The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือเตรียมสอบ-เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน-สพฐ.-2 รหัส 888899

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sk.dsd0478, 2022-06-23 23:12:18

คู่มือเตรียมสอบ-เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน-สพฐ.-2 รหัส 888899

คู่มือเตรียมสอบ-เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน-สพฐ.-2 รหัส 888899

-198-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

16. ขอ้ ใดไม่ใช่พนั ธกจิ ของกระทรวงศึกษาธิการ
ก. พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ข. ยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา
ค. ลดความเหลื่อมลา้ ทางการศกึ ษา
ง. ม่งุ ความเป็นเลิศและสรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
เฉลย ก. พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

-199-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

แนวขอ้ สอบความรู้ในการคิดวิเคราะห์ นโยบายทางการศึกษา และทศิ ทางการปฏิรูปประเทศเพ่ือการพัฒนา

ประเทศตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 - 2579

1. นโยบายใดทไี่ มเ่ ก่ียวข้องกับการศกึ ษา

ก. กรอบยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี

ข. นโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร

ค. นโยบายปูองกันและการทุจริตตา่ งๆ

ง. นโยบายรัฐบาล พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา

เฉลย ค. นโยบายปอู งกันและการทุจรติ ตา่ งๆ

2. การปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรทู้ ต่ี อบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ ข้อใดกลา่ วไม่ถูกต้อง
ก. การเปลยี่ นโฉมบทบาท “ครู” ใหเ้ ปน็ ครยู คุ ใหม่
ข. การสร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทางาน และระบบสนับสนุน ที่เหมาะสมสาหรับผู้มี
ความสามารถพิเศษผา่ นกลไกต่าง ๆ
ค. การพฒั นาระบบการเรียนร้ตู ลอดชีวิต
ง. การสร้างความตื่นตัวให้คนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ และ การวางตาแหน่งของประเทศ
ไทยในภูมิภาคเอเชยี อาคเนยแ์ ละประชาคมโลก
เฉลย ข. การสร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทางาน และระบบสนับสนุน ท่ีเหมาะสมสาหรับผู้มี
ความสามารถพเิ ศษผา่ นกลไกตา่ ง ๆ

3. การเสรมิ สรา้ งและพัฒนาศักยภาพทนุ มนษุ ย์เด็กปฐมวัยมพี ฒั นาการสมวยั ไม่น้อยกวา่ เทา่ ใด
ก. รอ้ ยละ 85
ข. รอ้ ยละ 84
ค. ร้อยละ 83
ง. ร้อยละ 82
เฉลย ก. ร้อยละ 85

4. การเสริมสร้างและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนษุ ย์เด็กวัยเรยี นและวัยรนุ่ มี IQ ไมต่ า่ กวา่ เท่าใด
ก. ร้อยละ 60
ข. รอ้ ยละ 70
ค. ร้อยละ 80
ง. ร้อยละ 90
เฉลย ข. รอ้ ยละ 70

5. การเสริมสรา้ งและพัฒนาศักยภาพทนุ มนษุ ย์วยั แรงงานมีความรแู้ ละทกั ษะตามความตอ้ งการของตลาดงาน
ผเู้ รียนในระบบทวิภาคเี พม่ิ ร้อยละเทา่ ใดต่อปี
ก. ร้อยละ 20 ต่อปี
ข. ร้อยละ 30 ต่อปี
ค. ร้อยละ 30 ตอ่ ปี
ง. รอ้ ยละ 35 ต่อปี
เฉลย ค. รอ้ ยละ 30 ตอ่ ปี

-200-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

6. การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาศักยภาพทนุ มนษุ ย์ผลคะแนนสอบ PISA ไมต่ า่ กวา่ เท่าใด
ก. 200
ข. 300
ค. 500
ง. 600
เฉลย ค. 500

7. การเสริมสร้างและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนุษย์ มกี ารใช้อินเทอรเ์ นต็ หาความรูเ้ พิ่มข้ึน มีการอ่านเพ่ิมขึน้ ร้อยละ
เทา่ ใด
ก. ร้อยละ 85
ข. รอ้ ยละ 84
ค. ร้อยละ 83
ง. รอ้ ยละ 82
เฉลย ก. รอ้ ยละ 85

8. การเสริมสรา้ งและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์แรงงานเทียบโอนวุฒิ ปวช. และ ปวส. เพ่ิมข้นึ ร้อยละเท่าใดต่อปี
ก. ร้อยละ 10 ตอ่ ปี
ข. ร้อยละ 15 ต่อปี
ค. ร้อยละ 20 ต่อปี
ง. รอ้ ยละ 25 ตอ่ ปี
เฉลย ค. รอ้ ยละ 20 ตอ่ ปี

9. นโยบายรัฐบาล นายกรัฐมนตรี สาหรับภาพการศึกษาเพ่ืออนาคตประเทศไทยม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืนน้ัน ได้
กาหนดนโยบายด้านการศึกษา ตามข้อใด
ก. พฒั นาคุณภาพผเู้ รียนและส่งเสรมิ การเรียนรู้

ข. ขับเคล่ือนการปฏริ ูปการศึกษาท้ังระบบ

ค. ถูกท้งั ขอ้ ก และ ข

ง. ไมม่ ขี ้อใดถูกต้อง

เฉลย ค. ถกู ท้ังข้อ ก และ ข

10. พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นและส่งเสรมิ การเรียนรู้ ข้อใดกล่าวถกู ตอ้ ง
ก. ปลกู ฝังคา่ นยิ ม 12 ประการ บนฐานหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ข. ปลูกฝงั ใหเ้ ด็กรักและภมู ิใจในความเปน็ ไทย รู้จักประวตั ิศาสตร์ชาติไทย และหน้าท่ีความเปน็ พลเมืองท่ีดี

ค. ยึดเด็กเป็นศูนย์กลางของการพฒั นา ม่งุ เน้นการอ่านออก เขยี นได้คิดเป็น มองเห็นอนาคต

ง. ถูกทุกขอ้

เฉลย ง. ถูกทกุ ข้อ

-201-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

แนวขอ้ สอบนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

1. นโยบายการจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการปจั จบุ ัน เรม่ิ และส้ินสุดตามขอ้ ใด
ก. 2564 – 2565
ข. 2565 – 2567
ค. 2560 – 2565
ง. 2564 – 2568
เฉลย ก. 2564 – 2565

2. นโยบายการจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ สรา้ ง “TRUST” ตรงกบั ข้อใด
ก. ความเช่ือม่ัน ไวว้ างใจ” ให้กับนกั เรยี น โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเดก็ และผ้ปู กครอง โดยทกุ หน่วยงานสามารถท่ี
จะเปน็ หลกั หรือเปน็ ทพ่ี ึ่งได้
ข. ความเชือ่ ม่นั ไว้วางใจ” ให้กบั สงั คม โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเด็กและผปู้ กครอง โดยทกุ หน่วยงานสามารถท่จี ะ
เปน็ หลัก หรือเปน็ ท่ีพง่ึ ได้
ค. ความเช่อื มัน่ ในนโยบาย ” ใหก้ บั สังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและผ้ปู กครอง โดยทุกหน่วยงานสามารถที่
จะเป็นหลกั หรอื เปน็ ท่พี ่งึ ได้
ง. ถกู ทุกข้อ
เฉลย ข. ความเชื่อมั่น ไว้วางใจ” ให้กับสังคม โดยเฉพาะอย่างย่ิงเด็กและผู้ปกครอง โดยทุกหน่วยงาน
สามารถทจ่ี ะเป็นหลัก หรอื เปน็ ทพ่ี ง่ึ ได้

3. รปู แบบการทางาน “MOE ONE TEAM”ตรงกับข้อใด
ก. “การทางานตามนโนบายของกระทรวงศึกษาธิการ”
ข. “การทางานรว่ มกนั โดยยดึ หลักผ้เู รยี นเป็นสาคญั ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ”
ค. “การทางานร่วมกันเป็นหนง่ึ เดียวของกระทรวงศึกษาธิการ”
ง. “การทางานร่วมกนั ระหวา่ งโรงเรยี นเปน็ หน่ึงเดียวของกระทรวงศึกษาธกิ าร”
เฉลย ค. “การทางานรว่ มกนั เป็นหนึง่ เดยี วของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร”

4. การกาหนดนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ข้อใดถูกต้อง
ก. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและอาชีวศึกษาให้มี
สมรรถนะทางภาษาและดิจทิ ลั เพ่ือให้ครูและอาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะ ท้ังด้านการจัดการ
เรยี นรู้ดว้ ยภาษาและดจิ ิทลั สามารถปรับวธิ กี ารเรยี นการสอนและการใชส้ ื่อทนั สมยั
ข. การปฏริ ูปการเรียนรู้ด้วยดิจทิ ัล ผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP) และการส่งเสริม
การฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจาวัน เพื่อให้มีหน่วยงานรับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วย
ดจิ ิทลั แหง่ ชาติ ทส่ี ามารถนาไปใช้ในกระบวนการจดั การเรียนรู้ท่ีทันสมัย และเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้อย่าง
กว้างขวางผ่านระบบออนไลน์ และการนาฐานข้อมูลกลางทางการศึกษา มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
ประสิทธิภาพการบรหิ าร
ค. การพฒั นาประสิทธภิ าพการบริหารและการจัดการศกึ ษา โดยการสง่ เสริมสนบั สนุนสถานศึกษาให้มีความ
เป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน โดย
อาศัยอานาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติที่ได้รับการปรับปรุงเพื่อกาหนดให้มีระบบบริหารและการ
จัดการ รวมถงึ การจดั โครงสร้างหนว่ ยงานให้เอื้อต่อการจดั การเรยี นการสอนให้มีคุณภาพ สถานศึกษาให้
มคี วามเปน็ อิสระ
ง. ถูกทุกขอ้
เฉลย ง. ถกู ทกุ ข้อ

-202-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

5. ขอ้ ใดไมใ่ ช่นโยบายระยะเรง่ ดว่ นของกระทรวงศึกษาธิการ
ก. ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยจัดให้มีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
เพอ่ื ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับการปกปูองคุ้มครองความปลอดภัยท้ัง
ด้านร่างกายและจิตใจ รวมถงึ การสรา้ งทกั ษะใหผ้ เู้ รียนมีความสามารถในการดูแลตนเองจากภัยอันตราย
ตา่ ง ๆ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม
ข. หลักสูตรฐานสมรรถนะ มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายโดยยึดความสามารถของผู้เรียนเป็นหลัก
และพฒั นาผ้เู รียนให้เกดิ สมรรถนะที่ตอ้ งการ
ค. การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยึดหลักการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการมีส่วน
ร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเพ่ิมโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทาง
การศึกษาและผเู้ รียนท่ีมคี วามต้องการจาเป็นพิเศษ
ง. ฐานข้อมูล Big Data มุ่งพัฒนาการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและไม่ซ้าซ้อน เพ่ือให้ได้ข้อมูลภาพรวม
การศึกษาของประเทศท่ีมีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้
อยา่ งแทจ้ ริง
เฉลย ค. การจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยึดหลักการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการ
มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเก่ียวข้อง เพ่ือเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาส
ทางการศกึ ษาและผู้เรยี นท่ีมีความต้องการจาเปน็ พิเศษ

-203-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565
แนวข้อสอบนโยบายสานักงานคณะกรมการการศึกษาชัน้ พ้ืนฐานปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๒๔ - ๒๕๒๕
1. ตามแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ 6๕๖๓ - 2๕๘o และแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษากาหนดให้มี

การพฒั นาเดก็ ตามขอ้ ใด
ก. ตงั้ แตร่ ะดับอนุบาลให้มีสมรรถนะและคณุ ลกั ษณะท่ีดี
ข. ต้ังแตร่ ะดับประถมใหม้ ีสมรรถนะและคุณลักษณะที่ดี
ค. ตง้ั แตร่ ะดบั ปฐมวัยใหม้ สี มรรถนะและคณุ ลักษณะทีด่ ี
ง. ตงั้ แต่ระดับปริญญาใหม้ ีสมรรถนะและคุณลักษณะที่ดี
เฉลย ค. ตั้งแต่ระดับปฐมวัยใหม้ สี มรรถนะและคุณลกั ษณะที่ดี

2. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาชน้ั พื้นฐาน มุ่งม่นั ในการพฒั นาการศึกษาข้นั พ้ืนฐานให้เป็นไปตามข้อใด
ก. "การศึกษาขน้ั พื้นฐานวถิ ใี หม่ วิถีคุณภาพ"
ข. "การศึกษาข้นั พ้ืนฐานวถิ ใี หม่ วถิ ีคณุ ภาพ และคณุ ธรรม"
ค. "การศึกษาขั้นพ้ืนฐานวิถใี หม่ วถิ คี ุณภาพ คณุ ธรรม และธรรมมาภบิ าล"
ง. "การศึกษาข้นั พน้ื ฐานวิถีใหม่ วถิ ีคุณภาพของกระทรวงศึกษาธิการ"
เฉลย ก. "การศึกษาข้นั พนื้ ฐานวถิ ีใหม่ วิถีคุณภาพ"

3. นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ ข้อใด
ถกู ต้อง
ก. ดา้ นความปลอดภัย
ข. ด้านโอกาส
ค. ด้านคุณภาพ และด้านประสิทธภิ าพ
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ง. ถูกทกุ ข้อ

4. นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ประกาศเมอื่ ใด
ก. 16 ธนั วาคม ๒๕๖๓
ข. 17 ธนั วาคม ๒๕๖๓
ค. 18 ธันวาคม ๒๕๖๓
ง. 19 ธนั วาคม ๒๕๖๓
เฉลย ก. 16 ธนั วาคม ๒๕๖๓

-204-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

แนวข้อสอบแผนการปฏริ ูปประเทศ ด้านการศึกษา

1. แผนการปฏิรปู ประเทศด้านการศกึ ษาเพ่อื การพัฒนาประเทศตามแผนการศกึ ษาแห่งชาติ ข้อใดกล่าวถูกตอ้ ง
ก. ยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา ลดความเหล่ือมล้า ทางการศกึ ษา
ข. ม่งุ ความเปน็ เลิศและสรา้ งขีดความสามารถ ของประเทศ และปรับปรุงระบบการศึกษาให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
ในการใช้ทรัพยากร
ค. เพ่มิ ความคลอ่ งตัวในการรองรบั ความหลากหลายของการจัดการศึกษา
ง. ถกู ทกุ ข้อ
เฉลย ง. ถกู ทุกขอ้

