล/แขวง บ้านโฮง่
(ชอื่ หมู่บา้ น ชุมชน แขวง) บา้ นกลาง

รหสั พันธ์ุสัตว์ ชื่อพืน้ เมือง ประเภท ลักษณ
(ช่อื ที่ท้องถิ่นนน้ั
(เช่นสตั ว์น้ำ สตั ว์ (เช่น
เรียก)

เลี้ยงลูกดว้ ยน้ำนม รปู ร่าง

สตั ว์เลือ้ ยคลาน สัตว์

ครึง่ บกคร่ึงนำ้ สัตว์

ปกี ฯลฯ)

8-5510301-18- ไก่พันธพุ์ น้ื เมือง สัตวป์ กี เพศเมยี
001
น้ำตาล

หน้าดำ

หงอนห

สสี ันสว

ขาว ดำ

เป็นเอก

หงอนจ

ตวั ผจู้ ะม

8-5510301-18- สะดิ้ง สัตว์ปกี เป็นแมล
002
เล้ียง โด

จะขยาย

จำนวน

รับประ

อาหาร

อำเภอ/เขต บ้านโฮ่ง จงั หวดั ลำพนู

ณะเด่นของ ขอ้ มูลภมู ปิ ัญญา บริเวณทพี่ บ หมายเหตุ
สัตว์ ท้องถ่นิ
(ระบุ ชอ่ื หมูบ่ า้ น
น ขนาด สี (เช่น เปน็ อาหาร ยา ตำบล อำเภอ
ง ลำตัว ฯลฯ) รกั ษาโรค เครื่องมือ จังหวดั )

เครื่องใช้ ฯลฯ)

ยจะมีขนสีดำ เลย้ี งเพอ่ื เปน็ อาหาร 37 ม.18 ต.บ้าน
หรือเทา เลยี้ งเพือ่ เปน็ อาหาร โฮง่ อ.บ้านโฮ่ง จ.
ำ แขง้ ดำ ลำพูน
หิน เพศผู้จะมี
วยงาม สแี ดง 81 ม.18 ต.บา้ น
ำ และทอง โฮง่ อ.บ้านโฮ่ง จ.
กลักษณ์ ลำพูน
จะสวยสีแดง
มีเดือย

ลงทนี่ ิยม
ดยวงจรชีวติ
ยพนั ธุ์ดว้ ยไข่
นมาก ใช้
ะทานเปน็

ใบงานที่ 8

เร่ือง การเก็บข้อมลู ภูมปิ ัญญาในท้องถิน่

23. ขอ้ มูลทรพั ยากรทางวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญา
1. สาขา สาขาเกษตรกรรม

ประเภท (สาขาเกษตรกรรม/ สาขาอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม / สาขาการแพทยแ์ ผนไทย / สาขาการจดั การ
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม / สาขากองทนุ และธรุ กิจชมุ ชน / สาขาสวัสดกิ าร / สาขาศลิ ปกรรม / สาขา
การจัดการองค์กร / สาขาภาษาและวรรณกรรม / สาขาศาสนาและประเพณี

ชอื่ ภูมิปัญญาท้องถ่นิ กระเทียมดอง

รหัสภูมปิ ญั ญา 8-5510301-18-012

2. เจ้าของภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ (นาย / นาง / นางสาว / ชุมชน / กลุ่ม)

นางมลิวลั ย์ ลนิ้ ฤๅษี ตำบล/แขวง บา้ นโฮง่ อำเภอ/เขต บ้านโฮง่ จังหวดั ลำพนู
บา้ นเลขที่ 58 หมทู่ ่ี 18 โทรสาร
รหสั ไปรษณีย์ 51130 โทรศัพท์

พิกัดทางภูมิศาสตร์ (GIS) X: N 18° 19’ 50.962” Y: E 98° 48’ 8.757”

E-mail address :

3. ประเภทของภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่  ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ดา้ นผลิตภณั ฑ์และการแปรรูป
 ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นด้านพชื  ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ดา้ นเคร่ืองมือเครื่องใช้ทางการเกษตร
 ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ดา้ นสัตว์  อน่ื ๆ
 ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินด้านประมง

