The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือเตรียมสอบ-เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน-สพฐ.-2 รหัส 888899

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sk.dsd0478, 2022-06-23 23:12:18

คู่มือเตรียมสอบ-เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน-สพฐ.-2 รหัส 888899

คู่มือเตรียมสอบ-เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน-สพฐ.-2 รหัส 888899

-248-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

แนวข้อสอบระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีว่าด้วยการรกั ษาความลับของทางราชการ

1. หนว่ ยงานใดเปน็ หน่วยงานกับการรกั ษาความลับทางราชการ
ก. กระทรวงกลาโหม
ข. กองบัญชาการตารวจแห่งชาติ
ค. สานักข่าวกรองแหง่ ชาติ สานักนายกรฐั มนตรี
ง. ศูนยร์ กั ษาความปลอดภยั กองบัญชาการทหารสงู สดุ กองบญั ชาการตารวจแห่งชาติ
เฉลย ค. สานักข่าวกรองแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี

2. องค์การรกั ษาความปลอดภัยฝุายทหารตามระเบยี บเกี่ยวกบั การรักษาความลบั ทางราชการคือหน่วยงานใด
ก. ศูนย์รักษาความปลอดภยั กองบัญชาการทหารสงู สุด
ข. สานักข่าวกรองแห่งชาติ สานกั นายกรัฐมนตรี
ค. กระทรวงกลาโหม
ง. กองบัญชาการตารวจแหง่ ชาติ
เฉลย ก. ศูนยร์ ักษาความปลอดภยั กองบัญชาการทหารสูงสดุ

3. ขอ้ ใดไมใ่ ชร่ ะดับชน้ั ความลับของข้อมูลข่าวสารลับตามระเบยี บเก่ียวกับการรักษาความลับทางราชการ
ก. ลบั ทส่ี ดุ
ข. ลบั มาก
ค. ลับ
ง. ลับมากที่สุด
เฉลย ง. ลับมากทสี่ ุด

4. ขอ้ มลู ข่าวสารลบั ซง่ึ หากเปิดเผยทัง้ หมดหรอื เพียงบางส่วนจะก่อให้เกดิ ความเสียหายแก่ประโยชนแ์ หง่ รฐั
อยา่ งร้ายแรงคือระดับช้ันความลบั ใด
ก. ลบั
ข. ลบั มาก
ค. ลับทส่ี ุด
ง. ปกปดิ
เฉลย ข. ลบั มาก

5. เคร่ืองหมายแสดงชั้นความลับให้ใชต้ ัวอักษรสีอะไร
ก. สนี า้ เงนิ
ข. สแี ดง
ค. สีอ่นื ท่สี ามารถมองเหน็ ได้เด่นและชดั เจน
ง. ถกู ทง้ั ข และ ค
เฉลย ง. ถูกทง้ั ข และ ค

6. ขอ้ มูลข่าวสารท่มี สี ภาพเป็นเอกสารใหแ้ สดงชน้ั ความลับท่สี ว่ นใดของกระดาษ
ก. กง่ึ กลางหน้ากระดาษ
ข. กลางหนา้ กระดาษด้านล่าง
ค. กลางหนา้ กระดาษด้านบน
ง. ถูกทงั้ ข และ ค
เฉลย ง. ถกู ท้ัง ข และ ค

-249-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

7. หวั หน้าหน่วยงานของรัฐแต่งตั้งเจ้าหนา้ ที่ดาเนินการเกี่ยวกบั ข้อมลู ข่าวสารลบั ขน้ึ ภายในหนว่ ยงานทีร่ บั ผดิ ชอบคือข้อใด
ก. นายทะเบียนข้อมลู ขา่ วสารลบั
ข. เจ้าหน้าทขี่ อ้ มูลข่าวสารลับ
ค. นกั จดั การข้อมูลข่าวสารลบั
ง. เจ้าหนา้ ท่ปี ฏิบัติการข้อมลู ข่าวสารลับ
เฉลย ก. นายทะเบียนขอ้ มลู ข่าวสารลบั

8. นายทะเบยี นข้อมูลขา่ วสารลบั อย่างน้อยต้องจัดให้มีทะเบียนข้อมลู ขา่ วสารลบั ประกอบด้วยข้อใดกลา่ วถูกต้อง
ก. ทะเบียนควบคุมข้อมูลข่าวสารลบั
ข. ทะเบียนสง่
ค. ทะเบียนรบั
ง. ถกู ทุกข้อ
เฉลย ง. ถกู ทุกขอ้

9. การสง่ ข้อมลู ข่าวสารลับออกนอกบริเวณหน่วยงานต้องบรรจตุ ามข้อใดกลา่ วถูกต้อง
ก. บรรจซุ องหรือภาชนะทบึ แสงอย่างม่นั คง
ข. บรรจซุ องหรือภาชนะทบึ แสงสองช้ันอย่างมั่นคง
ค. บรรจดุ ว้ ยซองสีน้าตาลอย่างมั่นคง
ง. บรรจุด้วยซองสีขาวอยา่ งม่ันคง
เฉลย ข. บรรจุซองหรอื ภาชนะทึบแสงสองชน้ั อยา่ งมน่ั คง

10. กรณที ีจ่ ะสง่ั ทาลายขอ้ มลู ข่าวสารลบั ชนั้ ลบั ทีส่ ดุ ตอ้ งสง่ ใหห้ นว่ ยงานใดพจิ ารณากอ่ นว่าไมม่ คี ุณคา่ ในการเกบ็ รักษา
ก. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
ข. สานกั ขา่ วกรองแห่งชาติ
ค. ศนู ย์รกั ษาความปลอดภยั กองบัญชาการทหารสูงสุด
ง. กองบัญชาการตารวจแห่งชาติ
เฉลย ก. หอจดหมายเหตุแห่งชาติ

11. ในการส่ังทาลายขอ้ มูลข่าวสารลับให้จัดทาใบรบั รองการทาลายขอ้ มูลข่าวสารลับดว้ ย ใบรบั รองการทาลาย
ให้เก็บรกั ษาไว้เป็นหลักฐานไม่น้อยกวา่ กี่ปี
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 5 ปี
ง. 10 ปี
เฉลย ก. 1 ปี

12. การปรับชนั้ ความลบั หมายความวา่ อยา่ งไรระเบยี บว่าด้วยการรักษาความลบั ของทางราชการ
ก. การเปล่ยี นแปลงข้อมูลข่าวสารลับ
ข. การยกเลกิ ช้ันความลบั ของขอ้ มูลขา่ วสารลบั
ค. การลดหรอื เพิ่มช้นั ความลับของขอ้ มูลข่าวสารลบั
ง. ถูกทงั้ ข และ ค
เฉลย ง. ถกู ท้งั ข และ ค

-250-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

แนวข้อสอบระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยการรกั ษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และแก้ไขเพิ่มเติม

1. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยการรักษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 ประกาศใช้เม่อื ใด
ก. ๑1 มีนาคม ๒๕๕๒
ข. ๑2 มีนาคม ๒๕๕๒
ค. ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๒
ง. ๑4 มนี าคม ๒๕๕๒
เฉลย ค. ๑๓ มนี าคม ๒๕๕๒

2. ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยการรักษาความปลอดภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 มีผลบงั คับใช้เมอ่ื ใด
ก. นบั ถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ต้นไป
ข. 30 วัน
ค. 60 วนั
ง. 90 วัน
เฉลย ง. 90 วัน

3. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการรักษาความปลอดภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2552 ให้ยกเลิกระเบยี บใด ข้อ
ใดกลา่ วถูกต้อง
ก. ระเบยี บว่าดว้ ยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517
ข. ระเบียบวา่ ด้วยการรักษาความปลอดภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2519
ค. ระเบยี บว่าดว้ ยการรกั ษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2522
ง. ระเบยี บว่าด้วยการรักษาความปลอดภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2535
เฉลย ก. ระเบยี บว่าดว้ ยการรักษาความปลอดภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2517

4. ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ข้อมูลข่าวสาร
บริภัณฑ์ ยุทธภัณฑ์ที่สงวน การรหัส ประมวลลับ และส่ิงอื่นใดบรรดาที่ถือว่าเป็นความลับของทางราชการ
หมายความว่าอย่างไร
ก. ส่งิ ทเ่ี ปน็ ความลบั ของทางราชการ
ข. การจารกรรม
ค. บรภิ ณั ฑ์
ง. ยทุ ธภณั ฑ์
เฉลย ก. ส่ิงที่เปน็ ความลบั ของทางราชการ

5. ส่ิงท่ีเป็นความลับของทางราชการ หมายความว่าอย่างไรตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษา
ความปลอดภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552
ก. ขอ้ มลู ข่าวสาร บรภิ ัณฑ์ ยุทธภณั ฑ์ ที่สงวน
ข. ข้อมูลข่าวสาร บรภิ ัณฑ์ ยุทธภณั ฑ์ ท่สี งวน การรหัส ประมวลลบั
ค. ข้อมลู ขา่ วสาร บริภัณฑ์ ยุทธภณั ฑ์
ง. ข้อมลู ข่าวสาร บริภัณฑ์ ยุทธภณั ฑ์ ทีส่ งวน การรหัส
เฉลย ข. ข้อมลู ขา่ วสาร บริภณั ฑ์ ยุทธภณั ฑ์ ที่สงวน การรหสั ประมวลลับ

-251-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

6. บรภิ ัณฑ์ หมายความว่า ตามระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552
ก. เครื่องจกั ร เครือ่ งมือ
ข. เครือ่ งกล สง่ิ อุปกรณ์
ค. ส่งิ อืน่ ที่ กรช. ประกาศกาหนด
ง. ถกู ทกุ ขอ้
เฉลย ง. ถกู ทุกข้อ

7. ตามระเบียบสานักนายกรฐั มนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 สิ่งของท้ังหลายท่ีใช้
ประจากาย หรอื ประจาหน่วยกาลังถอื อาวุธ ของทางราชการ และสง่ิ อื่นที่ กรช.ประกาศกาหนด คอื ข้อใด
ก. ยทุ ธภัณฑ์
ข. บริภัณฑ์
ค. การจารกรรม
ง. ส่งิ ทเี่ ปน็ ความลับของทางราชการ
เฉลย ก. ยุทธภัณฑ์

8. ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ เครื่องจักร เคร่ืองมือ เคร่ืองกล
ส่งิ อุปกรณ์ หมายความว่าอยา่ งไร
ก. ยุทธภณั ฑ์
ข. บริภณั ฑ์
ค. การจารกรรม
ง. ส่งิ ท่ีเปน็ ความลบั ของทางราชการ
เฉลย ข. บรภิ ัณฑ์

9. ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ การกระทาใด ๆ ท่ีสร้างความปั่นปุวน

ใหป้ ระชาชนเกิดความหวาดกลัว หรอื เพ่ือขเู่ ขญ็ หรือบีบบังคับรฐั บาล หรือองคก์ ารระหวา่ งประเทศ คือข้อใด

ก. การกอ่ วินาศกรรม

ข. การบอ่ นทาลาย

ค. การกอ่ การร้าย
ง. การจารกรรม
เฉลย ค. การก่อการรา้ ย

10. ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ การกระทาใด ๆ เพื่อทาลาย ทา
ความเสยี หายตอ่ ทรพั ย์สนิ วัสดุ ข้อมูลขา่ วสาร อาคาร สถานท่ี ยุทธปัจจัย ที่สงวน สาธารณูปโภค และสิ่ง
อานวยความสะดวก คอื ขอ้ ใด
ก. การก่อวนิ าศกรรม
ข. การบอ่ นทาลาย
ค. การก่อการรา้ ย
ง. การจารกรรม
เฉลย ก. การก่อวินาศกรรม

-252-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

11. ตามระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรวี า่ ด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ การกระทาใด ๆ โดยทางลับเพ่ือให้
ไดล้ ่วงรู้หรอื ไดไ้ ปหรอื ส่งส่งิ ที่เปน็ ความลบั ของทางราชการ คือขอ้ ใด
ก. การก่อวนิ าศกรรม
ข. การบ่อนทาลาย
ค. การกอ่ การร้าย
ง. การจารกรรม
เฉลย ง. การจารกรรม

12. ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ การกระทาใด ๆ ที่มุ่งก่อให้เกิด
ความแตกแยก ความป่ันปุวน ความกระด้างกระเด่ือง ซ่ึงนาไปสู่การก่อความไม่สงบ หรือความอ่อนแอ
ภายในชาติ คือข้อใด
ก. การกอ่ วินาศกรรม
ข. การบอ่ นทาลาย
ค. การก่อการรา้ ย
ง. การจารกรรม
เฉลย ข. การบอ่ นทาลาย

13. ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยการรกั ษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 ข้อมูลข่าวสารตาม
กฎหมายว่าด้วยขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ คือขอ้ ใด
ก. ประมวลลับ
ข. ยทุ ธภัณฑ์
ค. ขอ้ มูลข่าวสาร
ง. ท่ีสงวน
เฉลย ค. ข้อมลู ข่าวสาร

14. ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 “รั่วไหล”
หมายความวา่ อยา่ งไร
ก. สิ่งที่เป็นความลับของทางราชการได้ทราบโดยบุคคลผู้ไม่มีอานาจหนา้ ที่
ข. ส่งิ ท่ีหน่วยงานรฐั ไม่ใหข้ ้อมูลต่างๆของประเทศมีการไหลออกนอกประเทศ
ค. สง่ิ ท่ีทางราชการรักษาไว้เพ่ือทางการเมืองของประเทศ
ง. ถูกต้องทุกข้อ
เฉลย ก. ส่ิงท่ีเปน็ ความลบั ของทางราชการไดท้ ราบโดยบุคคลผไู้ มม่ ีอานาจหนา้ ที่

15. ตามระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการรักษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 คณะกรรมการ
นโยบายรกั ษาความปลอดภยั แห่งชาติมชี อ่ื ย่อว่าอย่างไร
ก. ค.ก.ร.ช.
ข. ค.กรช
ค. ก.ร.ช.
ง. กรช
เฉลย ง. กรช

