The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๕ เจ้าฟ้ากับงานต่อต้านวัณโรค

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by TB Thailand, 2020-08-04 00:19:01

๕ เจ้าฟ้ากับงานต่อต้านวัณโรค

๕ เจ้าฟ้ากับงานต่อต้านวัณโรค

Keywords: tuberculosis

๕ เจาฟา กบั งานตอ ตา นวณั โรค

ปัจจุบันวัณโรค เป็นโรคติดต่อท่ียังเป็น
ปญั หาสำ� คัญของสาธารณสขุ ท่ัวโลก โดยองคก์ าร
อนามยั โลกใหป้ ระเทศไทยตดิ ๑ ใน ๑๔ ประเทศ
ทม่ี ปี ญั หาวณั โรคสงู ทสี่ ดุ ในโลก ใน ๓ กลมุ่ คอื กลมุ่
ประเทศมีผปู้ ่วยวัณโรคสงู กลมุ่ ประเทศทีม่ ีผูป้ ่วย
วัณโรคที่ติดเช้ือเอชไอวีสูง และกลุ่มประเทศที่มี
ผปู้ ว่ ยวณั โรคดอ้ื ยาหลายขนานสงู โดยประเทศไทย
มผี ปู้ ว่ ยรายใหมท่ เี่ กดิ ขน้ึ กวา่ แสนรายตอ่ ปี และตายกวา่ หมน่ื รายตอ่ ปี ทส่ี ำ� คญั
ยังก่อให้เกิดเป็นวัณโรคด้ือยาหลายขนานที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย
ในหลายๆ ด้าน เช่น ด้านเศรฐกิจการเงิน หากเป็นผู้ป่วยชนิดเช้ือดื้อยา
รัฐบาลจะต้องใช้งบประมาณสองแสนบาทต่อคน แต่ถ้าหากเป็นผู้ป่วยดื้อยา
ชนดิ รนุ แรงตอ้ งใชง้ บประมาณเพอื่ ซอื้ ยาถงึ หนง่ึ ลา้ นสองแสนบาทตอ่ คนเลยทเี ดยี ว
ซง่ึ ในอดตี ทผี่ า่ นมา สมเดจ็ พระบรมราชชนกและพระบาทสมเดจ็
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๙ พร้อมท้ัง
พระบรมวงศานวุ งศ์ ทรงทอดพระเนตรเหน็ ถงึ ปญั หาและผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั
พสกนกิ ร จงึ ทรงสนพระราชหฤทยั และทรงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ ในการปอ้ งกนั
ควบคมุ วณั โรคในประเทศไทยมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งทงั้ ทางตรงและทางออ้ มเสมอมา
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลท่ี ๙ ทรงได้รับพระราชภารกิจสืบเนื่องจากสมเด็จพระบรมราชชนก
ในงานวณั โรค เมอื่ ครง้ั ทรงพระเยาว์ ทรงตดิ ตามเสดจ็ ไปในทต่ี า่ งๆ พระองคท์ า่ น
ทรงทราบความเดอื ดรอ้ นของพสกนกิ ร และทราบวา่ ชาวไทยเปน็ วณั โรคกนั มาก
อีกทง้ั ไม่มคี วามรใู้ นการดูแลรักษาสขุ ภาพอนามยั และขาดแคลนยารักษาโรค
ดังหนังสือฉบับพิเศษเล่มน้ี ซ่ึงจะบรรยายถึงพระราชกรณียกิจในการป้องกัน
ควบคมุ วณั โรค ของสมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศรอดลุ ยเดชวกิ รมพระบรมราชชนก
และพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในหลวงรชั กาลท่ี ๙ รวมทง้ั
พระบรมวงศานวุ งศ์ เพอื่ รว่ มนอ้ มรำ� ลกึ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ อนั หาทสี่ ดุ มไิ ดท้ ม่ี ี
ตอ่ พสกนกิ รชาวไทยในงานตอ่ ตา้ นวณั โรคในประเทศไทยและถวายความอาลยั อยา่ ง
สงู สดุ ตอ่ การเสดจ็ สสู่ วรรคาลยั ของ “พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช”

