ชดุ ค่มู ือการใชง้ าน
นวตั กรรมด้านการศกึ ษาสาหรับหลกั สูตรทอ้ งถ่ินเมอื งระยอง
คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลัยศิลปากร
โครงการคลังข้อมลู สารสนเทศศิลปวฒั นธรรมระยอง
บริษัท พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) และมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
โครงการคลังข้อมูลสารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บรษิ ทั พที ีที โกลบอล เคมิคอล จากดั (มหาชน) และมหาวิทยาลัยศลิ ปากร
นวัตกรรมดา้ นการศกึ ษาสาหรับหลักสตู รทอ้ งถ่ินเมอื งระยอง
โครงการ Rayong Culture and Economy Innovation: นวัตกรรมองค์ความรู้
ทางวัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อมเพอ่ื พัฒนาระยองเมืองนา่ อยู่
1. หลักการและเหตผุ ล
มหาวิทยาลัยศิลปากรในฐานะซึ่งเป็นผู้วิจัยในโครงการคลังข้อมูลสารสนเทศศิลปวัฒนธรรม
ระยอง โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน)
เริ่มต้นดาเนินงานต้ังแต่ปีพ.ศ. 2561 ครอบคลุมพ้ืนท่ีบริเวณลุ่มน้าระยอง และ พ.ศ. 2562 ได้ขยาย
พื้นท่ีการศึกษาเพิ่มเติมไปยังบริเวณลุ่มน้าประแส ได้ค้นพบมรดกวัฒนธรรม ได้แก่ ประวัติศาสตร์
ท้องถิ่น วัดวาอารามเก่าแก่ ศิลปกรรมโบราณ วิถีชีวิตของผู้คน ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ประเพณี และ
ความเช่ือที่ยังสะท้อนถึงรากเหง้าของความเป็นระยอง มรดกวัฒนธรรมท่ีได้จากการค้นคว้าใน
โครงการคลังข้อมูลสารสนเทศศิลปวัฒนธรรมระยองทั้ง 2 ระยะ สามารถอธิบายถึงมรดกวัฒนธรรม
อันทรงคุณค่าท่ียังหลงเหลอื อยใู่ นเห็นในเชิงประจักษ์ ผ่านการศึกษาวิจัยในโครงการตา่ ง ๆ ได้แก่
1. โครงการวิจยั ประวตั ิวัฒนธรรม ธรรมชาติ และเส้นทางสายประวตั ิศาสตรเ์ มืองระยอง
และโครงการโบราณคดีระยอง
นักวิจัยโครงการ : 1. รองศาสตราจารย์ ดร.กรรณิการ์ สุธีรตั นาภริ มย์
2. อาจารย์ ดร.ภรี ์ เวณุนนั ทน์
ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
2. โครงการวิจัยดา้ นเอกสารโบราณ
นกั วจิ ัยโครงการ : อาจารย์ ดร.อเุ ทน วงศส์ ถิตย์
ภาควิชาภาษาตะวนั ออก คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
3. โครงการวจิ ยั ด้านศิลปกรรมและงานชา่ ง
นกั วิจัยโครงการ : รองศาสตราจารย์ ดร.ประภสั สร์ ชูวเิ ชียร
ภาควิชาประวัติศาสตรศ์ ลิ ปะ คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
4. โครงการวจิ ัยด้านชาติพนั ธ์ุและวิถีชมุ ชน
นกั วจิ ยั โครงการ : อาจารย์ศศิธร ศิลป์วฒุ ยา
ภาควชิ ามานุษยวทิ ยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
หนา้ 1
โครงการคลงั ข้อมูลสารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บรษิ ทั พที ีที โกลบอล เคมคิ อล จากัด (มหาชน) และมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
5. โครงการพัฒนาศักยภาพของวัสดุจากชุมชนในพ้ืนที่จังหวัดระยอง การเช่ือมโยง
ระหว่างวัสดุจากผลติ ภณั ฑ์ชุมชนท้องถน่ิ กับนวตั กรรมวัสดุจากอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมี
นกั วจิ ัยโครงการ : ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรวฒั น์ สริ เิ วสมาศ
คณะมณั ฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
ในปี พ.ศ. 2563 เพ่ือเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาด้านมรดกวัฒนธรรม
เมืองระยอง จึงเห็นควรให้มีการจัดทาโครงการ Rayong Culture and Economy Innovation:
นวัตกรรมองค์ความรูท้ างวัฒนธรรมและส่งิ แวดล้อมเพอ่ื พฒั นาระยองเมืองนา่ อยู่ โดยแบ่งออกเป็น
1. นวัตกรรมด้านการศึกษาหลักสูตรท้องถ่ินเมืองระยอง เพ่ือพัฒนาหลักสูตรการศึกษา
เกี่ยวกับทอ้ งถน่ิ และสร้างนวัตกรรมการศึกษาทางดา้ นวฒั นธรรมและสิ่งแวดล้อมเมืองระยอง เผยแพร่
องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม สังคมวัฒนธรรม และระบบนิเวศวัฒนธรรม เพื่อต่อยอด
พฒั นาองคค์ วามรสู้ ชู่ มุ ชน และสร้างพลเมอื งทางวัฒนธรรมและพลเมืองสเี ขยี ว
2. นวัตกรรมด้านวัฒนธรรมเพ่ือการท่องเท่ียวเมืองระยองอย่างย่ังยืน เพื่อนาองค์ความรู้
ด้านมรดกวฒั นธรรมท่ีได้จากการศึกษามาพัฒนาการท่องเที่ยวเชงิ วฒั นธรรมและเศรษฐกจิ บนพ้ืนฐาน
และความเขา้ ใจของคนในพน้ื ที่ทุกภาคสว่ น ทง้ั หนว่ ยงานรัฐ ภาคประชาชน และภาคธุรกจิ โดยการใช้
นวตั กรรมการศึกษาแบบเปิดเพ่ือเผยแพรค่ วามรู้และสร้างทักษะจัดการข้อมูลเชิงวฒั นธรรม
ผลจากการเผยแพร่องค์ความรดู้ ้านมรดกวัฒนธรรมเมืองระยองทั้งในรูปแบบ นวัตกรรมด้าน
การศึกษาฯ และนวัตกรรมด้านวัฒนธรรมฯ จะทาให้ชาวระยองตระหนักถึงรากฐานความเป็นมา
เน้ือหา คุณค่าของมรดกวัฒนธรรมของตนเอง ทาให้เกิดความเข้มแข็งขององค์กรและชุมชนทาง
วัฒนธรรม และนาไปสู่การอนุรักษ์ พัฒนาให้เกิดประโยชน์ ยกระดับ สร้างอัตลักษณ์ หรือต่อยอด
มรดกวัฒนธรรมในพ้นื ทีแ่ ละสงั คมตอ่ ไป
2. องคป์ ระกอบและการใช้งานนวตั กรรมด้านการศึกษาสาหรับหลกั สตู รท้องถ่ินเมืองระยอง
นวัตกรรมด้านการศึกษาสาหรับหลักสูตรท้องถ่ินเมืองระยองครอบคลุม ข้อมูลทา งด้ าน
ประวัติศาสตร์และโบราณคดี เอกสารโบราณ ศิลปกรรมและงานช่าง ชาติพันธ์ุและวิถีชุมชนในพื้นที่
อาเภอเมือง อาเภอบ้านค่าย อาเภอแกลง เป็นหลัก และรวมถึงอาเภออ่ืน ๆ ในจังหวัดระยองด้วย
ซึ่งได้นาองค์คว ามรู้มาจากการศึกษาวิจัยโ ครงการคลั ง ข้อมูล สารสนเทศศิล ปวัฒนธรรมระยอง
ระยะที่ 1 และระยะท่ี 2 ตั้งแต่ พ.ศ. 2561 – 2563
เนื้อหาของนวัตกรรมด้านการศึกษาสาหรับหลักสูตรท้องถ่ินเมืองระยอง จัดแบ่งออกเป็น
2 พื้นท่ีลุ่มแม่น้า ตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดระยอง ได้แก่ พื้นท่ีลุ่มแม่น้าระยอง และพ้ืนที่
ล่มุ แมน่ า้ ประแส โดยในแต่ละพนื้ ท่ลี ุ่มแมน่ ้าจะแบ่งออกเป็นบทเรียนย่อยและกาหนดวัตถุประสงค์ ดังนี้
หนา้ 2
โครงการคลงั ขอ้ มูลสารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บรษิ ทั พที ที ี โกลบอล เคมคิ อล จากัด (มหาชน) และมหาวิทยาลยั ศิลปากร
บทท่ี 1 ประวตั วิ ัฒนธรรมและธรรมชาติ
บทท่ี 2 เอกสารโบราณ
บทที่ 3 ศิลปกรรม
บทที่ 4 ชาตพิ ันธแ์ุ ละวิถชี มุ ชน
นวัตกรรมดา้ นการศึกษาสาหรับหลักสตู รทอ้ งถ่นิ เมืองระยอง
พน้ื ทีก่ ารศกึ ษา พน้ื ท่กี ารศกึ ษา วตั ถุประสงค์
ล่มุ น้าระยอง ลุ่มน้าประแส
ผู้ศกึ ษามคี วามรู้ความเข้าใจต่อการตงั้ ถน่ิ ฐานและ
บทท่ี 1 บทท่ี 1 พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตร์ โบราณคดีของพืน้ ท่ีเมือง
ประวตั วิ ัฒนธรรม ประวัติวัฒนธรรม ระยอง ตง้ั แต่สมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตรจ์ นถงึ กระท่งั ปจั จบุ นั