-253-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

16. ตามระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยการรกั ษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 มาตรการและการ
ดาเนินการที่กาหนดขึ้นเพื่อพิทักษ์รักษาและคุ้มครองปูองกันส่ิงท่ีเป็นความลับของราชการ ตลอดจน
หน่วยงานของรัฐเจ้าหน้าท่ีของรัฐ และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ให้พ้นจากการรั่วไหลของการจารกรรม
คือขอ้ ใด
ก. การักษาความปลอดภัยแหง่ ชาติ
ข. การปอู งกนั รั่วไหล
ค. ประมวลความลบั
ง. สง่ิ ทเี่ ป็นความลับของทางราชการ
เฉลย ก. การกั ษาความปลอดภัยแห่งชาติ

17. องค์การรักษาความปลอดภัย หมายความว่าอย่างไร ตามระเบียบว่าด้วยสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ
รักษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2552
ก. สานักข่าวกรองแห่งชาติ สานกั นายกรฐั มนตรี หรือศูนย์รักษาความปลอดภยั
ข. กองบญั ชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม
ค. กองบัญชา การตารวจสนั ติบาล สานักงานตารวจแห่งชาติ แล้วแตก่ รณี
ง. ถกู ทุกข้อ
เฉลย ง. ถูกทุกขอ้

18. บคุ คลใดรักษาการตามระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการรกั ษาความปลอดภัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552
ก. รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหม
ข. ผู้บังคบั บัญชาสานักงานตารวจแหง่ ชาติ
ค. นายกรัฐมนตรี
ง. รองนายกรฐั มนตรีฝุายความมน่ั คง
เฉลย ค. นายกรัฐมนตรี

19. ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 องค์การรักษา
ความปลอดภัยฝาุ ยพลเรอื นศูนยร์ กั ษาความปลอดภยั กองบัญชาการกองทพั ไทย คือหนว่ ยงานตามข้อใด
ก. กองบัญชาการตารวจสนั ติบาล สานักงานตารวจแหง่ ชาติ
ข. สภาความมั่นคงแห่งชาติ สานกั นายกรัฐมนตรี
ค. สานักข่าวกรองแหง่ ชาติ สานกั นายกรัฐมนตรี
ง. ถูกทุกขอ้
เฉลย ค. สานกั ข่าวกรองแห่งชาติ สานกั นายกรัฐมนตรี

20. ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 องค์การรักษา
ความปลอดภัยฝาุ ยตารวจ คือหน่วยงานตามขอ้ ใด
ก. กองบัญชาการตารวจสันติบาล สานักงานตารวจแห่งชาติ
ข. ศูนย์รักษาความปลอดภยั กองบัญชาการกองทัพไทย
ค. สานักขา่ วกรองแห่งชาติ สานกั นายกรฐั มนตรี
ง. สภาความม่ันคงแห่งชาติ สานักนายกรฐั มนตรี
เฉลย ก. กองบัญชาการตารวจสันตบิ าล สานกั งานตารวจแหง่ ชาติ

-254-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

21. ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 องค์การรักษา
ความปลอดภัยฝุายทหาร คอื หน่วยงานตามข้อใด
ก. กองบญั ชาการตารวจสนั ติบาล สานักงานตารวจแห่งชาติ
ข. ศนู ย์รักษาความปลอดภยั กองบัญชาการกองทพั ไทย
ค. สานักขา่ วกรองแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี
ง. สภาความมนั่ คงแหง่ ชาติ สานกั นายกรัฐมนตรี
เฉลย ข. ศูนย์รักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

22. ตามระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรกั ษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ทุกเวลาอย่างน้อย
กีป่ ีใหน้ ายกรัฐมนตรีจดั ใหม้ ีการทบทวนการปฏิบัตติ ามระเบียบนี้
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
ค. 4 ปี
ง. 5 ปี
เฉลย ง. 5 ปี

23. ตามระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ชนั้ ความลับของสิ่ง
ท่เี ปน็ ความลับของทางราชการ แบงออกเปน็ กชี่ ้นั
ก. 1 ชัน้
ข. 2 ชั้น
ค. 3 ช้ัน
ง. 4 ชัน้
เฉลย ค. 3 ช้นั

24. ตามระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการรักษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ 2552 ชัน้ ความลับ คือขอ้ ใด
ก. ลบั ทส่ี ุด (TOP SECRET)
ข. ลับมาก (SECRET)
ค. ลบั (CONFIDENTIAL)
ง. ถกู ทุกขอ้
เฉลย ง. ถูกทกุ ข้อ

25. ลบั ทส่ี ุด (TOP SECRET) หมายความว่า ตามระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรวี า่ ด้วยการรกั ษาความปลอดภัย
แห่งชาติ 2552
ก. ความลบั ท่มี คี วามสาคัญทส่ี ดุ เก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน
ซ่ึงหากความลับดังกล่าวทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน ร่ัวไหลไปถึงบุคคลผู้ไมมีหน้าที่ได ทราบ จะทาให้
เกิดความเสียหายตอ่ ความม่นั คงและผลประโยชน แห่งงรฐั อย่างร้ายแรงท่ีสุด
ข. ความลบั ทม่ี ีความสาคัญมากเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน
ซึ่งหากความลับดังกล่าวท้ังหมดหรือเพียงบางส่วนร่ัวไหล ไปถึงบุคคลผู้ไมมีหน้าท่ีได ทราบ จะทาให้
เกดิ ความเสียหายตอ่ ความม่ันคงและผลประโยชนแห่งรฐั อย่างร้ายแรง

-255-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

ค. ความลับที่มีความสาคัญเกี่ยวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ซ่ึง
หากความลบั ดงั กล่าวท้ังหมดหรือเพียงบางส่วนร่ัวไหล ไปถึงบุคคลผู้ไมมีหน้าที่ได ทราบ จะทาให้ เกิด
ความเสยี หายตอ่ ความม่นั คงและผลประโยชนแห่งรัฐ

ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ก. ความลับที่มีความสาคัญท่ีสุดเกี่ยวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่าของ
แผ่นดนิ ซ่งึ หากความลับดงั กล่าวท้ังหมดหรือเพียงบางส่วน รวั่ ไหลไปถึงบุคคลผู้ไมมีหน้าที่ได ทราบ จะทา
ให้ เกดิ ความเสียหายตอ่ ความม่นั คงและผลประโยชน แห่งงรัฐอย่างร้ายแรงที่สดุ

26. ลับมาก (SECRET) หมายความว่า ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัย
แหง่ ชาติ 2552
ก. ความลับที่มคี วามสาคัญท่สี ุดเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานท่ี และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน
ซึ่งหากความลับดังกล่าวทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน รั่วไหลไปถึงบุคคลผู้ไมมีหน้าที่ได ทราบ จะทาให้
เกดิ ความเสยี หายตอ่ ความมั่นคงและผลประโยชน แห่งงรัฐอย่างร้ายแรงทสี่ ุด
ข. ความลบั ที่มีความสาคัญมากเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน
ซ่ึงหากความลับดังกล่าวท้ังหมดหรือเพียงบางส่วนรั่วไหล ไปถึงบุคคลผู้ไมมีหน้าที่ได ทราบ จะทาให้
เกดิ ความเสียหายตอ่ ความมนั่ คงและผลประโยชนแห่งรัฐอย่างร้ายแรง
ค. ความลับที่มีความสาคัญเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานท่ี และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ซึ่ง
หากความลับดงั กล่าวทง้ั หมดหรอื เพียงบางส่วนร่ัวไหล ไปถึงบุคคลผู้ไมมีหน้าที่ได ทราบ จะทาให้ เกิด
ความเสยี หายตอ่ ความม่นั คงและผลประโยชนแห่งรัฐ
ง. ถกู ทุกขอ้
เฉลย ข. ความลับท่ีมีความสาคัญมากเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่าของ
แผ่นดนิ ซึง่ หากความลบั ดังกล่าวทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนรั่วไหล ไปถึงบุคคลผู้ไมมีหน้าท่ีไดทราบ จะทา
ให้ เกดิ ความเสียหายตอ่ ความมน่ั คงและผลประโยชนแหง่ รฐั อย่างร้ายแรง

27. ลับ (CONFIDENTIAL) หมายความว่า ตามระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรวี ่าด้วยการรักษาความปลอดภยั
แห่งชาติ 2552
ก. ความลับที่มคี วามสาคญั ท่สี ุดเก่ยี วกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานท่ี และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน
ซึ่งหากความลับดังกล่าวทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน รั่วไหลไปถึงบุคคลผู้ไมมีหน้าท่ีได ทราบ จะทาให้
เกดิ ความเสียหายตอ่ ความมัน่ คงและผลประโยชน แหง่ งรฐั อย่างร้ายแรงทีส่ ดุ
ข. ความลับทีม่ ีความสาคัญมากเกี่ยวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานท่ี และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน
ซึ่งหากความลับดังกล่าวท้ังหมดหรือเพียงบางส่วนร่ัวไหล ไปถึงบุคคลผู้ไมมีหน้าที่ได ทราบ จะทาให้
เกิดความเสยี หายตอ่ ความม่นั คงและผลประโยชนแหง่ รฐั อย่างร้ายแรง
ค. ความลับท่ีมีความสาคัญเกี่ยวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานท่ี และทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน ซ่ึง
หากความลบั ดังกล่าวทง้ั หมดหรือเพียงบางส่วนรั่วไหล ไปถึงบุคคลผู้ไมมีหน้าท่ีได ทราบ จะทาให้ เกิด
ความเสียหายตอ่ ความมน่ั คงและผลประโยชนแหง่ รฐั
ง. ถูกทุกขอ้
เฉลย ค. ความลับที่มีความสาคัญเก่ียวกับบุคคลข้อมูลข่าวสาร วัตถุ สถานที่ และทรัพย์สินมีค่าของ
แผน่ ดิน ซงึ่ หากความลบั ดังกล่าวทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนรั่วไหล ไปถึงบุคคลผู้ไมมีหน้าท่ีไดทราบ จะทา
ให้ เกิดความเสยี หายตอ่ ความมัน่ คงและผลประโยชนแห่งรฐั

-256-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

28. ตามระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรวี ่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ 2552 คณะกรรมการนโยบาย
รักษาความปลอดภัยแหง่ ชาตมิ ีทง้ั หมดจานวนกีค่ น
ก. 21 คน
ข. 22 คน
ค. 23 คน
ง. 24 คน
เฉลย ค. 23 คน

29. ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ 2552 บุคคลใดเป็นประธาน
คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
ก. รัฐมนตรที ่นี ายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ข. ปลดั สานกั นายกรัฐมนตรี
ค. เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ง. เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี
เฉลย ก. รัฐมนตรที ่นี ายกรฐั มนตรีมอบหมาย

30. คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ มีอานาจหน้าที่ ขอ้ ใดถูกตอ้ ง
ก. กาหนดนโยบายและมาตรการการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
ข. กาหนดแนวทางปฏบิ ตั แิ ละอานวยการตามนโยบายและมาตรการการรักษาความปลอดภัย แห่งชาติ
ค. วินจิ ฉัยปัญหาทเ่ี ก่ียวข้องกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ง. ถกู ทกุ ข้อ

31. คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ มีอานาจหน้าที่ ขอ้ ใดถูกต้อง
ก. เสนอแนะการแกไขปรับปรุงระเบยี บนใี้ หม้ ีประสทิ ธภิ าพและเหมาะสมกบั สถานการณ
ข. แต่งต้ังคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างงหน่ึงอย่างใด ตามท่ี กรช.
มอบหมาย
ค. เชิญเจ้าหน้าทีข่ องรฐั หรือบคุ คลทีเ่ ก่ียวข้องกับการดาเนินงานเก่ียวกับนโยบายและ มาตรการการรักษา
ความปลอดภัยแห่งชาติมาช้ีแจง หรือเรียกเอกสารจากหน่วยงานของรัฐหรือบุคคล ที่เกี่ยวข้องเพ่ือ
ประกอบการพจิ ารณาได ตามความจาเป็น
ง. ถูกทุกขอ้
เฉลย ง. ถกู ทกุ ขอ้

32. คณะกรรมการนโยบายรักษาความปลอดภัยแหง่ ชาติ มอี านาจหน้าที่ ข้อใดถูกต้อง
ก. ออกประกาศเพือ่ ปฏิบตั กิ ารตามระเบียบน้ี
ข. ดาเนินการเก่ียวกับการรักษาความปลอดภัยแห่งชาตติ ามทค่ี ณะรฐั มนตรี หรอื นายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ค. ถูกท้ังขอ้ ก และ ข
ง. ไมม่ ขี ้อใดถกู
เฉลย ค. ถกู ท้ังขอ้ ก และ ข

-257-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

การจัดการงานเอกสาร

 กระบวนการบริหารงานเอกสาร

1. การผลิต คือ การจัดทาเอกสารเพ่ือใช้ในการดาเนินงาน เริ่มจากร่างเอกสารที่ต้องการ ติดต่อส่ือสาร
ให้ชดั เจนเข้าใจง่าย สะอาด สวยงาม ถกู ต้องตามรูปแบบและสานวนสภุ าพ

2. การนาไปใช้ คือ การนาเอกสารไปเสนอแก่ฝุายท่ีเก่ียวข้องเพ่ือดาเนินการตามต้องการ ทาให้เกิด
เอกสาร 2 ประเภท คือ
 เอกสารอย่รู ะหวา่ งการปฏบิ ัติงาน: อยูร่ ะหว่างขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน จะจดั เก็บอยหู่ น่วยงาน
ท่ี เก่ียวขอ้ ง
 เอกสารท่ีปฏิบัติเสร็จสน้ิ แล้ว: ทาการดาเนินการเสรจ็ แล้ว นาไปยงั สถานทจ่ี ดั เก็บส่วนใหญเ่ กบ็
ไว้ 1 ปี

3. การเก็บรักษา หมายถึง เอกสารที่ดาเนินการเสร็จสิ้นแล้วไปจาแนกตามลักษณะของการจัดเก็บ เช่น
เก็บตามช่ือบุคคล ตามสถานท่ี แล้วนาไปเก็บในแฟูมหรือตู้ แบบด้ังเดิม ส่วนสถานที่จัดเก็บจะต้องมี
ความปลอดภัย