2.ข้อใดไม่ถูกต้องเก่ียวกับบริบทการพัฒนาของประเทศ หากพิจารณา สถานการณ์และแนวโน้มท่ีสาคัญ
สถานการณแ์ ละแนวโนม้ ภายนอก
ก. การเปลี่ยนแปลง ทางเทคโนโลยนี วตั กรรม
ข. การรวมตวั เป็น ประชาคมอาเซยี น
ค. การเข้าสูว่ กิ ฤตสงั คมสงู วยั
ง. การปฏิวัติดิจทิ ลั
เฉลย ก. การเปลีย่ นแปลง ทางเทคโนโลยีนวตั กรรม

3. ข้อใดไม่ใช่การขยายตัวของอุตสาหกรรมและชุมชนเมือง ส่งผลให้ ทรัพยากร ธรรมชาติถูกทาลายและเสื่อม
โทรม อย่างรวดเร็ว นามาซึ่งความสูญเสียทางเศรษฐกิจและ สังคมท่ีประมาณค่ามิได้ ส่วนสถานการณ์และ
แนวโนม้ ภายใน
ก. คุณภาพของคนไทยทุกกลุ่มวัย
ข. การรวมตัวเปน็ ประชาคมอาเซยี น
ค. คุณลักษณะ ทพ่ี ึงประสงคข์ องคนไทย
ง. การวางแผนเพ่อื รองรบั ประเทศไทย 4.0
เฉลย ข. การรวมตัวเปน็ ประชาคมอาเซียน

4. วัตถุประสงค์เพื่อให้คนไทย ทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และพัฒนาตนเอง ได้อย่างต่อเน่ือง
ตลอดชีวิต ซ่ึงทุกหน่วยงานได้มีการจัดทา แผนและกาหนดเปูาหมายการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับ
วตั ถปุ ระสงค์รวมของการปฏิรูปการศกึ ษา ประกอบด้วย ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ ง
ก. ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา ลดความเหลอ่ื มลา้ ทางการศึกษา
ข. มุ่งความเป็นเลิศ และสรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ค. ปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ในการใช้ทรัพยากร เพ่ิมความคล่องตัวในการรองรับ ความ
หลากหลายของการจดั การศกึ ษา และสร้างธรรมาภบิ าล
ง. ถูกทุกขอ้
เฉลย ง. ถกู ทุกขอ้

-205-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

พระราชบัญญตั ิ

มาตรฐานทางจรยิ ธรรม
พ.ศ. ๒๕๖๒

สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู

ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
เปน็ ปที ี่ ๔ ในรชั กาลปัจจบุ ัน

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ
ใหป้ ระกาศวา่

โดยทเ่ี ปน็ การสมควรมกี ฎหมายวา่ ดว้ ยมาตรฐานทางจรยิ ธรรม
จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภานิติ
บญั ญตั ิแหง่ ชาตทิ าหน้าทร่ี ัฐสภา ดงั ตอ่ ไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั ินีเ้ รยี กวา่ “พระราชบัญญตั ิมาตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ ”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน็ ตน้ ไป

มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญัติน้ี

ควรจา

“หน่วยงานของรัฐ” หมายความวา่ กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการท่เี รียกช่ืออย่างอื่น และมี
ฐานะเป็นกรม ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรือหน่วยงานอื่นของรัฐในฝุายบริหาร แต่ไม่
หมายความรวมถึง หน่วยงานธรุ การของรัฐสภา องคก์ รอิสระ ศาล และองคก์ รอยั การ

“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานอ่ืนใน
หนว่ ยงานของรัฐ

“องค์กรกลางบริหารงานบุคคล” หมายความว่า คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื นในสถาบันอดุ มศกึ ษา คณะกรรมการขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
และคณะกรรมการข้าราชการตารวจตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทนั้น รวมท้ังคณะกรรมการ
กลางบริหารงานบุคคลของเจ้าหน้าท่ีของรัฐในฝุายบริหาร และคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคล
สว่ นท้องถิ่นตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบยี บบรหิ ารงานบุคคลส่วนทอ้ งถิน่

“กรรมการ” หมายความว่า กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม

มาตรา ๔ ให้นายกรฐั มนตรีรักษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี

-206-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

หมวด ๑

ออกบอ่ ย มาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจริยธรรม
มาตรา ๕ มาตรฐานทางจริยธรรม คือ หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของ

เจา้ หน้าท่ขี องรัฐ ซงึ่ จะตอ้ งประกอบดว้ ย

(๑) ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ

(๒) ซอื่ สตั ยส์ จุ ริต มจี ิตสานึกทีด่ ี และรบั ผิดชอบตอ่ หน้าที่

(๓) กลา้ ตัดสินใจและกระทาในส่งิ ท่ถี ูกต้องชอบธรรม

(๔) คดิ ถึงประโยชนส์ ่วนรวมมากกวา่ ประโยชน์สว่ นตวั และมีจติ สาธารณะ

(๕) มุง่ ผลสัมฤทธ์ขิ องงาน

(๖) ปฏบิ ัตหิ นา้ ทอ่ี ย่างเป็นธรรมและไมเ่ ลอื กปฏิบตั ิ

(๗) ดารงตนเปน็ แบบอย่างทด่ี ีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ

มาตรฐานทางจริยธรรมตามวรรคหน่ึง ให้ใช้เป็นหลักสาคัญในการจัดทาประมวลจริยธรรมของ

หนว่ ยงานของรฐั ท่ีจะกาหนดเปน็ หลักเกณฑใ์ นการปฏบิ ัติตนของเจ้าหน้าที่ของรัฐเกี่ยวกับสภาพคุณงามความดี

ที่เจ้าหน้าที่ของรัฐต้องยึดถือสาหรับการปฏิบัติงาน การตัดสินความถูกผิด การปฏิบัติท่ีควรกระทา หรือไม่ควร

กระทาตลอดจนการดารงตนในการกระทาความดีและละเว้นความช่วั

ออกบอ่ ย มาตรา ๖ ให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐ มีหน้าท่ีจัดทาประมวล

จริยธรรมสาหรับเจา้ หนา้ ที่ของรฐั ทอ่ี ยู่ในความรับผดิ ชอบ

ในกรณที เ่ี ป็นเจา้ หน้าที่ของรฐั ซง่ึ ไมม่ อี งคก์ รกลางบรหิ ารงานบคุ คลท่ีรับผิดชอบ ให้องค์กรต่อไปนี้

เป็นผู้จัดทาประมวลจรยิ ธรรม

(๑) คณะรฐั มนตรี สาหรบั ข้าราชการการเมือง

(๒) สภากลาโหม สาหรบั ข้าราชการทหารและขา้ ราชการพลเรอื นกลาโหม

(๓) สานักงานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกจิ สาหรบั ผ้บู ริหารและพนกั งานรฐั วสิ าหกิจ

(๔) คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน สาหรับผู้บริหารเจ้าหน้าที่ และ

ผูป้ ฏบิ ตั ิงานขององค์การมหาชน

ในกรณีที่มีปัญหาว่าองค์กรใดเป็นผู้จัดทาประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าท่ีของรัฐประเภทใด

ให้ ก.ม.จ. เปน็ ผู้มอี านาจวินจิ ฉัย

ท้ังน้ี หน่วยงานของรัฐอาจจัดทาข้อกาหนดจริยธรรมเพ่ือใช้บังคับกับเจ้าหน้าท่ีของรัฐในหน่วยงาน

นัน้ เพม่ิ เตมิ จากประมวลจริยธรรมให้เหมาะสมแกภ่ ารกิจทีม่ ลี ักษณะเฉพาะของหน่วยงานของรัฐน้ันด้วยก็ได้

การจัดทาประมวลจริยธรรมและข้อกาหนดจริยธรรมของหน่วยงานของรัฐต้องเป็นไปตาม

หลกั เกณฑท์ ่ี ก.ม.จ. กาหนดตามมาตรา ๑๔ ดว้ ย

-207-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

มาตรา ๗ เพื่อให้การจัดทาประมวลจริยธรรมในภาครัฐมีมาตรฐานทางจริยธรรมในระดับ
เดียวกัน ในการจัดทาประมวลจริยธรรมขององค์กรกลางบริหารงานบุคคลของศาลหรือองค์กรอัยการ องค์กร
กลางบริหารงานบุคคลของหน่วยงานธุรการของรัฐสภาและองค์กรอิสระ ให้นามาตรฐานทางจริยธรรมตาม
มาตรา ๕ ไปใชป้ ระกอบการพิจารณาจัดทาประมวลจริยธรรมของเจ้าหน้าท่ีของรฐั ท่อี ยูใ่ นความรบั ผดิ ชอบดว้ ย

หมวด ๒

ออกบ่อย คณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรม
มาตรา ๘ ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมคณะหน่ึง เรียกโดยย่อว่า “ก.ม.จ.”

ประกอบด้วย

(๑) นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรฐั มนตรีซ่งึ นายกรฐั มนตรมี อบหมาย เป็นประธานกรรมการ

(๒) ผ้แู ทนคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื นท่ีได้รับมอบหมาย เป็นรองประธานกรรมการ

(๓) กรรมการโดยตาแหน่ง จานวนห้าคน ได้แก่ ผู้แทนที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ

ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

คณะกรรมการข้าราชการตารวจ คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น และสภากลาโหม

อยา่ งละหน่งึ คน

(๔) กรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิซงึ่ นายกรัฐมนตรแี ต่งตัง้ จานวนไม่เกินหา้ คน เป็นกรรมการ

ให้เลขาธิการ ก.พ. เป็นกรรมการและเลขานุการ และให้เลขาธิการ ก.พ. แต่งต้ังข้าราชการใน

สานกั งาน ก.พ. เป็นผู้ชว่ ยเลขานุการได้ตามความจาเป็น

เพือ่ ประโยชน์ในการดาเนินการตามหน้าทแ่ี ละอานาจของ ก.ม.จ. ก.ม.จ. อาจมมี ตใิ ห้เชิญผู้แทนท่ี
ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการที่ทาหน้าที่บริหารงานรัฐวิสาหกิจหรือองค์การมหาชน หรือหัวหน้า
หน่วยงานของรฐั ทีม่ หี น้าทีแ่ ละอานาจโดยตรงเก่ียวกบั เรอื่ งทจ่ี ะพิจารณา หรอื ผซู้ งึ่ มีความรู้ ความเชี่ยวชาญและ
ประสบการณ์ด้านจริยธรรมให้เข้าร่วมประชุมเป็นคร้ังคราวในฐานะกรรมการด้วยก็ได้ ในกรณีเช่นนั้นให้ผู้ที่
ไดร้ บั เชญิ และมาประชมุ มีฐานะเป็นกรรมการสาหรับการประชุมครั้งท่ีได้รับเชญิ นัน้

ให้สานักงาน ก.พ. มีหน้าที่ปฏิบัติงานธุรการ งานประชุม งานวิชาการ การศึกษาหาข้อมูล และ
กิจการต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องให้แก่ ก.ม.จ. คณะอนุกรรมการหรือคณะทางานท่ีแต่งตั้งโดย ก.ม.จ. รวมทั้งให้มี
หน้าทแี่ ละอานาจอนื่ ตามทีก่ าหนดในพระราชบัญญตั ินี้

ควรจา

มาตรา ๙ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ต้องมีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ ด้านการ
สง่ เสรมิ จริยธรรม ด้านกฎหมาย ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หรือด้านอ่ืนใดอัน
จะเป็นประโยชน์แก่การปฏิบัติหน้าท่ีของ ก.ม.จ. โดยมีผลงานเป็นท่ีประจักษ์ และต้องมีคุณสมบัติและไม่มี
ลกั ษณะตอ้ งหา้ ม ดังตอ่ ไปนี้

(๑) มีสัญชาตไิ ทย
(๒) มอี ายุไมต่ ่ากวา่ ส่สี บิ ห้าปี

-208-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

(๓) ไมเ่ ป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเปน็ บคุ คลลม้ ละลายทจุ ริต
(๔) ไม่เปน็ คนไรค้ วามสามารถหรือคนเสมอื นไร้ความสามารถ
(๕) ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิด
ท่ไี ด้กระทาโดยประมาท
(๖) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถ่ินหรือผู้บริหารท้องถ่ิน กรรมการหรือ
ผู้ซึ่งดารงตาแหนง่ ซ่ึงรับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ทป่ี รกึ ษาพรรคการเมืองหรือเจ้าหนา้ ท่ีพรรคการเมือง
(๗) ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัย หรือให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือ
หนว่ ยงานของรัฐ
(๘) ไม่เคยต้องคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลอันถึงที่สุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะ
รา่ รวยผดิ ปกติ
(๙) ไม่เคยต้องคาพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าท่ีราชการหรือ ต่อ
ตาแหน่งหน้าท่ีในการยุติธรรม หรือกระทาความผิดตามกฎหมายว่าด้วยความผิดของพนักงานในองค์การหรือ
หน่วยงานของรัฐ
(๑๐) ไม่อยใู่ นระหวา่ งตอ้ งห้ามมใิ ห้ดารงตาแหนง่ ทางการเมอื ง
(๑๑) ไม่เคยพน้ จากตาแหน่งเพราะศาลฎีกาหรือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทาง
การเมืองมีคาพิพากษาว่าฝาุ ฝืนหรือไมป่ ฏบิ ตั ิตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมอยา่ งรา้ ยแรง

ออกบ่อย มาตรา ๑๐ กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสามปี

เม่อื ครบกาหนดตามวาระในวรรคหน่ึง หากยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิข้ึนใหม่ ให้

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตาแหน่งเพื่อดาเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการ

ผ้ทู รงคณุ วุฒิซ่งึ ไดร้ บั แต่งตั้งใหมเ่ ขา้ รับหน้าที่

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่จะดารงตาแหน่ง

ติดต่อกันเกินสองวาระไม่ได้

มาตรา ๑๑ นอกจากการพน้ จากตาแหนง่ ตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิพ้นจากตาแหน่งเม่ือ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบตั หิ รอื มีลกั ษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๙
(๔) ก.ม.จ. มีมติให้ออกจากตาแหน่งด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจานวนกรรมการ
เท่าทีม่ ีอยู่ เพราะบกพร่องต่อหนา้ ท่ีมคี วามประพฤติเส่อื มเสีย หรอื หยอ่ นความสามารถ

-209-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

มาตรา ๑๒ ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระหรือในกรณีที่
นายกรัฐมนตรีแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงแต่งตั้งไว้แล้ว ยังมี
วาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ผู้ได้รับแต่งต้ังแทนตาแหน่งท่ีว่างหรือเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพิ่มขึ้นอยู่ในตาแหน่ง
เท่ากบั วาระที่เหลอื อยขู่ องผซู้ ึ่งตนแทนหรอื ผ้ซู ่ึงแตง่ ต้งั ไว้แล้ว เวน้ แตว่ าระที่เหลอื อยไู่ ม่ถงึ หนงึ่ ร้อยแปดสิบวันจะ
ไม่แต่งตัง้ กรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิแทนก็ได้

ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ให้ ก.ม.จ. ประกอบด้วยกรรมการ
ทงั้ หมดเทา่ ทม่ี ีอย่จู นกว่าจะมกี ารแต่งตั้งตามวรรคหนงึ่

มาตรา ๑๓ ก.ม.จ. มหี นา้ ท่แี ละอานาจ ดงั ต่อไปนี้
(๑) เสนอแนะและให้คาปรึกษาเก่ียวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานทางจริยธรรม
และการส่งเสรมิ จรยิ ธรรมภาครฐั ตอ่ คณะรัฐมนตรี
(๒) กาหนดแนวทางหรือมาตรการในการขับเคลื่อนการดาเนินกระบวนการรักษาจริยธรรม
รวมทั้งกลไกและการบังคับใช้ประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าท่ีของรัฐเพื่อให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคล
องค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง หรือผ้บู งั คับบญั ชานาไปใชใ้ นกระบวนการบรหิ ารงานบคุ คล อย่างเปน็ รปู ธรรม
(๓) กาหนดแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาเพ่ือเสริมสร้างประสิทธิภาพให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐ
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรมและยึดถือแนวทางปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม รวมท้ัง
เสนอแนะมาตรการในการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติตามประมวลจริ ยธรรมแก่
หน่วยงานของรฐั ตอ่ คณะรัฐมนตรี
(๔) กากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินการตามมาตรฐานทางจริยธรรม โดยอย่างน้อย
ต้องให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรม และให้มีการ
ประเมินพฤติกรรมทางจรยิ ธรรมสาหรบั เจา้ หน้าท่ีของรัฐในหนว่ ยงานนัน้
(๕) ตรวจสอบรายงานประจาปีของหน่วยงานของรัฐตามมาตรา ๑๙ (๓) และรายงานสรุปผล
การดาเนินงานดงั กลา่ วเสนอต่อคณะรฐั มนตรเี พอ่ื ทราบอยา่ งนอ้ ยปีละหน่ึงครั้ง
(๖) ตีความและวนิ ิจฉยั ปญั หาทเี่ กิดจากการใชบ้ งั คับพระราชบัญญตั นิ ี้
(๗) ปฏบิ ัติหน้าทีอ่ ่ืนตามทบี่ ญั ญัตไิ วใ้ นพระราชบญั ญัตนิ ้ีหรอื ตามท่คี ณะรัฐมนตรมี อบหมาย
การประเมินผลตาม (๔) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ม.จ. กาหนด โดยอาจจัดให้มี
องคก์ รภายนอกเขา้ ร่วมการประเมินผลด้วยกไ็ ด้

มาตรา ๑๔ เพ่อื ใหก้ ารดาเนินการจัดทาประมวลจริยธรรมและข้อกาหนดจริยธรรม ตามมาตรา ๖
เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและสอดคล้องกับมาตรฐานทางจริยธรรม และเพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตาม
หน้าท่ีและอานาจตามมาตรา ๑๓ ให้ ก.ม.จ. มีอานาจกาหนดหลักเกณฑ์เป็นระเบียบ คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติ
เพ่ือให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคล องค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง และหน่วยงานของรัฐใช้เป็นหลักเกณฑ์
สาหรับการจัดทาประมวลจริยธรรมและข้อกาหนดจริยธรรม รวมทั้งการกาหนดกระบวนการรักษาจริยธรรม
ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ในการน้ี ให้ ก.ม.จ. มีหน้าที่ให้คาแนะนาแก่องค์กรกลางบริหารงานบุคคล องค์กรตาม
มาตรา ๖ วรรคสอง และหนว่ ยงานของรัฐในการปฏิบัตติ ามพระราชบัญญัตนิ ี้

-210-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ในกรณีท่ีปรากฏแก่ ก.ม.จ. ว่า การจัดทาประมวลจริยธรรมขององค์กรกลางบริหารงานบุคคล

หรือองค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง หรือข้อกาหนดจริยธรรมของหน่วยงานของรัฐแห่งใดไม่สอดคล้องกับ

มาตรฐานทางจริยธรรมหรือมีการปฏิบัติที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ี ก.ม.จ. กาหนดตามวรรคหน่ึง ให้ ก.ม.จ.

แจ้งให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคล องค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง หรือหน่วยงานของรัฐแห่งน้ันดาเนินการ

แก้ไขให้ถูกต้อง และให้เป็นหน้าที่ขององค์กรกลางบริหารงานบุคคล องค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง หรือ

หน่วยงานของรัฐทีจ่ ะต้องดาเนนิ การโดยเร็ว

ออกบ่อย มาตรา ๑๕ ให้ ก.ม.จ. จดั ให้มีการทบทวนมาตรฐานทางจริยธรรมตามมาตรา ๕ ทุกห้าปี หรือใน

กรณที ีม่ คี วามจาเป็นหรือสถานการณเ์ ปล่ยี นแปลงไป ก.ม.จ. จะพจิ ารณาทบทวนในรอบระยะเวลาท่ีเร็วกว่าน้ัน

ก็ได้ โดยในการดาเนินการดังกล่าวให้เชิญผู้แทนจากองค์กรกลางบริหารงานบุคคล และองค์กรตามมาตรา ๖

วรรคสอง มาหารือร่วมกันด้วย

มาตรา ๑๖ การประชุม ก.ม.จ. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน
กรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม ในการประชุม ก.ม.จ. ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุม
หรือไม่อาจปฏิบัตหิ น้าท่ีได้ ให้รองประธานกรรมการปฏิบัติหน้าท่ีแทน ในกรณีท่ีไม่มีรองประธานกรรมการหรือ
มีแตไ่ มอ่ าจปฏิบตั ิหน้าท่ไี ด้ ใหท้ ่ีประชุมเลอื กกรรมการคนหนึง่ เปน็ ประธานในทปี่ ระชมุ

การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม ให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่ึงให้มีเสียงหน่ึงในการ
ลงคะแนน ถา้ คะแนนเสยี งเทา่ กันใหป้ ระธานในท่ปี ระชมุ ออกเสยี งเพมิ่ ข้นึ อีกเสียงหนึง่ เปน็ เสยี งชขี้ าด

มาตรา ๑๗ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ี ก.ม.จ. มีอานาจแต่งต้ังคณะอนุกรรมการ
หรือคณะทางานเพอื่ พจิ ารณาหรือดาเนินการตามที่ ก.ม.จ. มอบหมายได้

ให้นาความในมาตรา ๑๖ มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะอนุกรรมการและคณะทางานด้วย
โดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๘ ให้ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการได้รับ
เบ้ียประชมุ และประโยชนต์ อบแทนอน่ื ตามที่กระทรวงการคลังกาหนด โดยความเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรี

หมวด ๓
การรักษาจรยิ ธรรมของเจา้ หน้าทีข่ องรฐั

มาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ให้หน่วยงานของรัฐ
ดาเนินการ ดังตอ่ ไปนี้

(๑) กาหนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาจริยธรรมประจาหน่วยงานของรัฐ ในการนี้ อาจ
มอบหมายใหส้ ่วนงานทม่ี ีหนา้ ทีแ่ ละภารกิจในด้านจริยธรรม ธรรมาภิบาล หรือท่ีเก่ียวกับการบริหารงานบุคคล
หรอื คณะกรรมการและกลุม่ งานจริยธรรมประจาหน่วยงานของรฐั ทมี่ ีอยแู่ ลว้ เปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบกไ็ ด้

-211-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

(๒) ดาเนินกิจกรรมการส่งเสริม สนับสนุน ให้ความรู้ ฝึกอบรม และพัฒนาเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
ในหนว่ ยงานของรัฐ และจดั ให้มมี าตรการและกลไกท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือเสริมสร้างให้มีการปฏิบัติตามประมวล
จรยิ ธรรม รวมทัง้ กาหนดกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบพฤติกรรม ของเจ้าหน้าท่ี
ของรฐั ตลอดจนสร้างเครือข่ายและประสานความร่วมมอื ระหวา่ งหน่วยงานของรฐั และภาคเอกชน

(๓) ทุกส้ินปีงบประมาณ ให้จัดทารายงานประจาปีตามหลักเกณฑ์ท่ี ก.ม.จ. กาหนดเสนอต่อ
ก.ม.จ. โดยใหห้ น่วยงานของรฐั เสนอรายงานประจาปีผ่านองค์กรกลางบริหารงานบุคคลหรือองค์กร ตามมาตรา
๖ วรรคสอง แลว้ แตก่ รณี เพือ่ ประเมินผลในภาพรวมของหนว่ ยงานของรัฐเสนอต่อ ก.ม.จ. ด้วย

มาตรา ๒๐ ให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคลแต่ละประเภทและองค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง
มีหนา้ ท่กี ากบั ดูแลการดาเนินกระบวนการรักษาจรยิ ธรรม และการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ติ ามประมวลจริยธรรม
รวมท้ังใหม้ ีหนา้ ทแี่ ละอานาจจัดหลักสูตรการฝึกอบรม การเผยแพร่ความเข้าใจ ตลอดจนการกาหนดมาตรการ
จูงใจเพื่อพฒั นาและสง่ เสรมิ ให้เจ้าหนา้ ที่ของรัฐในหนว่ ยงานของรัฐ มีพฤติกรรมทางจริยธรรมเป็นแบบอย่างที่ดี
และมาตรการท่ีใช้บังคับแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐซ่ึงมีพฤติกรรมที่เป็นการฝุาฝืนมาตรฐานทาง
จริยธรรมหรือไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม โดยอาจกาหนดมาตรการเพ่ือใช้ในการบริหารงานบุคคลตาม
กฎหมายว่าด้วยระเบยี บข้าราชการประเภทนัน้

บทเฉพาะกาล
-------------------------

มาตรา ๒๑ เม่ือ ก.ม.จ. ได้ประกาศกาหนดหลักเกณฑ์การจัดทาประมวลจริยธรรม ตามมาตรา
๑๔ แล้ว ให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคลและองค์กรตามมาตรา ๖ วรรคสอง จัดทาประมวลจริยธรรมให้แล้ว
เสร็จตามระยะเวลาท่ี ก.ม.จ. กาหนด

มาตรา ๒๒ บรรดาประมวลจริยธรรม กฎ ระเบียบ หรือหลักเกณฑ์เก่ียวกับจริยธรรมของ
เจา้ หน้าทขี่ องรฐั ท่มี ีผลใช้บงั คบั อยใู่ นวนั กอ่ นวันท่ีพระราชบัญญตั นิ ี้ใช้บงั คบั ใหค้ งมีผลใช้บงั คับได้ต่อไป เท่าท่ีไม่
ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติน้ี จนกว่าจะมีการกาหนดประมวลจริยธรรมหรือหลักเกณฑ์เก่ียวกับจริยธรรม
ตามพระราชบัญญตั ิน้ี

ผรู้ บั สนองพระราชโองการ
พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา

นายกรฐั มนตรี

-212-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๗๖ วรรคสาม ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้รัฐพึงจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อให้หน่วยงานของรัฐใช้เป็นหลักใน
การกาหนดประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าท่ีของรัฐในหน่วยงานน้ัน ๆ ซึ่งต้องไม่ตากว่ามาตรฐานทาง
จรยิ ธรรมดงั กลา่ ว ดงั นัน้ เพอ่ื ให้การจัดทาประมวลจรยิ ธรรมเปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อยและมีมาตรฐานเดียวกัน
สมควรมกี ฎหมายว่าด้วยมาตรฐานทางจริยธรรมใชเ้ ป็นหลกั สาคัญในการจดั ทาประมวลจรยิ ธรรมของหน่วยงาน
ของรฐั เพอ่ื ใช้เปน็ หลักเกณฑใ์ นการปฏิบัตติ นของเจ้าหนา้ ทีข่ องรฐั โดยมีหลกั เกณฑ์การจัดทาประมวลจริยธรรม
กระบวนการรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ รวมท้ังมาตรการและกลไกท่ีมีประสิทธิภาพเพื่อเสริมสร้างให้
มีการปฏิบัติตามประมวลจรยิ ธรรม จงึ จาเป็นต้องตราพระราชบญั ญัตนิ ้ี

-213-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

แนวข้อสอบ พระราชบญั ญัติมาตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ. 2562

1. พระราชบัญญตั มิ าตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ. 2562 มวี ัตถปุ ระสงคต์ ามข้อใด
ก. กาหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของสังคมไทย
ข. ใชเ้ ป็นหลักสาคัญในการจัดทาประมวลจรยิ ธรรมของหนว่ ยงานของรฐั
ค. เป็นกลไกตรวจสอบการรกั ษามาตรฐานทางจรยิ ธรรม
ง. ปอู งกันการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ

2. หนว่ ยงานของรัฐใดทีไ่ ม่อยู่ภายใตบ้ ังคบั พระราชบญั ญตั ิมาตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ. 2562
ก. สานกั งานเลขาธกิ าร
ข. สานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา
ค. สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ง. กรมการขนสง่ ทางราง

3. พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 กาหนดให้มาตรฐานทางจรยิ ธรรมจะต้องมหี ลักเกณฑก์ าร
ประพฤติปฏบิ ัติอยา่ งมีคุณธรรมของเจา้ หน้าทขี่ องรัฐ ก่ีประการ
ก. 3 ประการ
ข. 5 ประการ
ค. 7 ประการ
ง. 9 ประการ

4. ข้อใดถูกตอ้ งเกี่ยวกับ เลขาธกิ าร ก.พ.
ก. เป็นกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
ข. เปน็ รองประธานกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรม
ค. ปฏิบตั ิงานธรุ การของคณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรม
ง. มอี ายุไม่ตา่ กว่าส่สี ิบห้าปี

5. ขอ้ ใดกลา่ วผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
ก. องค์กรกลางบริหารงานบคุ คลขององคก์ รอสิ ระ ไมต่ อ้ งนามาตรฐานทางจริยธรรมไปใช้ประกอบการจดั ทา
ประมวลจริยธรรม
ข. หน่วยงานธุรการของศาลมิใช่หน่วยงานของรฐั
ค. กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒใิ นคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมต้องมีอายไุ มต่ า่ กว่า 45 ปี
ง. สภากลาโหมมหี นา้ ทจ่ี ัดทาประมวลจริยธรรมสาหรับข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรอื นกลาโหม

6. โดยทว่ั ไปคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมจะต้องทบทวนมาตรฐานทางจริยธรรมเมอื่ ใด
ก. ทกุ 2 ปี
ข. ทกุ 3 ปี
ค. ทกุ 4 ปี
ง. ทกุ 5 ปี

-214-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

7. ข้อใดมใิ ชก่ รรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรมโดยตาแหนง่
ก. ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
ข. ผ้แู ทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบนั อดุ มศึกษา
ค. ผูแ้ ทนคณะกรรมการขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ง. ผแู้ ทนคณะกรรมการข้าราชการตารวจ

8. มาตรฐานทางจริยธรรมคอื หลกั เกณฑก์ ารประพฤตปิ ฏิบัติอย่างมีคณุ ธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ยกเวน้ ข้อใด
ก. กลา้ กระทาในสิง่ ที่ถกู ต้องชอบธรรม
ข. แสวงหาความร้ตู ลอดเวลา
ค. ดารงตนเป็นแบบอย่างทีด่ ี
ง. มจี ติ สาธารณะ

9. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมมหี น้าทีแ่ ละอานาจตาม พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
ยกเว้นขอ้ ใด
ก. ให้คาปรกึ ษาเกยี่ วกบั ยุทธศาสตร์ดา้ นมาตรฐานทางจริยธรรมตอ่ คณะรัฐมนตรี
ข. ปฏิบตั ิหน้าทีอ่ ่ืนตามทคี่ ณะรฐั มนตรมี อบหมาย
ค. ตรวจสอบรายงานประจาปีของหน่วยงานของรัฐ
ง. จัดทาประมวลจริยธรรม

10. หน่วยงานของรฐั ต้องดาเนนิ การในเร่ืองใด เพอ่ื เป็นการรักษาจริยธรรมของเจา้ หน้าทข่ี องรัฐ
ก. กาหนดให้มีผู้รบั ผิดชอบเก่ียวกับการรกั ษาจรยิ ธรรมประจาหนว่ ยงานของรฐั
ข. ใหค้ วามร้แู ก่ประชาชนอย่างเทา่ เทียมและเสมอภาค
ค. จดั ทาประมวลจริยธรรมให้สอดคล้องตามยุทธศาสตรช์ าติ
ง. กากบั ดแู ลการดาเนนิ กระบวนการรกั ษาจรยิ ธรรม

11. พระราชบัญญัตมิ าตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ. 2562 มีผลใชบ้ ังคับตั้งแตเ่ มื่อใด
ก. วันที่ 16 เมษายน 2562
ข. วนั ที่ 17 เมษายน 2562
ค. วนั ท่ี 18 เมษายน 2562
ง. วันที่ 19 เมษายน 2562

12. การจดั หลกั สตู รการฝึกอบรมและเผยแพร่ความเขา้ ใจเพ่ือให้เจ้าหน้าท่ีของรฐั มีพฤติกรรมทางจรยิ ธรรมเป็น
แบบอยา่ งทีด่ ี เปน็ หนา้ ที่ของผู้ใด
ก. เจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั
ข. ผบู้ ังคบั บญั ชา
ค. หน่วยงานของรัฐ
ง. องค์กรกลางบรหิ ารงานบุคคล

13. กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ ใน ก.ม.จ. พน้ จากตาแหน่งตามขอ้ ใด
ก. กระทาความผดิ โดยประมาทและถูกศาลพพิ ากษาถงึ ท่สี ุดให้จาคุก
ข. เป็นทีป่ รกึ ษาพรรคการเมือง
ค. คณะรฐั มนตรีมมี ติให้ออก
ง. ครบวาระการดารงตาแหน่งสี่ปี

-215-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

14. การดาเนินการข้อใดถูกต้อง หากปรากฏวา่ การจัดทาประมวลจริยธรรมไม่สอดคล้องกบั มาตรฐานทางจรยิ ธรรม
ก. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมเสนอรายงานต่อคณะรฐั มนตรี
ข. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมแจง้ องคก์ รกลางบรหิ ารงานบคุ คลดาเนนิ การแก้ไขให้ถกู ตอ้ ง
ค. คณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรมออกคาสัง่ ให้มกี ารแกไ้ ขให้ถูกตอ้ ง
ง. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมเสนอรายงานต่อรัฐสภาเพื่อใชม้ าตรการดา้ นงบประมาณ

15. คณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรมมีหน้าที่กากบั ติดตามและประเมินผลการดาเนินการตามมาตรฐาน
ทางจรยิ ธรรม ทีถ่ ูกที่สดุ คือข้อใด
ก. ให้หน่วยงานของรฐั จดั ให้มีการประเมินพฤตกิ รรมทางจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าทขี่ องรฐั
ข. จดั ทารายงานประจาปขี องหน่วยงานของรฐั
ค. วนิ ิจฉัยปัญหาทีเ่ กดิ จากการใช้บงั คบั พ.ร.บ.มาตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ. 2562
ง. กาหนดแนวทางการบงั คับใชป้ ระมวลจริยธรรมสาหรบั เจา้ หนา้ ทขี่ องรัฐ

16. คณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรม เรยี กโดยย่อว่า
ก. กมจ.
ข. กม.จ.
ค. ก.ม.จ.
ง. ก.มจ.

17. ข้อใดถูกตอ้ งเก่ียวกับกรรมการผทู้ รงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานทางจรยิ ธรรม
ก. คณะรฐั มนตรีแต่งต้ังไมเ่ กนิ 5 คน
ข. คณะรฐั มนตรีแตง่ ตงั้ ไมเ่ กิน 7 คน
ค. นายกรัฐมนตรแี ต่งตงั้ ไม่เกิน 5 คน
ง. นายกรฐั มนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 7 คน

18. ผู้รกั ษาการตามพระราชบญั ญัตมิ าตรฐานทางจรยิ ธรรม พ.ศ. 2562
ก. ประธานกรรมการพทิ ักษร์ ะบบคุณธรรม
ข. ประธานกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น
ค. นายกรัฐมนตรี
ง. อธิบดีกรมการศาสนา

19. จรยิ ธรรม ตรงกบั คาในภาษาอังกฤษข้อใด
ก. Ethic
ข. Morality
ค. Occupation
ง. Integrity

20. ข้อใดมใิ ชก่ ลไกหลกั ในการขับเคลอ่ื น พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
ก. มาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจรยิ ธรรม
ข. แนวนโยบายพืน้ ฐาน
ค. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม
ง. การรักษาจริยธรรมของเจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั

-216-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

เฉลยแนวขอ้ สอบ พระราชบัญญตั ิมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562

1ข
2ค
3ค
4ก
5ก
6ง
7ก
8ข
9ง
10 ก
11 ข
12 ง
13 ข
14 ข
15 ก
16 ค
17 ค
18 ค
19 ก
20 ข

-217-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

 มผี ลบังคบั ใช้ : 1 มถิ นุ ายน 2526
 ฉบับท่ี 2 มีผลบงั คบั ใช้ วนั ท่ี : 24 กนั ยายน 2548
 ฉบับที่ 3 มผี ลบังคับใช้ วันท่ี : 30 ธนั วาคม 2560
 ฉบับท่ี 4 มผี ลบังคับใช้ วนั ท่ี : 26 พฤษภาคม 2564
 ผ้รู ักษาการตามระเบยี บนี้ : ปลดั สานักนายกรฐั มนตรี

บททั่วไป
“งานสารบรรณ” หมายความวา่ งานทเี่ กยี่ วกับการบรหิ ารงานเอกสาร เรม่ิ ต้งั แต่การจัดทา การรบั การสง่
การเก็บรักษา การยืม จนถงึ การทาลาย *** “งานสารบรรณ” ใหห้ าคาวา่ “บรหิ าร”

“หนังสือ” หมายความวา่ หนังสอื ราชการ
“อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟูา คลื่นแม่เหล็กไฟฟูาหรือวิธีอ่ืน
ใดในลักษณะคล้ายกัน และให้หมายความรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการ ทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ท่ี
เก่ียวข้องกบั การประยกุ ต์ใช้วธิ ีต่าง ๆ เช่นวา่ นั้น
“ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือ ผ่านระบบสื่อสารด้วย
วิธีการทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

ชนดิ ของหนงั สือ
“หนงั สือราชการ” คือ เอกสารทเี่ ป็นหลกั ฐานในราชการ ได้แก่
1. หนงั สอื ท่ีมีไปมาระหวา่ งส่วนราชการ เชน่ หนงั สือทมี่ ไี ปมาระหวา่ ง อบจ. ก กบั อบจ. ข
2. หนงั สือทสี่ ่วนราชการมีไปถึงหนว่ ยงานอนื่ ใดซง่ึ มิใชส่ ่วนราชการ หรอื ที่มีไปถึงบุคคลภายนอก เชน่
หนังสือท่ี อบจ. ก มีไปถึง บริษัท ข จากัด หรือไปถงึ นาย ขวด
3. หนังสือทห่ี นว่ ยงานอน่ื ใดซ่ึงมิใช่สว่ นราชการหรอื ทบ่ี ุคคลภายนอกมีมาถึงสว่ นราชการ เชน่ หนงั สอื
ทีบ่ ริษทั ข จากดั หรือ นาย ขวด มีมาถึง อบจ. ก
4. เอกสารที่ทางราชการจัดทาขนึ้ เพ่ือเปน็ หลักฐานในราชการ เชน่ หนังสือรบั รอง บนั ทกึ
5. เอกสารทที่ างราชการจัดทาขนึ้ ตามกฎหมาย ระเบยี บ หรอื ข้อบงั คบั
6. ขอ้ มูลขา่ วสารหรอื หนงั สือทไี่ ดร้ บั จากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

-218-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

“หนังสอื ” หมายความวา่ หนังสือราชการ > หนงั สอื ราชการ คอื เอกสารทเี่ ปน็ หลกั ฐานในราชการ
สรปุ ได้ว่า หนังสอื = หนงั สือราชการ = เอกสารท่ีเปน็ หลักฐานในราชการ

หนังสือ มี 6 ชนดิ = นอก -- > ใน -- > ทบั -- > ส่งั -- > พนั -- > อนื่
1. หนังสอื ภายนอก
2. หนงั สือภายใน
3. หนงั สือประทบั ตรา
4. หนังสอื สง่ั การ
5. หนังสือประชาสมั พันธ์
6. หนังสอื ท่ีเจ้าหน้าทท่ี าขน้ึ หรอื รบั ไว้เปน็ หลักฐานในราชการ
*** สูตรทอ่ งจา ภายนอก ภายใน ประทับตรา สง่ั การ ประชาสัมพันธ์ ทาข้ึนหรอื รับไว้เป็นหลกั ฐาน

หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี ใช้ “กระดาษตราครุฑ” เป็นหนังสือติดต่อ
ระหว่างส่วนราชการ หรือส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอก - ส่วน
ราชการเจ้าของเร่ือง ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเร่ือง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือ ถ้าส่วนราชการท่ีออกหนังสือ
อยู่ในระดับกระทรวง หรือทบวง ให้ลงช่ือส่วนราชการเจ้าของเร่ืองทั้งระดับกรมและกอง ถ้าส่วนราชการท่ีออกหนังสือ
อยใู่ นระดบั กรมลงมา ให้ลงชื่อสว่ นราชการเจ้าของเร่ืองเพียงระดบั กองหรือ หน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบ

*** ให้ท่องคาวา่ กระทรวงหรือทบวง = กรมและกอง กรมลงมา = กอง หรือ หนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบ

หนังสือภายใน คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอก เป็นหนังสือติดต่อภายใน
กระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดยี วกัน ใช้ “กระดาษบนั ทึกขอ้ ความ”

หนงั สอื ประทับตรา คอื หนงั สอื ทใ่ี ชป้ ระทบั ตราแทนการลงชือ่ ของหวั หน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป โดย
ใหห้ ัวหน้าส่วนราชการระดับกอง หรือผ้ทู ไี่ ดร้ ับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป เป็นผู้รับผิดชอบ
ลงช่อื ย่อกากับตรา หนงั สอื ประทบั ตรา ใช้ “กระดาษตราครุฑ”

*** ให้ท่องว่า ถ้าถาม หนังสือประทับตรา ให้หาคาว่า ประทับตราแทนการลงชื่อ ผู้ลงช่ือย่อกากับตรา คือ
หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง หรือผู้ที่ได้รับมอบ – การใช้หนังสือประทับตรา หนังสือประทับตราให้ใช้ได้ท้ัง
ระหวา่ งสว่ นราชการกับสว่ นราชการ และระหวา่ งส่วนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรื่องสาคัญ ไดแ้ ก่