และธรรมชาติ และธรรมชาติ
ผู้ศกึ ษาสามารถเขา้ ใจถงึ เนื้อหา วัสดุ รปู แบบ และ
ล่มุ นา้ ระยอง ลมุ่ นา้ ประแส กระบวนการใช้งานเอกสารโบราณ เพ่ือนามาอธบิ าย
บทท่ี 2 บทที่ 2 ขอ้ มูลทางประวัตศิ าสตรข์ องพื้นที่เมอื งระยอง
ผู้ศกึ ษาสามารถอธบิ ายทมี่ า แนวคดิ รูปแบบงาน
เอกสารโบราณ เอกสารโบราณ ศิลปกรรมทพี่ บในเมืองระยอง และสามารถนาไป
ลมุ่ น้าระยอง ล่มุ น้าประแส เชอ่ื มโยงกบั เหตุการณท์ างประวัตศิ าสตรใ์ นพ้นื ท่ี
ผู้ศึกษามคี วามรูค้ วามเขา้ ใจตอ่ อัตลกั ษณ์ วิถชี ีวิต
บทที่ 3 บทที่ 3 ความเป็นอยู่ ภมู ปิ ญั ญา การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ศลิ ปกรรม ศลิ ปกรรม วฒั นธรรมท่ีเกดิ ขนึ้ กับผคู้ นและพน้ื ท่เี มอื งระยอง
ลมุ่ นา้ ระยอง ลุ่มน้าประแส
บทที่ 4 บทที่ 4
ชาตพิ ันธ์แุ ละวถิ ชี มุ ชน ชาติพันธแุ์ ละวิถชี ุมชน
ลมุ่ น้าระยอง ลมุ่ น้าประแส
นวัตกรรมด้านการศึกษาสาหรับหลักสูตรท้องถ่ินเมืองระยองสามารถปรับเปล่ียนรูปแบบ
การใช้งานหรือเพ่ิมเติมเน้ือหาท่ีจาเป็นและเกี่ยวข้องตามปัจจัยต่าง ๆ อาทิ ความเหมาะสมในแต่ละ
ระดับช้ันเรียน ช่องทางการเรียนการสอน ระยะเวลาในแต่ละคาบเรียน หรืออาจเพิ่มเติมการจัดทา
เกมส์ประกอบการศึกษาบนช่องทางออนไลน์เพ่ือดึงดูดความสนใจ อาทิ KAHOOT QUIZIZZ
VONDER GO กิจกรรมทศั นศึกษาแหล่งเรยี นรู้ พิพธิ ภณั ฑสถาน หรอื แหลง่ มรดกวัฒนธรรมใกล้เคียง
ในจังหวัดระยอง เพื่อเรียนรู้และฝึกฝนทักษะการสังเกตการณ์และวิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้
และหัวข้อท่ีตนเองสนใจ นอกจากน้ันยังสามารถเชิญผู้เชี่ยวชาญมาร่วมกันแลกเปลี่ยนประสบการณ์
และข้อมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และแหล่งมรดกวัฒนธรรมในจังหวัดระยอง เพื่อเป็นตัวอย่างในการ
สร้างสรรค์แรงบันดาลใจให้กบั ผ้เู รียนเพ่มิ เตมิ ได้
หนา้ 3
โครงการคลงั ขอ้ มูลสารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บรษิ ทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จากดั (มหาชน) และมหาวิทยาลัยศลิ ปากร
นวัตกรรมดา้ นการศกึ ษา
สาหรับหลักสูตรทอ้ งถ่นิ เมืองระยอง
พื้นทก่ี ารศึกษาลุม่ น้าระยอง
หน้า 4
โครงการคลังขอ้ มูลสารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บริษทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) และมหาวิทยาลัยศลิ ปากร
บทท่ี 1 ประวัตวิ ฒั นธรรมและธรรมชาติลมุ่ น้าระยอง
ระยะเวลา 50 นาที
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพูดคุยและแลกเปล่ียนข้อมูลเก่ียวกับเร่ืองเล่า ตานาน
10 นาที ประวัติศาสตร์ โบราณคดี แหล่งมรดกวัฒนธรรมสาคัญที่ตนเองรู้จักในพื้นท่ี
เมอื งระยอง (เนน้ พนื้ ท่ลี ่มุ แม่น้าระยอง – อาเภอเมอื ง และอาเภอบา้ นคา่ ย)
เล่นเกมส์ทดสอบความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับประวัติศาสตร์และโบราณคดี
เมอื งระยอง
ชมวดี ที ศั นเ์ น้ือหา บทท่ี 1 ประวตั ิวฒั นธรรมและธรรมชาติล่มุ นา้ ระยอง
25 นาที
1. กระบวนการศกึ ษาทางโบราณคดี
2. ชอื่ บา้ นนามเมอื งในลมุ่ นา้ ระยอง
3. เมอื งระยองสมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ถึงต้นพุทธศตวรรษท่ี 20
4. เมืองระยองในสมยั อยุธยาถึงรัตนโกสินทร์
5. เสน้ ทางสายประวัตศิ าสตรจ์ ากหลกั ฐานทางโบราณคดี
6. อดีตจากใต้ดิน - การขุดค้นทางโบราณคดี ณ วดั บ้านคา่ ย อาเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันอภิปรายข้อมูล เปรียบเทียบเนื้อหา และสรุป
15 นาที ประเดน็ ทคี่ วรรหู้ รอื นา่ สนใจจากวีดที ัศน์
เลน่ เกมสท์ ดสอบความรภู้ ายหลงั จากการชมวดี ีทัศน์
เสนอแนะแหล่งข้อมูลหรือสถานท่ีท่ีใช้สาหรับศึกษาเน้ือหาเพ่ิมเติมใน
ประเด็นทางด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีเมืองระยอง (เน้นพ้ืนท่ีลุ่มแม่น้า
ระยอง – อาเภอเมือง และอาเภอบา้ นค่าย)
หนา้ 5
โครงการคลงั ข้อมูลสารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บรษิ ัท พที ีที โกลบอล เคมิคอล จากดั (มหาชน) และมหาวทิ ยาลัยศิลปากร
ตัวอย่างคาถามทดสอบความรู้ประวตั ิวฒั นธรรมและธรรมชาติลมุ่ น้าระยอง
คาถามก่อนการชมวีดีทศั น์
1. โ บ ร า ณ ค ดี เ ป็ น วิ ช า ที่ ศึ ก ษ า ก. ถกู
เกี่ยวกับมนุษย์และไดโนเสาร์ ข. ผิด
2. ประวัติศาสตร์ของจังหวัดระยอง ก. ยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์
สามารถย้อนกลับไปได้ถึงในช่วง ข. สมัยวัฒนธรรมเขมร
ค. สมัยอยุธยา
เวลาใด
ง. สมัยรตั นโกสินทร์
3. “มาบตาพุด” เป็นการต้ังช่ือตาม ก. ภมู ิประเทศ และช่อื คน
ลักษณะใด ข. ชื่อบุคคล และตาแหนง่ ทางการเมอื ง
ค. นิทานพ้ืนบ้าน
ง. ชื่อมงคล
4. วัดลุ่มมหาชัยชุมพล สัมพันธ์ ก. เชอ่ื วา่ เปน็ ที่ตัง้ ของขนุ จ่าเมืองและกรมการระยอง
อยา่ งไรกบั พระเจา้ ตากสิน ข. เช่อื ว่าเป็นทต่ี งั้ ค่ายหลวงของพระเจ้าตากสิน
ค. เชอ่ื วา่ เป็นทีต่ ง้ั ของทัพชาวจีนที่ช่วยพระเจา้ ตากสนิ
ง. เช่ือวา่ เปน็ อู่ตอ่ เรือรบของพระเจา้ ตากสนิ
5. “ตาลขด” สัมพันธก์ ับวัดใด ก. วัดบา้ นคา่ ย
ข. วดั บ้านเกา่
ค. วัดราชบลั ลงั กป์ ระดษิ ฐาราม
ง. วัดปา่ ประดู่
คาถามหลงั จากการชมวดี ีทศั น์
1. หลักฐานทางโบราณคดีประกอบด้วย ก. โบราณวตั ถุ / นิเวศวตั ถุ / รอ่ งรอย
ส่งิ ใดบา้ ง ผิดวิสยั
ข. ศิลปวตั ถุ / โบราณวตั ถุ / นเิ วศวัตถุ
ค. เครื่องมอื / เครื่องใช้ / เครือ่ งประดบั
ง. โบราณวตั ถุ / รอ่ งรอยผดิ วสิ ยั / ข้อมูลทาง
โบราณคดี
หนา้ 6
โครงการคลังข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บรษิ ัท พที ที ี โกลบอล เคมคิ อล จากดั (มหาชน) และมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
2. ภมู ปิ ระเทศในภาพดังกลา่ วนีเ้ รียกวา่ อะไร ก. ชาก
ข. โคก
ค. ห้วย
ง. มาบ
3. “ชา ก ” เ ป็น ค า ท่ีใ ช้เ รี ยก ภู มิ ปร ะเทศ ก. ที่ราบน้าท่วมถึง
ลกั ษณะใด ข. ลานตะพกั ระดบั กลางทนี่ ้าไม่ทว่ ม
ค. บริเวณทเี่ คยเป็นชายหาดในอดตี
ง. พ้นื ทีป่ ่าเดิมที่ถกู แพว้ ถางเพอื่ อย่อู าศยั
4. เอกสารทางประวัติศาสตร์ฉบับใดท่ีไม่ได้ ก. พระราชพงศาวดารกรงุ ธนบรุ ี ฉบบั พันจนั ทนมุ าศ
กล่าวถึงประวัติและเส้นทางการเดินทัพเพ่ือ (เจิม)
ข. พระราชพงศาวดาร ฉบบั พระราชหตั ถเลขา
กู้ชาตขิ องพระเจ้าตากสิน
ค. พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์
วดั พระเชตพุ น
ง. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสนิ ทร์
รชั กาลที่ 1 (เจ้าพระยาทพิ ากรวงศ)์