4. จุดเดน่ ของภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน

เป็นการถนอมอาหาร (กระเทียม) เพื่อให้สามารถเก็บไว้รับประทานให้นานขึ้น และเป็นการเพิ่มมูลค่า
ให้กับสนิ ค้าทางการเกษตรของตำบลบา้ นโฮ่ง ทง้ั น้ยี ังมรี สชาตทิ ี่กลมกล่อม

5. รายละเอยี ดของภูมปิ ัญญาท้องถิน่

กระเทียมดองเป็นผลติ ภณั ฑ์ท่ีได้จากการถนอมอาหาร ทำใหม้ กี ลิน่ ไม่ฉนุ รับประทานง่าย และสามารถเก็บ
ไวร้ บั ประทานได้นาน

6. การประชาสัมพันธแ์ ละเผยแพร่ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ

 ยังไม่เคยมกี ารเผยแพร่ / ใชเ้ ฉพาะบุคคล

 เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน

 มกี ารดูงานจากบคุ คลภายนอก จำนวน ครงั้ จำนวน คน
นอกพ้ืนที่ คน
 มีการนำไปใชใ้ นพนื้ ทเี่ ดยี วกนั คน

 อน่ื ๆ (ระบ)ุ

7. ลักษณะของภมู ิปัญญาท้องถิน่
 ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ดัง้ เดิมไดร้ ับการถ่ายทอดมาจาก

 ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ท่ีได้พฒั นาและต่อยอด
แบบเดิม คือ
มกี ารพฒั นาด้านรสชาตใิ ห้มคี วามกลมกล่อม

 การพฒั นาและต่อยอดคอื
กรรมวธิ ีการดองยงั ใช้แบบดง้ั เดมิ แตม่ ีการปรบั ปรงุ รสชาติให้กลมกล่อมขน้ึ จากในช่วงเเรกทีม่ ีผลติ

 ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ / นวัตกรรมท่คี ิดค้นข้ึนมาใหม่
8. วัตถดุ บิ ทีใ่ ชใ้ นผลิตภณั ฑ์ทเี่ กดิ จากภูมปิ ัญญา ซง่ึ พ้นื ที่อน่ื ไมม่ ี ไดแ้ ก่
1. กระเทยี ม
หมายเหตุ : กรณภี ูมิปัญญา ในแต่ละสาขา มีขอ้ มลู / ผรู้ ้มู ากกว่า 1 คน ขอให้เพิ่มเติมแบบฟอร์ม

วาดภาพประกอบ

บนั ทกึ ข้อมลู โดยหน่วยงาน เจา้ หนา้ ท่สี ำรวจงานฐานทรพั ยากรท้องถน่ิ สงั กัด เทศบาลตำบลบา้ นโฮง่
วนั /เดือน/ปี 11/5/2022, 10:20:49

ใบงานที่ 8

เรอื่ ง การเกบ็ ข้อมูลภูมปิ ัญญาในท้องถ่ิน

23. ขอ้ มลู ทรพั ยากรทางวัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญา
1. สาขา สาขาศาสนาและประเพณี

ประเภท (สาขาเกษตรกรรม/ สาขาอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม / สาขาการแพทยแ์ ผนไทย / สาขาการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม / สาขากองทนุ และธุรกิจชุมชน / สาขาสวัสดกิ าร / สาขาศลิ ปกรรม / สาขา
การจัดการองค์กร / สาขาภาษาและวรรณกรรม / สาขาศาสนาและประเพณี

ช่อื ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ หมอผี

รหัสภูมิปญั ญา 8-5510301-18-014

2. เจ้าของภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน (นาย / นาง / นางสาว / ชุมชน / กลุ่ม)

นายหลาน ทรายตนั (ผใู้ ห้สัมภาษณ์ นางวรรณา ไชยเชษ)

บ้านเลขที่ 21 หมู่ท่ี 18 ตำบล/แขวง บา้ นโฮ่ง อำเภอ/เขต บ้านโฮง่ จังหวัด ลำพนู

รหัสไปรษณีย์ 51130 โทรศัพท์ โทรสาร

พกิ ัดทางภูมศิ าสตร์ (GIS) X: N 18° 19’ 43.928” Y: E 98° 48’ 25.080”

E-mail address :