1. การขอรายละเอียดเพมิ่ เติม
2. การส่งสาเนาหนงั สือ ส่ิงของ เอกสาร หรอื บรรณสาร
3. การตอบรบั ทราบท่ีไม่เก่ียวกับราชการสาคัญ หรอื การเงิน
4. การแจ้งผลงานทไ่ี ด้ดาเนนิ การไปแลว้ ให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวขอ้ งทราบ
5. การเตือนเรื่องทค่ี ้าง
6. เรอ่ื งซ่งึ หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมข้ึนไปกาหนดโดยทาเปน็ คาสง่ั ให้ใช้ หนงั สือประทับตรา ***

-219-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

หนงั สือส่ังการ มี 3 ชนดิ ได้แก่ คาสง่ั ระเบียบ และข้อบงั คับ

» คาสง่ั คือ บรรดาข้อความท่ีผู้บังคบั บัญชาส่ังการให้ปฏบิ ัติโดยชอบดว้ ยกฎหมาย ใช้ “กระดาษตราครุฑ”
» ระเบยี บ คือ บรรดาข้อความที่ผู้มอี านาจหน้าท่ีได้วางไว้ โดยจะอาศัยอานาจของกฎหมายหรอื ไม่กไ็ ด้
เพอื่ ถือเป็นหลักปฏบิ ตั ิงานเป็นการประจา ใช้ “กระดาษตราครฑุ ”
» ขอ้ บังคบั คอื บรรดาข้อความทผ่ี มู้ ีอานาจหนา้ ที่กาหนดให้ใช้โดยอาศัยอานาจของกฎหมายท่ีบญั ญตั ิ ให้
กระทาได้ ใช้ “กระดาษตราครฑุ ”
*** จดุ ชว่ ยจา ถ้าถาม คาสง่ั ให้หาคาวา่ สง่ั การให้ -- > ถ้าถาม ระเบียบ ใหห้ าคาว่า วางไว้ -- > ถา้ ถาม
ข้อบังคบั ให้หาคาว่า กาหนดใหใ้ ช้
*** ทงั้ หมดท้งั 3 ชนิด ใช้ “กระดาษตราครุฑ”

หนังสือประชาสัมพันธ์ มี 3 ชนดิ ได้แก่ ประกาศ แถลงการณ์ และขา่ ว

» ประกาศ คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบ หรือแนะแนวทางปฏิบัติ
ใช้ “กระดาษตราครุฑ”

» แถลงการณ์ คอื บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพ่ือทาความเข้าใจในกจิ การของทางราชการ หรือ
เหตุการณ์หรือกรณีใด ๆ ให้ทราบชดั เจนโดยท่ัวกัน ใช้ “กระดาษตราครุฑ”

» ขา่ ว คือ บรรดาขอ้ ความท่ีทางราชการเห็นสมควรเผยแพรใ่ หท้ ราบ

หนงั สอื ที่เจ้าหนา้ ทีท่ าข้นึ หรอื รับไวเ้ ปน็ หลักฐานในราชการ คอื หนังสือทท่ี างราชการทาขึ้นหรือหนังสือท่ี
หนว่ ยงานอนื่ ใดซ่ึงมใิ ชส่ ่วนราชการ หรือ บคุ คลภายนอกมมี าถึงส่วนราชการและส่วนราชการรับไว้เป็นหลักฐานของ
ทางราชการ มี 4 ชนดิ ไดแ้ ก่

» หนงั สือรบั รอง คือ หนงั สอื ที่ส่วนราชการออกใหเ้ พ่อื รบั รองแก่ บคุ คล นติ บิ ุคคล หรอื หนว่ ยงานเพือ่
วัตถปุ ระสงค์อย่างหน่ึงอย่างใดใหป้ รากฏแกบ่ ุคคลโดยทวั่ ไป ไม่จาเพาะเจาะจง ใช้ “กระดาษตราครุฑ”

» รายงานการประชมุ คอื การบันทกึ ความคิดเหน็ ของผมู้ าประชุม ผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ และมติของท่ี ประชุม
ไวเ้ ปน็ หลักฐาน

» บันทึก คือ ข้อความซึ่งผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอต่อผู้บังคับบัญชาหรือผู้บังคับบัญชาสั่งการแก่
ผ้ใู ตบ้ ังคับบญั ชาหรอื ข้อความท่ีเจ้าหน้าที่ หรือหน่วยงานระดบั ตา่ กวา่ ส่วนราชการระดับกรม ติดต่อกันในการปฏิบัติ
ราชการ

» หนังสืออื่น คือ หนังสือหรือเอกสารอื่นใดที่เกิดขึ้นเนื่องจากการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีเพื่อเป็น
หลักฐานในราชการ ซ่งึ รวมถึงภาพถ่าย ฟิล์ม แถบบนั ทกึ เสียง แถบบันทึกภาพ และ สอ่ื กลางบนั ทึก ข้อมูลด้วย หรือ
หนังสือของบุคคลภายนอก ที่ย่ืนต่อเจ้าหน้าท่ี และเจ้าหน้าที่ได้รับเข้าทะเบียนรับหนังสือของทางราชการแล้ว มี
รูปแบบตามท่ีกระทรวง ทบวง กรม จะกาหนดขึ้นใช้ตามความเหมาะสม เว้นแต่มีแบบตามกฎหมายเฉพาะเร่ือง
ให้ทาตามแบบ เช่น โฉนด แผนที่ แบบ แผนผัง สัญญา หลักฐาน การสืบสวนและสอบสวน และคาร้อง เป็นต้น
ส่ือกลางบันทึกข้อมูล หมายความถึง สื่อใด ๆ ท่ีอาจใช้บันทึกข้อมูลได้ด้วย อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น แผ่น
บันทึกขอ้ มลู เทปแมเ่ หล็ก จานแม่เหลก็ แผน่ ซดี ี-อ่านอย่างเดียว หรือแผน่ ดิจทิ ลั อเนกประสงค์เปน็ ตน้

-220-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

หนงั สอื ประชาสัมพันธ์ มี 3 ชนิด ได้แก่ ประกาศ แถลงการณ์ และขา่ ว
» ประกาศ คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือชี้แจงให้ทราบ หรือแนะแนวทางปฏิบัติ
ใช้ “กระดาษตราครฑุ ”
» แถลงการณ์ คอื บรรดาข้อความท่ีทางราชการแถลงเพื่อทาความเข้าใจในกจิ การของทางราชการ หรือ
เหตกุ ารณ์หรือกรณีใด ๆ ใหท้ ราบชัดเจนโดยทวั่ กัน ใช้ “กระดาษตราครุฑ”
» ขา่ ว คือ บรรดาข้อความท่ีทางราชการเหน็ สมควรเผยแพรใ่ หท้ ราบ

หนังสอื ทีต่ อ้ งปฏบิ ตั ใิ หเ้ รว็ กว่าปกติ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
» ด่วนท่สี ดุ ให้เจา้ หน้าท่ปี ฏิบัตใิ นทันทที ี่ไดร้ บั หนงั สือนั้น
» ด่วนมาก ให้เจ้าหน้าทีป่ ฏบิ ัติโดยเรว็
» ด่วน ให้เจ้าหน้าทปี่ ฏิบตั ิเรว็ กว่าปกติ เทา่ ท่จี ะทาได้
*** ให้ระบุช้ันความเรว็ ด้วยตัวอกั ษรสีแดงขนาดไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์โปูง 32 พอยท์ ใหเ้ ห็นได้ชัดบนหนังสือ
และบนซอง
*** จดุ ช่วยจา ดว่ นท่สี ดุ ใหห้ าคาวา่ ทนั ที -- > ด่วนมาก ให้หาคาวา่ โดยเร็ว -- > ดว่ น ใหห้ าคาว่า
เร็วกวา่ ปกติ

การสง่ หนงั สือด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
การติดต่อราชการนอกจากการจะดาเนินการโดยหนังสือที่เป็นเอกสารสามารถดาเนินการด้วยระบบสาร
บรรณอิเล็กทรอนิกส์ได้ ในกรณีท่ีติดต่อราชการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ให้ผู้ส่งตรวจสอบผลการส่งทุก
ครั้งและใหผ้ ้รู ับแจ้งตอบรับ เพ่อื ยืนยนั วา่ หนงั สือไดจ้ ัดส่งไปยงั ผรู้ ับเรยี บร้อยแล้วการส่งข้อความทางเครื่องมือส่ือสาร
เช่น โทรเลข วิทยุโทรเลข โทรพิมพ์ โทรศัพท์ วิทยุส่ือสาร วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน์ เป็นต้น ให้ผู้รับปฏิบัติ
เช่นเดียวกับได้รับหนังสือ ในกรณีที่จาเป็นต้องยืนยันเป็นหนังสือให้ทาหนังสือยืนยันตามไปทันที การส่งข้อความ
ทางเคร่ืองมือ/สื่อสารซ่ึงไม่มีหลักฐานปรากฏชัดแจ้ง เช่น ทางโทรศัพท์ วิทยุสื่อสาร วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุ
โทรทัศน์ เปน็ ต้น ให้ผ้สู ง่ และผ้รู ับบันทกึ ข้อความไว้เป็นหลักฐาน

สาเนาคู่ฉบบั หนงั สอื ท่จี ัดทาขนึ้ โดยปกติให้มีสาเนาคฉู่ บับเก็บไวท้ ่ีต้นเร่ือง 1 ฉบับ และใหม้ ีสาเนาเก็บไวท้ ี่
หน่วยงานสารบรรณกลาง 1 ฉบบั สาเนาคฉู่ บบั ให้ ผูร้ า่ ง ผู้พิมพ์ และผตู้ รวจ -- > ลงลายมือช่ือ หรือลายมอื ช่ือย่อ
ไว้ท่ขี า้ งทา้ ยขอบลา่ งดา้ นขวาของหนังสือ

หนังสือที่เห็นว่าส่วนราชการอื่นควรได้รับทราบด้วย หนังสือที่เจ้าของหนังสือเห็นว่ามีส่วนราชการอื่นที่
เก่ียวข้องควรได้รบั ทราบดว้ ย โดยปกติให้ส่งสาเนาไปให้ทราบโดยทาเป็นหนังสือประทับตราสาเนาหนังสือนี้ให้มีคา
รับรองว่า “สาเนาถูกต้อง” โดยให้เจ้าหน้าที่ต้ังแต่ระดับ 2 หรือเทียบเท่าข้ึนไปซ่ึงเป็นเจ้าของเร่ือง ลงลายมือชื่อ
รับรอง พร้อมท้ังลงช่ือตัวบรรจง และตาแหน่งท่ีขอบล่างของหนังสือ ขอบล่างด้านขวา ใช้กับ สาเนาคู่ฉบับ และ
หนงั สอื รับรอง ขอบล่างของหนังสือ ใช้กบั สาเนาหนงั สือทเ่ี ห็นว่าสว่ นราชการอ่ืนควรไดร้ ับทราบด้วย

-221-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

หนังสือเวียน คือ หนังสือท่ีมีถึงผู้รับเป็นจานวนมาก มีใจความอย่างเดียวกัน ให้เพิ่มรหัส ตัวพยัญชนะ ว
หน้าเลขทะเบยี นหนังสอื ส่ง ซงึ่ กาหนดเปน็ เลขที่หนังสือเวียนโดยเฉพาะ เริ่มตั้งแต่เลข 1 เรียงเป็นลาดับไปจนถึงส้ิน
ปีปฏิทิน

หนงั สือตา่ งประเทศ และหนังสือภาษาอ่นื ๆ
- หนงั สือภาษาต่างประเทศ ใหใ้ ช้ “กระดาษตราครุฑ”
- หนงั สือท่ีเปน็ ภาษาอ่ืน ๆ ซ่งึ มิใช่ภาษาองั กฤษ ใหเ้ ปน็ ไป “ตามประเพณนี ยิ ม”

การรับและส่งหนงั สอื

» หนังสอื รบั คือ หนงั สือทีไ่ ด้รบั เข้ามาจากภายนอก มีขั้นตอนการปฏิบตั ดิ งั น้ี
- จดั ลาดบั ความสาคัญและความเรง่ ดว่ น
- ประทบั ตรารับหนงั สอื
- ลงทะเบียนรับหนงั สือในทะเบยี นหนังสือรบั
- จัดแยกหนงั สอื ท่ีลงทะเบยี นรับแล้วส่งใหส้ ่วนราชการทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
*** ข้อสอบมักถามวา่ “เมือ่ รับหนงั สือและจัดลาดับความสาคัญและความเรง่ ดว่ นแลว้ ขั้นตอนตอ่ ไปคือ

ขอ้ ใด” ตอบ ประทับตรารับหนงั สือ
» หนงั สือส่ง คือ หนงั สือท่ีส่งออกไปภายนอก มีข้ันตอนการปฏิบัติ ดังน้ี
- ตรวจสอบความเรียบรอ้ ย แล้วสง่ เรือ่ งให้หนว่ ยงานสารบรรณกลาง
- จนท.หน่วยงานสารบรรณกลาง ตรวจความเรยี บร้อยอีกครง้ั แลว้ ปิดผนึก
*** การส่งหนังสอื โดยทางไปรษณยี ์ ใหถ้ ือปฏบิ ตั ิตามระเบียบ หรือวธิ ีการที่การส่ือสารแหง่ ประเทศไทย

กาหนด (ปจั จบุ นั คือ บรษิ ทั ไปรษณีย์ไทย จากัด) การสง่ หนงั สอื ซงึ่ มิใช่เปน็ การสง่ โดยทางไปรษณยี ์ เมือ่ ส่งหนังสอื
ใหผ้ ู้รับแล้ว ผสู้ ง่ ต้องให้ผูร้ บั ลงชือ่ รบั ในสมดุ ส่งหนังสอื หรือใบรบั แลว้ แต่กรณี ถ้าเปน็ ใบรับใหน้ าใบรับนน้ั มาผนึก
ติดไว้ท่สี าเนาคู่ฉบบั