2

๕ เจาฟา กบั งานตอตานวณั โรค

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม
พระบรมราชนก เม่ือครั้งทรงพระเยาว์ด�ำรง
พระอสิ รยิ ยศเปน็ เจา้ ฟา้ มหดิ ลอดลุ ยเดช กรมหลวง
สงขลานครินทร์ ได้ทรงสนพระทัย ในทุกข์ของ
พสกนกิ รดา้ นสขุ ภาพ การสาธารณสขุ และการแพทย์
เป็นอันมาก เน่ืองจากทรงเห็นว่าโรคภัย ไข้เจ็บ
นานาชนิด เป็นส่ิงบ่ันทอนก�ำลังของชาติ ท�ำให้
พสกนิกรได้รับความทุกข์ทรมานเสียชีวิต และเป็น
อปุ สรรคตอ่ การพฒั นาประเทศ
สมเด็จพระบรมราชชนก ได้ทรงเสียสละความสุขส่วนพระองค์
เดินทางไปศึกษาวิชาการสาธารณสุขและวิชาแพทยศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัย
ฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีพระประสงค์เพื่อปรับปรุงการแพทย์
และการสาธารณสุขของประเทศไทยให้เจริญขึ้นทัดเทียมอารยประเทศ
ทรงต้ังใจศึกษาเล่าเรียนวิทยาการต่างๆ ในมหาวิทยาลัยท้ังด้านทฤษฎี และ
การปฏิบัติอย่างจริงจงั
คร้ันในปี พ.ศ. ๒๔๖๓ ระหว่างที่พระองค์ทรงศึกษาในช้ันปีท่ีสาม
ของโรงเรียนวชิ าการสาธารณสุขมหาวิทยาลัยฮารว์ าร์ด ทรงมเี หตจุ ำ� เป็นตอ้ ง
เสด็จกลับประเทศไทยเนื่องในพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็จพระศรี
พัชรินทราพระบรมราชชนนีพันปีหลวง หลังจากเสร็จพระราชพิธีถวาย
พระเพลิงแล้ว พระองค์ได้เสด็จไปทรงงานในห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยา
ของโรงพยาบาลศิริราชเป็นประจ�ำ ทรงศึกษาถึงสาเหตุต่างๆ ท่ีเป็นโรคภัย
คุกคามประชาชน และประสบการณ์ที่พบโดยตรงท�ำให้พระองค์ทราบว่า
วณั โรคมแี พรห่ ลายมากมายในหมปู่ ระชาชนชาวไทยทวั่ ไป แตใ่ นครง้ั นน้ั วงการ
แพทย์และประชาชนยังไม่มีความรู้แพร่หลาย ประชาชนไม่ทราบวิธีรักษา
พยาบาล และการปอ้ งกนั พระองคจ์ งึ ไดท้ รงเรยี บเรยี งเอกสารการสาธารณสขุ
และนพิ นธเ์ รอ่ื ง “โรคทเุ บอรค์ โุ ลสสิ ” และจดั พมิ พช์ ว่ ยในงานถวาย พระเพลงิ พระศพ
สมเดจ็ พระเชษฐาธริ าชเจา้ ฟา้ จกั รพงษภ์ วู นาท กรมหลวงพษิ ณโุ ลกประชานารถ

3

๕ เจาฟา กบั งานตอ ตานวัณโรค

พระนพิ นธเ์ รอ่ื ง “โรคทเุ บอรค์ โุ ลสสิ ” นบั ไดว้ า่ เปน็ เอกสารสาธารณสขุ
วณั โรคฉบับแรกในประเทศไทยทสี่ มบูรณ์ มเี นอื้ หาความรู้เรอ่ื งวณั โรค ซงึ่ เป็น
ประโยชนแ์ กป่ ระชาชน และวงการแพทยเ์ ป็นอย่างยิ่ง ทรงได้กลา่ วถึงต้นเหตุ
อาการ วิธีการ การติดต่อโรคทุเบอร์คุโลสิสที่ปรากฏในอวัยวะอ่ืนๆ วิธีการ
บำ� บดั อาการหาย ความประพฤตเิ บ็ดเตล็ด และวธิ กี ารปฏิบัติตวั โดยละเอียด
ขอ้ แนะนำ� ในเอกสารนย้ี งั คงใชเ้ ปน็ พน้ื ฐาน และหลกั การในการรกั ษาพยาบาล
การปอ้ งกนั วณั โรค ซงึ่ ยงั คงใชไ้ ดด้ ี ในปจั จบุ นั นอกจากนพี้ ระองคไ์ ดท้ รงชแ้ี นะ
หลกั การในเชงิ นโยบายและความสำ� คญั ในการกำ� จดั โรคน้ี ในขอ้ ความตอนทา้ ย
เอกสาร “โรคทเุ บอร์คุโลสิส” วา่

“ทา่ นผใู้ ดอตุ ส่าห์เสยี เวลาอ่านหนังสือฉบบั นี้มาจนถึงทีน่ ้ี
ก็คงจะเหน็ ด้วยวา่ เราควรจะกำ� จัดโรคอนั ร้ายนี้เสีย

เพราะเป็นโรคทร่ี า้ ยสำ� หรับบา้ นเมือง โดยมากมักจะเปน็ แก่
เดก็ เลก็ ๆ ทีก่ �ำลงั นา่ เอ็นดู หรอื ไมก่ ก็ ำ� ลังเป็นหนุ่ม เปน็ สาว
เอางานเอาการ เปน็ ข้าศึกท่ตี ัดกำ� ลังราษฎรของเรามาก

ถา้ ทา่ นมีน�ำ้ ใจจะช่วยแล้วขอใหล้ งมอื ชว่ ยทนั ที”