 ข้นั ตอนการจัดเก็บเอกสาร
1. การนาเอกสารที่ใชแ้ ล้วไปเก็บ โดยมรี ะดับการจัดเก็บเอกสารในสานักงาน 3 ระดับ ดังนี้
 เอกสารอยรู่ ะหว่างการปฏบิ ัติงาน: ไม่สามารถจัดเกบ็ ไดจ้ นกว่าจะดาเนนิ การเสร็จสิ้น
 เอกสารท่ีปฏิบัติเสร็จสิ้นแล้ว: เมื่อผ่านกระบวนการเสร็จส้ินแล้ว ผู้มีหน้าท่ีจัดเก็บเอกสาร
จะต้องนาไปเก็บตามขนั้ ตอน
 เอกสารท่ีควรทาลาย : เอกสารท่ีเกบ็ มานาน เก่าเกนิ กว่าท่จี ะใช้ประโยชน์
2. การจัดทาดรรชนี : การจาแนกเอกสารออกตามวธิ กี ารจัดเกบ็ เช่น ตามลูกค้า ตามช่อื เรื่อง
3. การจดั ทารหัส : ทาข้อสังเกตลงบนเอกสาร เชน่ เขยี นหมายเลขลงบนเอกสาร
4. การอ้างอิง : จัดทารายการอา้ งอิงหรือจัดทาทะเบียนคู่มือ เพื่อใหท้ ราบว่าหมายเลขนัน้ คือเอกสาร ใด
5. การจดั เรยี งลาดบั เอกสาร: แยกเอกสารออกเปน็ หมวดหมู่เพื่อเตรยี มนาไปจดั เก็บ
6. การเกบ็ รักษา : นาเอกสารเข้าไปเก็บในสถานทที่ ่เี ตรียมไวเ้ อกสารปัจจุบันอยดู่ ้านบน
7. การนาเอกสารออกมาใช้ : การนาเอกสารที่ได้จัดเก็บไว้ออกมาใช้ ผู้นาเอกสารออกไปจากตู้
จะตอ้ งถกู บนั ทกึ ลงในรายการยืมเอกสารและนาแฟูมยืมไปใสแ่ ทนเอกสารที่ยืมไป

 วธิ กี ารจาแนกเอกสารเพ่ือจัดเก็บ
1. จัดเก็บตามตัวอักษร คือ เรียงตามชื่อบุคคล ช่ือบริษัท ช่ือหน่วยงานราชการ นิยมใช้กันอย่าง
แพรห่ ลายนาไปใชง้ ่ายเพียงแค่ผู้จัดเก็บรู้จักตัวอักษรและเรียงลาดับตัวอักษรและเป็นพื้นฐานของ
การจัดเก็บ เอกสารวิธอี ืน่ ๆ
ข้อดี
 สะดวกในการเรยี งลาดับตามชอ่ื
 เรียงเอกสารในแฟูมได้ โดยไม่ตอ้ งทาบัตรดรรชนี
 เขา้ ใจง่ายแฟมู เรยี งกนั ได้อย่างต่อเน่ือง
ขอ้ เสยี
 หากเอกสารมมี ากจะทาใหค้ น้ หาได้ยาก
 หากมีช่อื ซา้ กนั มากจะตอ้ งเสยี เวลาในการค้นหา
 หากเก็บเอกสารผดิ จะทาให้หาไม่พบ

-258-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

2. จัดเก็บเอกสารตามตัวเลข คอื เอกสารต่างๆ จะถูกจัดใหเ้ ป็นระบบตัวเลข อาจเรียงตามลาดับหรือ
ตามวันท่ี การจัดเก็บวิธนี ้ีจะต้องกาหนดใหม้ ีบัตรชว่ ยในการค้นหาเอกสารง่ายข้นึ
ข้อดี
 จดั เก็บเอกสารได้แม่นยา มบี ัตรดรรชนยี นื ยนั ความถกู ต้อง
 หมายเลขประจาแฟูมใช้เพื่อการอ้างองิ ได้
 ขยายปรมิ าณการเก็บได้
ขอ้ เสีย
 ยงุ่ ยากต้องกาหนดตวั เลขก่อนทุกครงั้
 การกาหนดตัวเลขอาจเกดิ ข้อผิดพลาด
 ต้องทาบัตรดรรชนีกอ่ นทุกคร้ัง

3. จัดเก็บตามภูมิศาสตร์ คือ ใช้การจัดเก็บโดยวิธีเรียงตามภูมิศาสตร์หรือที่ต้ัง ใช้เมื่อสานักงานมี
หลายสาขาหรือมลี กู คา้ กระจายตามตา่ งจังหวดั นยิ มใช้ในแผนกขาย
ข้อดี
 เหมาะกับหนว่ ยงานท่ตี ้องมีการตดิ ต่อกระจายไปตามสถานทต่ี า่ งๆ
 งา่ ยแก่การคน้ หา เพราะทราบสถานท่แี น่นอน
 ไมต่ ้องทาบตั รดรรชนี
 เปรยี บเทยี บปริมาณการติดต่อแตล่ ะสถานที่ได้
ข้อเสยี
 เกดิ ความผดิ พลาดไดง้ า่ ยหากผิดสถานท่ี
 หากมีการเปลี่ยนแปลงสถานที่ต้องแก้ไขใหเ้ ป็นปัจจุบัน

4. จัดเก็บตามหัวข้อเรื่อง คือ หัวเรื่องของเอกสารเป็นสิ่งสาคัญท่ีจะต้องพิจารณาเอกสารจะถูก
จดั เกบ็ ไวต้ ามตวั อกั ษรโดยใช้หัวข้อเรื่องเป็นหลกั ปัญหาของการจัดเก็บคือการวิเคราะห์เอกสารว่าเป็นประเภท
หัวเร่ืองใด เกี่ยวกับอะไร ต้องมีดรรชนีจัดเก็บไว้ในตัวแฟูมเฉพาะ มีคนจัดเก็บหลายคนอาจตีความ ไม่
เหมอื นกัน เกิดปญั หาเอกสารปะปนกนั

ข้อดี
 สะดวกในการคน้ หาตามเร่ืองทตี่ อ้ งการ
 ขยายปรมิ าณได้ไมจ่ ากัด
 รวมเร่อื งเดยี วกนั ไว้ด้วยกัน
 เหมาะกับงานท่ีมีเร่ืองในการติดต่อตามหน้าที่เฉพาะเพ่ือไม่ให้เอกสาร กระจดั กระจายไป

ข้อเสยี
 ส้ินเปลอื งสถานทจ่ี ัดเก็บมากเพราะมีหลายเร่ือง
 เรอ่ื งบางเร่ืองไม่สามารถรวมกันได้
 ต้องทาบัตรดรรชนเี พื่อทราบว่าเอกสารเกบ็ ดว้ ยเรอ่ื งอะไร
 อาจตอ้ งทาบัตรอ้างอิงเพื่อทราบวา่ หัวเรอ่ื งน้ีเก่ยี วกบั เรื่องใดอีก

5. การค้นหาและนาไปใช้อ้างอิง หมายถึง การค้นหาเอกสารที่จัดเก็บรักษาเอาไว้ออกมาใช้อ้างอิง
โดยการค้นหาเอกสารที่ดีจะต้องสามารถดูได้จากทะเบียนหรือบัตรเก็บสะดวกและง่ายในการ
ค้นหา

-259-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

6. การทาลาย หมายถึง นาเอกสารท่ีจัดเก็บรักษาไว้มาจาแนกระยะเวลาการจัดเก็บ ดูความสาคัญ
ของ เอกสารนั้นว่าควรจัดเก็บต่อไปหรือไม่ หากไม่มีคุณค่าควรทาลายทิ้งแต่ต้องได้รับความ
เห็นชอบจากผูม้ ี อานาจในการทาลาย

การยืมเอกสาร หมายถึง การนาเอกสารที่จัดเก็บออกไปใช้ต้องมีการบันทึกทุกคร้ังเพื่อปูองกัน
เอกสารหาย ทาเปน็ ระบบดงั น้ี

 จัดทารายการบนั ทึกยมื เอกสาร
 เอกสารการยืมจะเกบ็ ไว้เปน็ หลกั ฐานที่หน่วยเก็บและผูย้ ืมเพือ่ ทราบ
 ฝุายจัดเกบ็ เอกสารตอ้ งจัดทาแฟูมยืมหรือบัตรยืมไว้แทนที่เอกสารที่ยืม ทาแถบสีแดงมุม

บนขวาให้ สงู กว่าปกติ เพอื่ ให้สงั เกตได้ง่าย การค้นหาเอกสารเม่ือต้องการใช้งาน การค้นหา
เอกสารทีด่ ี ตอ้ งพบให้เร็วทส่ี ุด และตอ้ งบันทึกการยมื ทกุ ครง้ั

การทาลายเอกสาร ขนั้ ตอนในการทาลายเอกสาร
1. ขออนุมตั ิทาลายจากผ้บู ริหารและผูท้ ี่เกย่ี วข้องเหน็ ชอบ
2. ต้งั คณะกรรมการพิจารณาตรวจสอบดูเอกสารที่จะทาลาย เพื่อปูองกันการท าลายเอกสารสาคัญ
3. ดาเนนิ การทาลายเอกสาร ระวงั ขอ้ มลู ท่ีเป็นความลับรว่ั ไหล

มาตรฐานการจัดเกบ็ เอกสาร
 การจาแนกเอกสารตามกลุ่ม
 ควรเขยี นปูายไว้ท่ีทุกหนา้ ล้ินชกั
 เก็บหมวดเอกสารท่ีต้องใช้บ่อยๆ ไวใ้ นล้นิ ชกั ที่ 1 หรอื 2
 การทาดัชนีคั่นหมวดแฟูมในล้ินชัก
 ไมค่ วรเก็บเอกสารมากกว่า 1 เรือ่ งใน 1 แฟูม
 ควรมเี จ้าหนา้ ที่รับผดิ ชอบในการจดั เกบ็
 หากมีการยืมแฟมู เอกสารไปต้องใส่”แฟูมยืม”แทนที่
 เสรจ็ งานแลว้ ต้องคืนแฟมู เอกสารทนั ที
 เอกสารทตี่ ้องเก็บไวน้ านกวา่ 1 ปี ให้เกบ็ ไวท้ หี่ อ้ งเกบ็ เอกสารเกา่
 ยา้ ยเอกสารไปที่ห้องเก็บเอกสารเกา่ อย่างน้อยปีละ1คร้งั
 ใช้เครือ่ งมืออุปกรณก์ ารเกบ็ เอกสารท่ีมีมาตรฐานเดียวกนั

วสั ดุอุปกรณ์ช่วยในการจดั เก็บเอกสาร
1. บัตรนา » ช่วยในการค้นหาเอกสารได้รวดเร็ว เพราะบัตรนาจะแบ่งล้ินชักออกเป็นส่วนใหญ่ๆ
คือ บัตรนาหลัก, บัตรนารองและบตั รนาพิเศษ
2. แฟูมเอกสาร » มีหลายชนิด ต้องใช้ให้เหมาะสมกับปริมาณ ขนาด ชนิด และความถ่ีของการนา
เอกสารมาใช้ วางได้ 2 แบบแนวตงั้ และแนวนอน สว่ นใหญจ่ ะแนวนอน
 แฟูมปกอ่อนแบบเจาะรหู รือมีตวั หนีบ
 แฟูมปกแข็งแบบเจาะรหู รอื มีตัวหนีบ
 แฟมู แขวน
 แฟมู ปกแข็งสันกวา้ ง

-260-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

3. บัตรเก็บ » เปรียบเสมือนตู้ดรรชนีในห้องสมุด ช่วยให้ทราบว่าเอกสารน้ันจัดเก็บอยู่ตู้ใด
เหมาะกบั องค์กรท่มี เี อกสารจานวนมาก แบง่ เป็น 3 ประเภท
 ประเภทกล่อง
 ประเภทหมุน
 ประเภทที่มองเห็นดรรชนีได้

ขอ้ คานึงถงึ การจดั เก็บเอกสารท่ีดี
 รองรับการขยายตวั ในอนาคต
 มีความร้เู ร่อื งการจัดเก็บเอกสารเปน็ อยา่ งดี
 จดั เกบ็ เอกสารท่เี หมาะสมกบั ประเภทและชนิดของเอกสาร
 ค้นหาเอกสารได้ง่าย
 เปน็ ระบบท่ีง่ายแก่การเขา้ ใจ
 ควรใชก้ ระดาษสีหรือปากกาสีชว่ ยในการจดั เกบ็

-261-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

การจดบันทกึ และสรุปรายงาน

 การจดบนั ทกึ แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. การจดบนั ทึกจากการฟัง
2. การจดบนั ทึกจากการอ่าน
3. การทาบนั ทกึ ย่อจากบนั ทึกการฟงั และบันทึกการอา่ น

 การจดบันทกึ จากการฟัง
การฟังคาบรรยายและการจดบันทึกเป็นของคู่กัน บันทึกคาบรรยายคือ ผลของการส่ือสาร

ระหว่างผู้บรรยายกบั ผฟู้ งั คาบรรยายเป็นเสมือนคาสนทนาของผูพ้ ูดกับผู้ฟงั ผสู้ อนกบั ผู้เรียน ผลการสนทนาจะ
ประสบผลสาเร็จเพยี งใด จะดูได้จากบนั ทกึ ทจี่ ด ถ้าผฟู้ งั หรือผู้เขียน เข้าใจเรื่องที่ฟังดี บันทึกก็จะดีไปด้วยการที่
ผู้ฟังจะเข้าใจในเรื่องท่ีเรียนได้ดีเพียงใดขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ หลายประการ อาทิเช่น ความสนใจในเร่ืองที่
บรรยาย รูปแบบของการบรรยาย ความพร้อมของผู้ฟัง นอกจากเรื่องการฟังแล้วผู้เรียนจะต้องรู้วิธีการจด
บนั ทกึ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ คอื รู้แนวทาง ในการจดและวิธีการจดดว้ ย

 การจดบันทึกจากการอ่าน
เป็นการจดบันทึกท่ีง่ายกว่าการจดบันทึกจากการฟัง เพราะมีเล่มหนังสือหรือสื่อต่าง ๆ ให้ดู