5. สินค้าใดท่ีทาให้นักเดินเรือชาวต่างชาติ ก. นา้ ปลา
ทราบวา่ เดินทางมาถงึ เมืองระยองแล้ว ข. กะปิ
ค. พรกิ ไทย
ง. รงั นก
6. “เกาะมัน” มีท่ีมาจากการที่มีหัวมันข้ึนอยู่ ก. ใช่
เตม็ เกาะใช่หรอื ไม่ ข. ไมใ่ ช่
7. หลักฐานทางโบราณคดีสาคัญที่พบจากการ ก. ฐานรากของอุโบสถเก่าท่อี าจยอ้ นกลับไดถ้ ึงสมยั
ขุดค้นทางโบราณคดีในบริเวณวัดบ้านค่าย อยธุ ยา
ข. ฐานรากของโบราณสถานสมยั เขมร
ครง้ั ล่าสดุ คอื อะไร ค. แนวคูคา่ ยของพระเจา้ ตากสิน
ง. ไม่พบหลกั ฐานใดจากการดาเนนิ งานทางโบราณคดี
8. หลักฐานทางโบราณคดีใดที่อาจแสดงให้ ก. ปราสาทเขาน้อยสีชมพู
เห็นถึงร่องรอยของผู้คนในสมัยเขมรโบราณใน ข. สระหมบู่ ้านดอน
ค. เมืองโบราณเพนียด
จังหวดั ระยอง
ง. วงั สามพญา
9. หัวเมืองใหญ่ชายฝ่ังทะเลตะวันออกใน ก. เมอื งสตั หบี
สมัยอยุธยาที่ร่วมสมัยกับเมืองระยอง คือเมือง ข. เมอื งบางปลาสร้อย
ค. เมอื งศรีราชา
ใดบ้าง
ง. เมอื งจันทบรู
หนา้ 7
โครงการคลังข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บรษิ ัท พที ีที โกลบอล เคมคิ อล จากดั (มหาชน) และมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
10. เมืองระยองที่เห็นในปัจจุบันเจรญิ สืบเน่ือง ก. สมัยอยธุ ยา
มาตั้งแต่สมยั ใด ข. สมยั รัชกาลที่ 5
ค. สมัยพระเจ้าตากสิน
ง. สมยั รชั กาลท่ี 9
เอกสารประกอบเพม่ิ เตมิ
รายงานวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์
โครงการวิจยั ประวัตวิ ฒั นธรรม ธรรมชาติ และเสน้ ทางสายประวัตศิ าสตร์
เมืองระยอง และโครงการโบราณคดีระยอง
หน้า 8
โครงการคลังขอ้ มลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บริษทั พที ีที โกลบอล เคมิคอล จากดั (มหาชน) และมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
บทที่ 2 เอกสารโบราณลุ่มน้าระยอง
ระยะเวลา 50 นาที
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพูดคุยและแลกเปล่ียนข้อมูลเก่ียวกับเอกสารโบราณ อาทิ
10 นาที ลักษณะ รูปแบบ ประเภท สถานที่จัดเก็บ คุณค่า ความสาคัญ หรือเน้ือหา
(เนน้ พื้นทล่ี ่มุ แม่น้าระยอง – อาเภอเมือง และอาเภอบา้ นคา่ ย)
เลน่ เกมส์ทดสอบความรูเ้ บื้องตน้ เก่ียวกับเอกสารโบราณเมอื งระยอง
ชมวีดีทศั น์เนื้อหา บทที่ 2 เอกสารโบราณลุ่มน้าระยอง
20 นาที
1. กระบวนการศกึ ษาเอกสารโบราณ
2. เอกสารโบราณท่พี บในลุ่มน้าระยอง
3. นานาสาระจากเอกสารโบราณลมุ่ น้าระยอง
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันอภิปรายข้อมูล เปรียบเทียบเนื้อหา และสรุป
20 นาที ประเดน็ ที่ควรรู้หรือนา่ สนใจจากวดี ีทศั น์
เลน่ เกมสท์ ดสอบความรู้ภายหลังจากการชมวีดที ัศน์
เสนอแนะแหล่งข้อมูลหรือสถานที่ที่ใช้สาหรับศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมใน
ประเด็นทางดา้ นเอกสารโบราณเมืองระยอง (เนน้ พ้นื ท่ลี ุ่มแมน่ ้าระยอง – อาเภอ
เมอื ง และอาเภอบ้านคา่ ย)
หน้า 9
โครงการคลงั ข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บริษัท พที ีที โกลบอล เคมคิ อล จากัด (มหาชน) และมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
ตวั อย่างคาถามทดสอบความรู้เอกสารโบราณล่มุ นา้ ระยอง
คาถามก่อนการชมวีดที ศั น์
1. ข้อความที่ปรากฏในเอกสารโบราณสามารถ ก. ได้
นามาใช้อธิบายเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ข. ไม่ได้
สังคมและวฒั นธรรม ไดห้ รอื ไม่
2. เนื้อเร่ือง “พระมาลัย” ถูกนามาใช้เทศนาใน ก. พธิ ีศพ
พธิ กี รรมใด ข. พิธขี ้ึนบา้ นใหม่
ค. พธิ แี ต่งงาน
ง. พธิ ที าบุญครบรอบ
3. สมุดพระมาลัยที่พบที่วัดโขดทิมธาราม นิยม ก. ใช่
วาดภาพโขดหินจานวนมาก สะท้อนถึงความ ข. ไมใ่ ช่
เก่ยี วข้องกับช่ือของวัด ใชห่ รอื ไม่
4. การชาระและปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย จนเกิด ก. สมัยสโุ ขทัย
เป็นท่ีมาของกฎหมายตราสามดวงนั้น เกิดข้ึน ข. สมยั ทวารวดี
ค. สมยั รตั นโกสินทร์
ในช่วงเวลาใด ง. สมัยอยธุ ยา
5. เน้ือเร่ือง “เวสสันดรชาดก” เกี่ยวข้องกับ ก. การทาทาน
ขอ้ ใดมากทสี่ ุด ข. ความอดทน
ค. ความโกรธ
ง. การเจรญิ ศลี ภาวนา
คาถามหลังจากการชมวีดีทศั น์
1. ข้อใดคือ หลักการ 5 ส ท่ีใช้สาหรับศึกษา ก. อกั ษร / ภาษา / วัสดุ / สถานท่ี / สาระ
เอกสารโบราณ ข. ภาษา / วสั ดุ / สถานที่ / สาระ / สงั เคราะห์
ค. ภาษา / ตัวสะกด / วสั ดุ / สถานท่ี / สาระ
ง. ภาษา / วสั ดุ / สถานท่ี / สาระ/ สถิติ
หนา้ 10
โครงการคลงั ข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บริษทั พีทีที โกลบอล เคมคิ อล จากดั (มหาชน) และมหาวิทยาลยั ศิลปากร
2. เอกสารในภาพดงั กลา่ วเรยี กวา่ อะไร ก. สมดุ ข่อย
ข. ศลิ าจารกึ
ค. สมุดไทย
ง. คมั ภรี ์ใบลาน
3. ขอ้ ใดจบั ค่ไู ดถ้ ูกต้อง ก. ทศกณั ฐ์ – ครขู องไสยศาสตร์
ข. พระราม – ครขู องโขนละคร
ค. ทศกัณฐ์ - ครขู องโหราศาสตร์
ง. นางสดี า – ครูของนาฏศลิ ป์
4. พงศาวดารที่พบท่ีวัดโขดทิมธารามกล่าวถึง ก. ใช่
ข้อความทางประวัติศาสตร์ในสมัยอยุธยา ข. ไม่ใช่
ใชห่ รอื ไม่
5. การเขียนเรอื่ ง “มหาเวสสันดรชาดก” นยิ มมา ก. สมัยสโุ ขทยั
ตัง้ แตส่ มยั ใด ข. สมัยเขมร
ค. สมยั รัตนโกสนิ ทร์
ง. สมัยอยธุ ยา
6. เอกสารชิ้นใดของวัดบ้านแลงท่ีมีความเก่าแก่ ก. ตาราโหรพิชัย
และเขียนข้นึ ในสมัยรัชกาลท่ี 1 กรุงรตั นโกสนิ ทร์ ข. สมดุ พระมาลยั
ค. พญาฉทั ทนั ตก์ ลอนสวด
ง. กฎหมายตราสามดวง
7. จิตรกรรมบุคคลชาวต่างชาติท่ีพบในสมุด ก. จักรพรรดจิ นิ๋ ซฮี ่องเต้
พระมาลัย วัดทับมา ตามข้อสันนิษฐานของ ข. พระเจ้าหลุยส์ท่ี 14 แหง่ ฝรงั่ เศส
ค. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
นักวชิ าการนั้น หมายถงึ ผ้ใู ด
ง. มองซเิ ออร์ เดอ ลา ลูแบร์
8. อดีตเจ้าอาวาสวัดปากน้าท่านใดที่เคยเป็น ก. หลวงปู่ทวด
พระเกจิและหมอยาช่ือดังของจังหวัดระยอง ข. หลวงพ่อสอด
จึ ง ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ค้ น พ บ เ อ ก ส า ร ต า ร า ย า ค. หลวงพ่อสดุ
ง. หลวงปูอ่ ๋ี
จานวนมากในวดั แหง่ นี้
9. เพราะเหตุใด จังหวัดระยองถึงพบเอกสาร ก. พชื พันธ์ุมีความหลายจากทตี่ ั้งของจังหวัดระยอง
ตารายาจานวนมากกว่าพืน้ ทอี่ น่ื ทอี่ ยบู่ นเส้นศูนยส์ ตู ร
ข. ท่ตี ้งั ของจงั หวัดระยองอยกู่ ง่ึ กลางระหว่างภเู ขา
และทะเล
หน้า 11
โครงการคลงั ข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บรษิ ทั พที ที ี โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) และมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
ค. พืชพันธ์ุสมุนไพรจานวนมากถูกนามาค้าขายที่