4

๕ เจาฟา กบั งานตอตานวัณโรค

ข้อช้ีน�ำของพระองค์ท่าน ท�ำให้กรมสาธารณสุขในสมัยน้ันตระหนักถึง
ความสำ� คญั และประโยชนข์ องบทพระนิพนธ์ จงึ ไดน้ �ำไปพิมพ์ในเอกสาร
สาธารณสุขฉบบั พิเศษ เมอี่ ๒๔ กนั ยายน ๒๔๖๓ ต่อมาไดม้ ีการนำ� ไปพิมพ์
เผยแพร่ เป็นวิทยาทานแก่ประชาชนท่ัวไปอีกหลายคร้ัง เอกสารเรื่อง
“ทุเบอร์คุโลสิส” เป็นหลักฐานอันเป็นคุโณปการส�ำคัญท่ีนับได้ว่า
สมเด็จพระบรมราชชนก ทรงเปน็ ผรู้ เิ ร่ิมการตอ่ ตา้ นวณั โรคในประเทศไทย
อย่างแท้จริง
ดว้ ยความสนพระทยั อนั แรงกลา้ ตอ่ การแพทย์ และการสาธารณสขุ
อย่างต่อเน่ือง เม่ือเสร็จพระราชกรณียกิจที่ส�ำคัญต่างๆ แล้ว พระองค์ได้
เสด็จกลับไปทรงศึกษาวิชาแพทย์ต่อ ณ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และ
ทรงสำ� เร็จการศึกษาไดร้ บั ปรญิ ญาแพทยศาสตรบ์ ณั ฑิตเกียรตนิ ิยม
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๑ พระองค์เสด็จนิวัติกลับประเทศไทย ต่อมาได้
เสด็จไปทรงงานเป็นแพทย์ประจ�ำโรงพยาบาลแมคคอร์มิค จังหวัดเชียงใหม่
เมอ่ื วนั ที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๒ ขณะทที่ ลู กระหมอ่ มสมเดจ็ พระบรมราชชนก
ทรงปฏบิ ตั หิ นา้ ทแี่ พทยท์ โ่ี รงพยาบาลแมคคอรม์ คิ เชยี งใหมน่ น้ั ทรงไดม้ พี ระราช
หัตถเลขา ลงวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๒ ถงึ คุณหลวงนิตย์ เวชช์วิศิษฐ์
มใี จความตอนหนงึ่ วา่

“TB มมี ากเตม็ ที และไมร่ จู้ ะทำ� อยา่ งไร

เพราะไม่มโี รงพยาบาลพิเศษ หรอื Sanatorium
สำ� หรบั รักษารายทไ่ี มห่ นกั นัก การเรอ่ื ง TB นี้

”ทำ� ให้ฉนั สนใจมาก อยากใหม้ ี Anti-TB Society

5

๕ เจาฟา กับงานตอตา นวัณโรค

(สมเดจ็ พระมหิตลาธิเบศอดุลยเดชวิกรม พระบรม
ราชชนก ขณะทพ่ี ระองค์ทรงงานเปน็ แพทย์ประจำ�

โรงพยาบาลแมค็ คอรม์ ิค เชียงใหม่
เมอ่ื วนั ท่ี ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๗๒
ทรงมีพระราชหัตถเลขามายังหลวงนิตย์ เวชวศิ ิษฐ)์

6

๕ เจา ฟา กับงานตอ ตานวณั โรค

พระราชปรารภในเร่ืองวัณโรคนี้ ก่อให้เกิดแรงดลใจแก่คณะ
กรรมการแพทยสมาคมแห่งกรุงสยามในพระบรมราชูปถัมภใ์ นคร้งั นัน้ เป็นอัน
มาก คุณหลวงเฉลิมคัมภีร์เวชช์ ซ่ึงด�ำรงต�ำแหน่งสภานายกของสมาคมได้
ตระหนกั ถงึ ปญั หา และความรา้ ยแรงของวณั โรคทบี่ น่ั ทอนสขุ ภาพอนามยั ของ
ประชาชนเปน็ จำ� นวนมาก และดว้ ยสำ� นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระองค์
จึงได้จัดให้มีการประชุมกรรมการแพทยสมาคมแห่งกรุงสยาม เม่ือวันที่ ๒๙
มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๗๗ เพื่อหารอื การด�ำเนินการอย่างใดอยา่ งหนง่ึ เพือ่ ช่วย
เหลอื ผู้ปว่ ยวณั โรค และปอ้ งกนั วัณโรคมใิ ห้ระบาดแพร่หลายตอ่ ไป

คณะกรรมการได้มีมติใหต้ ัง้ กองการปราบวัณโรคข้นึ
เป็นงานสว่ นหนึ่งของแพทยสมาคมฯ โดยมีวัตถุประสงค์
เพอ่ื ท�ำการปราบวณั โรคในประเทศสยาม และแสวงหา
ความร่วมมือกับองค์การ มูลนธิ ิต่างๆ ทม่ี วี ัตถปุ ระสงค์คลา้ ยคลึงกัน

ชว่ ยกันแกไ้ ขปญั หาวณั โรค

กองการปราบวัณโรคของแพทยสมาคมแห่งกรุงสยามได้
จดทะเบียนเป็นสมาคม กองการปราบวัณโรคแห่งสยาม
โดยสมบรู ณต์ ามกฎหมาย เม่อื วันที่ ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๘

ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “สมาคมปราบวัณโรคแห่งประเทศไทย” ในพระบรม
ราชูปถัมภ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๒ นับได้ว่าเป็นองค์การต่อต้านวัณโรคแห่งแรก
ในประเทศไทยที่เกิดสืบเน่ืองจากพระราชปรารภของทูลกระหม่อม
สมเดจ็ พระบรมราชชนก