ตลอดเวลา จะอ่านซ้าก่ีเท่ียวก็ได้ จึงสามารถจดรายละเอียดได้ดีกว่า วิธีจดมีหลายวิธีขึ้นอยู่กับความเหมาะสม
ของเนื้อหา วิธีดังกล่าว ได้แก่ การจดแบบย่อความ การจดแบบถอดความ การจดแบบโครงเร่ือง ไม่ว่าจะเป็น
การจดแบบใดควรจดเน้ือหาลงบัตรคาดีกวา่ จด ลงสมดุ เพราะสะดวก ในการจด สะดวกในการเก็บและนามาใช้
สะดวกในการพกพา บัตรคาที่ใช้อาจจะไม่ต้องไปซื้อหามา ให้ตัดจากกระดาษสมุดท่ีใช้เหลือ ๆ ก็ได้ ข้อความที่
อยู่ในบัตรคาได้แก่ หัวเร่ืองหรือคาสาคัญซึ่งจะใส่ไว้มุมบนขวาของบัตรบรรทัด ต่อมาคือรายละเอียดทาง
บรรณานกุ รม ของสือ่ สง่ิ พมิ พ์ แลว้ จงึ ตามด้วยข้อความท่ีจด

 แนวทางในการจดบันทึกคาบรรยาย
สมุดจดบันทึกเป็นส่ิงหน่ึงท่ีมีคุณค่าที่สุดในการเรียนผู้เรียนควรศึกษาเทคนิคหรือแนวทางใน

การจดบนั ทึกอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เพือ่ ความสาเร็จในการศึกษาเลา่ เรยี น แนวทางดังกลา่ ว ไดแ้ ก่
1. เตรียมพร้อมที่จะจดบันทึก เริ่มต้ังแต่เตรียมใจรับข่าวสารโดยการอ่านหนังสือมาล่วงหน้า

ศึกษาประเด็นสาคัญเพ่ือ เป็นพ้ืนฐานก่อนเข้าเรียน หรือทบทวนคาบรรยายเก่า บันทึกท่ีจดจากการอ่าน หรือ
คาวิจารณเ์ พ่มิ เตมิ ที่จดไว้ในตาราของเรา

2. ใช้อุปกรณ์การจดบันทึกท่ีเหมาะสม อาทิ สมุดจดบันทึกมาตรฐานชนิดท่ีมีห่วงกลม ๆ ยึด
สามารถเติมหรือถอด กระดาษเข้าออกได้ สะดวกในการปรับเปลี่ยนหน้า เก็บการบ้านหรือเน้ือหาท่ีค้นคว้า
เพิ่มเติมมา ควรจดบันทึกหน้าเดียว อีกหน้าหนึ่งเว้น ไว้เพ่ือเพ่ิมเติมเนื้อหา ข้อคิดเห็นและเพื่อสะดวกในการ
ทบทวน ในการจัดเรยี งเน้อื หา ก่อนจดบันทึกแต่ละครั้งควรจดหัวข้อท่ีจะบรรยาย ชื่ออาจารย์ ช่ือวิชา วัน เดือน ปี
ทุกครงั้ ผู้เรียนควรมเี คร่อื งเขยี นใหพ้ ร้อม อาทิ ปากกาสีปลายสักหลาด สาหรับเน้นหวั ขอ้ หรือประเด็น สาคัญ

3. จดคาบรรยายด้วยภาษาของตนเอง การจดคาบรรยายด้วยภาษาของตนเอง จะอ่านเข้าใจ
ได้ดีกว่า จาง่ายกว่า เพราะเป็นการเรียบเรียงความคิดท่ีเกิดจากความเข้าใจในคาบรรยาย แต่ถ้าเป็นคาจากัด
ความหรอื สูตรต่าง ๆ ข้อเทจ็ จรงิ ท่ีเฉพาะเจาะจง เราก็สามารถคดั ลอกมาใส่ในบันทึกได้

-262-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

4. กาหนดคาย่อในการจดบนั ทึก ถา้ เราใช้คายอ่ ในการจดบันทกึ จะช่วยให้จดเร็วขึ้น ได้เนื้อหา
มากขน้ึ คายอ่ ทใี่ ชอ้ าจจะสร้างข้นึ มาเองและควรจะใชอ้ ย่างสม่าเสมอจนคุ้นเคย เพื่อจะได้ไม่สับสนและอ่านง่าย
คายอ่ ทใ่ี ชอ้ าจตดั มาจากคาต้นของคาตา่ ง ๆ คายอ่ มาตรฐาน หรอื สญั ลกั ษณต์ ่าง ๆ

5. จดบันทึกให้สมบูรณ์ ควรจดบันทึกให้ครอบคลุมประเด็นสาคัญทุกประเด็น ผู้ที่จดบันทึก
สมบูรณ์ มักจะเป็นผู้ท่ีสอบได้คะแนนดี เพราะเขาสามารถระลึกถึงเรื่องที่เรียนมาได้อย่างครบถ้วน ถ้าเราไม่
แน่ใจหรอื ไม่เห็นด้วย กับประเดน็ สาคัญท่ีอาจารย์สอน เราก็ควรจด บันทึกไว้ก่อน แล้วจึงค่อยกลับมาพิจารณา
หรือ ตีความเน้อื หาตอนนน้ั ใหม่ ควรจดบนั ทึกให้มากไว้กอ่ นดกี วา่ ที่จะตัดทง้ิ ไป

6. จัดระเบียบบันทึก ในการจดบันทึกควรจัดระเบียบเนื้อหาให้เป็นลาดับขั้นตอน ให้เห็น
ความสมั พนั ธ์ของขอ้ ความ โดยจดประเดน็ หลักลงไปก่อนแล้วจึงตามดว้ ยข้อความสนบั สนนุ

7. จดบนั ทกึ อย่างมตี รรก ควรจดบันทึกให้มีระเบียบ มีตรรก คือ มีเหตุมีผล ใช้คาที่แสดงการ
เชื่อมโยงและการต่อเนื่องของ ความคิด เช่น ประการแรก ประการที่สอง ประการท่ีสาม ใช้คาท่ีแสดงความ
คิดเห็นตรงกันข้าม เช่น "ในทางตรงกันข้าม" ใช้คาท่ีแสดงข้อยกเว้น เช่น "ถึงอย่างไรก็ตาม" ใช้คาที่แสดงการ
เพิ่มเติมเนอื้ หา เช่น "นอกจากน้ี" ใชค้ าทแี่ สดงการจบ ของเนื้อหา เชน่ "สุดท้ายน้ี" คาดังกล่าวน้ี เป็นสัญญาณที่
อาจารย์ใช้เพ่อื แสดงการเป็นเหตุเป็นผลของเนอื้ หาท่สี อน

8. จดบันทึกละเอียดในเรื่องที่ไม่คุ้นเคย ในการจดบันทึกคาบรรยายเรื่องท่ีไม่คุ้นเคย ไม่มี
ความรู้มาก่อน ควรจะจดให้ละเอียดสมบูรณ์ชัดเจน เพื่อไม่ให้เกิดความเข้าใจผิด เม่ือมาอ่านภายหลังสาหรับ
เรอื่ งท่ีเคยเรียนมาแลว้ เราอาจจะจดอยา่ งยอ่ ก็ได้

9. จงระวังการเลือกจา การจดบันทึกคาบรรยายในเร่ืองท่ีเรามีความคิดเห็นขัดแย้งเรื่องที่ไม่
ตรงกับความต้องการ เร่ืองที่เราไม่มีความเช่ือถือ ผู้เรียนมักจะจดไม่ตรงประเด็น ไม่สมบูรณ์ คือเลือกจดหรือ
เลือกจาตามความพอใจ ซึ่งเป็นการไม่ถูกต้อง เพราะจะไม่เป็นผลดีใน การระลึกถึงเร่ืองที่ฟังมาขณะสอบ
เพราะอาจจะไม่ถกู ตอ้ งและไม่สมบรู ณ์

10. อยา่ หยดุ จดบันทกึ ถา้ จดไมท่ นั การจดบนั ทึกคาบรรยาย บางครั้งเราอาจจะสับสนหรือฟัง
เร่ืองที่อาจารย์บรรยายไม่ทัน อย่าหยุด จดและถามเพ่ือนที่นั่งข้าง ๆ เพราะจะทาให้จดไม่ทันท้ังสองคน ให้ใส่
เคร่ืองหมาย "?" ลงแทน เพื่อกันลืมและ จดเรื่องอื่นต่อไปทันที เม่ือหมดชั่วโมงหรือช่วงเวลาที่อาจารย์เปิด
โอกาสใหซ้ กั ถามจึงค่อย ถามอาจารยห์ รอื ถามเพ่ือน

11. ทบทวนบันทึกทันทีเมอ่ื จบการบรรยาย ควรทบทวนบันทึกทันทีที่จบคาบรรยาย ใช้เวลา
สั้น ๆ เพียง 5 นาทีก็พอ คงจากันได้ว่าการลืมจะเกิดขึ้นทันทีหลังจากการเรียนรู้ และจะมีอัตราสูงด้วย ดังน้ัน
ถ้าเราได้ทบทวนทนั ทีจะชว่ ย ใหเ้ ราไม่ลมื หรอื ลมื นอ้ ยลง

-263-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

การเขยี นรายงานการประชมุ

รายงานการประชุม คือ การบันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุม ผู้เข้าร่วมประชุม และมติของที่
ประชุมไว้เป็นหลักฐานดังน้ัน เมื่อมีการประชุมจึงเป็นหน้าท่ีของฝุายเลขานุการท่ีจะต้องรับผิดชอบจัดทา
รายงานการประชมุ

 ปญั หาของการเขียนรายงานการประชมุ
1. ไม่ร้วู ิธกี ารดาเนนิ การประชมุ ทถี่ กู ต้อง
2. ไมร่ จู้ ะจดอย่างไร
3. ไมเ่ ข้าใจประเดน็ ของเรือ่ ง
ผู้เขยี นจะตอ้ งรูว้ ธิ คี ิดกอ่ นเขียน รู้ลาดับความคิด รู้โครงสร้างความคิด รู้องค์ประกอบเนื้อหา

ของหนงั สอื รูย้ ่อหน้าแรกของหนังสือราชการ คืออะไร ย่อหน้าต่อไป คืออะไร จบอย่างไร จะทาให้เขียนหนังสือ
ได้เขา้ ใจง่าย ไมส่ ับสนวกวน

การจดรายงานการประชุม
รายงานการประชุม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ ความหมายว่า รายละเอียด
หรอื สาระของการประชุมทจ่ี ดไว้อย่างเป็นทางการ
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ให้ความหมายว่า การบันทึกความ
คดิ เห็นของผู้มาประชุม ผูร้ ่วมประชุม และมตขิ องทป่ี ระชุมไว้เปน็ หลักฐาน
รายงานการประชุมจัดเป็นหนังสือราชการชนิดท่ี 6 คือ หนังสือท่ีเจ้าหน้าที่จัดทาข้ึนหรือรับไว้เป็น
หลักฐานในราชการ ดงั นนั้ การจัดทารายงานการประชมุ ตอ้ งจัดทาให้ถกู ต้อง ตามระเบยี บ
ความสาคัญของรายงานการประชุมรายงานการประชุม มีความสาคัญกับองค์การมาก หากรายงาน
การประชมุ มคี วามหมายผดิ ไปจากการอภปิ รายยอ่ มเกิดความเสยี หายต่อองค์การได้ โดยมีความสาคัญดงั น้ี
1. เปน็ องค์ประกอบของการประชุมการประชุมอย่างเป็นทางการ มีองค์ประกอบ ได้แก่ ประธานองค์
ประชุม เลขานุการ ญัตติ ระเบียบวาระการประชุม มติ รายงานการประชุม และหนังสือเชิญประชุมในการ
ประชุมบางเรอ่ื งอาจมีองค์ประกอบไม่ครบก็ได้ แต่รายงานการประชุมก็ถือเป็นองค์ประกอบที่ขาดไม่ได้ เพราะ
การประชุมน้ันมีวัตถุประสงค์จะให้ผู้มีอานาจหน้าที่ หรือมีความรู้ความเช่ียวชาญในเรื่องท่ีมีการประชุมน้ัน
มารว่ มแสดงความคิดเห็นเพอื่ นาไปสกู่ ารลงมติ คือเสียงขา้ งมาก และสามารถนาไปปฏบิ ตั ิได้ต่อไป
รายงานการประชุมจึงเป็นองค์ประกอบที่มีความสาคัญ เพราะจะต้องใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิง
ยืนยัน หรือตรวจสอบในภายหลัง รายงานการประชุมจะมีผลสมบูรณ์ต่อเม่ือมีการรับรองรายงานการประชุม
เรียบร้อยแล้ว
2. เป็นหลกั ฐานการปฏิบตั ิงาน ยนื ยันการปฏิบตั งิ านท่ีไดบ้ ันทกึ รายงานผลการปฏิบตั ิงาน การ
แลกเปลี่ยนความคดิ เห็น การกาหนดนโยบาย ข้อเสนอแนะ และมติทีป่ ระชุม

-264-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

3. เป็นเคร่ืองมือการติดตามงานรายการประชุมที่มีการจดมติไว้ จะเป็นหลักฐานสาคัญให้เลขานุการ
หรือผู้ได้รับมอบหมายได้ติดตามงานตามมติที่ประชุมการประชุมจะมีระเบียบวาระ เร่ืองท่ีเสนอให้ท่ีประชุม
ทราบ ซึ่งผู้ปฏิบัติจะรายงานผลหรือความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานตามมติที่ประชุมคร้ังก่อน ทั้งน้ีจะเป็น
ประโยชนแ์ กอ่ งคก์ ารให้สามารถเร่งรดั และพฒั นางานได้

4. เปน็ หลกั ฐานอา้ งองิ รายงานการประชุมทร่ี บั รองรายงานการประชุมแล้ว ถือเป็นเอกสารที่ใช้อ้างอิง
ได้ตามกฎมาย หากมีปัญหาหรือความขัดแย้งในทางปฏิบัติ สามารถใช้มตทิ ปี่ ระชมุ เพือ่ ยุตคิ วามขดั แยง้ นัน้

5. เป็นข้อมูลข่าวสาร เลขานุการจะส่งรายงานการประชุมให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบข้อมูลหรือ
ทบทวนเร่ืองราวที่ผ่านมาในการประชุมคร้ังก่อน นอกจากนี้ยังเป็นประโยชน์สาหรับผู้ไม่มาประชุมได้ศึกษา
ข้อมูลและรับทราบมตทิ ี่ประชมุ ดว้ ย