จังหวัดระยอง
ง. จงั หวดั ระยองมพี ระเกจิหรือหมอยาชื่อดงั ท่ีมี
ความรู้ความสามารถมากอาศยั อยเู่ ปน็ จานวนมาก
10. จิตรกรรมท่ีพบตามเอกสารโบราณลุ่มแม่น้า ก. ถูก
ระยอง นยิ มใชส้ ีนา้ เงินเขม้ ถกู ต้องหรือไม่ ข. ไม่ถูก
เอกสารประกอบเพิม่ เติม
รายงานวจิ ัยฉบบั สมบรู ณ์
โครงการวจิ ยั ดา้ นเอกสารโบราณ
หน้า 12
โครงการคลังข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมคิ อล จากดั (มหาชน) และมหาวิทยาลัยศลิ ปากร
บทท่ี 3 ศลิ ปกรรมลมุ่ นา้ ระยอง
ระยะเวลา 50 นาที
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพูดคุยและแลกเปลี่ยนข้อมูลเก่ียวกับงานศิลปกรรม อาทิ
10 นาที ประเภทงานศิลปกรรม ความแตกต่างและตัวอย่าง (ประติมากรรม
สถาปัตยกรรม จิตรกรรม งานประณีตศิลป์) เนื้อหาและรูปแบบงานศิลปกรรม
ในพุทธศาสนา คุณค่าหรือความสาคัญของวัดและชุมชนเก่าแก่ในพ้ืนที่เมือง
ระยอง (เน้นพนื้ ทลี่ ่มุ แมน่ า้ ระยอง – อาเภอเมอื ง และอาเภอบ้านค่าย)
เลน่ เกมสท์ ดสอบความรเู้ บอ้ื งต้นเกย่ี วกับศิลปกรรมเมอื งระยอง
ชมวีดีทัศน์เน้ือหา บทท่ี 3 ศิลปกรรมล่มุ นา้ ระยอง
20 นาที
1. กระบวนการศกึ ษาทางประวตั ศิ าสตรศ์ ิลปะ
2. สถาปตั ยกรรมล่มุ น้าระยอง
3. ประติมากรรมลุม่ นา้ ระยอง
4. จติ รกรรมลมุ่ น้าระยอง
5. ศลิ ปกรรมในชมุ ชนลมุ่ น้าระยอง : ทอ่ี ยอู่ าศยั และศาลเจ้า
6. อตั ลักษณ์ศลิ ปกรรมลมุ่ นา้ ระยอง
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันอภิปรายข้อมูล เปรียบเทียบเนื้อหา และสรุป
20 นาที ประเด็นที่ควรรู้หรอื นา่ สนใจจากวดี ีทศั น์
เลน่ เกมส์ทดสอบความรูภ้ ายหลังจากการชมวีดที ัศน์
เสนอแนะแหล่งข้อมูลหรือสถานท่ีที่ใช้สาหรับศึกษาเนื้อหาเพ่ิมเติมใน
ประเด็นทางด้านศิลปกรรมในเมืองระยอง (เน้นพ้ืนที่ลุ่มแม่น้าระยอง – อาเภอ
เมอื ง และอาเภอบ้านคา่ ย)
หน้า 13
โครงการคลงั ข้อมูลสารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บริษัท พที ีที โกลบอล เคมคิ อล จากดั (มหาชน) และมหาวิทยาลัยศิลปากร
ตัวอย่างคาถามทดสอบความรู้ศลิ ปกรรมลุ่มนา้ ระยอง
คาถามก่อนการชมวีดที ัศน์
1. สถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม และ ก. ได้
งานประณีตศิลป์ท่ีพบในเมืองระยอง สามารถ ข. ไมไ่ ด้
นามาใช้เป็นหลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์
จังหวดั ระยอง ได้หรือไม่
2. เจดยี ใ์ นภาพดังกลา่ วมคี วามสาคญั อยา่ งไร ก. บรรจุ อฐั ิเจ้าเมอื งระยอง
ข. บรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุ
ค. เปน็ จดุ เดนิ เรอื เขา้ เมืองระยอง
ง. ถูกทกุ ข้อ
3. สถาปัตยกรรมในภาพดังกล่าวได้รับอิทธิพลจาก ก. สมยั สุโขทยั
ศลิ ปะยุคสมัยใด ข. สมยั อยธุ ยาตอนปลาย
ค. สมัยอยธุ ยาตอนต้น
ง. สมยั ทวารวดี
4. พระพุทธรูปวัดหนองกระบอก สามารถกาหนด ก. สมยั ฟูนนั
อายุอยใู่ นศิลปะสมยั ใด ข. สมัยอยธุ ยา
ค. สมยั เขมร
ง. สมัยศรวี ิชัย
หนา้ 14
โครงการคลงั ขอ้ มลู สารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมคิ อล จากดั (มหาชน) และมหาวิทยาลัยศิลปากร
5. สิ่งของในภาพดังกลา่ วมีช่ือเรียกวา่ อยา่ งไร ก. ตเู้ สอื้ ผา้
ข. หีบศพ
ค. ตู้พระธรรม
ง. หีบธรรมาสน์
คาถามหลงั จากการชมวดี ที ัศน์
1. การศึกษางานศิลปกรรมมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือ ก. ใช่
เรียนรู้รูปแบบ แนวคิด จุดประสงค์ในการ ข. ไมใ่ ช่
สร้างงานศิลปกรรมของผู้คนในแต่ละยุคสมัย
ถูกต้องหรือไม่
2. จงอธิบายลักษณะสาคัญของรูปแบบ คาตอบ
อโุ บสถลมุ่ นา้ ระยอง อาคารขนาดเล็ก ก่อผนังสูง มีเพิงหรือจั่นหับ
ย่ืนออกมาด้านหนา้
3. ลักษณะสาคัญของเจดยี ์ทรงเคร่ืองคอื ข้อใด ก. ฐานเขยี ง
ข. ฐานสงิ ห์
ค. ปลอ้ งไฉน
ง. หน้ากระดาน
4. มณฑปวัดบ้านค่าย ถูกสร้างขึ้นเพ่ือใช้ ก. พระพุทธรปู หินทราย
ประดิษฐานส่ิงใด ข. พระไตรปฎิ ก
ค. รอยพระพทุ ธบาท
ง. ใชป้ ูนป้นั
หนา้ 15
โครงการคลังข้อมูลสารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บริษทั พีทีที โกลบอล เคมคิ อล จากดั (มหาชน) และมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
5. ขอ้ ใดคือลักษณะเดน่ ของพระพุทธรปู ศิลปะ ก. ทาขึ้นจากหนิ ทรายหลาย ๆ ชน้ิ
อยุธยาที่พบบรเิ วณวัดบ้านคา่ ย ข. สรา้ งข้นึ จากหวาย
ค. ทาจากไม้เอามาต่อกนั
ง. ใช้ปนู ปน้ั
6. พระพุทธรูปกลุ่มหนึ่งท่ีพบในเมืองระยอง ก. บา้ นบ่อพลอย – จนั ทบุรี
สามารถสะท้อนถึงการติดต่อสัมพันธ์ระหว่าง ข. บา้ นตีทอง – อยธุ ยา
เมอื งระยองกับแหล่งผลิตพระพุทธรูปดังกล่าว ค. บ้านช่างหล่อ – กรงุ เทพ
ง. บา้ นบางพระ - ชลบุรี
ซึง่ ผลติ มาจากพนื้ ทีใ่ ด
7. จิตรกรรมฝาผนังที่อุโบสถวัดโขดทิมธาราม ก. พระสธุ น - มโนราห์
เขียนเนอ้ื เรือ่ งใด ข. แกว้ หนา้ ม้า
ค. ทศชาตชิ าดก
ง. พระอภยั มณี
8. เ ท ค นิ ค ส า คั ญ ท่ี ใ ช้ ใ น ก า ร เ ขี ย น ภ า พ ก. เขยี นภาพเลา่ เรื่องในกรอบเล็กเปน็ ฉากตอนเดยี ว
จิตรกรรมบนสมุดพระมาลัยของลุ่มน้าระยอง ข. ระบายสที ึบ ผสมสีจนหนา
ค. ตวั พระ ตัวนาง แตง่ กายเสมือนจรงิ
คือเทคนิคใด ง. ขอ้ ก และ ข ถูก
9. จงอธิบายลักษณะสาคญั ของงานศิลปกรรม คาตอบ
บ้านยมจนิ ดา หลงั คาทรงป้ันหยา ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากตะวันตก ผนังไม้
ตบี านเกลด็ มุงหลังคาด้วยกระเบอื้ งวา่ ว
10. คนจนี ไหหลาเมืองระยองท่ีประกอบอาชีพ ก. ศาลเจา้ แม่ทบั ทิม
ประมง นิยมไปสักการะเทพเจ้าซึ่งเชื่อกันว่า ข. ศาลเจา้ ปุนเถ้ากง
ค. ศาลเจา้ โจวซือกง
คุม้ ครองการเดนิ เรือไดท้ ่ีศาลเจ้าแห่งใด
ง. ศาลหลกั เมอื งระยอง
หน้า 16
โครงการคลังข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บรษิ ัท พที ีที โกลบอล เคมคิ อล จากัด (มหาชน) และมหาวทิ ยาลัยศิลปากร
เอกสารประกอบเพิ่มเตมิ
รายงานวิจัยฉบับสมบรู ณ์
โครงการวิจยั ด้านศิลปกรรมและงานชา่ ง
หน้า 17
โครงการคลงั ขอ้ มูลสารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บริษทั พีทีที โกลบอล เคมคิ อล จากดั (มหาชน) และมหาวิทยาลัยศลิ ปากร
บทท่ี 4 ชาติพันธุ์และวถิ ชี ุมชนลมุ่ นา้ ระยอง
ระยะเวลา 50 นาที
ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมพูดคุยและแลกเปลี่ยนข้อมูลเกย่ี วกบั ชาตพิ นั ธุ์และวิถีชุมชน
10 นาที อาทิ กลุ่มคนไทย กลุ่มคนจีน (จีนไหหลา จีนแต้จิ๋ว จีนฮกเกี้ยน จีนแคะ)
ประวัติความเป็นมาของครอบครัวตนเอง ชุมชน และการประกอบอาชีพที่
สามารถพบเห็นได้ในจงั หวัดระยอง (การทาประมง การทาสวนผลไม้ การคา้ ขาย
และบริการ อุตสาหกรรม ฯลฯ) รูปแบบอาหารการกินและกรรมวิธีการแปรรูป