7

๕ เจาฟา กบั งานตอตา นวณั โรค

ใ น ภ า ว ะ ที่ ป ร ะ ช า ช น มี
จ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น มีความยากจน
และการศึกษาท่ัวไปยังด้อย กอปรกับ
พนื้ ทกี่ วา้ งใหญ่ หา่ งไกล ปญั หาสขุ ภาพ
โรคภัยไข้เจ็บต่างๆ และวัณโรค ยังคง
เป็นปัญหาท่ีคุกคามต่อประชาชนไทย
อย่เู รอ่ื ยมา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดชฯ เม่ือคร้ังทรงพระเยาว์
และทรงเป็นพระอนุชาธิราชของพระบาท
สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหดิ ล ไดท้ รง
ติดตามเสด็จไปในท่ีต่างๆ พระองค์ท่าน
ทรงทราบความเดือดร้อนของพสกนิกร
และทราบวา่ ชาวไทยเปน็ วณั โรคกนั มาก อกี ทง้ั ไมม่ คี วามรใู้ นการดแู ลรกั ษา
สุขภาพอนามัย และขาดแคลนยารกั ษาโรค จงึ ไดพ้ ระราชทานพระบรม
ราชานญุ าตใหอ้ ัญเชญิ เพลงพระราชนิพนธ์ “ยามเยน็ ”

8

๕ เจา ฟา กับงานตอ ตา นวัณโรค

ซึ่งเป็นเพลงท่ีสองท่ีทรงพระราชนิพนธ์
แตเ่ ป็นเพลงแรกทีพ่ ระราชทานให้วงดนตรนี �ำ
ไปบรรเลงในงานแสดงดนตรีการกุศลเพื่อหา
รายได้สมทบทุนช่วยเหลือโครงการรณรงค์
ต่อต้านวัณโรคแห่งชาติของสมาคมปราบ
วณั โรคแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์
พรอ้ มกบั พระราชทานแบบจำ� ลองเรอื รบหลวง
ศรีอยุธยา ซ่ึงเป็นผลงานฝีพระหัตถ์ออก
ประมูลในงานเดียวกัน เพ่ือน�ำรายได้สมทบ
ทนุ ในการต่อต้านโรครา้ ยดงั กลา่ ว เมือ่ วนั ที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ และ
ได้ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ช่วยเหลือกิจกรรมต่อต้านวัณโรค
เสมอมา

9

๕ เจาฟา กับงานตอ ตานวณั โรค
10

๕ เจาฟา กับงานตอ ตานวณั โรค
11

๕ เจา ฟา กบั งานตอ ตานวณั โรค

ในปี พ.ศ. ๒๔๙๓ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชฯ
ทรงบรจิ าคพระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองคส์ รา้ งตกึ มหดิ ลวงศานสุ รณ์ พระราชทาน
ให้สภากาชาดไทยเพื่อส�ำหรับใช้เป็นห้องปฏิบัติการผลิตวัคซีนป้องกันวัณโรค
และขณะเสดจ็ ฯ ไปประทับในสวิสเซอร์แลนด์ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั
ภมู พิ ลอดลุ ยเดชฯ ไดท้ รงแสวงหาตวั ยาใหมๆ่ เพอ่ื ใชใ้ นการรกั ษาผปู้ ว่ ยวณั โรค
โดยทรงสง่ั ซอ้ื พาราแอมมไิ นซาลไิ ซลกิ แอซดิ หรอื พเี อสเอส ซงึ่ เปน็ ยารกั ษา
วัณโรคขนานที่สองแต่ในขณะน้ันยังไม่เป็นท่ีแพร่หลายนัก และทรงส่งยา
ดงั กลา่ วมารกั ษาผปู้ ว่ ยในประเทศไทย ในเวลาตอ่ มาไดม้ กี ารคน้ พบวา่ เมอ่ื นำ� ยา
ขนานน้ีไปใช้รว่ มกบั สเตพ็ โตมยั ซิน ซ่งึ เป็นยารกั ษาวัณโรคขนานแรกท่คี ้นพบ
สามารถชว่ ยป้องกันหรอื ชะลอการด้อื ยาของเชอ้ื วณั โรคได้

12

๕ เจาฟา กับงานตอ ตานวณั โรค
13

๕ เจาฟา กบั งานตอตานวัณโรค

เร่อื งทีค่ ุณอาจไมเ่ คยรมู้ ากอ่ น
พระราชกรณยี กิจ

ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช

14

๕ เจาฟา กบั งานตอตานวณั โรค

พระราชทานทรัพยส์ ่วนพระองค์สรา้ งโรงพยาบาลปอดเหล็ก

ในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๙๓ ได้เกิดโรคระบาดอย่างรุนแรงที่คร่าชีวิต
ชาวไทยไปเป็นจ�ำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นวัณโรค โรคเรื้อน โรคโปลิโอ และ
อหิวาตกโรค และด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ยังไม่มีความเจริญก้าวหน้า
ขาดแคลนท้ังเวชภัณฑ์และยารักษาโรค พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมพิ ลอดุลยเดช จงึ มุ่งเน้นปฏบิ ตั พิ ระราชกรณียกิจดา้ นสาธารณสุขก่อน
เพราะหากประชาชนสุขภาพร่างกายไม่แข็งแรงก็ไม่มีก�ำลังและสติปัญญาไป
ฟื้นฟูประเทศ โดยพระองค์ทรงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์จ�ำนวนมาก
หรอื ประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ บาท (นบั เปน็ จำ� นวนเงนิ ทมี่ ากในสมยั นน้ั ) เพอื่ สรา้ ง
โรงพยาบาล “ปอดเหล็ก” และจัดซ้ือเวชภัณฑ์เพื่อสู้กับวัณโรคท่ีก�ำลัง
ระบาดหนัก พร้อมกับสนับสนุนให้สภากาชาดไทยผลิตวัคซีน BCG ป้องกัน
วัณโรค จนกระทั่งปราบวณั โรคได้สำ� เร็จ