3. ประเภทของภูมิปญั ญาท้องถน่ิ  ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ดา้ นผลิตภัณฑแ์ ละการแปรรปู
 ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นดา้ นพืช  ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นด้านเครื่องมือเครื่องใชท้ างการเกษตร
 ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นด้านสัตว์  อ่นื ๆ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินดา้ นความเชื่อ
 ภูมิปญั ญาท้องถิ่นด้านประมง

4. จดุ เด่นของภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน
เป็นความเชอ้ื ท่ีขึ้นอยู่แตล่ ะบุคคล มีการไลผ่ อี อกจากรา่ งคน ปดั เปา่ ส่ิงไม่ดีออกจากรา่ งกาย

5. รายละเอยี ดของภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่

มคี นมาทำพิธีกรรมทัง้ ในและตา่ งหมบู่ า้ น เพ่ือปัดเป่าส่ิงชว่ั รา้ ย พิธกี รรมไลผ่ ีออกจากรา่ งคน

6. การประชาสัมพนั ธแ์ ละเผยแพรภ่ ูมปิ ัญญาท้องถ่นิ

 ยงั ไมเ่ คยมีการเผยแพร่ / ใช้เฉพาะบคุ คล

 เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน

 มีการดงู านจากบคุ คลภายนอก จำนวน ครัง้ จำนวน คน
นอกพน้ื ท่ี คน
 มกี ารนำไปใช้ในพ้ืนทเ่ี ดียวกัน คน

 อืน่ ๆ (ระบ)ุ

7. ลกั ษณะของภมู ิปัญญาท้องถิน่
 ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ ด้งั เดิมได้รับการถ่ายทอดมาจาก

ศกึ ษาวิชาดว้ ยตนเอง
 ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นท่ีได้พฒั นาและต่อยอด

แบบเดมิ คือ
-
 การพฒั นาและต่อยอดคือ
-
 ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ / นวตั กรรมที่คดิ ค้นข้นึ มาใหม่
8. วตั ถดุ ิบทใี่ ชใ้ นผลติ ภณั ฑ์ท่เี กดิ จากภูมิปัญญา ซ่ึงพื้นที่อืน่ ไมม่ ี ไดแ้ ก่
1. -
หมายเหตุ : กรณภี ูมิปญั ญา ในแตล่ ะสาขา มีข้อมลู / ผรู้ ูม้ ากกว่า 1 คน ขอให้เพ่ิมเตมิ แบบฟอร์ม

วาดภาพประกอบ

บนั ทกึ ข้อมลู โดยหน่วยงาน เจา้ หนา้ ท่สี ำรวจงานฐานทรพั ยากรท้องถน่ิ สงั กัด เทศบาลตำบลบา้ นโฮง่
วนั /เดือน/ปี 11/5/2022, 10:31:47

ทะเบียนภมู ปิ ญั

(ชือ่ หมบู่ ้าน ชมุ ชน แขวง) บ้านกลาง
ตำบล/แขวง บา้ นโฮ่ง อำเภอ/เขต

ญญาในชมุ ชน


บ้านโฮ่ง จงั หวัด ลำพูน

การสำรวจคร้งั ท่ี 1 /2565

ทะเบียนภมู ิปัญญาในชุมชน ตำบล/แขวง
(ชือ่ หมู่บา้ น ชมุ ชน แขวง) บ้านกลาง

รหสั ภมู ปิ ญั ญา ชือ่ ภูมปิ ัญญา สาขา เจ้าของภมู ิ จุดเด
ปญั ญา

8-5510301- กระเทยี มดอง สาขา มลวิ ลั ย์ ลิ้น เปน็ การถน
18-012 หมอผี เกษตรกรรม ฤๅษี (กระเทียม
ไวร้ บั ประท
8-5510301- สาขาศาสนา นายหลาน เป็นการเพ
18-014 และ ทรายตัน ทางการเก
ประเพณี โฮง่ ทงั้ น้ยี
กลอ่ ม