อาหารหรือสัตว์ทะเลที่มีช่ือเสยี งของจังหวดั ระยอง (เน้นพื้นท่ีลุ่มแม่น้าระยอง –
อาเภอเมอื ง และอาเภอบา้ นค่าย)
เล่นเกมส์ทดสอบความร้เู บอ้ื งต้นเก่ียวกบั ชาตพิ ันธ์ุและวถิ ีชุมชนเมืองระยอง
ชมวดี ที ศั น์เน้ือหา บทที่ 4 ชาตพิ ันธุ์และวิถชี ุมชนลมุ่ น้าระยอง
20 นาที
1. กระบวนการศึกษาทางมานษุ ยวทิ ยา
2. ความสาคญั ของลมุ่ นา้ ระยอง
3. การต้งั ถ่ินฐานและผคู้ น
4. ระบบเศรษฐกิจและเครอื ข่ายการค้าลมุ่ นา้ ระยอง
5. เมอื งและการเปลี่ยนแปลง
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันอภิปรายข้อมูล เปรียบเทียบเนื้อหา และสรุป
20 นาที ประเด็นที่ควรรูห้ รอื น่าสนใจจากวีดที ศั น์
เล่นเกมส์ทดสอบความร้ภู ายหลงั จากการชมวดี ที ัศน์
เสนอแนะแหล่งข้อมูลหรือสถานที่ที่ใช้สาหรับศึกษาเน้ือหาเพิ่มเติมใน
ประเด็นทางด้านชาติพันธ์ุและวิถีชุมชนในเมืองระยอง (เน้นพ้ืนท่ีลุ่มแม่น้า
ระยอง – อาเภอเมือง และอาเภอบ้านคา่ ย)
หน้า 18
โครงการคลังขอ้ มลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากดั (มหาชน) และมหาวทิ ยาลัยศิลปากร
ตวั อย่างคาถามทดสอบความรู้ชาติพนั ธ์ุและวิถชี ุมชนลุ่มนา้ ระยอง
คาถามกอ่ นการชมวีดีทศั น์
1. การสัมภาษณ์ข้อมูลหรือเร่ืองราวในอดีตจาก ก. ได้
ผู้คนเก่าแก่ในชุมชนยมจินดา และนามาเรียบเรียง ข. ไม่ได้
เป็นประวัติศาสตร์คาบอกเล่า สามารถนามาใช้
เรยี นรูป้ ระวตั ิศาสตรท์ อ้ งถ่นิ เมอื งระยอง ไดห้ รือไม่
2. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเก่ียวกับการใช้งานแม่น้า ก. แหล่งอาหารอนั อุดมสมบรู ณข์ องผู้คน
ระยองในอดตี ข. เส้นทางการคมนาคมระหว่างพ้นื ที่
ค. การเดนิ ทางตดิ ตอ่ คา้ ขายสินค้า
ง. พื้นท่กี ารทาสงครามทางนา้
3. กลุม่ คนชาตพิ ันธุ์ใดท่เี ป็นผู้รเิ ริ่มทาการค้าขายใน ก. คนไทย
พ้ืนที่ย่านการค้าของเมอื งระยอง ข. คนญวน
ค. คนจนี
ง. ถูกทกุ ขอ้
4. การปลูกผลไม้ของเมืองระยองน้ัน สามารถปลูก ก. ถกู
ได้ท้งั บนพ้นื ทใี่ กลก้ ับภเู ขา และพน้ื ทรี่ มิ ชายฝงั่ ทะเล ข. ไมถ่ กู
ถูกตอ้ งหรือไม่
5. ชุมชนใดท่ีประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านบริเวณ ก. ชุมชนก้นปึก
ปากนา้ ระยอง ข. ชุมชนเนินพระ
ค. ชมุ ชนกรอกยายชา
ง. ชมุ ชนหาดแม่ราพงึ
คาถามหลังจากการชมวดี ที ัศน์
1. ข้ อ ใ ด ไ ม่ ใ ช่ ก ร ะ บ ว น ก า ร ศึ ก ษ า ท า ง ก. พูดคุยกบั คนในพน้ื ทศี่ ึกษา
มานุษยวทิ ยา ข. เขา้ ร่วมประเพณสี าคญั
ค. ตรวจทานขอ้ มลู กับเอกสารชนดิ อื่นๆ
ง. ขดุ ค้นในแหลง่ โบราณสถาน
2. แม่น้าระยองในปัจจุบันมีขนาดกว้างกว่า ก. ใช่
ในอดีต ใช่หรือไม่ ข. ไมใ่ ช่
หน้า 19
โครงการคลังข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บรษิ ทั พที ที ี โกลบอล เคมคิ อล จากัด (มหาชน) และมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
3. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดระยอง ก. ทร่ี าบสลบั ทด่ี อนเป็นลกู คลน่ื
เป็นรปู แบบใด ข. ทร่ี าบแอ่งกระทะ
ค. เทอื กเขาสลบั ซบั ซอ้ น
ง. ทร่ี าบสูง
4. ถนนสายสาคัญของภาคตะวันออก คือ ก. ถนนพหลโยธนิ
ถนนใด ข. ถนนสายเอเชยี
ค. ถนนสุขุมวทิ
ง. ถนนเพชรเกษม
5. ศาลเจา้ ในภาพดงั กลา่ วคอื ศาลเจ้าใด ก. ศาลเจา้ โจวซอื กง
ข. ศาลเจา้ แม่ทับทิม
ค. ศาลเจ้าหลวงเต่ียแตจ้ ิว๋
ง. ศาลเจา้ พอ่ เสือ
6. ชุมชนตลาดไผ่ล้อม เป็นย่านการค้าสาคัญ ก. อาเภอเมอื ง
ที่เช่ือมต่อกับยมจินดา ตั้งอยู่ในอาเภอใด ข. อาเภอวงั จนั ทร์
ค. อาเภอบ้านค่าย
จังหวดั ระยอง ง. อาเภอแกลง
7. “คานเรือ” คืออะไร ก. ช้นิ ส่วนแกนกลางของเรอื
ข. สถานท่ซี ่อมเรือ
ค. ลานจอดเรอื
ง. ท่าเทยี บเรือ
8. ข้ัน ต อน ก า ร แ ปร รู ป อา ห า ร ทะ เ ล นั้ น ก. ปลาอินทรี
ปลาชนดิ ใดท่นี ิยมนามาทานา้ ปลา ข. ปลาทู
ค. ปลาหวั ออ่ น
ง. ปลาหางเหลอื ง
9. ปัจจุบันโรงงานน้าปลาในจังหวัดระยองมี ก. ถูก
จานวนน้อยลง เนื่องจากคนไม่นิยมทากิจการ ข. ผิด
ดงั กล่าว และทรัพยากรทางทะเลลดน้อยลง
10. ผลไม้ชนิดใดในจังหวัดระยองที่เหมาะสม ก. ลองกอง
กบั การปลูกในพน้ื ท่ีทราย ริมชายฝัง่ ทะเล ข. ลิ้นจี่
ค. พุทรา
ง. มงั คุด
หน้า 20
โครงการคลงั ข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บรษิ ัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) และมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
เอกสารประกอบเพมิ่ เตมิ
รายงานวิจยั ฉบบั สมบูรณ์
โครงการวิจัยดา้ นชาตพิ ันธ์ุและวิถชี มุ ชน
หน้า 21
โครงการคลังขอ้ มลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บรษิ ทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) และมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
นวตั กรรมดา้ นการศกึ ษา
สาหรบั หลกั สูตรท้องถ่ินเมืองระยอง
พ้นื ท่ีการศกึ ษาลุ่มนา้ ประแส
หน้า 22
โครงการคลงั ขอ้ มูลสารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บรษิ ัท พที ที ี โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) และมหาวิทยาลัยศลิ ปากร
บทท่ี 1 ประวตั วิ ฒั นธรรมและธรรมชาติลมุ่ น้าประแส
ระยะเวลา 50 นาที
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพูดคุยและแลกเปล่ียนข้อมูลเก่ียวกับเร่ืองเล่า ตานาน
10 นาที ประวัติศาสตร์ โบราณคดี แหล่งมรดกวัฒนธรรมสาคัญที่ตนเองรู้จักในพื้นที่
เมืองระยอง (เน้นพ้ืนท่ีลมุ่ แมน่ า้ ประแส – อาเภอแกลง)
เล่นเกมส์ทดสอบความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และโบราณคดี
เมืองระยอง
ชมวดี ีทศั นเ์ นอื้ หา บทที่ 1 ประวัติวฒั นธรรมและธรรมชาตลิ ุ่มนา้ ประแส
25 นาที
1. กระบวนการศกึ ษาทางโบราณคดี
2. ชือ่ บา้ นนามเมืองในลุ่มนา้ ประแส
3. เมอื งแกลงสมัยก่อนประวัติศาสตรถ์ ึงต้นพทุ ธศตวรรษที่ 20
4. เมอื งแกลงในสมยั อยธุ ยาถงึ รตั นโกสนิ ทร์
5. เสน้ ทางสายประวัติศาสตรจ์ ากหลกั ฐานทางโบราณคดี
6. อดีตจากใตด้ ิน - การขุดคน้ ทางโบราณคดี ณ วดั ราชบลั ลังก์ประดษิ ฐาราม อาเภอแกลง
จงั หวัดระยอง
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันอภิปรายข้อมูล เปรียบเทียบเน้ือหา และสรุป
15 นาที ประเด็นทีค่ วรรหู้ รอื น่าสนใจจากวีดที ัศน์
เลน่ เกมส์ทดสอบความร้ภู ายหลังจากการชมวีดีทัศน์
เสนอแนะแหล่งข้อมูลหรือสถานที่ท่ีใช้สาหรับศึกษาเนื้อหาเพ่ิมเติมใน
ประเด็นทางด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีเมืองระยอง (เน้นพื้นที่ลุ่มแม่น้า
ประแส – อาเภอแกลง)
หนา้ 23