15

๕ เจา ฟา กับงานตอตา นวัณโรค

ในส่วนของการขยายการ
สาธารณสุขสู่ชนบท พระบาทสมเด็จ
พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชฯ ได้
พระราชทานรถพยาบาลเคล่ือนที่
คั น แ ร ก ใ ห ้ ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข
เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๕ ส�ำหรับใช้ในงาน
รักษาพยาบาลผู้ป่วยในถิ่นทุรกันดาร
ซึ่งในขณะนั้น การคมนาคมไม่สะดวก
เช่นสมัยน้ี และในปี พ.ศ. ๒๔๙๘
ได้พระราชทานเรือพยาบาลเคล่ือนที่
“เวชพาห์” พร้อมเวชภัณฑ์ให้สภากาชาดไทยส�ำหรับใช้ในการรักษาผู้ป่วย
ท่ีต้ังบ้านเรือนอยู่ตามริมแม่น้�ำล�ำคลอง นอกจากน้ีพระองค์ท่านยังเสด็จ
พระราชดำ� เนนิ ไปทรงเยยี่ มเยยี น พสกนกิ รในพนื้ ทท่ี รุ กนั ดารดว้ ยพระองคเ์ อง

16

๕ เจาฟา กับงานตอตา นวณั โรค

พระองค์ท่านได้พระราชทานทุนอานันทมหิดลสนับสนุนด้าน
การแพทย์ และการสาธารณสุขให้แก่ผู้ที่เรียนดีเยี่ยม ซ่ึงส�ำเร็จการศึกษา
แพทยศาสตร์ให้ไปศึกษาต่อในต่างประเทศเพ่ือให้ได้รับความรู้ความช�ำนาญ
มากขน้ึ เพอ่ื กลบั มาเปน็ ครู และอาจารยแ์ พทยต์ อ่ ไป ทรงพระราชทานพระบรม
ราชานญุ าตใหแ้ พทยน์ ำ� พระอาการประชวรไปศกึ ษาคน้ ควา้ เพอ่ื ความกา้ วหนา้
ทางการแพทย์ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร
มหาภูมิพลอดลุ ยเดช ทรงพระประชวรดว้ ยโรคพระปับผาสะอกั เสบ จากเชอ้ื
มัยโคพลาสมาซึ่งเป็นโรคท่ีเกิดจากเชื้อชนิดหนึ่ง และเป็นคนไทยรายแรกท่ี
ตรวจพบว่าเปน็ โรคนี้ เม่อื พระองคท์ ่านทรงทราบวา่ เป็นการตรวจ
พบโรคนเ้ี ปน็ ครง้ั แรกของประเทศไทย พระองคจ์ งึ ทรงพระราชทาน
พระบรมราชานุญาตให้รายงานให้วงการแพทย์ทราบ และ
เพื่อประชาชนจะได้ทราบด้วย ดังนั้นจึงได้มีการน�ำเร่ืองการ
ประชวรของพระองค์ท่านตีพิมพ์โดยไม่ได้กล่าวถึงช่ือผู้ป่วย
ซงึ่ เปน็ วธิ กี ารรายงานทางการแพทย์ ในวารสารของ
แพทยสมาคมแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์
และวารสารฉบับน้ีได้ถูกส่งไป ท่ีหอสมุดทาง
การแพทย์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา และได้
เผยแพร่ไปยังหอสมุดการแพทย์ทั่วโลก
เพ่ือเป็น เอกสารที่แพทยน์ านาชาติ
ได้ใช้ศึกษาและอา้ งอิงต่อไป

17

๕ เจาฟา กับงานตอ ตานวณั โรค
18

๕ เจา ฟา กบั งานตอตา นวัณโรค

สืบเน่ืองจากพระราชกรณียกิจท่ีล้วนแล้วแต่เป็น
ประโยชนใ์ นการสง่ เสริมด้านสขุ ภาพอนามยั ป้องกนั และรกั ษา
โรคปอดแกป่ ระชาชนทัว่ ไป ทงั้ ชาวไทย และชาวโลกนี้ วทิ ยาลยั
แพทยท์ รวงอกแหง่ สหรฐั อเมรกิ า (American College of Chest
Physicians) จึงได้ทูลเกล้าถวายรางวัล “Partnering for
World Health” แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดลุ ยเดช เมอ่ื วนั ที่ ๑๓ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๓๙

19

๕ เจา ฟา กับงานตอ ตา นวณั โรค

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช
ทรงสนพระราชหฤทัย และมบี ทบาทส�ำคัญยงิ่ ตอ่ งาน
สาธารณสุขของชาติ ตลอดจนงานป้องกนั รกั ษาโรคปอด