รายงานการประชุมเปน็ ขอ้ มูลข่าวสารท่ีสามารถเผยแพรให้บุคลากรในหน่วยงานได้รับทราบและถือว่า
เปน็ รปู แบบหนงึ่ ของการประชมุ สัมพันธภ์ ายใน เพ่อื สรา้ งความเขา้ ใจอนั ดตี อ่ องค์การ

การเขียนจดหมายเชญิ ประชุม
การประชุมแต่ละคร้ังเลขานุการต้องมีหน้าท่ีทาจดหมายเชิญประชุมเพ่ือนัดหมายคณะกรรมการสมาชิก
หรือผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องกับการประชุมของหน่วยงานนั้น ๆ ผู้เข้าประชุมจะได้ทราบว่าจะมีการประชุม เรื่องอะไร
วันใด เวลาใด มีระเบียบวาระการประชุมอะไรบ้าง เพื่อผู้เข้าประชุมจะได้เตรียมตัวหาข้อมูลต่าง ๆ มาเสนอแก่ที่
ประชุม
การเขียนจดหมายเชิญประชุมมหี ลกั การเขียน ดังนี้
1. จดหมายเชิญประชุมควรส่งล่วงหน้าให้ผู้เข้าร่วมประชุมทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน ก่อนการ
ประชมุ เพือ่ ให้เตรียมตวั เข้าประชุม หรือหากมีธุระจะไดแ้ จ้งให้หนว่ ยงานทราบ
2. แจง้ เรือ่ งท่ีจะประชุม วนั เวลา สถานที่ พรอ้ มท้งั ระเบียบวาระการประชมุ ให้ชดั เจน
3. ใช้สานวนภาษาที่ชัดเจน รัดกุม และได้ใจความ ไม่เขียนเย่ินเย้อ วกวน เพราะจะทาให้ผู้อ่านเข้าใจ
ความหมายไมถ่ ูกตอ้ ง
4. การเขียนจดหมายเชิญประชุม อาจจะเขียนระเบียบวาระการประชุมลงไปในจดหมายเชิญประชุม
หรอื แยกระเบียบวาระการประชุมอีกแผ่นตา่ งหากก็ไดโ้ ดยทวั่ ไปการเขยี นจดหมายเชิญประชุม

- ยอ่ หนา้ แรกจะแจง้ ว่าผู้มีอานาจ เช่น ประธาน คณบดี ผอู้ านวยการ ฯลฯ ต้องการนัดประชุมเร่ือง
อะไร คร้งั ทเ่ี ทา่ ไร เม่ือไร ท่ีไหน

- ย่อหน้าถัดมาจะแจ้งหัวข้อประชุมหรือระเบียบวาระการประชุม และย่อหน้าสุดท้ายจะเชิญให้ผู้
เขา้ ประชุมไปประชุมตามวนั เวลา และสถานท่ที กี่ าหนด

การเขียนรายงานการประชมุ
1. ควรจดรายงานการประชุมควรจดเฉพาะใจความสาคัญ ไม่จาเป็นต้องจดทุกคาพูดหากเป็นการ
ประชุมสาคัญ ๆ อาจต้องจดอย่างละเอยี ด จดุ ทุกญตั ตทิ ี่ผู้ประชุมเสนอใหพ้ ิจารณาแต่ไม่ต้องจดคาพูดที่
อภปิ รายกัน หรือความเหน็ ทผ่ี ้ปู ระชมุ เสนอท้ังหมด

-265-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

2. ใชภ้ าษาให้ถูกต้องชัดเจน ท่ีสามารถส่ือความหมายให้ผู้รับสารหรือข้อตกลงของที่ประชุมเพื่อนาไป
ปฏบิ ตั ติ ามมตขิ องทปี่ ระชมุ โดยบนั ทกึ อยา่ งกะทดั รัด เฉพาะใจความสาคญั ของเหตผุ ลและมติของท่ีประชมุ

3. การเขยี นรายงานการประชุมควรเขียนเรียงตามลาดับวาระการประชุมคร้ังน้ัน ๆ โดยเขียนหัวเรื่อง
หรอื ปัญหาในแตล่ ะวาระพรอ้ มทัง้ มตขิ องทปี่ ระชุมในญตั ตินน้ั ๆ ดว้ ย

4. ไม่ต้องจดคาพูดโต้แย้งของแต่ละคน หรือคาพูดที่เป็นรายละเอียดปลีกย่อยมากเกินไป ยกเว้นเป็น
การบนั ทกึ อยา่ งละเอยี ดทีต่ ้องการขอ้ มูลทม่ี ีรายละเอียดมาก

5. ผู้เขียนรายงานการประชุมต้องต้ังใจฟังการประชุมอย่างมีสมาธิเพื่อเขียนรายงานการประชุมได้
ถกู ต้องตามมติ และตามความเปน็ จริง

6. ควรแยกประเดน็ สาคญั ของผู้ท่ปี ระชุมเสนอมาใหอ้ า่ นเข้าใจงา่ ย ไมส่ ับสน
7. ถ้าข้อมูลเป็นตัวเลข จานวนเงิน สถิติ ควรเขียนให้ถูกต้อง ชัดเจน เรียงเป็นลาดับชัดเจนท่ีสามารถ
สื่อความหมายได้ง่าย
8. ใช้ถ้อยคาสานวนแบบย่อความให้ได้ใจความสมบูรณ์ ไม่ใช้คาพุ่มเฟือย หรือสานวนโวหารท่ีเร้า
อารมณท์ ี่อาจส่อื ความหมายไปในทางใดทางหนง่ึ ไมต่ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ของเรอ่ื งที่ประชุม
แบบรายงานการประชมุ
1. รายงานการประชมุ ให้ลงชอื่ คณะทปี่ ระชมุ หรือชื่อการประชมุ น้ัน เชน่ "รายงานการประชมุ
2. ครง้ั ที่ การลงครั้งท่ีที่ประชมุ มี 2 วธิ ี ทสี่ ามารถเลือกปฏบิ ัตไิ ด้ คอื

2.1 ลงคร้ังท่ีที่ประชุมเป็นรายปี โดยเร่ิมคร้ังแรกจากเลข 1 เรียงเป็นลาดับไปจนสิ้นปีปฏิทิน ทับ
เลขปพี ุทธศกั ราชทีป่ ระชมุ เมอื่ ขน้ึ ปีใหม่ใหเ้ รม่ิ ครงั้ ที่ 1 ใหม่ เรียงไปตามลาดบั เชน่ ครงั้ ท่ี 1/2565,2/2565

2.2 ลงจานวนคร้ังท่ีประชุมทั้งหมดของคณะท่ีประชุม หรือการประชุมนั้นประกอบกับคร้ังที่ที่
ประชุมเป็นรายปี เชน่ คร้งั ที่ 1 - 1/2565

3. เมือ่ วนั ท่ี ใหล้ งวัน เดอื น ปี ท่ปี ระชุม เชน่ วนั องั คารที่ 16 มกราคม 2565
4. ณ ให้ลงชอ่ื สถานที่ ที่ใชเ้ ปน็ ทปี่ ระชมุ
5. ผู้มาประชุม ให้ลงชื่อและหรือตาแหน่งของผู้ได้รับแต่งต้ังเป็นคณะท่ีประชุมซึ่งมาประชุมในกรณีที่
เป็นผู้ได้รับการแต่งต้ังเป็นผู้แทนหน่วยงานให้ระบุว่าเป็นผู้แทนของหน่วยงานใด พร้อมตาแหน่งในคณะท่ี
ประชุม ในกรณีทีเ่ ป็นผูม้ าประชุมแทนให้ลงช่ือผู้มาประชุมแทนและลงด้วยว่ามาประชุมแทนผู้ใด หรือตาแหน่ง
ใด หรือแทนผู้แทนหนว่ ยงานใด
6. ผู้ไม่มาประชุมให้ลงช่ือหรือตาแหน่งของผู้ท่ีได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะท่ีประชุม ซึ่งมิได้มาประชุม
โดยระบใุ ห้ทราบว่าเป็นผแู้ ทนจากหนว่ ยงานใดพร้อมทั้งเหตผุ ลทีไ่ มส่ ามารถมาประชุม ถา้ หากทราบดว้ ยกไ็ ด้
7. ผู้เขา้ ร่วมประชุมให้ลงชอ่ื หรอื ตาแหน่งของผู้ที่มิได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะที่ประชุม ซ่ึงได้เข้ามาร่วม
ประชมุ และหน่วยงานท่สี ังกดั (ถา้ ม)ี
8. เรม่ิ ประชมุ ใหล้ งเวลาทเี่ ริ่มประชุม

-266-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

9. ข้อความให้บันทึกข้อความท่ีประชุม โดยปกติเริ่มด้วยประธานกล่าวเปิดประชุมและเร่ืองที่ประชุม
กบั มตหิ รอื ขอ้ สรุปของทป่ี ระชมุ ในแตล่ ะเรอ่ื ง ประกอบดว้ ยหวั ข้อ ดงั นี้

9.1 วาระที่ 1 เร่ืองท่ีประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบวิธีเขียน ได้แก่ หัวข้อเร่ือง บุคคลนาเข้า
เน้ือหา บทสรปุ

9.2 วาระท่ี 2 เรอื่ งรบั รองรายงานการประชุม

การรับรองรายงานการประชมุ อาจทาได้ 3 วธิ ี คือ
วธิ ที ่ี 1 การรับรองแบบเรง่ ดว่ น มคี วามจาเป็นเรง่ ด่วนที่จะต้องรับรองรายงานการประชุมเพ่ือ

นาไปใช้งานสาคญั เร่งดว่ นให้ประธานหรือเลขานกุ ารของท่ปี ระชมุ อ่านสรุปมตทิ ่ีประชุมพจิ ารณารับรอง
วิธีที่ 2 การรับรองในการประชุมคร้ังต่อไป ให้ประธานหรือเลขานุการ เสนอรายงาน การ

ประชมุ คร้ังท่ีแลว้ มาใหท้ ี่ประชมุ พจิ ารณารบั รอง
วิธที ี่ 3 การรบั รองโดยการแจ้งเวียน ใช้ในกรณีท่ีประชุมคร้ังเดียว / ครั้งสุดท้าย หรือประชุม

ครงั้ ต่อไปอีกนานมาก
9.3 วาระท่ี 3 เร่อื งทเี่ สนอให้ทป่ี ระชุมทราบ วิธีเขยี นเหมอื นกบั ระเบยี บวาระท่ี 1
9.4 วาระที่ 4 เร่ืองท่ีเสนอให้ท่ีประชุมพิจารณาวิธีเขียน หัวข้อเร่ือง ผู้นาเข้า เนื้อหา

(ประกอบด้วย ประเด็นปัญหาและผลกระทบ ข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ข้อเสนอ) บทสรุปมติท่ีประชุม เช่ น ที่
ประชมุ พิจารณาแล้วให้ส่วนงานหาขอ้ มูลเพิ่มเตมิ ประกอบการพจิ ารณาในครงั้ ตอ่ ไป

9.5 วาระที่ 5 เรอ่ื งอ่ืน ๆ (ถ้ามี) เป็นเร่อื งด่วนและสาคัญ เกิดขึน้ หลงั จากออกหนังสือเชิญประชุมไปแล้ว
10. ประธาน กล่าวการปิดประชุม
11. เลกิ ประชมุ เวลา ให้ลงเวลาทีเ่ ลิกประชุม
12. ผู้จดรายงานการประชุม

สว่ นประกอบของข้อความในแตล่ ะเร่อื ง ควรประกอบด้วยเน้อื หา 3 สว่ น คือ
ส่วนที่ 1 ความเปน็ มา หรอื สาเหตทุ ี่ทาให้ต้องมกี ารประชุมพิจารณาเร่ืองนนั้ ๆ
ส่วนท่ี 2 ความคิดเห็นหรือข้ออภิปรายต่างๆ ซ่ึงคณะที่ประชุมได้แสดงความคิดเห็นหรือได้

อภิปรายในเรือ่ งดงั กล่าว
สว่ นที่ 3 มตทิ ่ปี ระชุม ซง่ึ ถอื เป็นส่วนสาคัญ ทจี่ าเป็นต้องระบุให้ชัดเจน เพื่อจะได้ใช้เป็นหลักฐาน

หรอื ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบตั ิตอ่ เร่ืองต่างๆ ทไี่ ด้ประชมุ

การจดรายงานการประชมุ อาจทาได้ 3 วิธี คือ
วธิ ที ่ี 1 จดรายละเอยี ดทุกสานวนที่พูด ของกรรมการ หรือผู้เข้าร่วมประชุมทุกคน พร้อมด้วยมติใช้ใน
กรณีทเี่ ปน็ ปญั หาตคี วามด้านกฎหมาย / เป็นทางการ
วิธที ่ี 2 จดอยา่ งยอ่ จดย่อประเด็นสาคัญของกรรมการหรือผู้เข้าร่วมประชุม อันเป็นเหตุผลนาไปสู่มติ
ของท่ีประชมุ พร้อมด้วยมติ
วิธีท่ี 3 จดแต่เหตุผลกับมติของท่ีประชุม ได้แก่ปัญหาข้อเท็จจริง ความเห็นข้อเสนอแนะ และมติท่ี
ประชมุ ทักษะการจับประเดน็ สรปุ ความ

-267-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

 5W1 H ใช้เทคนคิ 5W1 H
 Who ใคร (ในเรือ่ งนนั้ มีใครบ้าง)
 What ทาอะไร (แต่ละคนทาอะไรบ้าง)
 Where ท่ไี หน (เหตกุ ารณ์หรือส่งิ ที่ทาน้ันอย่ทู ี่ไหน)
 when เมอ่ื ไหร่ (เหตุการณห์ รอื ส่ิงที่ทานัน้ ทาเม่อื วัน เดือน ปี ใด)
 Why ทาไม (เหตใุ ดจงึ ได้ทาสิ่งนน้ั หรอื เกดิ เหตุการณน์ ั้นๆ
 How อย่างไร (เหตกุ ารณ์หรือส่งิ ที่ทาน้นั ทาเปน็ อยา่ งไรบ้าง)
เร่อื งพจิ ารณา ประเด็นปัญหา ผลกระทบ ข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ข้อเสนอ มติท่ีประชุม บุคคล

อภปิ ราย พดู ในที่ประชุม ผจู้ ดรายงานการประชมุ ตอ้ ง "จับเจตนา" ของผูพ้ ูดว่าต้องการอะไร ดังนี้