เป็นความ
บุคคล มกี
คน ปดั เป
รา่ งกาย

บ้านโฮ่ง อำเภอ/เขต บา้ นโฮ่ง จงั หวัด ลำพูน

ด่นของภูมปิ ัญญา ข้อมูลภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน บรเิ วณที่พบ หมาย
(ระบุ ชอ่ื หมูบ่ ้าน เหตุ
นอมอาหาร กระเทยี มดองเป็น ตำบล อำเภอ
ม)เพ่ือให้สามารถเก็บ ผลิตภณั ฑท์ ี่ไดจ้ ากการ
ทานให้นานขน้ึ และ ถนอมอาหาร ทำใหม้ ี จงั หวัด)
พ่ิมมูลคา่ ให้กับสินคา้ กลิ่นไมฉ่ นุ มาก 58 หมทู่ ี่ 18
กษตรของตำบลบ้าน รบั ประทานงา่ ย และ บ้านสันตับเต่า ต.
ยงั มรี สชาติที่กลม สามารถเกบ็ ไว้ บา้ นโฮ่ง อ.บ้าน
รับประทานได้นาน โฮง่ จ.ลำพูน
มเชือ้ ที่ขึน้ อยู่แตล่ ะ เป็นการทำพธิ กี รรมทาง
การไลผ่ ีออกจากรา่ ง ศาสนาเพ่ือปดั เป่าสง่ิ ข่วั 21 หมู่ท่ี 18
ปา่ สิ่งไมด่ อี อกจาก ร้าย ไล่ผอี อกจากรา่ งคน บ้านสันตับเตา่ ต.
(ซ่ึงเป็นความเชื่อส่วน บ้านโฮง่ อ.บ้าน
บคุ คล )
โฮง่ จ.ลำพูน

ใบงานที่ 9

เร่อื ง การเกบ็ ข้อมลู แหล่งทรัพยากรและโบราณคดใี นทอ้ งถนิ่

แบบบนั ทกึ ข้อมูลโบราณคดี วัดพระเจ้าสะเลียมหวาน
25. ชอ่ื โบราณสถาน / โบราณวตั ถุ

รหัสโบราณสถาน / โบราณวตั ถุ 8-5510301-18-004

อายุ ไมร่ ะบุ ปี รูปร่าง - สี - ขนาด -
วดั พระเจ้าสะเลียมหวาน
วนั เดอื น ปี 3/4/2022, 12:20:52 สถานท่ีบันทกึ

พกิ ัดทางภูมิศาสตร์ (GIS) X: N 18° 19’ 38.707” Y: E 98° 47’ 56.427”

ลักษณะเด่น

วัดพระเจ้าสะเลียมหวานในปัจจุบันเป็นวัดท่ีเป็นประวัติศาสตร์ของอำเภอบ้านโฮ่ง ตามตำนานเล่าว่า
บ้านโฮ่งในอดีตเป็นบ้านเมืองที่เจริญทั้งฝ่ายบ้านเมืองและฝ่ายพุทธศาสนาซึ่งมีพยานหลักฐานให้เห็นคือซากวัดว า
อารามที่ยังหลงเหลือทั่วไปหลาย 10 วัดแต่จะสร้างไว้เมื่อพ.ศ. ใดไม่มีหลักฐานแน่ชัดส่วนพระเจ้าสะเลียมหวาน
ตำนานเล่าไว้วา่ สมัยหนึ่งดา้ นทิศตะวันตกของวดั มีพระยาตนหนึ่งซึง่ ไม่ปรากฏตัง้ เวียงอยูเ่ รยี กวา่ เวียงหวาย มีบุตร
สองคนคนแรกเป็นผู้ชายชื่อจันทร์คนสุดท้องเป็นผู้หญิงชื่อนางเลา ต่อมาพระยาพ่อถึงแก่ กรรมลงลูกชายได้สืบ
ตระกูลปกครองบ้านเมืองแทนพระยาผู้เป็นพ่อได้ชื่อว่าพระยาจันทร์และมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าพระยาแปด
เหลี่ยมเพราะเป็น เพราะเป็นผู้มีรูปงาม (หมายความว่างามทุกด้าน) พระยาแปดเหลี่ยมเป็นผู้ที่มีปัญญาเฉลียว
ฉลาดทางด้านการรบ การปกครองที่รักและเป็นท่ีเคารพยำเกรงในสมัยนั้นมาก ตลอดจนใช้สติปัญญาสามารถได้
นางแกว้ ซึ่งเป็นผู้หญงิ งามลกู เลยี้ งพระฤาษีมาเป็นภรรยาเมอ่ื พระยาแปดเหลีย่ มถึงแก่กรรมลงคนทั้งหลายจงึ ได้ตั้งต้ัง
ศาลไวเ้ ป็นที่เคารพและขอความคุม้ ครองมีพิธีบวงสรวงเป็นประจำทุกปีมชี ่ือว่าศาลเจา้ พ่อแปดเหลีย่ ม