อย่างตอ่ เนอ่ื ง เป็นเวลานานกว่า ๖๐ ปี

ตั้งแต่ยังมิได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ทรงมีพระวิริยะ อุตสาหะ บ�ำเพ็ญ
พระราชกรณยี กจิ เพอื่ ประโยชนส์ ขุ แกช่ าตบิ า้ นเมอื ง และพสกนกิ รในทกุ ดา้ น
รวมท้ังด้านสุขภาพอนามัย งานต่อต้านวัณโรค และโรคปอด พระองค์ทรงมี
พระมหากรณุ าธคิ ณุ เปน็ ลน้ พน้ อนั หาทส่ี ดุ มไิ ด้ สมควรทเ่ี ราชาวไทยทกุ หมเู่ หลา่
ไดน้ อ้ มรำ� ลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ และพรอ้ มใจกนั แกไ้ ข ดแู ล กำ� กบั การรกั ษา
ผปู้ ว่ ยวณั โรคอยา่ งจรงิ จงั เพอ่ื ใหป้ ระเทศชาตริ อดพน้ จากภยั คกุ คามจากวณั โรค
ท่ีเพม่ิ ขึน้ ตลอดจนปญั หาสาธารณสขุ ตา่ งๆ ท่ีซบั ซ้อนขึน้ ในปัจจบุ นั

20

๕ เจาฟา กบั งานตอ ตา นวณั โรค

สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ

ทรงเป็นองคอ์ ปุ ถมั ถ์ “ทนุ วิจยั วัณโรคด้อื ยา”
“ทนุ วจิ ยั วณั โรคดอื้ ยา” ภายใตพ้ ระอปุ ถมั ภข์ องสมเดจ็ พระเจา้ พน่ี างเธอ
เจ้าฟา้ กัลยาณิวฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ ทมี่ ีวัตถปุ ระสงคห์ ลกั
เพอ่ื ชว่ ยทดสอบความไวตอ่ ยาของเชอื้ วณั โรค (DIRECT SUSCEPTIBILITY TEST)
จากตัวอย่างส่งตรวจของผู้ป่วย อันจะเอื้อประโยชน์ต่อแพทย์ในการเลือกใช้
ยารกั ษาทีเ่ หมาะสมกบั ผปู้ ว่ ยตอ่ ไป
โครงการนจ้ี ะชว่ ยใหก้ ารตรวจวนิ จิ ฉยั วณั โรคแบบรายงานผลรวดเรว็
(FAST TRACK) ข้ึน ซ่ึงเป็นความร่วมมือกันของหน่วยงาน ๒ ฝ่าย คือ
คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล และศนู ยพ์ นั ธวุ ศิ วกรรม
และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (NSTDA)

21

๕ เจา ฟา กับงานตอตานวัณโรค

สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ

ทรงเสด็จมาเปน็ องคป์ ระธานประกอบพธิ เี ปิดที่ทำ� การใหม่ กองวัณโรค
หลังจากสงครามโลกคร้ังที่ ๒ ได้สิ้นสุดลงน้ันได้มีการแพร่ระบาด
ของวณั โรคจงึ ไดเ้ รม่ิ กอ่ ตงั้ งานควบคมุ วณั โรค โดยการเปดิ สถานตรวจโรคปอด
พร้อมกบั การตรวจรกั ษาวัณโรคข้นึ เมอื่ วนั ที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๔๙๒ โดยอาศัย
เชา่ อาคารสถานอี นามยั ทหี่ นง่ึ ของสภากาชาดไทยทถ่ี นนบำ� รงุ เมอื ง ตอ่ มาเมอื่
ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ไดย้ กฐานะสถานตรวจโรคปอดข้นึ เปน็ กองควบคุมวัณโรค
ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ เรมิ่ มีการขยายงานออกไปส่ภู ูมิภาค โดยเปิดสถาน
ตรวจโรคปอดข้ึนท่ีจังหวัดเชียงใหม่ ซ่ึงต่อมาได้ยกฐานะข้ึนเป็นศูนย์ควบคุม
วัณโรคภาคเหนือ หลังจากน้ันได้มีการขยายงานผสมผสานกับระบบบริการ
สาธารณสขุ ไปทว่ั ประเทศและไดม้ กี ารปรบั ปรงุ แบง่ สว่ นราชการของกระทรวง
สาธารณสุขคร้ังแรก เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๑๕ และได้เปลี่ยนช่ือเป็น กองวัณโรค
สงั กดั กรมการแพทยแ์ ละอนามยั ในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ กองวณั โรคเปลย่ี นไปสงั กดั
กรมควบคมุ โรคติดต่อ

22

๕ เจาฟา กับงานตอตานวณั โรค

เดิมกองวัณโรคตั้งอยู่ที่
ถนนบ�ำรุงเมือง ยศเส อ�ำเภอ
ป้อมปราบศัตรูพ่าย ต่อมาได้รับ
บริจาคท่ีดินจาก ร้อยตรีเจริญ
ดารานนท์ จำ� นวน ๑๙ ไร่ ๑ งาน
๕๐ ตารางวา เมื่อวนั ที่ ๑๙ มีนาคม
พ.ศ. ๒๕๑๐ ท่ตี �ำบลบางโคล่ อำ� เภอบางคอแหลม กรุงเทพฯ และขึน้ ทะเบียน
เป็นท่ีราชพัสดุ กรมธนารักษ์ เม่ือวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๑๕ และได้ท�ำพิธี
วางศลิ าฤกษแ์ ละดำ� เนนิ การกอ่ สรา้ งทท่ี ำ� การแหง่ ใหม่ กองวณั โรคขน้ึ เมอ่ื วนั ที่
๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๗ แล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ และได้ย้ายเข้ามา
ณ ทที่ �ำการใหมใ่ นปี พ.ศ. ๒๕๔๐
ในวนั องั คารที่ ๒๐ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๔๓ รฐั บาลได้ กราบบงั คมทลู
เชญิ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าสยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เปน็
องคป์ ระธาน ประกอบพีธี เปดิ อาคารทท่ี ำ� การใหม่ กองวัณโรค กรมควบคุม
โรคตดิ ต่อ กระทรวงสาธารณสขุ
ปัจจุบันสถานที่แห่งน้ีให้บริการตรวจรักษาผู้ป่วยวัณโรค และเน้น
งานวิชาการด้านสาธิตบริการ ภายใต้ชื่อ ส�ำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสขุ

23

๕ เจาฟา กับงานตอตานวณั โรค

พระองค์เจา้ โสมสวลี

ทรงประทานกำ� ลังใจแด่เจ้าหนา้ ที่และผปู้ ่วย
พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้า
โสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
เสด็จทรงเปิดการประชุมวิชาการป้องกัน
ควบคุมโรคแห่งชาติ ประจ�ำปี ๒๕๕๗
ณ โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค
กรุงเทพมหานคร ในการน้ีได้ประทาน
โล่รางวัลแก่บุคคล หน่วยงาน และองค์กรที่มีผลงานดีเด่นด้านการป้องกัน
และควบคุมโรค เม่ือทรงทอดพระเนตรนิทรรศการงานเครือข่ายวัณโรค
ทรงมีพระหัตถเลขาบนการ์ดให้ก�ำลังใจ แก่เจ้าหน้าท่ีท่ีท�ำงานวัณโรคและ
ผู้ปว่ ยวณั โรค ดังนี้
“ขอให้ก�ำลังใจแก่เจ้าหน้าที่ที่จะต้องท�ำงานเพื่อผู้ป่วย พร้อมให้ก�ำลังใจ
ตอ่ ผ้ปู ่วยใหอ้ ดทนและเขม้ แขง็ ในการรกั ษาโรคจนหายสนิทคะ่ ”

24

๕ เจา ฟา กบั งานตอตานวัณโรค

วณั โรค : อดีตถึงปจั จุบนั
จาก ยศเส ถึง บางโคล่

ปี พ.ศ. ๒๔๘๔ โรงพยาบาลวัณโรคกลางจัดต้ังข้ึนเป็นครั้งแรกท่ี
ต.บางกระสอ อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี สงั กดั กรมสาธารณสขุ
กระทรวงมหาดไทย

ปี พ.ศ. ๒๔๘๘ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลฯ
มรี บั สงั่ ใหร้ าชเลขานกุ ารในพระองคส์ งั่ จา่ ยพระราชทรพั ย์
ส่วนพระองค์จ�ำนวน ๒๕๐,๒๕๘ บาท ๙๔ สตางค์
เพ่ือน�ำไปสร้างอาคารผู้ป่วยเพ่ือช่วยเหลือพสกนิกร
ด้านสาธารณสุข และในปีเดียวกันได้มีการเปล่ียน
กรมสาธารณสุขเป็น กระทรวงสาธารณสุข และ
โอนงาน “โรงพยาบาลวณั โรคกลาง” เปน็ “กองโรงพยาบาล
วณั โรค” สังกัดกรมการแพทย์

ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ หลวงพยุงเวชศาสตร์ อธิบดีกรมอนามัย (เดิมชื่อ
กรมสาธารณสขุ ) ไดก้ อ่ ตงั้ งานควบคมุ วณั โรค โดยเปดิ
สถานตรวจโรคปอดข้ึน โดยเช่าอาคารสถานีอนามัย
ที่หน่ึงของสภากาชาดไทยที่ถนนบ�ำรุงเมือง ยศเส
(สถานที่เดิมของสมาคมปราบวัณโรคของแพทย
สมาคม) เป็นหน่วยงานข้ึนกับกองควบคุมโรคติดต่อ
กรมอนามัย
25

๕ เจา ฟา กบั งานตอ ตานวัณโรค

สถานตรวจโรคปอดยศเส จดั ตงั้ ขน้ึ ครงั้ แรก เพอ่ื ใหบ้ รกิ าร
Ÿ ตรวจปอดดว้ ยเครอื่ งเอกซเรยท์ รวงอก โดยใชฟ้ ลิ ม์ เลก็