การเก็บรกั ษา ยืม และทาลายหนังสือ

การเก็บรักษา แบง่ ออกได้ 3 ประเภท คือ
» การเกบ็ ระหวา่ งปฏิบตั ิ คือ การเก็บหนงั สือท่ีปฏบิ ตั ยิ ังไม่เสรจ็ ใหอ้ ย่ใู นความรบั ผดิ ชอบของเจ้าของเรื่อง
โดยให้กาหนดวธิ กี ารเก็บให้เหมาะสมตามขน้ั ตอนของการปฏบิ ัตงิ าน
» การเก็บเม่ือปฏิบตั ิเสรจ็ แล้ว คือ การเกบ็ หนังสือที่ปฏิบัติเสร็จเรียบร้อยแล้ว และ ไมม่ ีอะไรทจ่ี ะต้อง
ปฏิบตั ิต่อไปอกี ให้เจ้าหนา้ ทีข่ องเจา้ ของเร่ืองปฏบิ ัติ
» การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ คือ การเก็บหนังสอื ท่ีปฏิบัติเสร็จเรยี บร้อยแล้ว แตจ่ าเปน็ จะต้องใช้ใน
การตรวจสอบเป็นประจา ไม่สะดวกในการส่งไปเกบ็ ยงั หน่วยเกบ็ ของส่วนราชการ
*** จุดชว่ ยจา การเก็บระหวา่ งปฏิบัติ = ปฏิบัติยงั ไมเ่ สร็จ -- > การเกบ็ เมอื่ ปฏิบัติเสร็จแลว้ = ปฏบิ ัติ
เสรจ็ เรียบร้อยแลว้ + ไมม่ ีอะไรตอ้ งปฏบิ ัติอีก -- > การเก็บไวเ้ พอื่ ใช้ในการตรวจสอบ = ปฏิบัตเิ สร็จเรยี บรอ้ ยแลว้
+ ใช้ประจา

-222-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

อายุในการเกบ็ หนังสือ โดยปกตใิ หเ้ กบ็ ไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี เว้นแต่
1. หนงั สือท่ีต้องสงวนเป็นความลบั
2. หนังสือทีเ่ ปน็ หลักฐานทางอรรถคดี สานวนของศาล หรือของพนักงานสอบสวน
3. หนังสือที่มีคณุ คา่ ทางประวัตศิ าสตรท์ กุ สาขาวิชา ให้เกบ็ ไวต้ ลอดไป
4. หนังสือท่ีไดป้ ฏิบัติงานเสร็จส้นิ แล้ว และเปน็ คสู่ าเนาเก็บไว้ไมน่ ้อยกวา่ 5 ปี
5. หนังสือท่ีเป็นเร่ืองธรรมดาสามัญซ่ึงไมม่ ีความสาคัญและเป็นเร่ืองท่ีเกิดขึ้นเป็นประจาเก็บไว้ไม่น้อยกวา่ 1 ปี
6. หนังสือหรือเอกสารเกยี่ วกับการรบั เงิน การจ่ายเงนิ หรือการก่อหนี้ผกู พนั ทางการเงินที่ไมเ่ ปน็ หลักฐาน
แหง่ การก่อ เปล่ียนแปลง โอน สงวน หรอื ระงบั ซง่ึ สทิ ธิในทางการเงิน เมื่อสานกั งานการตรวจเงินแผน่ ดิน ตรวจสอบ
แลว้ ไมม่ ปี ัญหา ใหเ้ ก็บไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี
» การเกบ็ รกั ษาหนงั สือ ให้เจ้าหน้าทรี่ ะมัดระวังรักษาหนังสือใหอ้ ยใู่ นสภาพใช้ราชการ ได้ทกุ โอกาส
1. หากชารุดเสยี หายตอ้ งรีบซ่อมใหใ้ ชร้ าชการได้เหมือนเดิม
2. หากสญู หายต้องหาสาเนามาแทน
3. ถ้าชารดุ เสยี หายจนไมส่ ามารถซอ่ มแซมใหค้ งสภาพเดิมได้ ให้รายงานผู้บังคับบญั ชาทราบ

การยมื
» การยืมหนังสือระหว่างส่วนราชการ ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืมต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป
หรือผูท้ ีไ่ ด้รบั มอบหมาย
» การยืมหนังสอื ภายในส่วนราชการเดียวกนั ผู้ยืมและผอู้ นญุ าตให้ยมื ต้องเปน็ หัวหน้าส่วนราชการ ระดบั
แผนกข้นึ ไป หรือผ้ทู ่ีได้รบั มอบหมาย
» การให้บุคคลภายนอกยมื หนงั สือจะกระทามิได้ เว้นแต่จะให้ดูหรือคดั ลอกหนังสอื ทัง้ นีจ้ ะต้องไดร้ ับ
อนุญาตจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึน้ ไป

การทาลาย มขี ้ันตอน ดงั น้ี
» ภายใน 60 วนั หลังจากวันสนิ้ ปปี ฏทิ ิน ใหส้ ารวจหนงั สือที่ครบกาหนด แลว้ จัดทาบัญชีหนังสอื ขอทาลาย
เสนอ -- > “หัวหน้าส่วนราชการระดบั กรม”
» “หวั หน้าสว่ นราชการระดับกรม” แต่งตง้ั “คณะกรรมการทาลายหนังสือ” ประกอบดว้ ย ประธาน
กรรมการ 1 คน กรรมการอย่างนอ้ ย 2 คน
» ถ้าคณะกรรมการเหน็ ว่าหนังสอื ควรใหท้ าลายใหก้ รอกเคร่ืองหมายกากบาท (x) ลงในชอ่ ง การพิจารณา
แล้วรายงานผลตอ่ “หวั หนา้ สว่ นราชการระดบั กรม”
» “หวั หนา้ สว่ นราชการระดับกรม” มีความเหน็

- ไม่ควรทาลาย ใหเ้ ก็บหนงั สอื น้นั ไว้จนกว่าจะถงึ เวลาทาลายงวดต่อไป
- ควรทาลาย ใหส้ ง่ บญั ชหี นังสอื ขอทาลายให้ กองจดหมายเหตุแหง่ ชาติ กรมศิลปากร หากมีความเห็น
ควรทาลายให้แจ้งส่วนราชการทราบ ถ้าไม่แจ้งภายใน 60 วัน ถือว่ากองจดหมายเหตุแห่งชาติเห็นชอบ หากมี
ความเห็นว่า ไม่ควรทาลายหรือขยายเวลาในการเก็บ ให้แจ้งส่วนราชการทราบ และให้ส่วนราชการดาเนินการ
ตามทีไ่ ด้รบั แจง้

-223-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

» ตราชื่อส่วนราชการ มีลักษณะเป็นรูปวงกลมสองวงซ้อนกัน เส้นผ่าศูนย์กลางวงนอก 4.5 เซนติเมตร
วงใน 3.5 เซนติเมตร ล้อมครุฑครุฑสูง 3 เซนติเมตร ระหว่างวงนอกและวงในมีอักษรไทย ช่ือกระทรวง ทบวง
กรม หรือส่วนราชการที่เรียกช่ืออย่างอื่นท่ีมีฐานะเป็นกรมหรือจังหวัดอยู่ขอบล่างของตรา ส่วนราชการใดที่มีการ
ติดต่อกบั ต่างประเทศ จะให้มีช่ือภาษาต่างประเทศเพิ่มข้ึนด้วยก็ได้ โดยให้อักษรไทยอยู่ขอบบนและอักษรโรมันอยู่ขอบ
ลา่ งของตรา

» ตรากาหนดเกบ็ หนังสือ คือ ตราทีใ่ ชป้ ระทับบนหนังสอื เก็บเพ่อื ให้ทราบกาหนดระยะเวลาการเก็บ
หนงั สอื นน้ั มีคาว่า เก็บถึง พ.ศ. …. หรือคาวา่ หา้ มทาลาย ขนาดไมเ่ ล็กกว่าตวั พิมพ์ 24 พอยท์

» มาตรฐานกระดาษ โดยปกติให้ใช้กระดาษปอนด์ขาวนา้ หนัก 60 กรัมต่อตารางเมตร มี 3 ขนาด คอื
1. ขนาด A 4 หมายความว่า ขนาด 210 มลิ ลิเมตร x 297 มลิ ลเิ มตร
2. ขนาด A 5 หมายความว่า ขนาด 148 มลิ ลเิ มตร x 210 มิลลเิ มตร
3. ขนาด A 8 หมายความว่า ขนาด 52 มลิ ลเิ มตร x 74 มลิ ลิเมตร

» มาตรฐานซอง โดยปกติใหใ้ ชก้ ระดาษสีขาวหรอื สีน้าตาล นา้ หนัก 80 กรมั ต่อตารางเมตร เว้นแต่ ซอง
ขนาด ซี 4 ใหใ้ ชก้ ระดาษนา้ หนกั 120 กรัมต่อตารางเมตร มี 4 ขนาด คอื

1. ขนาดซี 4 หมายความวา่ ขนาด 229 มลิ ลิเมตร x 324 มลิ ลิเมตร
2. ขนาดซี 5 หมายความว่า ขนาด 162 มลิ ลเิ มตร x 229 มลิ ลิเมตร
3. ขนาดซี 6 หมายความว่า ขนาด 114 มลิ ลเิ มตร x 162 มิลลเิ มตร
4. ขนาดดแี อล หมายความวา่ ขนาด 110 มลิ ลิเมตร x 220 มลิ ลเิ มตร
» กระดาษตราครุฑ ใหใ้ ช้กระดาษขนาดเอ 4 พิมพ์ครุฑสูง 3 เซนตเิ มตร ด้วยหมึกสีดา หรอื ทาเปน็ ครุฑดนุ
ท่ีกึง่ กลางสว่ นบนของกระดาษ
» กระดาษบนั ทึกข้อความ ให้ใชก้ ระดาษขนาดเอ 4 หรือขนาดเอ 5 พมิ พ์ครฑุ สงู 1.5 เซนติเมตร ดว้ ย
หมกึ สีดาทมี่ ุมบนด้านซ้าย
» ซองหนังสอื ให้พิมพ์ครุฑสงู 1.5 เซนติเมตร ด้วยหมึกสดี าท่ีมุมบนดา้ นซ้ายของซอง มี 4 ขนาด คือ
1. ขนาดซี 4 ให้สาหรับบรรจุหนงั สอื กระดาษตราครฑุ โดยไม่ตอ้ งพับ มชี นดิ ธรรมดาและขยายขา้ ง
2. ขนาดซี 5 ใช้สาหรบั บรรจหุ นังสอื กระดาษตราครุฑพบั 2
3. ขนาดซี 6 ใชส้ าหรบั บรรจหุ นังสอื กระดาษตราครฑุ พับ 4
4. ขนาดดแี อล ใช้สาหรบั บรรจหุ นงั สือกระดาษตราครุฑพบั 3

» ตรารบั หนังสือ คือ ตราทใ่ี ช้ประทับบนหนงั สือ เพ่ือลงเลขทะเบยี นรบั หนงั สือ มีลักษณะเปน็ รปู
สเ่ี หล่ียมผนื ผ้า ขนาด 2.5 เซนติเมตร x 5 เซนตเิ มตร มชี ื่อสว่ นราชการอยู่ตอนบน

» ขนาดกระดาษ ตามระเบยี บงานสารบรรณฯ จากขอ้ 79 – 89 >> กระดาษ ชนิดของหนงั สอื
1. ขนาด A 4 พมิ พ์ 2 หน้า มี 2 ชนดิ คือแบบเป็นเลม่ กับเปน็ แผน่ – ทะเบยี นหนงั สือรับ – ทะเบยี น

หนงั สอื ส่ง – ทะเบยี นหนงั สือเก็บ
2. ขนาด A 4 พิมพ์ 2 หน้า – บัญชสี ง่ มอบหนังสือครบ 20 ปี – บัญชสี ่งมอบหนังสือครบ 20 ปี

ท่ขี อเกบ็ เอง – บญั ชีฝากหนงั สือ – บัญชหี นังสอื ขอทาลาย
3. ขนาด A 4 พมิ พ์หน้าเดยี ว – บตั รยมื หนังสอื – บญั ชีหนงั สอื ส่งเก็บ
4. ขนาด A 5 พมิ พ์ 2 หน้า – สมดุ ส่งหนังสอื – บัตรตรวจคน้
5. ขนาด A 8 พิมพ์หนา้ เดยี ว – ใบ – ใบรับหนังสอื

-224-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐

โดยท่ีเปน็ การสมควรแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖

เพื่อระบุตาแหน่งประเภทตาแหน่ง และระดับตาแหน่งของขา้ ราชการพลเรือน และพนักงานสว่ นท้องถ่ิน ให้

สอดคล้องกบั ตาแหน่ง ประเภทตาแหน่ง และระดับตาแหน่งของขา้ ราชการพลเรอื นหรือพนกั งาน ส่วนทอ้ งถ่นิ

น้ันรวมทั้งกาหนดให้พนักงานราชการและเจ้าหนา้ ทีข่ องรฐั อ่ืนมหี นา้ ที่ทาสาเนาหนังสือและ รับรองสาเนา

หนังสือน้ันได้ด้วย อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดิน

พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรฐั มนตรโี ดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรจี งึ ออกระเบยี บไว้ ดงั ต่อไปนี้

ข้อ ๑ ระเบียบนีเ้ รยี กว่า “ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรวี า่ ด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐”

ออกบอ่ ย ข้อ ๒ ระเบียบนี้ใหใ้ ช้บังคับตั้งแต่วนั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป
ขอ้ ๓ ใหย้ กเลิกความในวรรคสองของขอ้ ๓๑ แห่งระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย งานสารบรรณ

พ.ศ. ๒๕๒๖ และให้ใช้ความดังต่อไปนี้แทน “สาเนาหนังสือตามวรรคหน่ึงให้มีคารับรองว่า สาเนาถูกต้อง โดย

ให้ข้าราชการพลเรือนหรือ พนักงานส่วนท้องถ่ินประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือประเภททั่วไป ระดับ

ชานาญงาน ขึ้นไป หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐอ่ืนที่เทียบเท่า หรือพนักงานราชการ ซึ่งเป็นเจ้าของเร่ืองที่ทาสาเนา

หนังสอื นนั้ ลงลายมือชอื่ รบั รอง พรอ้ มท้ังลงช่ือตวั บรรจง ตาแหนง่ และวนั เดอื น ปที ่ีรับรอง ไวท้ ข่ี อบล่างของหนงั สือ”