บทสรุป

รายงานการประชุมน้ัน เป็นการบันทึกเรื่องราวท่ีเกิดข้ึนในการประชุม ซึ่งมีทั้งส่วนที่เป็น
สาระสาคัญและส่วนท่ีเป็นพลความ เป็นรายละเอียดปลีกย่อยที่อาจไม่จาเป็นต้องบันทึกไว้ในรายงานการ
ประชุมได้ ผู้ที่ทาหน้าที่จดรายงานการประชุมเพื่อมาทาเป็นบันทึกรายงานการประชุมในภายหลัง จึงต้องมี
คุณสมบัตแิ ละมที ักษะความสามารถ ดงั ที่ได้นาเสนอมาแล้วข้างตน้

รายงานการประชุมเป็นเอกสารท่ีต้องบันทึกช่ือผู้เข้าประชุม ผู้จดรายงานการประชุม ผู้ตรวจ
รายงานการประชุม ตลอดจนผู้ท่ีเกี่ยวข้องในการประชุมทุกคน จึงต้องเขียนโดยราลึกอยู่เสมอว่า จะต้อง
ตรวจสอบรายชื่อ นามสกลุ ยศและตาแหนง่ ของผ้ทู ่ีปรากฏชอ่ื ในรายงานการประชุมอย่าง พลาดไม่ได้อย่างไรก็
ตาม หากผู้ที่มีหน้าท่ีรับผิดชอบในเร่ืองของการจดการจัดทาบันทีกรายงานการประชุมจะได้เตรียมตัวให้พร้อม
ก็จะช่วยใหก้ ารทาหน้าทดี่ งั กลา่ วประสบความสาเรจ็ และได้รบั การยอมรับไดโ้ ดยไมย่ ากลาบาก

ความรูเ้ ก่ียวกับงานธุรการ งานสารบรรณ
ปฏบิ ัติงานเกย่ี วกับการจัดการด้านธรุ การทัว่ ไป การจัดการดา้ นการผลิตเอกสาร การจัดการดา้ นพัสดุ การจดั การ

ด้านการเงนิ การจดั การดา้ นสารบรรณ และการประสานงานดา้ น ตา่ ง ๆ ของฝุายการเจ้าหน้าท่ีงานทีต่ ้องทา
 งานสารบรรณ
1. งานรับ - ส่ง และลงทะเบียนหนังสอื ราชการ
2. งานคัดแยกหนังสอื และการเสนอหนงั สือ
3. งานร่างโตต้ อบหนังสือราชการ
4. งานเก็บรักษา ยืม และทาลายหนงั สอื ราชการ
5. งานแจ้งเวยี นหนงั สือราชการ คาส่ัง ประกาศ ให้หน่วยงานและผเู้ ก่ียวข้องรับทราบเพ่ือถือปฏบิ ตั ิ
6. นาแฟูมเสนอผู้อานวยการ / นายกองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ เพ่อื ลงนาม หรอื ส่งั การ
7. งานค้นหาเอกสารตา่ ง ๆ ให้กับงานตา่ ง ๆ ในฝุาย
8. งานลงเวลา และตรวจสอบการปฏิบตั ริ าชการ
9. งานเดนิ หนังสือ

-268-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

 งานเอกสารการพิมพ์
1. การพิมพ์หนังสือราชการ
2. การพิมพ์แบบฟอรม์ ต่าง ๆ
3. การทาสาเนาหนังสอื เชน่ ถ่ายเอกสาร อัดสาเนา
4. การเรยี บเรียง และจัดทารูปเลม่
5. การจดั พิมพ์คาสง่ั

 งานประชมุ
1. การจัดทาหนงั สือเชิญประชมุ และเชิญประชุม
2. การประสานด้านสถานท่ีและอาหารในการประชมุ
3. การจดั เตรยี มเอกสารในการประชมุ
4. การบันทึกการประชมุ
5. การจัดส่งรายงานการประชุม

 งานประชาสัมพนั ธ์
1. การจัดทาและพัฒนาโฮมเพ็จ
2. การนาเสนอขอ้ มูลขา่ วสารผา่ นโฮมเพจ็
3. การจัดทาเอกสาร วารสาร เผยแพร่ข้อมูลขา่ วสารทงั้ ภายในและภายนอก
4. การประสานงานกับหนว่ ยงานภายในและภายนอกในการประชาสมั พนั ธ์

 งานพัสดุ
1. งานประสานการจัดซื้อจดั จา้ ง
2. งานทะเบยี นคุมพัสดุ และรายงานการเบิกจ่ายพัสดุ
3. งานเบกิ จา่ ยพัสดุ

 งานการเงิน ( เบิกจา่ ยค่าตอบแทน )
1. การเบกิ จา่ ยค่าตอบแทนในการปฏิบตั งิ านของหัวหน้าฝุาย /ผอู้ านวยการกอง
2. การเบกิ จ่ายค่าตอบแทนในการปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการดาเนนิ งาน
3. การเบิกจ่ายคา่ ตอบแทนพนกั งานจ้างตามภารกิจ
4. การเบกิ จา่ ยค่าตอบแทนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒใิ นการตรวจผลงานทางวิชาการ
5. การเบกิ จา่ ยคา่ คุมสอบและออกขอ้ สอบกรรมการสอบคัดเลอื กบุคลากรเข้าปฏบิ ตั งิ าน
6. การเบกิ จ่ายเงินรางวัลกรรมการและเจา้ หน้าท่ีคุมสอบคัดเลือกบุคลากรเข้าปฏบิ ัติงาน
7. การเบกิ จ่ายเงินสมนาคุณกรรมการสอบวินัยข้าราชการ ลูกจา้ งประจา และพนักงาน
8. การเบกิ จา่ คา่ ตอบแทนการปฏบิ ัตงิ านล่วงเวลาและนอกเวลาราชการของฝาุ ย
9. การเบกิ จ่ายค่าบริการรถรับสง่ บตุ รหลาน
10. การเบกิ จา่ ยคา่ ตอบแทนอ่นื ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง

 งานงบประมาณ
1. การจัดทาคาขอต้งั งบประมาณ
2. การจดั ทาแผนการใชจ้ ่าย
3. การควบคุม ดูแล และกากับการเบกิ จา่ ยงบประมาณ
4. การตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตามโครงการของฝุาย

-269-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

 งานรายงานผลการดาเนนิ งาน
1. การรายงานผลการดาเนินงานของฝุายประจาปี
2. การรายงานการใชจ้ า่ ยงบประมาณของฝาุ ยประจาปี

 งานประกนั คุณภาพ – การดาเนินงานดา้ นการประกันคุณภาพ

 งานเวรรกั ษาการณ์
1. การจดั ทาคาสั่งเวรรกั ษาการณ์
2. การสรุปรายงานการอยเู่ วรรักษาการณป์ ระจาวัน
3. การสรปุ ใบลงเวลาปฏบิ ัตเิ จ้าหน้าท่รี กั ษาความปลอดภยั
4. การบนั ทึกเปลยี่ นแปลงเวรรักษาการณ์ เช่น บุคลากรผ้อู ย่เู วรลาออก

 งานอ่ืน ๆ ท่ไี ด้รับมอบหมาย

การบรหิ ารพสั ดุ

การบรหิ ารพัสดุของหนว่ ยงานของรฐั ให้ดาเนินการตามระเบียบของทางราชการหรือกฎหมายกาหนดไวเ้ ป็น
อย่างอื่น การบรหิ ารพัสดุไม่ใช้บังคบั กบั งานบริการ งานก่อสรา้ ง งานจา้ งทป่ี รึกษา และงานจ้างออกแบบหรือ
ควบคุมงานกอ่ สรา้ ง
การเก็บและการบันทกึ
เมือ่ เจา้ หนา้ ที่ไดร้ ับมอบพสั ดุแล้ว ใหด้ าเนนิ การดังตอ่ ไปน้ี

(1) ลงบัญชีหรือทะเบียนเพ่ือควบคุมพัสดุ แล้วแต่กรณี แยกเป็นชนิด และแสดงรายการตามตัวอย่างท่ี
คณะกรรมการนโยบายกาหนด โดยให้มีหลักฐานการรับเข้าบัญชีหรือทะเบียนไว้ประกอบรายการด้วยสาหรับ
พัสดุประเภทอาหารสด จะลงรายการอาหารสดทุกชนดิ ในบญั ชเี ดียวกันกไ็ ด้

(2) เก็บรักษาพัสดใุ หเ้ ปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย ปลอดภยั และให้ครบถว้ นถูกตอ้ งตรงตามบัญชี หรอื ทะเบยี น

การเบิกจา่ ยพสั ดุ
การเบิกพัสดุจากหน่วยพัสดุของหน่วยงานของรัฐ ให้หัวหน้างานท่ีต้องใช้พัสดุนั้นเป็นผู้เบิกการจ่าย
พัสดุ ให้หัวหน้าหน่วยพัสดุท่ีมีหน้าท่ีเก่ียวข้องกับการควบคุมพัสดุ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากหัวหน้า
หน่วยงานของรฐั เป็นหัวหน้าหนว่ ยพัสดุ เปน็ ผสู้ ั่งจา่ ยพสั ดุ
ผจู้ า่ ยพสั ดตุ อ้ งตรวจสอบความถูกต้องของใบเบิกและเอกสารประกอบ (ถ้ามี) แล้วลงบัญชี หรือทะเบียนทุก
คร้ังท่ีมกี ารจา่ ย และเก็บใบเบิกจ่ายไว้เปน็ หลกั ฐานดว้ ย
หน่วยงานของรัฐใดมีความจาเป็นจะกาหนดวิธีการเบิกจ่ายพัสดุเป็นอย่างอื่นให้อยู่ในดุลพินิจของ
หวั หนา้ หนว่ ยงานของรัฐนัน้ โดยใหร้ ายงานคณะกรรมการวินิจฉยั และสานกั งานการตรวจเงินแผน่ ดนิ ทราบด้วย
การยมื พัสดุ
การให้ยืม หรอื นาพสั ดไุ ปใช้ในกจิ การ ซงึ่ มใิ ชเ่ พ่ือประโยชน์ของทางราชการ จะกระทามิได้การยืมพัสดุ
ประเภทใช้คงรูป ให้ผู้ยืมทาหลักฐานการยืมเป็นลายลักษณ์อักษร แสดงเหตุผล และกาหนดวันส่งคืนโดยมี
หลกั เกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) การยมื ระหว่างหนว่ ยงานของรัฐ จะต้องไดร้ ับอนุมตั ิจากหวั หน้าหนว่ ยงานของรฐั ผู้ให้ยมื
(2) การใหบ้ ุคคลยืมใชภ้ ายในสถานทีข่ องหน่วยงานของรัฐเดียวกัน จะต้องได้รบั อนุมตั ิจาก
หัวหน้าหน่วยงานซ่ึงรับผิดชอบพัสดุนั้น แต่ถ้ายืมไปใช้นอกสถานที่ของหน่วยงานของรัฐ ต้องได้รับ
อนุมตั จิ ากหัวหน้าหน่วยงานของรฐั

-270-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

ผู้ยืมพัสดุประเภทใช้คงรูปจะต้องนาพัสดุนั้นมาส่งคืนให้ในสภาพท่ีใช้การได้เรียบร้อย หากเกิดชารุด
เสียหาย หรือใช้การไม่ได้ หรือสูญหายไป ให้ผู้ยืมจัดการแก้ไขซ่อมแซมให้คงสภาพเดิม โดยเสียค่าใช้จ่ายของ
ตนเองหรอื ชดใชเ้ ปน็ พสั ดปุ ระเภท ชนิด ขนาด ลักษณะและคุณภาพอย่างเดียวกัน หรือชดใช้เป็นเงินตามราคา
ท่ีเป็นอยูใ่ นขณะยืม โดยมีหลักเกณฑ์ ดงั นี้

(1) ราชการส่วนกลาง และราชการส่วนภมู ิภาค ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑท์ ่ีกระทรวงการคลงั กาหนด
(2) ราชการส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีกระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร หรือเมือง
พทั ยา แลว้ แตก่ รณี กาหนด
(3) หน่วยงานของรฐั อ่นื ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑท์ ่ีหน่วยงานของรัฐนัน้ กาหนด
การยืมพัสดุประเภทใช้ส้ินเปลืองระหว่างหน่วยงานของรัฐ ให้กระทาได้เฉพาะเม่ือหน่วยงานของรัฐผู้
ยืมมีความจาเป็นต้องใชพ้ สั ดนุ ั้นเป็นการรบี ดว่ น จะดาเนินการจดั หาไดไ้ ม่ทนั การ และหนว่ ยงานของรัฐผู้ให้ยืมมี
พัสดุน้ันๆ พอที่จะให้ยืมได้ โดยไม่เป็นการเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐของตน และมีหลักฐานการยืมเป็นลาย
ลกั ษณอ์ กั ษร ทั้งนี้ โดยปกตหิ นว่ ยงานของรัฐผยู้ ืมจะตอ้ งจัดหาพัสดุเป็นประเภท ชนิด และปริมาณเช่นเดียวกัน
ส่งคืนให้หน่วยงานของรฐั ผูใ้ ห้ยืม
เมื่อครบกาหนดยืม ให้ผู้ให้ยืมหรือผู้รับหน้าท่ีแทนมีหน้าท่ีติดตามทวงพัสดุที่ให้ยืมไปคืนภายใน 7
วัน
นบั แต่วนั ครบกาหนด

การบารงุ รักษา การตรวจสอบ
การบารงุ รักษา
ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีผู้ควบคุมดูแลพัสดุที่อยู่ในความครอบครองให้อยู่ในสภาพท่ีพร้อมใช้งานได้

ตลอดเวลา โดยใหม้ กี ารจดั ทาแผนการซอ่ มบารุงท่ีเหมาะสมและระยะเวลาในการซ่อมบารงุ ด้วย
ในกรณีที่พัสดุเกิดความชารุด ให้หน่วยงานของรัฐดาเนินการซ่อมแซมให้กลับมาอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน

โดยเร็ว
การตรวจสอบพสั ดปุ ระจาปี
ภายในเดือนสุดท้ายก่อนสิ้นปีงบประมาณของทุกปี ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ หรือหัวหน้าหน่วย