(Photo-fluorographic unit for mass miniature
radiography) เป็นเครอ่ื งแรกในประเทศไทย
Ÿ รกั ษาวณั โรคด้วยยาแบบผปู้ ว่ ยนอก
Ÿ ใหก้ ารปอ้ งกนั ผ้สู มั ผัสโรค
Ÿ ใหส้ ขุ ศึกษาแก่ประชาชนทั่วไป
ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ Ÿ ไดร้ บั การชว่ ยเหลอื จาก WHO ในดา้ นผเู้ ชย่ี วชาญ
และทนุ การศกึ ษา และ UNICEF ไดช้ ว่ ยเหลอื ดา้ น
อุปกรณ์เวชภัณฑ์
Ÿ ยกฐานะสถานตรวจโรคปอดข้ึนเป็นกองควบคุม
วณั โรค โดยดำ� เนนิ การประสานงานกบั โรงพยาบาล
วณั โรคกลาง จงั หวดั นนทบรุ ี มขี นาดไมเ่ กนิ ๗๕ เตยี ง
ซ่งึ โอนจากกรมการแพทย์มาอยกู่ รมอนามัย
Ÿ ต่อมาเปลี่ยนช่ือเป็นกองโรงพยาบาลวัณโรค
ในปีเดียวกนั
ปี พ.ศ. ๒๔๙๔-๒๔๙๗ Ÿ ได้รับการช่วยเหลือจาก WHO และกองทุน
สงเคราะห์แหง่ สหประชาชาติ
Ÿ พัฒนาสถานตรวจโรคปอด (ต่อมาเรียกชื่อว่า
สถานตรวจโรคปอดยศเส) ให้เป็นศูนย์สาธิต
ฝึกอบรมแพทย์ พยาบาล พนักงานชันสูตร
พนกั งานอนามัย
Ÿ มหี นว่ ยฉดี วคั ซนี บซี จี เี คลอ่ื นทไ่ี ปตามจงั หวดั ตา่ งๆ
มงุ่ ฉดี ใหเ้ ด็กนกั เรยี น ต้ังแตป่ ี พ.ศ. ๒๔๙๖

26

๕ เจาฟา กับงานตอตา นวัณโรค

ปี พ.ศ. ๒๕๐๓-๒๕๐๗ มกี ารทำ� สำ� รวจวณั โรคดา้ นระบาดวทิ ยา และองคก์ าร
อนามัยโลก (WHO) เสนอให้มีการด�ำเนินงานใน
รูปแบบของแผนงานวัณโรคแห่งชาติ (National
Tuberculosis Programme หรอื NTP) เปน็ ครงั้ แรก

ปี พ.ศ. ๒๕๐๒-๒๕๓๔ ในชว่ งระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๕๐๒-๒๕๓๔ ไดม้ กี ารขยายงาน
วณั โรคไปสสู่ ว่ นภมู ภิ าคโดยตง้ั ศนู ยว์ ณั โรคในภาคเหนอื
ทจี่ งั หวดั เชยี งใหม่ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทจี่ งั หวดั
ขอนแกน่ และภาคใตท้ จ่ี งั หวดั ยะลา นอกจากนน้ั ยงั จดั ตงั้
ศูนยว์ ณั โรคเขตในจงั หวัดนครราชสมี า อบุ ลราชธานี
สกลนคร ชลบุรี พิษณุโลก นครศรีธรรมราช
นครสวรรค์ สระบุรี ราชบรุ ี

ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ มีการรวมกรมการแพทย์และกรมอนามัยเข้าด้วยกัน
ตงั้ เปน็ กรมการแพทยแ์ ละอนามยั กองควบคมุ วณั โรค
ได้เปลย่ี นช่อื เป็น กองวณั โรค

ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ Ÿ กองวณั โรค เปลยี่ นไปสงั กดั กรมควบคมุ โรคตดิ ตอ่
ซง่ึ ตั้งขนึ้ ใหม่เปน็ กรมวิชาการ

Ÿ สถานตรวจโรคปอดยศเสใหใ้ ชช้ อื่ เปน็ สถานตรวจ
โรคปอดกรุงเทพฯ

Ÿ โอนศนู ยว์ ณั โรคเขตทง้ั ๑๒ เขต ไปสงั กดั สำ� นกั งาน
ป้องกันควบคุมโรคติดต่อเขต กรมควบคุมโรค
ติดต่อ

27

๕ เจาฟา กบั งานตอตา นวัณโรค

ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ Ÿ กรมควบคุมโรคติดต่อ มอบหมายงานควบคุม
โรคติดต่อเฉียบพลันระบบทางเดินหายใจเด็ก
ให้กองวณั โรคเปน็ ผ้รู ับผดิ ชอบด�ำเนินการ

Ÿ มกี ารทบทวนแผนงานวณั โรค และองคก์ ารอนามยั
โลกไดเ้ สนอใหน้ ำ� เอากลยทุ ธก์ ารรกั ษาวณั โรคดว้ ย
ยาระยะส้ันภายใต้การสังเกตโดยตรง (Directly
Observed Treatment Short course หรือ
DOTS) มาใช้

ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๑ กองวณั โรคได้ย้ายจากสถานตรวจ
โรคปอดยศเสมาอยทู่ อี่ าคารแหง่ ใหม่ ซงึ่ เปน็ ทดี่ นิ ทไี่ ด้
รับการบริจาคจากร้อยตรีเจริญ ดารานนท์ จ�ำนวน
๑๙ ไรเ่ ศษ ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๑๐ หลงั จากขน้ึ ทะเบยี น
เป็นท่ีราชพัสดุเรียบร้อยแล้ว จึงได้ท�ำการก่อสร้าง
อาคารในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ จนปี พ.ศ. ๒๕๓๙ จงึ แลว้
เสรจ็ สมบรู ณ์

ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ จากการปฏิรูประบบสาธารณสุข มีการจัดโครงสร้าง
ของกระทรวง กองวัณโรครวมเข้ากับกองโรคเอดส์
และกองกามโรค เปน็ สำ� นกั โรคเอดส์ วณั โรค และโรค
ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ส่วนงาน ARIC ไปรวมอยู่ใน
สำ� นักโรคตดิ ต่อทัว่ ไป

ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ แยกออกมาเป็น สำ� นกั วณั โรค จนถึงปจั จุบนั

28


Click to View FlipBook Version