ขอ้ ๔ ใหย้ กเลิกความในวรรคหนึง่ ของขอ้ ๖๗ แห่งระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย งานสารบรรณ
พ.ศ. ๒๕๒๖ และให้ใช้ความดังต่อไปนี้แทน “ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมแต่งตั้งคณะกรรมการทาลาย
หนังสือ ประกอบด้วยประธานกรรมการ และกรรมการอีกอย่างน้อยสองคน โดยปกติให้แต่งต้ังจากข้าราชการ
พลเรือนหรือพนักงานส่วนท้องถ่ิน ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือประเภททั่วไป ระดับชานาญงาน ขึ้นไป
หรือเจ้าหนา้ ท่ขี องรัฐอืน่ ทเ่ี ทยี บเทา่ ”

ประกาศ ณ วันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

-225-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยงานสารบรรณ
(ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔

โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖
เพอ่ื รองรบั และสนับสนนุ การปฏบิ ตั งิ านสารบรรณดว้ ยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มเติม

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.
๒๕๓๔ นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรีจึงวางระเบยี บไว้ ดงั ต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ระเบยี บนี้เรียกวา่ "ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรี วา่ ด้วยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. ๒๕๖๔"
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่ข้อ ๗
และขอ้ ๑ ให้ใชบ้ งั คบั เมอื่ พ้นกาหนดเก้าสิบวนั นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป และข้อ ๘ ให้
ใช้บังคับต้งั แต่วนั ท่ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เปน็ ตน้ ไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในบทนิยามคาว่า "ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์" ในข้อ ๖ แห่งระเบียบสานัก
นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย
งานสารบรรณ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และใหใ้ ช้ความต่อไปนแ้ี ทน
"ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์" หมายความว่า การรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือ
ผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยรวมถึงการรับส่งโดยใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ของส่วน
ราชการหรือที่ส่วนราชการจัดให้แก่เจ้าหน้าท่ี และระบบส่ือสารทางอิเล็กทรอนิกส์อ่ืนใดตามท่ีหัวหน้าส่วน
ราชการกาหนดด้วย
ข้อ 4 ให้เพ่ิมบทนิยามคาว่า "หนังสืออิเล็กทรอนิกส์" ระหว่างบทนิยามคาว่า "ระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์" และคาว่า "ส่วนราชการ" ในข้อ ๖ แห่งระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.
๒๕๒๖
"หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์" หมายความว่า หนังสือราชการที่จัดทาและได้รับ ส่ง หรือเก็บรักษาด้วยระบบ
สารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกส์
ข้อ ๕ ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นวรรคสามของข้อ ๒๖ แห่งระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสาร
บรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖
"ในกรณีที่บันทึกจัดทาในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ หรือโดยการพิมพ์ข้อความในไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบสื่อสารอื่นใดที่มีการยืนยันตัวตน จะพิมพ์ชื่อผู้บันทึกแทนการลงลายมือชื่อก็ได้ และ
จะไมล่ งวนั เดอื น ปีทบ่ี ันทกึ กไ็ ดห้ ากระบบมีการบนั ทึกวนั เดือน ปีไวอ้ ยแู่ ลว้ "

-226-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ข้อ ๖ ใหย้ กเลิกความในวรรคสองของข้อ ๒๗ แห่งระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ. ๒๕๒๖ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘
และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปนแ้ี ทน

"สอ่ื กลางบันทึกขอ้ มูลตามวรรคหนง่ึ " หมายความว่า สื่อใด ๆ ที่อาจใช้บันทึกข้อมูลได้ด้วยอุปกรณ์ทาง
อิเล็กทรอนิกส์ รวมตลอดทั้งพื้นที่ท่ีส่วนราชการใช้ในการจัดเก็บข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเช่น บริการคลาวด์
(cloud computing)

ขอ้ ๗ ให้ยกเลิกความในข้อ ๒๙ แห่งระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ และให้ใช้
ความต่อไปนี้แทน

ข้อ ๒๙ การตดิ ตอ่ ราชการให้ดาเนนิ การดว้ ยระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เป็นหลัก เว้นแต่กรณีที่เป็น
ข้อมูลข่าวสารลับชั้นลับที่สุดตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการหรือเป็นสิ่งท่ีเป็นความลับ
ของทางราชการชั้นลับที่สุดตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ หรือมี
เหตจุ าเป็นอน่ื ใดทไี่ มส่ ามารถดาเนินการดว้ ยระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์ได้

ในกรณที ี่ตดิ ตอ่ ราชการด้วยระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ใหผ้ ้สู ่งตรวจสอบผลการส่งทกุ ครั้งและให้
ผรู้ บั แจง้ ตอบรบั เพอื่ ยนื ยันว่าหนงั สอื ได้จดั ส่งไปยังผู้รับเรียบร้อยแล้ว ถา้ ได้รบั การแจง้ ตอบรับแลว้ ส่วนราชการผู้
ส่งไม่ต้องจัดส่งหนงั สอื เปน็ เอกสารตามไปอีก

การส่งข้อความทางเครื่องมือส่ือสาร เช่น โทรศัพท์ วิทยุส่ือสาร วิทยุกระจายเสียง ให้ผู้รับปฏิบัติ
เช่นเดยี วกบั ไดร้ บั หนงั สอื ในกรณีทีจ่ าเป็นตอ้ งยืนยันเป็นหนังสือ ให้ทาหนังสือยืนยันตามไปทันทีสาหรับกรณีท่ี
ข้อความท่ีส่งไม่มีหลักฐานปรากฏชัดแจ้ง ให้ผู้ส่งและผู้รับบันทึกข้อความไว้เป็นหลักฐานการส่งหรือจัดเก็บ
ข้อความตามวรรคสามด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ไว้ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ให้ถือเป็นการบันทึก
ข้อความไว้เป็นหลักฐานแล้ว

ข้อ ๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ ๒๙/๑ แห่งระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.
๒๕๒๖

ขอ้ ๒๙/๑ ใหส้ ว่ นราชการจดั ให้มที ะเบยี นหนังสือรบั ทะเบียนหนงั สอื ส่ง บญั หาหนังสือสง่ เกบ็ ทะเบียน
หนังสือเก็บ บัญชีส่งมอบหนังสือครบ ๒ ปี บัญชีหนังสือครบ ๒0 ปีท่ีขอเก็บเองบัญชีฝากหนังสือ และบัญชี
หนังสือขอทาลาย ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยกรอกรายละเอียดเช่นเดียวกับทะเบียนหรือบัญชีในรูปแบบ
เอกสาร

ทะเบียนหรือบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ตามวรรคหน่ึงจะอยู่ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์หรือจัดทาโดย
ใช้โปรแกรม เช่น Microsoft Excel หรือ Google Sheets หรือ Apple Numbers หรือแอปพลิเคชันอ่ืนใดก็
ได้ ท้ังนี้ เมื่อมีทะเบียนหรือบัญชีดังกล่าวในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์แล้วไม่ต้องจัดทาทะเบียนหรือบัญชีใดเป็น
เอกสารอีก"

-227-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

ข้อ ๙ ให้เพ่ิมความต่อไปน้ีเป็นวรรคสามของข้อ ๓๐ แห่งระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสาร
บรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖

"หนังสือท่ีจัดทาข้ึนตามวรรคหนึ่งและหน่วยงานสารบรรณกลางได้ส่งหนังสือด้วยระบบสารบรรณ
อิเล็กทรอนิกส์แล้ว ให้ถือว่าการเก็บสาเนาหนังสือไว้ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งน้ันเป็นการเก็บ
สาเนาไวท้ ีห่ นว่ ยงานสารบรรณกลางตามวรรคหนึ่งแลว้ ทง้ั น้ี โดยไม่ต้องเกบ็ เป็นเอกสารอีก" ขอ้ ๑ ให้เพิ่มความ
ตอ่ ไปน้ีเปน็ หมวด ๕ ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ข้อ ๘๙/๑

ข้อ ๘๙/๒ ข้อ ๘๙/๓ ข้อ ๘๙/๔ และข้อ ๘๙/๕ แห่งระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสาร
บรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖

หมวด ๕
ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส์
ข้อ ๘๙/ ๑ ให้ส่วนราชการจัดให้มีระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์สาหรับปฏิบัติงานสารบรรณหรือ
อย่างน้อยต้องมีท่ีอยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์กลางสาหรับการรับและการส่งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของส่วน
ราชการน้นั
ในกรณีที่ส่วนราชการใดมีหน่วยงานในสังกัดต้ังอยู่ในภูมิภาค หรือมีหน่วยงานในสังกัดท่ีจาเป็นต้องมี
หน่วยงานสารบรรณกลางแยกต่างหากจากส่วนกลางเพ่ือประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการหรือมีเหตุจาเป็น
อื่นใดใหต้ อ้ งมีท่ีอยู่ไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนกิ สก์ ลางตามวรรคหนึ่งของตนเอง ส่วนราชการนั้นจะอนุญาตหรือจัดให้
หน่วยงานในสังกัดดังกล่าวมีท่ีอยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์กลางเฉพาะสาหรับการรับและการส่งหนังสือ
อเิ ล็กทรอนกิ สข์ องหน่วยงานนนั้ ก็ได้
ให้ส่วนราชการประกาศเผยแพร่ท่ีอยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์กลางตามวรรคหนึง่ และวรรคสองในเวบ็
ไชต์ของส่วนราชการน้ัน และให้แจ้งไปยังสานักงานพฒั นารัฐบาลดิจทิ ัล (องค์การมหาชน) เพอื่ รวบรวมเผยแพร่
พร้อมกับหมายเลขโทรศัพทข์ องเจ้าหนา้ ที่ท่มี ีหนา้ ที่ตรวจสอบหนังสือทส่ี ่งมายงั ท่ีอยู่ไปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนิกส์
ดงั กล่าวดว้ ย
เพือ่ เปน็ การอานวยความสะดวกใหแ้ กป่ ระชาชนและการปฏบิ ัตงิ านสารบรรณอิเล็กทรอนกิ สข์ อง
เจา้ หน้าท่ีของรฐั ให้สานักงานพฒั นารฐั บาลดจิ ิทัล (องค์การมหาชน) รวบรวมท่ีอยูไ่ ปรษณีย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์กลาง
ขอหน่วยงานของรัฐทงั้ หมดเพ่ือเผยแพรในท่เี ดียวกบั ที่อยู่ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์กลางของสว่ นราชการตาม
วรรคสามดว้ ย
หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติในการรับส่งและเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารและหนังสือราชการด้ วยระบบ
สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ในภาคผนวก ๖ ทั้งนี้ โดยไม่รวมถึงการใช้ไปรษณีย์
อิเล็กทรอนกิ ส์
หลกั เกณฑ์และวธิ ีการปฏบิ ตั ิในการรบั สง่ และเกบ็ รักษาขอ้ มลู ข่าวสารและหนังสือราชการโดยไปรษณีย์
อิเล็กทรอนกิ ส์ ให้เปน็ ไปตามทีก่ าหนดไวใ้ นภาคผนวก ๗

-228-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ข้อ ๘๙/๒ ให้นาความในขอ้ ๓๕ ขอ้ ๓๖ ข้อ ๓๘ ข้อ ๓๙ ขอ้ ๔๐ ขอ้ ๔๑ ข้อ ๔๒ ข้อ ๔๓ ขอ้ ๔๗ ข้อ
๕๘ และขอ้ ๕๙ มาใชบ้ งั คับแกห่ นังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกสด์ ว้ ยโดยอนโุ ลม

ในกรณีที่หน่วยงานสารบรรณกลางของส่วนราชการมีความจาเป็นต้องพิมพ์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่
ได้รบั ออกเปน็ เอกสารเพือ่ ดาเนนิ การ ให้นาความในขอ้ ๓๗ มาใช้บงั คบั ดว้ ย

ขอ้ ๘๙/๓ เพือ่ ประโยชน์ในการปฏิบัตงิ านสารบรรณ ในการรบั หรอื สง่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้ลงเวลา
ทป่ี รากฏในระบบว่าส่วนราชการได้รบั หรือไดส้ ง่ หนังสอื ไว้ในทะเบยี นหนังสือรับหรือทะเบียนหนังสือส่ง แล้วแต่
กรณี ไว้เพื่อเป็นหลักฐานทางราชการด้วย โดยในกรณีท่ีได้ส่งไปทางท่ีอยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับแจ้งไว้
หรือทไ่ี ดม้ กี ารประกาศเผยแพร่ตามขอ้ ๘๙/๑ แล้ว แต่ไม่สาเร็จ ให้ลงวันและเวลาที่ปรากฏในระบบว่าได้จัดส่ง
ครั้งแรกเปน็ วนั และเวลาท่ไี ด้ส่งหนังสอื

ขอ้ ๘๙/๔ การเกบ็ หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ นอกจากการเก็บไว้ในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์อันเป็น
ผลจากทไ่ี ดม้ ีการรบั หรือการส่งหนงั สือนน้ั ให้มีการสารองข้อมูล (backup) หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์ไว้อีกแห่งเป็น
อยา่ งน้อยดว้ ย ทั้งนี้ ตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการท่ีหัวหนา้ ส่วนราชการกาหนด

หนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกสท์ เี่ กบ็ รักษาไวใ้ นการสารองข้อมูลตามวรรคหน่งึ และท่สี ่งให้สานกั หอจดหมาย
เหตแุ ห่งชาติ กรมศลิ ปากร ตามข้อ ๕๘ ให้อยู่ในรปู แบบมาตรฐาน เชน่ PDF ความละเอียดไม่น้อยกวา่ ๑๕0
dpi และให้นาหลกั เกณฑ์การตั้งชือ่ ไฟลท์ ่ีกาหนดไว้ในภาคผนวก ๗ มาใช้บงั คบั ดว้ ยโดยอนุโลม