พัสดุ แต่งต้ังผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุซึ่งมิใช่เป็นเจ้าหน้าที่ตามความจาเป็นเพ่ือตรวจสอบการรับจ่าย
พสั ดใุ นงวด 1 ปที ีผ่ า่ นมา และตรวจนบั พัสดปุ ระเภททคี่ งเหลืออยูเ่ พยี งวนั ส้ินงวดนัน้

ในการตรวจสอบตามวรรคหนึ่ง ให้เริ่มดาเนินการตรวจสอบพัสดุในวันเปิดทาการวันแรกของ
ปีงบประมาณเป็นต้นไป ว่าการรับจ่ายถูกต้องหรือไม่ พัสดุคงเหลือมีตัวอยู่ตรงตามบัญชีหรือทะเบียนหรือไม่มี
พัสดใุ ดชารุด เสื่อมคณุ ภาพ หรือสูญไปเพราะเหตุใด หรือพัสดุใดไม่จาเป็นต้องใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไปแล้ว
ใหเ้ สนอรายงานผลการตรวจสอบดงั กล่าวต่อผู้แต่งตั้งภายใน 30 วันทาการ นับแต่วันเริ่มดาเนินการตรวจสอบ
พัสดุน้นั

เมื่อแต่งต้ังได้รับรายงานจากผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุแล้ว ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานของ
รัฐ 1 ชุด และส่งสาเนารายงานไปยังสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน 1 ชุด พร้อมทั้งส่งสาเนารายงานไปยัง
หน่วยงานต้นสังกดั (ถ้ามี) 1 ชุด ดว้ ย

เมื่อผู้แต่งตั้งได้รับรายงานจากผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุ และปรากฏว่ามีพัสดุ
ชารดุ เสือ่ มสภาพ หรอื สญู ไป หรือไมจ่ าเป็นต้องใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไป ก็ให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบหา
ข้อเท็จจริงขึ้นคณะหน่ึง เว้นแต่กรณีท่ีเห็นได้อย่างชัดเจนว่า เป็นการเสื่อมสภาพเน่ืองมาจากการใช้งาน
ตามปกติ หรอื สญู ไปตามธรรมชาติ ใหห้ ัวหนว่ ยงานของรฐั พจิ ารณาสงั่ การใหด้ าเนนิ การจาหนา่ ยต่อไปได้

-271-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

ถา้ ผลการพิจารณาปรากฏว่า จะตอ้ งหาตวั ผรู้ ับผิดด้วย ใหห้ ัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐดาเนินการตามกฎหมายและ
ระเบยี บที่เก่ียวข้องของทางราชการ หรอื ของหนว่ ยงานของรฐั น้ันต่อไป

การจาหนา่ ยพัสดุ
หลงั จากการตรวจสอบแล้ว พัสดุใดหมดความจาเป็นหรือหากใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไปจะสิ้นเปลือง

ค่าใช้จ่ายมาก ให้เจ้าหน้าที่เสนอรายงานต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ เพื่อพิจารณาส่ังให้ดาเนินการตามวิธีการ
อย่างหน่ึงอย่างใด ดงั ต่อไปน้ี

(1) ขาย ให้ดาเนินการโดยวิธีทอดตลาดก่อน แต่ถ้าขายโดยวิธีทอดตลาดแล้วไม่ได้ผลดี ให้นาวิธีที่
กาหนดเก่ยี วกับการซอ้ื มาใช้โดยอนโุ ลม เว้นแต่กรณี ดงั ต่อไปนี้

(ก) การขายพัสดุครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาซื้อหรือได้มารวมกันไม่เกิน 500,000 บาท จะขายโดยวิธี
เฉพาะเจาะจง โดยการเจรจาตกลงราคากนั โดยไมต่ ้องทอดตลาดก่อนก็ได้

(ข) การขายให้แก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การสถานสาธารณกุศล ตามประมวลรัษฎากร ให้
ขายโดยวิธีเฉพาะเจาะจง โดยการเจรจาตกลงราคากนั

(ค) การขายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนท่ี แท็บเล็ต ให้แก่เจ้าหน้าท่ีของรัฐมอบ
ให้ไว้ใช้งานในหน้าท่ี เมื่อบคุ คลดงั กลา่ วพน้ จากหนา้ ที่ หรอื อุปกรณด์ งั กล่าวพน้ ระยะเวลาการใช้งานแล้ว ให้ขาย
ใหแ้ ก่บุคคลดังกล่าวโดยวธิ เี ฉพาะเจาะจง โดยการเจรจาตกลงราคากนั

การขายโดยวิธีทอดตลาดให้ถือปฏิบัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยให้ผู้ที่ได้รับ
มอบหมายทาการประเมินราคาทรัพย์สินก่อนการประกาศขายทอดตลาด กรณีที่เป็นพัสดุท่ีมีการจาหน่ายเป็น
การทั่วไปให้พิจารณาราคาท่ีซ้ือขายกันตามปกติในท้องตลาด หรือราคาท้องถ่ินของสภาพปัจจุบันของพัสดุน้ัน
ณ เวลาท่จี ะทาการขาย และควรมีการเปรียบเทียบราคาตามความเหมาะสม กรณีที่เป็นพัสดุท่ีไม่มีการจาหน่าย
ทั่วไป ให้พิจารณาราคาตามลักษณะ ประเภท ชนิดของพัสดุ และอายุการใช้งาน รวมทั้งสภาพและสถานท่ีตั้ง
ของพัสดุด้วย ทั้งนี้ ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐพิจารณาให้ความเห็นชอบราคาประเมินดังกล่าว โดย
คานึงถึงประโยชน์ของหน่วยงานของรัฐด้วยหน่วยงานของรัฐจะจ้างผู้ประกอบการท่ีให้บริการขายทอดตลาด
เปน็ ผู้ดาเนนิ การก็ได้

(2) แลกเปลยี่ น ให้ดาเนนิ การตามวธิ ีการแลกเปลี่ยนทกี่ าหนดไว้ในระเบียบน้ี
(3) โอน ให้โอนแก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การสถานสาธารณกุศล ตามแห่งประมวล
รษั ฎากร ทง้ั นี้ ให้มหี ลกั ฐานการสง่ มอบไวต้ อ่ กนั ด้วย
(4) แปรสภาพหรือทาลาย ตามหลกั เกณฑ์และวิธีการที่หนว่ ยงานของรัฐกาหนด
การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง โดยปกติให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน นับถัดจากวันท่ีหัวหน้า
หน่วยงานของรัฐสั่งการเงินที่ได้จากการจาหน่ายพัสดุ ให้ถือปฏิบัติตามวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายท่ี
เก่ยี วข้องทางการเงิน
ของหน่วยงานของรัฐน้นั หรือข้อตกลงในส่วนท่ีใชเ้ งินก้หู รือเงนิ ชว่ ยเหลอื แลว้ แตก่ รณี

การจาหน่ายเป็นสูญ
ในกรณีท่ีพัสดุสูญไปโดยไม่ปรากฏตัวผู้รับผิดหรือมีตัวผู้รับผิดแต่ไม่สามารถชดใช้ได้ หรือมีตัวพัสดุอยู่

แตไ่ มส่ มควรดาเนนิ การตามขอ้ 215 ใหจ้ าหนา่ ยพัสดุนั้นเปน็ สูญ ตามหลักเกณฑ์ ดังตอ่ ไปน้ี
(1) ถ้าพัสดุน้ันมีราคาซ้ือ หรือได้มารวมกันไม่เกิน 1,000,000 บาท ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐเป็นผู้พิจารณา

อนุมตั ิ
(2) ถ้าพัสดุนน้ั มรี าคาซ้ือ หรอื ไดม้ ารวมกันเกิน 1,000,000 บาท ให้ดาเนินการดังนี้
(ก) ราชการส่วนกลาง และราชการส่วนภูมภิ าค ใหอ้ ยูใ่ นอานาจของกระทรวงการคลงั เป็นผอู้ นุมัติ

-272-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

(ข) ราชการส่วนท้องถ่ิน ให้อยู่ในอานาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
หรอื นายกเมอื งพทั ยา แล้วแต่กรณี เป็นผู้อนุมตั ิ

(ค) หน่วยงานของรัฐอื่น ผู้ใดจะเป็นผู้มีอานาจอนุมัติให้เป็นไปตามท่ีหน่วยงานของรัฐนั้นกาหนด
รัฐวสิ าหกิจใดมีความจาเป็นจะกาหนดวงเงนิ การจาหนา่ ยพสั ดุเปน็ สูญตามวรรคหนึ่งแตกต่างไปจากท่ีกาหนดไว้
ในระเบียบนี้ ให้เสนอต่อคณะกรรมการวินิจฉัยเพ่ือขอความเห็นชอบ และเม่ือได้รับความเห็นชอบแล้วให้
รายงานสานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ทราบดว้ ย

การลงจ่ายออกจากบัญชีหรือทะเบียน
เม่อื ไดด้ าเนนิ การใหเ้ จา้ หน้าทีล่ งจา่ ยพสั ดุน้นั ออกจากบัญชีหรอื ทะเบยี นทนั ที แล้วแจง้ ให้สานักงานการ

ตรวจเงินแผ่นดนิ ทราบภายใน 30 วนั นับแตว่ นั ลงจา่ ยพัสดนุ ้นั สาหรับพัสดุท่ีต้องจดทะเบียนตามกฎหมาย ให้
แจ้งนายทะเบียนภายในระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดด้วยในกรณีที่พัสดุของหน่วยงานของรัฐเกิดชารุด
เสื่อมสภาพ หรือสูญไป หรือไม่จาเป็นต้องใช้ในราชการต่อไป ก่อนมีการตรวจสอบ และได้ดาเนินการตาม
กฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี หรือระเบียบนี้โดยอนุโลม แล้วแต่กรณีเสร็จสิ้นแล้ว ถ้าไม่มี
ระเบยี บอ่นื ใดกาหนดไว้เป็นการเฉพาะ

การบริหารทรัพยากรบุคคล

องคก์ รในภาคราชการมกี ารเปล่ยี นแปลงในหลายๆ เรื่อง เช่นการปฏิรูประบบราชการ การกระจายอานาจ
การบริหารราชการส่วนกลางไปสู่ส่วนท้องถิ่น การปรับปรุงกระบวนการภายในเพ่ือให้ได้บริการที่มีคุณภาพใน
ระดับมาตรฐานสากล การเป็นองค์กรธรรมาภิบาล (Good Governance) การปรับเปล่ียนมุ่งมองท่ีมุ่งเน้น
ความสาคัญของประชาชน (Customer Centric) การปรับลดขนาดกาลังคนภาครัฐ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result
Based Management – RBM) ผลกระทบการเปล่ียนแปลงในสิ่งต่างๆ เหล่านี้ทาให้การดาเนินงานของส่วน
ราชการตอ้ งปรับเปลย่ี นอยตู่ ลอดเวลา แต่การปรับเปลีย่ นการบริหาร “ คน ” หรือทรัพยากรบุคคลน้ัน สาหรับ
ภาคราชการแลว้ ยังถอื ว่าเปลยี่ นแปลงชา้ เนอื่ งจากเป็นเรื่องที่เก่ียวข้องทั้งในด้านปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์หรือ
คา่ นิยมในการปฏบิ ตั ิราชการ และในดา้ นการจดั ระบบการบริหารกาลังคนใหย้ ดื หยุ่นตอ่ การเปล่ียนแปลง

HR Scorecard คืออะไร
HR Scorecard เป็นเครื่องมือสาหรับใช้ประเมินผลสาเร็จด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลขององค์กร

เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาและเพิ่มขีดสมรรถนะกาลงั คนขององคก์ รให้มีความเข้มแข็งและสอดรบั ภารกจิ ขององค์กร

องคป์ ระกอบของ HR Scorecard
จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบแผนการปฏิบัติราชการท่ีดี (Best Practices) เกี่ยวกับการประเมิน

ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลขององค์กรภาครัฐและเอกชนท้ังในและต่างประเทศประกอบกับแนวทางการ
ประยุกต์ใช้ในราชการพลเรือนไทย สานักงาน ก.พ. ได้กาหนดองค์ประกอบของการประเมินผลสาเร็จด้านการ
บริหารทรพั ยากรบุคคลของส่วนราชการไว้ 4 ส่วนดงั นี้

1. มาตรฐานความสาเร็จของระบบบริหารทรัพยากรบุคคลในส่วนราชการ (Standard.for.Success)
หมายถงึ ผลการบริหารราชการด้านการบริหารทรพั ยากรบุคคลซง่ึ เปน็ เปูาหมายสดุ ท้ายท่สี ว่ นราชการต้องบรรลุ

2. ปัจจัยท่ีจะนาไปสู่ความสาเร็จ (Critical Success Factors) หมายถึงนโยบาย แผนงาน โครงการ
มาตรการและการดาเนินการต่างๆ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งจะทาให้ส่วนราชการบรรลุมาตรฐาน
ความสาเร็จ

3. มาตรวัดหรือตัวช้ีวัดความสาเร็จ (Measures and Indicators) หมายถึงปัจจัยหรือตัวบ่งชี้ว่าส่วน
ราชการมคี วามคบื หน้าในการดาเนินการตามนโยบายแผนงานโครงการและมาตรการด้านการบริหารทรัพยากร
บคุ คล ซึ่งมีความสอดคลอ้ งกับมาตรฐานแห่งความสาเร็จ จนบรรลเุ ปาู หมายทีต่ ้งั ไว้มากน้อยเพียงใด

-273-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

4. ผลการดาเนนิ การหมายถงึ ข้อมูลจริงที่ใช้เป็นหลักฐานในการประเมินว่าส่วนราชการได้ดาเนินการ
ตามนโยบายแผนงานโครงการและมาตรการดา้ นการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งมีความสอดคล้องกับมาตรฐาน
แหง่ ความสาเร็จ

มาตรฐานความสาเร็จทเ่ี ปน็ เป้าหมายสุดท้ายที่ส่วนราชการตอ้ งบรหิ ารทรัพยากรบุคคลให้บรรลุ มีดงั น้ี
มติ ทิ ่ี 1 ความสอดคลอ้ งเชงิ ยุทธศาสตร์
มิตทิ ี่ 2 ประสทิ ธภิ าพการบริหารทรัพยากรบุคคล
มติ ทิ ี่ 3 ประสทิ ธผิ ลการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล
มติ ิท่ี 4 ความพร้อมรบั ผดิ ดา้ นการบริหารทรพั ยากรบคุ คล
มติ ทิ ่ี 5 คณุ ภาพชวี ิตและความสมดลุ ระหวา่ งชวี ติ กับการทางาน