โครงการคลงั ขอ้ มลู สารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บรษิ ทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากดั (มหาชน) และมหาวิทยาลยั ศิลปากร
ตวั อยา่ งคาถามทดสอบความรู้ประวตั ิวัฒนธรรมและธรรมชาตลิ ุ่มนา้ ประแส
คาถามกอ่ นการชมวีดที ัศน์
1. โบราณคดเี ป็นวิชาทีศ่ กึ ษาเกี่ยวกับมนุษย์ ก. ถกู
ข. ผิด
2. วัดใดต่อไปน้ีไม่สัมพันธ์กับการเดินทัพของ ก. วัดบ้านคา่ ย
พระเจ้าตากสิน ผ่ าน หั วเ มื อ งช าย ท ะ เ ล ข. วดั ราชบัลลังก์ประดิษฐาราม
ตะวนั ออก ค. วดั บ้านแลง
ง. วัดโพธท์ิ องพทุ ธาราม
3. ชุมชนเก่าของเมืองระยองและเมืองแกลง ก. ใช่
นิยมตั้งถ่ินฐานริมชายฝ่ังมากกว่าภายใน ข. ไมใ่ ช่
แผ่นดนิ ใช่หรือไม่
4. ชื่อถนน “สุนทรโวหาร” ตรงกันกับชื่อ ก. พระเจา้ ตากสิน
ของผูใ้ ด ข. สุนทรภู่
ค. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั
ง. ออกพระราชภกั ดี เจ้าเมอื งระยอง
5. อาเภอแกลงแต่เดิมขึ้นอยู่กับจังหวัดจันทบุรี ก. ใช่
ใช่หรือไม่ ข. ไม่ใช่
คาถามหลงั จากการชมวีดที ศั น์
1. ขอ้ ใดไม่ใช่หลกั ฐานทางโบราณคดี ก. นิเวศวัตถุ
ข. ศลิ ปวตั ถุ
ค. โบราณวตั ถุ
ง. ร่องรอยผดิ วสิ ยั
2. “บริเวณที่ลุม่ กวา้ งใหญ่ซงึ่ อาจมนี ้าขังหรือไม่มี ก. ชาก
กไ็ ด้” เป็นลกั ษณะของภมู ิประเทศรูปแบบใด ข. โคก
ค. หว้ ย
ง. มาบ
หน้า 24
โครงการคลงั ขอ้ มลู สารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บรษิ ทั พีทีที โกลบอล เคมคิ อล จากัด (มหาชน) และมหาวิทยาลยั ศิลปากร
3. “ช า ก ” เ ป็ น ค า ท่ี ใ ช้ เ รี ย ก ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ ก. ทร่ี าบนา้ ทว่ มถงึ
ลักษณะใด ข. ลานตะพกั ระดบั กลางที่นา้ ไมท่ ว่ ม
ค. บรเิ วณทเ่ี คยเปน็ ชายหาดในอดตี
ง. พ้ืนที่ป่าเดมิ ท่ีถูกแพว้ ถางเพ่ืออย่อู าศยั
4. นิราศเมืองแกลง แตง่ ขน้ึ ในรชั กาลใด ก. สมเดจ็ พระเจ้ากรงุ ธนบุรี
ข. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลก
มหาราช
ค. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั
ง. พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยหู่ ัว
5. แหล่งโบราณคดีถ้าเสือเท้ว อาเภอแกลง ก. ยุคก่อนประวัติศาสตร์
เป็นแหล่งโบราณคดใี นชว่ งเวลาใด ข. สมยั วฒั นธรรมเขมร
ค. สมัยรตั นโกสินทร์
ง. สมยั อยธุ ยา
6. การขุดค้นทางโบราณคดีท่ีวัดราชบัลลังก์ ก. ใช่
ประดิษฐาราม พ.ศ. 2562 พบหลักฐานทาง ข. ไม่ใช่
โบราณคดีท่ีเชื่อมโยงกับพระเจา้ ตากสนิ ได้ชัดเจน
หรอื ไม่
7. เจดีย์เก่าของวัดราชบัลลังก์ประดิษฐารามมี ก. วัดสมมติเทพฐาปนาราม
รูปแบบสถาปัตยกรรมคล้ายคลึงเจดีย์ของวัดใด ข. พระเจดยี ก์ ลางนา้
ค. วดั บ้านเกา่
ในจงั หวดั ระยอง
ง. วดั โพธท์ิ องพุทธาราม
8. ช่ือเดิมของเมืองในบริเวณพื้นที่ลุ่มน้าประแส ก. บา้ นคราม
คือชอ่ื ใด ข. เมืองพะแส
ค. บา้ นกร่า
ง. เมอื งศรโี คตรบรู ณ์
9. เพราะเหตุใดจึงไม่พบหลักฐานการตั้งถ่ินฐาน ก. มนี า้ ทว่ มสูงในช่วงฤดูฝน
ของผู้คนในยุคก่อนประวัติศาสตร์ในบริเวณ ข. ไมม่ แี หลง่ นา้ สาหรับอุปโภคหรอื บริโภค
ค. เปน็ ทะเล จึงตั้งถิน่ ฐานไมไ่ ด้
ทีร่ าบชายฝง่ั ปัจจบุ นั ของจังหวดั ระยอง ง. ไม่มแี หลง่ อาหาร
10. บ้านคอนเค็ดหมายถึงบริเวณใดในเขต ก. บา้ นปากน้าประแส
อาเภอแกลง ข. ชมุ ชนวดั โพธ์ิทองพุทธาราม
ค. ชุมชนทะเลนอ้ ย วดั ราชบลั ลงั กป์ ระดิษฐาราม
ง. ตวั เมืองอาเภอแกลงในปัจจบุ ัน
หนา้ 25
โครงการคลังข้อมูลสารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บริษทั พที ที ี โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) และมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
เอกสารประกอบเพม่ิ เติม
รายงานวจิ ัยฉบับสมบรู ณ์
โครงการวจิ ัยประวัตวิ ฒั นธรรม ธรรมชาติ และเสน้ ทางสายประวตั ศิ าสตร์
เมืองระยอง และโครงการโบราณคดีระยอง
หนา้ 26
โครงการคลงั ข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บริษัท พที ที ี โกลบอล เคมคิ อล จากดั (มหาชน) และมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
บทที่ 2 เอกสารโบราณลุ่มน้าประแส
ระยะเวลา 50 นาที
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพูดคุยและแลกเปล่ียนข้อมูลเกี่ยวกับเอกสารโบราณ อาทิ
10 นาที ลักษณะ รูปแบบ ประเภท สถานที่จัดเก็บ คุณค่า ความสาคัญ หรือเนื้อหา
(เนน้ พ้ืนท่ีลมุ่ แม่น้าประแส – อาเภอแกลง)
เลน่ เกมส์ทดสอบความร้เู บอ้ื งต้นเก่ียวกับเอกสารโบราณเมอื งระยอง
ชมวีดที ัศน์เน้ือหา บทที่ 2 เอกสารโบราณล่มุ น้าประแส
20 นาที
1. กระบวนการศกึ ษาเอกสารโบราณ
2. เอกสารโบราณท่พี บในลุ่มนา้ ประแส
3. นานาสาระจากเอกสารโบราณลมุ่ นา้ ประแส
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันอภิปรายข้อมูล เปรียบเทียบเนื้อหา และสรุป
20 นาที ประเดน็ ท่ีควรรหู้ รือนา่ สนใจจากวดี ีทศั น์
เลน่ เกมสท์ ดสอบความรภู้ ายหลังจากการชมวดี ที ัศน์
เสนอแนะแหล่งข้อมูลหรือสถานท่ีท่ีใช้สาหรับศึกษาเน้ือหาเพ่ิมเติมใน
ประเด็นทางด้านเอกสารโบราณเมืองระยอง (เน้นพ้ืนที่ลุ่มแม่น้าประแส –
อาเภอแกลง)
หนา้ 27
โครงการคลังข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บรษิ ทั พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากดั (มหาชน) และมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
ตวั อย่างคาถามทดสอบความรเู้ อกสารโบราณลุ่มนา้ ประแส
คาถามก่อนการชมวีดที ัศน์
1. ข้อใดไม่ใช่หลกั ฐานประเภทเอกสารโบราณ ก. ศิลาจารึกหลกั ท่ี 1 พอ่ ขนุ รามคาแหง
ข. สมดุ พระมาลยั เรอื่ ง เวสสนั ดรชาดก
ค. ภาพเขยี นสี
ง. ตารายา
2. การศึกษาเอกสารโบราณควรคัดเลือกเฉพาะ ก. ใช่
เอกสารที่มีตัวอักษรหรือภาษาไทยเท่าน้ัน ข. ไมใ่ ช่
เนือ่ งจากจะมีเน้อื หาทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับประเทศไทย
3. พื ช ช นิ ด ใ ด ที่ ส า ม า ร ถ น า ม า ใ ช้ บั น ทึ ก ก. ต้นไผ่
ตวั อักษรได้ ข. ต้นตาล
ค. ต้นหกู วาง
ง. ตน้ ลาน
4. วัดราชบัลลงั กป์ ระดษิ ฐารามได้มกี ารขุดค้นพบ ก. ดาบ
วตั ถุชน้ิ หนงึ่ ซง่ึ เช่ือกันว่าเป็นของพระเจา้ ตากสิน ข. เสอ้ื เกราะ
ค. สร้อยพระ
วัตถุน้ันคือสิง่ ใด
ง. หมวก
5. ตารายาท่ีพบในลุ่มน้าประแสพบข้อความที่ ก. จรงิ
กล่าวถึง การนาสัตว์ทะเลมาเป็นส่วนประกอบใน ข. ไม่จรงิ
การทายา จรงิ หรือไม่
คาถามหลังจากการชมวีดีทศั น์
1. ข้อใดไม่ใช่หลักการ 5 ส ที่ใช้สาหรับศึกษา ก. อกั ษร
เอกสารโบราณ ข. ภาษา
ค. สาระ
ง. สถิติ
หนา้ 28
โครงการคลงั ข้อมูลสารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บรษิ ทั พีทีที โกลบอล เคมคิ อล จากัด (มหาชน) และมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