ส่วนรูปผู้หญิงผู้เปน็ น้องสาวของพระยาจันทร์คือนางเลาได้ใช้ท่าน้ำลี้ท่ีบา้ นโฮ่ง (ข้างโรงเรียนบา้ นโฮ่งศลี า
ภรณ)์ เป็นทอ่ี าบนำ้ ทุกวันจงึ ไดช้ ื่อว่าถา้ นางเลาต่อมานางเลาได้ถึงแก่กรรมแต่ยังสาวจงึ ไดส้ ร้างกู่ไวท้ ่ีทา่ น้ำนนั้

วัดพระเจ้าเสลี่ยมหวานเดิมมีชื่อว่าวัดพระแท่นสะเลียมหวานต่อมาภายหลังมีต้นลานขึ้นเป็นป่าจำนวน
มากคนทั้งหลายในทิศนั้นจึงเรียกว่าวัดป่าลานวัดนี้ตามตำนานเล่าว่าพระยาเวียงหวายเป็นผู้สร้างเป็นวัดที่มีความ
เจริญทางด้านคันถธุระและวิปัสสนาธุระของภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา มาก่อน ต่อมาเหตุการณ์ที่เปลีย่ นไป
ตามกฎอนิจจงั ความเจริญมขี น้ึ ก็ย่อมมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดาจากสภาพวดั แทน่ สะเลยี มหวานท่เี คยเจรญิ รุ่งเรือง
ก็เปลีย่ นเป็นวดั รา้ งท่ีไม่มผี ู้ใดมาอาศยั อยู่สนั นษิ ฐานว่าผู้คนในถ่ินนั้นคงจะอพยพหลบหนภี ยั ไปอยู่ท่ีอื่นวัดวาอาราม
บ้านเมืองจึงเสื่อมสูญหายเหลือไว้เพียงซากปรักหักพังพอจะมองเห็นว่าเป็นวัดร้างคือสร้างอุโบสถวิหารและ
พระพทุ ธรปู ที่มีแตพ่ ระเศียรพระหสั กอ้ นอิสสมยั โบราณก้อนใหญ่กว่าปัจจุบันหลายเท่า

จากคำบอกเล่าของผู้สูงอายุเล่าสืบต่อกันมาว่าพระพุทธรูปที่คงสภาพเดิมที่มีอยู่เป็นสมบัติของวัดนี้
นอกจากพระเจา้ สะเลียมหวานแล้วยังมีพระพทุ ธรปู ทองสัมฤทธ์ิสมยั เชยี งแสน (พระสงิ ห์) อีกองค์หนึง่ ขนาดหน้าตัก

กว้าง 32 นิ้วสูง 36 นิ้ว ซึ่งมีผู้นำไปจากวัดนี้โดยนำไปตอนเป็นวัดร้างและนำไปไว้ที่วัดสันเจดีย์ตำบลบ้านโฮ่ง
ปัจจุบันได้อาราธนามาเป็นพระประธานในวิหารจตุรมุขของวัดพระเจ้าสะเลียมหวานแล้วและพระพุทธรูปอีกองค์
หนึ่งขนาดเดียวกันกับพระสิงห์มีผู้นำไปไว้วัดบ้านล้องตำบลบ้านโฮ่งเอาบัตรจุบันได้อาราธนามาประดิษฐานที่ทำ
ศาลาวัดพระเจา้ สะเลยี มหวานเชน่ เดียวกัน

ผู้ใหข้ ้อมูล ชอื่ – สกุล พระอธิการกิตภิ ูมิสมุ งั ขโล อายุ 59 ปี

ที่อยู่ วัดพระเจ้าสะเลียมหวาน 76 ม.18 ต.บา้ นโฮ่ง อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพูน

บันทึกเพ่ิมเติม

-

บนั ทึกขอ้ มลู โดยหนว่ ยงาน เจ้าหน้าทส่ี ำรวจงานฐานทรพั ยากรท้องถิ่น สงั กัด เทศบาลตำบลบา้ นโฮ่ง
วนั /เดอื น/ปี 3/4/2022, 12:20:52