มติ ิท่ี 1 ความสอดคลอ้ งเชิงยุทธศาสตร์ ( Strategic Alignment) หมายถึง สว่ นราชการมีแนวทางและ
วธิ กี ารบริหารทรัพยากรบุคคลดงั ตอ่ ไปนี้

(ก) ส่วนราชการมีนโยบาย แผนงาน และมาตรการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ซ่ึงมีความ
สอดคลอ้ งและสนับสนุนใหส้ ว่ นราชการบรรลพุ ันธกจิ เปาู หมายและวัตถุประสงคท์ ีต่ ้งั ไว้

(ข) สว่ นราชการมีการวางแผนและบริหารกาลงั คนทงั้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ กล่าวคือ “กาลังคนมี
ขนาดสมรรถนะ” ทเี่ หมาะสมสอดคล้องกับการบรรลภุ ารกิจและความจาเป็นของส่วนราชการทง้ั ในปัจจุบันและ
ในอนาคตมีการวิเคราะห์สภาพกาลังคน (Workforce Analysis) สามารถบรรลุช่องว่างด้านความต้องการ
กาลงั คนและมีแผนเพ่ือลดช่องว่างดังกล่าว

(ค) ส่วนราชการมีนโยบาย แผนงาน โครงการและมาตรการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลเพ่ือดึงดูด
ใหม้ ีการพัฒนาและรักษาไว้ซึ่งกลุม่ ขา้ ราชการและผู้ปฏิบัติงานที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง ซ่ึงจาเป็นต่อความคง
อยู่และขดี ความสามารถในการแข่งขันของส่วนราชการ (Talent Management)

(ง) ส่วนราชการมีแผนการสร้างและแผนการพัฒนาผบู้ ริหารทกุ ระดับ รวมทั้งมีแผนสร้างความต่อเน่ือง
ในการบริหารราชการ นอกจากน้ียังรวมถึงการที่ผู้นาปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่
ข้าราชการและผปู้ ฏบิ ัติงาน ทงั้ ในเรอื่ งผลของการปฏบิ ัติงานและพฤติกรรมในการทางาน

มิติที่ 2 ประสิทธิภาพการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Operational Efficiency) หมายถึง
กิจกรรมหรือกระบวนงาน การบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการ (HR Transactional Activities) มี
ลักษณะดังต่อไปน้ี

(ก) กจิ กรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการ เช่น สรรหาคัดเลือก การบรรจุ
แต่งตัง้ การพฒั นา การเลื่อนข้ันเล่ือนตาแหน่ง การโยกย้าย และกิจกรรมด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลอื่นๆ
มีความถกู ต้องและทันเวลา (Accuracy and Timeliness)

(ข) ส่วนราชการมีระบบฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลท่ีมีความถูกต้อง เที่ยงตรง ทันสมัย
และนาไปใช้ประกอบการตดั สินใจและการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลของสว่ นราชการไดจ้ รงิ

(ค) สัดส่วนค่าใช้จ่ายสาหรับกิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลต่องบประมาณรายจ่าย
ของส่วนราชการ มีความเหมาะสม และสะท้อนผลิตภาพของบุคลากร (HR Productivity) ตลอดจนความ
คุ้มคา่ (Value for Money)

(ง) มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในกิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วน
ราชการ เพ่อื ปรับปรงุ การบรหิ ารและการบริการ (HR Automation)

มิติท่ี 3 ประสิทธิผลการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Programme Effectiveness) หมายถึง นโยบาย
แผนงาน โครงการ และมาตรการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของสว่ นราชการ ก่อให้เกิดผล ดงั ต่อไปน้ี

-274-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

(ก) การรักษาไว้ซึ่งข้าราชการและผู้ปฏิบัติงานซ่ึงจาเป็นต่อการบรรลุเปูาหมาย พันธกิจของส่วนราชการ
(Retention)

(ข) ความพึงพอใจของข้าราชการและบุคลากรผู้ปฏบิ ัติงาน ต่อนโยบาย แผนงาน โครงการ และมาตรการ
ดา้ นการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการ

(ค) การสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมท้ังส่งเสริมให้มีการแบ่งปันแลกเปล่ียน
ข้อมูลข่าวสารและความรู้ (Development and Knowledge Management) เพื่อพัฒนาข้าราชการและ
ผู้ปฏิบัตงิ านใหม้ ที กั ษะและสมรรถนะที่จาเปน็ สาหรับการบรรลภุ ารกิจและเปาู หมายของสว่ นราชการ

(ง) การมีระบบการบริหารผลงาน ( Performance Management ) ที่เน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผล
และความคุ้มค่า มีระบบหรือวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานที่สามารถจาแนกความแตกต่างและจัดลาดับผลการ
ปฏิบัติงานของข้าราชการและผู้ปฏิบัติงานที่มีช่ืออ่ืนได้อย่างมีประสิทธิผลนอกจากน้ีข้าราชการและผู้ปฏิบัติงาน
เข้าใจถึงความเชื่อมโยงระหว่างผลการปฏิบัติงานของส่วนบุคคลและผลงานของทีมงาน กับความสาเร็จหรือผลงาน
ของส่วนราชการ

มติ ิที่ 4 ความพร้อมรับผิดด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ( HR Accountability) หมายถึง การ
ท่สี ่วนราชการจะต้อง

(ก) รับผิดชอบต่อการตัดสินใจและผลของการตัดสินใจด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ตลอดจนการ
ดาเนินการด้านวนิ ยั โดยคานงึ ถึงหลกั ความสามารถและผลงาน หลกั คุณธรรม หลักนิติธรรม และหลักมนุษยชน

(ข) มีความโปร่งใสในทุกกระบวนการของการบริหารทรัพยากรบุคคล ทั้งน้ีจะต้องกาหนดให้ความ
พร้อมรับผิดด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลแทรกอยู่ในทุกกิจกรรมด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคลของส่วน
ราชการ

มิติท่ี 5 คณุ ภาพชวี ิตและความสมดุลระหวา่ งชีวิตกับการทางาน ( Quality Work Life) หมายถึง
การที่ส่วนราชการมีนโยบาย แผนงาน โครงการและมาตรการ ซึ่งจะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ข้าราชการและบคุ ลากรภาครัฐ ดงั น้ี

(ก) ข้าราชการและผู้ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมในการทางาน ระบบงานและ
บรรยากาศการทางาน ตลอดจนมีการนาเทคโนโลยีการสอื่ สารเขา้ มาใช้ในการบริหารราชการและการให้บริการ
ประชาชน ซงึ่ จะส่งผลใหข้ า้ ราชการและผูป้ ฏบิ ตั ิงานได้ใชศ้ ักยภาพอย่างเต็มท่ี โดยไม่สญู เสยี รูปแบบการใช้ชีวติ สว่ นตวั

(ข) มีการจดั สวสั ดกิ ารและส่งิ อานวยความสะดวกเพ่ิมเติมที่ไม่ใช่สวัสดิการภาคบังคับตามกฎหมาย ซ่ึง
มีความเหมาะสม สอดคล้องกบั ความตอ้ งการและสภาพของส่วนราชการ

(ค) มีการส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างฝุายบริหารของส่วนราชการกับข้าราชการและบุคลากร
ผู้ปฏบิ ัตงิ าน และในระหวา่ งข้าราชการและผู้ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยกันเอง และให้กาลังคนมีความพร้อมที่จะขับเคลื่อน
ส่วนราชการให้พฒั นาไปส่วู ิสยั ทศั นท์ ต่ี ้องการ

กระบวนการพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรพั ยากรบุคคลในส่วนราชการ
1. การประเมินสถานภาพการบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล
เป็นกระบวนการศกึ ษาภาพรวมของสถานภาพการบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการเพ่ือทราบ
จุดออ่ น จุดแขง็ และขอ้ มูลความเปน็ จรงิ ขั้นพ้ืนฐานด้านตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คลของตน
2. การวางแผนกลยุทธ์การบริหารทรพั ยากรบคุ คล
เป็นการวางแผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการซ่ึงอาศัยข้อมูลจากการ
วิเคราะห์สถานภาพด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของตนเองมาวิเคราะห์ร่วมกับเปูาหมายยุทธศาสตร์และ
วิสัยทัศน์ของส่วนราชการ นโยบายของผู้บริหาร เพื่อกาหนดกลยุทธ์เปูาหมาย และกิจกรรมด้านการบริหาร
ทรัพยากรบคุ คลใหเ้ ก้ือหนุนตอ่ การขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์

-275-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

3. การนาแผนยทุ ธศาสตรก์ ารบริหารทรัพยากรบคุ คลไปปฏิบตั ิ
เป็นการมอบหมายผู้รับผิดชอบเพ่ือดาเนินกิจกรรมตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล และ
จัดสรรทรัพยากรท่ีจาเป็นต่อการดาเนินกิจกรรมเพ่ือให้บรรลุผลสาเร็จตามค่าเปูาหมายของตัวชี้วัด และเง่ือน
เวลาทกี่ าหนดไว้ในแผนกลยทุ ธ์การบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล ส่ิงสาคัญท่ีจะทาให้มีการนาแผนกลยุทธ์การบริหาร
ทรัพยากรบุคคลไปปฏิบัติอย่างเกิดผลคือ การสื่อสารทาความเข้าใจต่อเปูาหมาย วิธีดาเนินการ และผลลัพธ์ท่ี
ขา้ ราชการและส่วนราชการจะได้รับ รวมทงั้ ประโยชนท์ ี่จะเกิดขน้ึ ตอ่ ประชาชนผรู้ ับบริการด้วย
4. การติดตามและการรายงาน

เป็นข้ันตอนท่ีจะทาให้ส่วนราชการม่ันใจว่า การดาเนินกิจกรรมด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลที่
ได้กาหนดไว้ในแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล มีความคืบหน้าไปสู่เปูาหมายท่ีต้องการ หรือหากมี
ปญั หาอปุ สรรคใดกส็ ามารถปรับปรุงแก้ไขการดาเนนิ งานได้อย่างทนั การณ์

การงบประมาณ
การบริหารงบประมาณ ประกอบด้วย

 การจัดทาและเสนอของบประมาณ
1. การวเิ คราะหแ์ ละพฒั นานโยบายทางการศึกษา
2. การจัดทาแผนกลยทุ ธ์หรอื แผนพัฒนาการศึกษา
3. การวิเคราะห์ความเหมาะสมการเสนอของบประมาณ

 การจัดสรรงบประมาณ
1. การจัดสรรงบประมาณในสถานศึกษา
2. การเบกิ จา่ ยและการอนุมัติงบประมาณ
3. การโอนเงินงบประมาณ

 การตรวจสอบ ตดิ ตาม ประเมินผลและรายงานผลการใชเ้ งินและผลการดาเนินงาน
1. การตรวจสอบตดิ ตามและการใชเ้ งนิ และผลการดาเนนิ งาน
2. การประเมินผลการใช้เงินและผลการดาเนนิ งาน
3. รายงานผลการใช้เงินและสรุปผลการดาเนินงาน

 การระดมทรัพยากร และการลงทนุ เพื่อการศึกษา
1. การวางแผนการระดมทรัพยากร
2. การจัดการทรพั ยากร
3. การระดมทรัพยากร
4. การจัดหารายได้และผลประโยชน์
5. กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา
6. กองทนุ สวัสดิการเพือ่ การศึกษา

 การบรหิ ารการเงิน
1. การวางแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ
2. การเบกิ เงินจากสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
3. การรับเงิน
4. การเกบ็ รักษาเงิน
5. การจา่ ยเงิน
6. การนาส่งเงนิ
7. การกันเงนิ ไวเ้ บกิ เหลื่อมปี

-276-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

 การบริหารบญั ชี
1. การจดั ทาเอกสารและบญั ชีการเงิน
2. การจัดทารายงานทางการเงนิ งบการเงนิ และการใช้จา่ ยเงนิ
3. การจดั ทาและจดั หาแบบพิมพ์บัญชี ทะเบียนและรายงาน
4. การตรวจสอบทางการบัญชี การเงินของสถานศึกษา

 การบรหิ ารพสั ดุและสนิ ทรัพย์
1 การจัดทาระบบฐานข้อมูลสินทรัพยข์ องสถานศึกษา
2 การจัดหาพัสดเุ พื่อใช้ในการบรหิ ารและการจัดการการศึกษา
3 การกาหนดแบบรปู รายการหรือคณุ ลักษณะเฉพาะและจัดซ้อื จัดจา้ ง
4 การควบคุมดูแล บารุงรักษาและจาหนา่ ยพสั ดุ
5 การตรวจสอบการรบั - จา่ ยพสั ดุ

 การส่งเสริม สนบั สนนุ และประสานจัดการศึกษาของบคุ คล ชุมชน องคก์ รและหน่วยงานอื่น
1. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ประสานงานการจัดการศึกษาของชมุ ชน องคก์ รชมุ ชนและหน่วยงานอนื่
2. ใหค้ าปรึกษา แนะนา สง่ เสริมและประสานงานในการจดั การศึกษาของหนว่ ยงานและสถาบนั
สงั คมอน่ื ที่จดั การศกึ ษา

 การจดั วางระบบควบคุมภายในหน่วยงาน
1. ศึกษาสภาพปจั จบุ ัน ปญั หาและภารกจิ ของสถานศึกษา
2. วิเคราะห์ และกาหนดมาตรการในการดาเนนิ งาน เพื่อปูองกนั ความเส่ียงในการดาเนนิ งานของ
สถานศึกษา
3. วางแผนการจัดวางระบบการควบคมุ ภายในสถานศกึ ษา ตามภารกจิ
4. ประเมินผล ตรวจสอบ รายงานและกาหนดแนวทางการปรบั ปรุง พฒั นาตามภารกจิ ของ
สถานศึกษา

 งานอน่ื ๆ ท่ีได้รับมอบหมาย

ขอบคณุ ทวี่ างไวใ้ จ….แอดมนิ ดษิ ฐ์


Click to View FlipBook Version