2. เอกสารในภาพดงั กล่าวเรียกวา่ อะไร ก. สมดุ ขอ่ ย
ข. ศลิ าจารึก
ค. สมดุ ไทย
ง. คัมภรี ใ์ บลาน
3. “เมืองรแหง” ปัจจุบันต้ังอยู่ในจังหวัดตราด ก. ถูก
ถูกตอ้ งหรือไม่ ข. ไมถ่ กู
4. การเดินทางมาทาบุญและสร้างคัมภีร์ใบลาน ก. พระนเรศวรมหาราช
ถวายวัดราชบัลลังก์ประดิษฐารามของมหาอิน ข. รัชกาลที่ 1
เมืองระแหงน้ัน สอดคล้องกันกับเหตุการณ์ ค. รชั กาลท่ี 5
ง. พระเจา้ ตากสิน
สงครามในสมัยใด
5. กัญชา สามารถนามาเป็นส่วนประกอบในการ ก. จรงิ
ทายาได้ จริงหรอื ไม่ ข. ไม่จรงิ
6. “ดูราลูกทารก น่ีแล กก กะ กอ กา จาไว้ให้ ก. ตาราเรยี น
อุษา ท่ีนี้นาจะว่า กอ กง” ข้อความดังกล่าว ข. คมั ภรี เ์ วชศาสตร์
ค. ตาราปลกู เรือน
คัดลอกมาจากตาราฉบบั ใด
ง. คัมภีรก์ ารสะกดคา
7. ปฐม ก กา เป็นตาราเรยี นทใี่ ช้ในสมยั ใด ก. พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช
ข. รชั กาลท่ี 9
ค. พญามังราย
ง. รชั กาลท่ี 5
8. เน้ือเร่ืองในคัมภีร์เวชศาสตร์ กล่าวถึงการรกั ษา ก. ถกู
โรคแผนโบราณและการใชย้ า ถกู ต้องหรือไม่ ข. ไม่ถกู
9. เพราะเหตุใด จังหวัดระยองถึงพบเอกสารตารา ก. พืชพันธ์ุมีความหลายจากท่ีตั้งของจังหวัด
ยาจานวนมากกวา่ พ้ืนทอี่ ื่น ระยองทอี่ ย่บู นเสน้ ศูนยส์ ูตร
ข. ที่ตง้ั ของจงั หวดั ระยองอยู่ก่ึงกลางระหวา่ งภูเขา
และทะเล
ค. พืชพันธุ์สมุนไพรจานวนมากถูกนามาค้าขายท่ี
จงั หวดั ระยอง
ง. จังหวัดระยองมีพระเกจิหรือหมอยาชื่อดังที่มี
ความรู้ความสามารถมากอาศัยอยู่เป็นจานวนมาก
หนา้ 29
โครงการคลงั ขอ้ มลู สารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บรษิ ทั พที ที ี โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) และมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
10. เพราะเหตุใด พ้ืนท่ีลุ่มน้าประแสจึงพบ ก. ตาราเรียนเล่มแรกของไทยเกดิ ขน้ึ ในชว่ งเวลาน้ี
ตาราเรียนท่ีเขียนข้ึนในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็น ข. กระทรวงธรรมการได้กาหนดให้ประแสเป็น
ศูนย์กลางของสถาบันการศึกษา
จานวนหลายรายการ
ค. รัชกาลท่ี 5 ได้ส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถ่ิน
เรียนรู้ภาษาและอักษรไทยมากข้นึ
ง. ต้นไม้ที่นามาผลิตกระดาษเพื่อทาตาราเรียน
สง่ ออกมาแปรรูปทโี่ รงงานบริเวณประแส
เอกสารประกอบเพม่ิ เตมิ
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการวิจัยด้านเอกสารโบราณ
หนา้ 30
โครงการคลังข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จากดั (มหาชน) และมหาวทิ ยาลัยศิลปากร
บทที่ 3 ศลิ ปกรรมล่มุ น้าประแส
ระยะเวลา 50 นาที
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพูดคุยและแลกเปลี่ยนข้อมูลเก่ียวกับงานศิลปกรรม อาทิ
10 นาที ประเภทงานศิลปกรรม ความแตกต่างและตัวอย่าง (ประติมากรรม
สถาปัตยกรรม จิตรกรรม งานประณีตศิลป์) เน้ือหาและรูปแบบงานศิลปกรรม
ในพุทธศาสนา คุณค่าหรือความสาคัญของวัดและชุมชนเก่าแก่ในพื้นท่ีเมือง
ระยอง (เน้นพ้นื ทีล่ ่มุ แม่นา้ ประแส – อาเภอแกลง)
เล่นเกมส์ทดสอบความรู้เบื้องตน้ เก่ียวกบั ศิลปกรรมเมอื งระยอง
ชมวีดที ัศนเ์ นื้อหา บทท่ี 3 ศิลปกรรมลุม่ น้าประแส
20 นาที
1. กระบวนการศึกษาทางประวตั ศิ าสตรศ์ ลิ ปะ
2. สถาปตั ยกรรมลุ่มน้าประแส
3. ประติมากรรมลุม่ นา้ ประแส
4. จิตรกรรมลมุ่ นา้ ประแส
5. ศลิ ปกรรมในชุมชนลุ่มนา้ ประแส : ท่ีอย่อู าศยั และศาลเจา้
6. อตั ลักษณ์ศลิ ปกรรมลมุ่ นา้ ประแส
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันอภิปรายข้อมูล เปรียบเทียบเนื้อหา และสรุป
20 นาที ประเดน็ ท่ีควรรหู้ รอื นา่ สนใจจากวดี ีทศั น์
เล่นเกมส์ทดสอบความรู้ภายหลงั จากการชมวดี ที ัศน์
เสนอแนะแหล่งข้อมูลหรือสถานท่ีที่ใช้สาหรับศึกษาเนื้อหาเพ่ิมเติมใน
ประเด็นทางด้านศิลปกรรมในเมืองระยอง (เน้นพ้ืนที่ลุ่มแม่น้าประแส –
อาเภอแกลง)
หนา้ 31
โครงการคลังข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บรษิ ทั พที ีที โกลบอล เคมิคอล จากดั (มหาชน) และมหาวิทยาลัยศิลปากร
ตวั อย่างคาถามทดสอบความรศู้ ิลปกรรมลมุ่ นา้ ประแส
คาถามก่อนการชมวดี ที ศั น์
1. สถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม และ ก. ใช่
งานประณีตศิลป์ เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา ข. ไมใ่ ช่
ศิลปกรรม ใช่หรอื ไม่
2. เจดียใ์ นภาพใดตงั้ อยู่บริเวณลุ่มน้าประแส
ก.
ข.
ค.
ง. ถกู ทกุ ขอ้
หน้า 32
โครงการคลังขอ้ มูลสารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บรษิ ัท พที ที ี โกลบอล เคมคิ อล จากัด (มหาชน) และมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
3. จิตรกรรมที่บนสมุดไทยในภาพดังกล่าว เขียนเล่า ก. พระมาลัย
เรอื่ งราวใด ข. พทุ ธประวัติ
ค. รามเกียรต์ิ
ง. มหาชาตคิ าหลวง
4. บ้านในชมุ ชนปากนา้ ประแสออกแบบให้สอดคล้อง คาตอบ
กับอาชพี ใด เพราะเหตใุ ด อาชีพประมง และค้าขาย เพราะสร้างบ้านยน่ื
ลงไปในแม่น้าสาหรับจอดเรือ ลงสินค้า และ
คดั แยกปลา
5. ศาลเจ้าจนี มคี วามสาคัญอย่างไรต่อชมุ ชน คาตอบ
- ศนู ยก์ ลางของชมุ ชนชาวจีนในระยอง
- ศูนย์รวมความศักด์สิ ิทธขิ์ องชมุ ชน
- สถานที่ประกอบพิธีกรรมของชาวจีน
- แหล่งงานศิลปกรรมจีนในเมอื งระยอง
คาถามหลังจากการชมวีดีทศั น์
1. การศึกษางานศิลปกรรมมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่อื คัดลอก ก. ใช่
รูปแบบงานศิลปกรรมในอดีตไว้เป็นหลักฐาน ถูกต้อง ข. ไมใ่ ช่
หรือไม่
2. จงอธิบายลักษณะสาคัญของรูปแบบอุโบสถลุ่มน้า คาตอบ
ประแส อาคารขนาดเล็ก ก่อผนังสูง มีศาลาเป็นมุข
ตงั้ ขวางอยู่ดา้ นหนา้
3. อุโบสถแบบประเพณีสมัยใหม่ในลุ่มน้าประแส ก. เปน็ ผนังก่ออฐิ ถอื ปูน
มีการเปลยี่ นแปลงใดเกดิ ข้ึน ข. หน้าบันเปน็ ไมแ้ กะสลกั
หน้า 33
โครงการคลงั ข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บริษทั พที ที ี โกลบอล เคมิคอล จากดั (มหาชน) และมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร
ค. เปลย่ี นเครอ่ื งประดับจากไม้เป็นเหล็ก
ง. เปลี่ยนโครงสร้างจากเคร่ืองไม้มาเป็น
คอนกรตี
4. เจดีย์ทรงระฆังของวัดสมมติเทพฐาปนาราม ก. สมยั อยุธยา
สรา้ งขึน้ ในสมยั ใด ข. สมยั รชั กาลที่ 3
ค. สมยั รชั กาลที่ 5
ง. สมยั รชั กาลท่ี 9
5. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของพระพุทธรูปแบบพ้ืนถ่ินท่ี ก. พระพทุ ธรปู มขี นาดเท่ากนั
พบในลุ่มนา้ ประแส ข. ฝีมอื ช่างท้องถน่ิ
ค. ทรวดทรงไมส่ มสว่ น