ภาพประกอบ  โบราณสถาน  โบราณวัตถุ

ทะเบยี นโบราณ

(ช่อื หมบู่ ้าน ชุมชน แขวง) บ้าน
ตำบล/แขวง บ้านโฮ่ง อำเภอ/เขต

ณคดีในชุมชน

นกลาง
บ้านโฮง่ จงั หวดั ลำพูน

การสำรวจคร้งั ที่ 1 /2565

ทะเบียนโบราณคดีในชุมชน ตำบล/แขวง บา้ นโฮ่ง
(ชื่อหมู่บ้าน ชมุ ชน แขวง) บ้านกลาง

รหัส ชือ่ ประวตั ิ ลกั
โบราณคดี พน้ื เมือง (เช่น ความสำคัญ อาย)ุ (เช่น ร

8- วดั พระ วดั พระเจ้าสะเลยี มหวานเดมิ ชอ่ื เดมิ วดั มพี ระพ

5510301- เจ้าสะ พระแท่นสะเลยี มหวาน หรือชาวบ้าน สภาพเด

18-004 เลียม เรยี กวดั ป่าลาน เน่อื งจากมีต้นลานขน้ึ มาก นอ

หวาน (วดั เปน็ จำนวนมาก วัดนต้ี ามตำนานเล่าวา่ เสลยี่ มว

ปา่ ลาน) พระยาเวยี งหวายเป็นผู้สร้างเปน็ วดั ท่มี ี พระพุท

ความเจริญทางด้านคนั ถะธุระและ สัมฤทธ

วิปัสสนาธุระของภิกษุ สามเณร อุบาสก (พระสงิ

อบุ าสกิ า มาก่อน ตอ่ มาเหตุการณท์ ี่ ตักกว้าง

เปลย่ี นไปตามกฎอนจิ จังความเจรญิ มีขนึ้ 36 น้วิ

กย็ ่อมมีความเสื่อมไปเปน็ ธรรมดาจาก อาราธน

สภาพวดั แทน่ สะเลยี มหวานทเ่ี คย ประธาน

เจรญิ รุง่ เรืองก็เปล่ยี นเปน็ วดั รา้ งท่ไี มม่ ี จตรุ มุข

ผใู้ ดมาอาศยั อย่วู ดั วาอารามบ้านเมืองจึง เสลยี่ มห

เสอื่ มสญู หายเหลือไว้เพยี งซากปรกั หกั พัง พระพทุ

พอจะมองเหน็ ว่าเป็นวัดร้างคือสรา้ ง หนึง่ ขน

อุโบสถวิหารและพระพุทธรปู ท่มี ีแต่พระ พระสิงห

เศยี รพระหัตถก์ ้อนอิฐสมยั โบราณก้อน มาประด

ใหญก่ วา่ ปัจจบุ ันหลายเทา่ วัด

อำเภอ/เขต บ้านโฮ่ง จังหวดั ลำพูน

กษณะเด่น ข้อมูลภมู ิปัญญาท้องถิ่น บรเิ วณที่พบ หมาย
(เช่น การใช้ประโยชน)์ (เช่น สถานท่ี เหตุ
รูปรา่ ง รปู ทรง
ขนาด) พกิ ดั ทาง
ภมู ิศาสตร)์

พุทธรูปที่คง เปน็ สถานที่ยดื เหนย่ี ว วัดพระเจา้ สะ
ดมิ ทจ่ี ำนวน จติ ใจของประชาชน เลยี มหวาน
อกจากพระเจ้า และเปน็ แหล่งข้อมูล 76 ม.18 ต.
วันแลว้ ยงั มี โบราณคดี ทีม่ ีอายุ และ บา้ นโฮ่ง อ.
ทธรูปทอง ประวตั ิสบื ทอดมาสู่รุ่น บ้านโฮง่ จ.
ธส์ิ มัยเชยี งแสน หลัง ลำพูน
งห์) ขนาดหนา้
ง 32 น้วิ สูง
ว ปัจจุบนั ได้
นามาเปน็ พระ
นในวิหาร
ขของวดั พระเจ้า
หวาน และ
ทธรปู อีกองค์
นาดเดียวกนั กบั
ห์ไดอ้ าราธนา
ดิษฐานทศ่ี าลา


Click to View FlipBook Version