ง. ถูกนาไปสรา้ งตานานหรือเรอ่ื งเลา่
6. พระพุทธรูปกลุ่มหน่ึงที่พบในเมืองระยองสามารถ ก. บ้านบ่อพลอย – จันทบุรี
สะท้อนถึงการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างเมืองระยองกับ ข. บ้านตที อง – อยธุ ยา
แหลง่ ผลิตพระพทุ ธรูปดังกลา่ วซ่ึงผลิตมาจากพื้นทใ่ี ด ค. บา้ นช่างหลอ่ – กรุงเทพ
ง. บา้ นบางพระ - ชลบรุ ี
7. ลกั ษณะจติ รกรรมฝาผนงั ท่ีพบทีว่ ัดอุดมธญั ญาวาส ก. อทิ ธพิ ลจีน สมัยรัชกาลท่ี 3
(ทุ่งควายกิน) เป็นจิตรกรรมไทยที่ได้รับอิทธิพลจาก ข. อิทธิพลอินเดยี สมยั อยุธยา
ค. อทิ ธพิ ลจีน สมัยรัชกาลที่ 9
ศลิ ปะใด และอยใู่ นช่วงอายุประมาณสมยั ใด
ง. อิทธิพลตะวันตก สมัยรชั กาลที่ 5 - 6
8. เทคนิคสาคัญที่ใช้ในการเขียนภาพจิตรกรรมบน ก. วาดตัวละครขนาดเลก็
สมุดพระมาลยั ของลมุ่ น้าประแส คอื เทคนคิ ใด ข. องคป์ ระกอบเป็นฉากทิวทศั นค์ อ่ นขา้ งมาก
ค. ระบายถมสที บึ ไมป่ ล่อยให้พ้ืนทว่ี า่ ง
ง. ถูกทกุ ข้อ
9. บ้านเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนปากน้าประแส ก. เรอื นไม้คา้ ขาย
มชี อื่ รปู แบบทางศลิ ปกรรมว่าอย่างไร ข. เรือนพ้ืนถ่ินแบบเรือนริมน้าหรือริมทะเล
ค. เรือนไม้ท่ีได้รับอิทธิพลรูปแบบจาก
ตา่ งประเทศ
ง. บ้านเรือนสมยั ใหม่
10. เราไม่พบศาลเจ้าของคนจีนกลุ่มใดในชุมชน ก. จนี แคะ
ปากนา้ ประแส ข. จนี แตจ้ วิ๋
ค. จีนไหหลา
ง. จีนฮกเก้ยี น
หนา้ 34
โครงการคลังข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บรษิ ัท พที ีที โกลบอล เคมคิ อล จากัด (มหาชน) และมหาวทิ ยาลัยศิลปากร
เอกสารประกอบเพิ่มเตมิ
รายงานวิจัยฉบับสมบรู ณ์
โครงการวิจยั ด้านศิลปกรรมและงานชา่ ง
หน้า 35
โครงการคลงั ข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมคิ อล จากัด (มหาชน) และมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
บทที่ 4 ชาตพิ ันธุ์และวถิ ชี มุ ชนลุ่มน้าประแส
ระยะเวลา 50 นาที
ผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมพดู คุยและแลกเปลย่ี นข้อมูลเกย่ี วกับชาตพิ นั ธ์แุ ละวถิ ีชุมชน
10 นาที อาทิ กลุ่มคนไทย กลุ่มคนจีน (จีนไหหลา จีนแต้จ๋ิว จีนฮกเก้ียน จีนแคะ)
ประวัติความเป็นมาของครอบครัวตนเอง ชุมชน และการประกอบอาชีพท่ี
สามารถพบเห็นไดใ้ นจงั หวดั ระยอง (การทาประมง การทาสวนผลไม้ การค้าขาย
และบริการ อุตสาหกรรม ฯลฯ) รูปแบบอาหารการกิน และกรรมวิธีการแปรรูป
อาหารหรือสัตว์ทะเลท่ีมีชื่อเสียงของจังหวัดระยอง (เน้นพ้ืนท่ีลุ่มแม่น้าประแส
– อาเภอแกลง)
เลน่ เกมส์ทดสอบความรเู้ บ้อื งตน้ เก่ียวกบั ชาติพันธ์ุและวิถีชุมชนเมืองระยอง
ชมวีดีทศั น์เนอ้ื หา บทที่ 4 ชาติพนั ธ์ุและวิถีชมุ ชนล่มุ น้าประแส
20 นาที
1. กระบวนการศกึ ษาทางมานษุ ยวิทยา
2. ความสาคญั ของลมุ่ น้าประแส
3. การตัง้ ถ่นิ ฐานและผู้คน
4. ประแส เมืองท่าแหง่ การค้าขายและการเดนิ ทาง
5. สามย่าน ศูนย์กลางทางเศรษฐกจิ แหง่ ใหมข่ องลมุ่ นา้ ประแส
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันอภิปรายข้อมูล เปรียบเทียบเน้ือหา และสรุป
20 นาที ประเด็นท่ีควรรู้หรือน่าสนใจจากวีดีทัศน์
เลน่ เกมส์ทดสอบความรู้ภายหลังจากการชมวีดีทัศน์
เสนอแนะแหล่งข้อมูลหรือสถานที่ท่ีใช้สาหรับศึกษาเนื้อหาเพ่ิมเติมใน
ประเด็นทางด้านชาติพันธ์ุและวิถีชุมชนในเมืองระยอง (เน้นพ้ืนท่ีลุ่มแม่น้า
ประแส – อาเภอแกลง)
หนา้ 36
โครงการคลังข้อมูลสารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บรษิ ทั พีทีที โกลบอล เคมคิ อล จากัด (มหาชน) และมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
ตัวอย่างคาถามทดสอบความรู้ชาตพิ นั ธแ์ุ ละวิถชี มุ ชนลุ่มนา้ ประแส
คาถามก่อนการชมวดี ีทศั น์
1. การสัมภาษณ์ผู้คนจะต้องกาหนดเฉพาะคนท่ีมี ก. ใช่
อายุมากกว่า 80 ปีขึ้นไป เนื่องจากจะได้ข้อมูล ข. ไมใ่ ช่
เกา่ แกข่ องชมุ ชนอย่างแท้จริง
2. แม่น้าประแส มีต้นกาเนิดมาจากภูเขาใดใน ก. เทอื กเขาจันทบุรี
ภมู ิภาคตะวันออก ข. เขาชะเมา
ค. เขาวง
ง. เทือกเขาบรรทัด
3. คาว่า “ประแสบน ” และ “ประแสล่า ง ” ก. ลาดับชนช้นั
สามารถใชส้ ือ่ ถงึ ความหมายในลกั ษณะใด ข. การแบ่งเขตการปกครอง
ค. ลักษณะทางภูมศิ าสตร์
ง. ไม่มีขอ้ ใดถกู
4. ภาพราวอวนจานวนมากบริเวณชุมชนปากน้า ก. การประมง
ประแสในอดีตนัน้ แสดงถงึ การประกอบชพี ใด ข. การค้าขาย
ค. การปลกู พชื พนั ธรุ์ ิมทะเล
ง. การทาอุตสาหกรรมแปรรปู ไม้
5. “สามย่าน” เป็นชุมชนใหม่ท่เี กดิ ขึ้นภายหลังจาก ก. ใช่
การตดั ถนนสขุ มุ วิท ใช่หรอื ไม่ ข. ไมใ่ ช่
คาถามหลงั จากการชมวดี ที ศั น์
1. เราสามารถนาเร่ืองราวหรือคาบอกเล่าท่ีได้มา ก. ใช่
จากการสัมภาษณ์ผู้คนมาใช้เป็นหลักฐานได้ ข. ไม่ใช่
โดยทนั ที ใช่หรอื ไม่
หน้า 37
โครงการคลังขอ้ มลู สารสนเทศศลิ ปวัฒนธรรมระยอง
บริษัท พีทีที โกลบอล เคมคิ อล จากัด (มหาชน) และมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
2. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดระยอง เป็น ก. ใช่
เทอื กเขาสลบั ซบั ซอ้ น ใช่หรอื ไม่ ข. ไม่ใช่
3. คาว่า “พรแี ซร์” ทส่ี นั นษิ ฐานว่าเปน็ ท่ีมาของคา ก. ทะเล
ว่า “ประแสร์” หมายถึงอะไร ข. ทงุ่ นา
ค. แม่นา้
ง. ลานกว้าง
4. สัตว์น้าชนดิ ใดพบมากบรเิ วณปากแมน่ ้าประแส ก. เคย
ข. กุ้งแม่น้า
ค. ปลากะพง
ง. กง้ั
5. ข้อใดคอื อปุ กรณไ์ ว้ใช้สาหรับดกั จับเคย ก. ลอบ
ข. ยอ
ค. เบด็
ง. อวน
6. ชาวบ้านในชุมชนปากน้าประแสเรียกเรือที่ทา ก. เรอื อีแปะ๊
หน้าที่ขนส่งสินค้าจากเรือเมล์มาให้พ่อค้าในชุมชน ข. เรอื เอ้ียมจุน้
ค. เรือฉลอม
ว่าเรืออะไร
ง. เรอื โป๊ะจา๊ ย
7. เรือกลไฟท่ีออกเดินทางจากพระนครไปยัง ก. เรอื หลวงประแส
เมืองตราด มีชือ่ ว่าอะไร ข. เรอื จกั รพงษ์
ค. เรอื จกั รี
ง. เรือทองขวานฟา้
8. ทักษะติดตัวของชาวจนี แตจ้ ิ๋ว คือทกั ษะด้านใด ก. เยบ็ ผ้า
ข. เล้ียงสตั ว์
ค. ค้าขาย
ง. ทอเส่ือ
9. สินค้าแปรรูปท่ีข้ึนช่ือของบ้านสามย่าน อาเภอ ก. ทเุ รียนกวน
แกลง คืออะไร ข. ปลาแดดเดียว
ค. ข้าวราง
ง. เสน้ กว๋ ยเตย๋ี ว
10. บ้านประแส กลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ก. ถกู
ที่มีบทบาทข้ึนมาแทนท่ี สามย่าน ภายหลังจากการ ข. ผิด
ตดั ถนนสุขมุ วิท
หนา้ 38
โครงการคลงั ข้อมลู สารสนเทศศลิ ปวฒั นธรรมระยอง
บรษิ ัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จากัด (มหาชน) และมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
เอกสารประกอบเพมิ่ เตมิ
รายงานวิจยั ฉบบั สมบูรณ์
โครงการวิจัยดา้ นชาตพิ ันธ์ุและวิถชี มุ ชน
หน้า 39