ข้อ ๘๙/ ๕ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ไม่มีอายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ตลอดไป เว้นแต่กรณีมี
ความจาเป็นต้องเพ่ิมพื้นท่ีจัดเก็บในระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการ หรือมีเหตุผลความจาเป็น
อ่นื ใด หัวหนา้ สว่ นราชการจะมีคาส่งั ให้ทาลายหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ท่ีมิใช่เอกสารจดหมายเหตุตามกฎหมายว่า
ด้วยจดหมายเหตุแห่งชาติ ที่เก็บมาเป็นเวลาเกินกว่า ๑0 ปีแล้วก็ได้ โดยในการทาลายให้ใช้วิธีลบออกจาก
ระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์ และใหล้ บหนงั สอื อิเล็กทรอนกิ ส์ที่เกบ็ ไวเ้ ป็นเวลานานที่สดุ ยอ้ นข้ึนมา

ให้นาความในวรรคหนง่ึ มาใช้บังคบั แกห่ นังสืออิเล็กทรอนิกส์ท่ีเก็บรักษาไว้ในการสารองข้อมูลของส่วน
ราชการตามข้อ ๘๙/๔ ด้วยโดยอนุโลม โดยหัวหน้าส่วนราชการจะมีคาสั่งให้ทาลายได้เฉพาะหนังสือที่เก็บมา
เป็นเวลาเกนิ กว่า 00 ปี ซึ่งไดม้ กี ารสง่ ใหส้ านักหอจดหมายเหตุแห่งชาติกรมศลิ ปากร ตามขอ้ ๕๘ แลว้

เม่อื หัวหนา้ ส่วนราชการมคี าส่ังใหท้ าลายหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ตามวรรคหนงึ่ หรือวรรคสองแลว้ ใหน้ า
ความในสว่ นที่ ๓ การทาลาย ของหมวด ๓ การเกบ็ รกั ษา ยืม และทาลายหนังสือ มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม"

ข้อ ๑๑ ในการพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของส่วนราชการ หรือมีปัญหาอุปสรรคทาง
เทคนคิ ในการปฏิบัติงานสารบรรณดว้ ยระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์ หรอื ในการเชื่อมโยงขอ้ มูล

-229-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

หรือระบบกับส่วนราชการและหน่วยงานอื่น ส่วนราชการอาจขอรับการสนับสนุนหรือขอความช่วยเหลือจาก
สานักงานพัฒนารฐั บาลดจิ ทิ ัล (องค์การมหาชน) หรอื สานักงานพฒั นาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ได้

ข้อ ๑๒ การปฏิบัติงานสารบรรณด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ก่อนวันท่ีระเบียบน้ีใช้บังคับ
รวมทั้งหนงั สือ เอกสาร และสาเนาท่ีเก่ียวขอ้ ง ถ้าได้กระทาไปโดยสอดคล้องกับหลักเกณฑ์หรือวิธีการที่กาหนด
ไว้ในระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบน้ี ให้ถือว่า
ชอบด้วยระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และให้ปฏิบัติต่อไปตามท่ีกาหนดไว้
ในระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบน้ี และ
ภาคผนวกทเี่ ก่ยี วข้อง

ขอ้ ๑๓ ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา
นายกรัฐมนตรี

-230-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

แนวข้อสอบระเบียบสานักนายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไ้ ขเพิ่มเตมิ
1. ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ คาว่างานสารบรรณ ในทน่ี ห้ี มายความวา่ อย่างไร

ก. การรบั ส่ง และเก็บรักษาหนงั สือ
ข. การรา่ ง เขยี น และพิมพ์หนงั สือ
ค. งานที่เก่ียวกบั การบรหิ ารงานเอกสาร
ง. งานทเ่ี กี่ยวกับงานทะเบยี นเอกสาร

2. หนังสือราชการคอื อะไร
ก. เอกสารทุกชนิดทพ่ี ิมพ์ถูกต้องตามกฎหมาย
ข. เอกสารท่เี ป็นหลักฐานในทางราชการ
ค. เอกสารที่มีไปถึงผ้ดู ารงตาแหนง่ ในราชการ
ง. เอกสารทที่ างราชการเป็นเจา้ ของ

3. งานสารบรรณมปี ระโยชน์ต่อราชการอยา่ งไร
ก. ทาให้งานสะดวก รวดเรว็
ข. ประหยดั แรงงานและเวลา
ค. ทาให้การปฏิบัตงิ านมีประสทิ ธภิ าพสูง
ง. ถกู ทุกขอ้

4. หนังสอื ราชการตามระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยงานสารบรรณมีกช่ี นดิ
ก. 4 ชนิด
ข. 6 ชนิด
ค. 8 ชนดิ
ง. 10 ชนิด

5. หนังสือราชการท่ีต้องปฏิบัตใิ หเ้ ร็วกว่าปกติมีกี่ประเภท
ก. 2
ข. 3
ค. 4
ง. ประเภทเดียว

6. การเก็บหนังสือราชการปกติเก็บรักษาไวก้ ปี่ ี
ก. 5 ปี
ข. 10 ปี
ค. 15 ปี
ง. 20 ปี

-231- รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

7. หนงั สอื ติดต่อราชการท่ีเป็นแบบพิธไี ด้แก่หนงั สือชนดิ ใด
ก. หนงั สอื สงั่ การ
ข. หนงั สอื ภายใน
ค. หนงั สือภายนอก
ง. หนังสือประทบั ตรา

8. คณะกรรมการทาลายหนังสอื จะต้องแต่งต้ังจากขา้ ราชการระดบั ใดขน้ึ ไป
ก. ระดับ 2
ข. ระดับ 3
ค. ระดับ 4
ง. ระดบั ใดก็ได้

9. ผ้มู ีอานาจอนุมตั ิการทาลายหนงั สอื ราชการในส่วนภูมภิ าค ได้แก่ผใู้ ด
ก. ปลัดจังหวดั
ข. ผวู้ า่ ราชการจงั หวัด
ค. รองผู้วา่ ราชการจังหวัด
ง. อธบิ ดี

10. การตง้ั คณะกรรมการทาลายหนงั สอื ใหต้ ้ังอย่างน้อยกคี่ น
ก. 2 คน
ข. 3 คน
ค. 4 คน
ง. 5 คน

11. ผูม้ อี านาจให้ยืมหนงั สือราชการระหว่างสว่ นราชการจะตอ้ งเป็นผู้อยู่ในตาแหนง่ ระดับใดข้ึนไป
ก. หวั หนา้ แผนก
ข. หวั หน้าฝุาย
ค. หัวหน้ากอง
ง. รองอธบิ ดี

12. ส่วนราชการเจ้าของเร่ือง ถา้ ออกหนังสืออยใู่ นระดบั กระทรวงใหล้ งชื่อส่วนราชการระดับใด ลงไปดว้ ย
ก. สว่ นราชการเจา้ ของเร่ือง
ข. ระดับกรมและกอง
ค. ระดับหนว่ ยงาน
ง. ไมม่ ขี ้อถูก

13. ข้อใดไม่ใช่หนงั สอื ประทับตรา
ก. การเตอื นเร่ืองท่ีค้าง
ข. การขอรายละเอยี ดเพิ่มเติม
ค. การแจง้ ผลงานให้ผู้ท่เี กย่ี วขอ้ งทราบ
ง. ตอบรับทราบเกยี่ วกบั การเงินท่สี าคัญ

-232-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

14. ขอ้ ใดทสี่ อดคลอ้ งกับหนังสือสง่ั การ
ก. คาส่ัง
ข. ระเบียบ
ค. ขอ้ บังคับ
ง. ถกู ทุกข้อ

15. หนงั สอื ประชาสัมพนั ธ์มีกช่ี นดิ
ก. 2 ชนิด
ข. 3 ชนิด
ค. 4 ชนดิ
ง. 5 ชนดิ

16. ข้อใดเป็นหนังสือประชาสัมพนั ธ์
ก. คาสง่ั
ข. ระเบียบ
ค. ประกาศ
ง. ขอ้ บังคบั

17. หนังสอื รบั รองการรายงานบนั ทกึ ประชมุ และหนงั สืออื่น เป็นหนังสือประเภทใด
ก. หนังสือภายใน
ข. หนงั สอื สั่งการ
ค. หนังสือประชาสัมพนั ธ์
ง. หนงั สอื ท่เี จ้าหนา้ ทจี่ ัดทาขึ้น

18. หนงั สอื ราชการท่ีมีคาว่าด่วนมากผู้มีหน้าทจี่ ะต้องปฏิบัตอิ ย่างไร
ก. ปฏิบัติโดยเรว็
ข. ปฏิบัตโิ ดยเรว็ กวา่ ปกติ
ค. ปฏบิ ตั ิโดยเอาใจใสเ่ ปน็ พิเศษ
ง. ปฏบิ ตั ติ ามกาหนดเวลาในหนังสอื

19. เลขประจาตัวของสว่ นราชการประกอบด้วยเลขกีต่ ัว
ก. 3 ตวั
ข. 4 ตวั
ค. 5 ตวั
ง. 6 ตวั

20. การปฏบิ ัตใิ นชน้ั ความเร็วใชอ้ ักษรสอี ะไร
ก. ดา
ข. น้าเงิน
ค. แดง
ง. เขยี วเข้ม

-233- รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

21. ระเบยี บงานสารบรรณ เกิดขนึ้ จากหนว่ ยงานใด
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. สานักนายกรฐั มนตรี
ค. กระทรวงมหาดไทย
ง. กระทรวงศึกษาธกิ าร

22. ขอบข่ายของงานสารบรรณ คอื
ก. การจัดทา
ข. การรับ-การสง่
ค. การเก็บรักษา การยืม การทาลาย
ง. ถกู ทกุ ขอ้

23. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 เริ่มใช้บังคับเม่ือใด
ก. 1 มีนาคม
ข. 1 เมษายน
ค. 1 พฤษภาคม
ง. 1 มิถุนายน

24. ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 สง่ ผลให้ระเบยี บสารบรรณใดต้องถูกยกเลิก
ก. ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ.2506
ข. ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการลงชอ่ื ในหนงั สือราชการ พ.ศ.2507
ค. ระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชอื่ หนงั สือราชการ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2516
ง. ถูกทุกขอ้

25. ในงานสารบรรณ หนังสือ หมายถึงอะไร
ก. หนังสือเรียน
ข. หนังสอื ราชการ
ค. หนังสอื นอกหลักสูตร
ง. หนงั สอื ทุกประเภท

26. สว่ นราชการ ตามระเบยี บงานสารบรรณ หมายความว่าอยา่ งไร
ก. กอง กรม
ข. กระทรวง ทบวง
ค. หน่วยงานและคณะกรรมการ
ง. ถกู ทุกขอ้

27. ข้อใดไม่ใช่หนังสือราชการ
ก. หนงั สอื ที่มีไปมาระหวา่ งสว่ นราชการ
ข. เอกสารทที่ างราชการจัดทาขึน้ เพื่อเปน็ หลกั ฐานในราชการ
ค. เอกสารทที่ างราชการจัดทาขึ้นตามกฎหมาย ระเบยี บ หรอื ข้อบังคบั
ง. นายเขียวมีจดหมายถงึ นายแดง เพ่ือแจ้งประกาศของทางราชการใหน้ ายแดงทราบ

-234-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

28. หนังสือราชการมีกช่ี นดิ
ก. 3 ชนิด
ข. 4 ชนดิ
ค. 5 ชนดิ
ง. 6 ชนดิ

29. ข้อแตกต่างอย่างเหน็ ไดช้ ัดระหว่างหนังสือภายนอกกบั หนังสือภายในคือข้อใด
ก. หนังสอื ภายในใช้กระดาษบันทึกข้อความ หนังสือภายนอก ใชก้ ระดาษตราครุฑ
ข. หนงั สอื ภายนอกติดตอ่ ภายในกระทรวงทบวงกรมหรือจงั หวัดเดียวกนั
ค. หนงั สือภายนอกใชก้ ระดาษบันทกึ ข้อความ
ง. หนังสอื ภายในใช้กระดาษตราครฑุ

30. หนังสอื ท่ตี ดิ ต่อระหวา่ งกระทรวง หรือส่วนราชการต่างกระทรวง หรือสว่ นราชการถึงบคุ คลภายนอก
เรียกวา่ หนงั สอื ประเภทใด
ก. หนังสอื ภายใน
ข. หนังสอื ภายนอก
ค. หนังสอื ประชาสัมพันธ์
ง. หนงั สือประทบั ตราแทนการลงลายมือชอ่ื

31. หนงั สอื ภายในหมายถงึ
ก. หนังสือทต่ี ิดต่อภายในจังหวดั เดยี วกัน
ข. หนังสอื ทตี่ ดิ ต่อภายในกรมเดยี วกัน
ค. หนังสือที่ตดิ ต่อภายในกระทรวงเดยี วกัน
ง. ถกู ทกุ ข้อ

32. หนงั สือประทบั ตราใชก้ ระดาษประเภทใด
ก. กระดาษตราครุฑ
ข. กระดาษอดั สาเนาธรรมดา
ค. กระดาษบนั ทึกขอ้ ความ
ง. กระดาษตราครฑุ หรือกระดาษบันทึกข้อความ

33. ขอ้ ใดไม่ใช่หนังสือประทับตรา
ก. หนังสอื เตือนเรื่องที่ค้าง
ข. หนงั สอื ท่ี ส.ส. มีไปถึงผใู้ หญ่บา้ น
ค. หนังสือที่ขอรายละเอียดเพ่ิมเติม
ง. หนังสือตอบรับทราบทไี่ ม่เก่ยี วกบั ราชการสาคัญหรอื การเงิน

34. หนงั สือภายในถึงบุคคลธรรมดา ใช้คาขน้ึ ตน้ ว่าอยา่ งไร
ก. กราบเรียน
ข. เรียน
ค. ถึง
ง. ขอประทานเสนอ

-235-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

35. ขอ้ ใดจดั ว่าเปน็ หนงั สือประเภทแถลงการณ์
ก. ประชาสัมพนั ธ์
ข. ประทบั ตรา
ค. ภายนอก
ง. สั่งการ

36. ส่วนราชการเจ้าของเร่ืองหรอื สว่ นราชการเจ้าของหนงั สอื ตง้ั แต่ระดับกรมขน้ึ ไปจะต้องเขียนชื่อสว่ น
ราชการอย่างไร
ก. เขียนระดบั กอง
ข. เขียนระดบั ฝาุ ย
ค. เขยี นระดับกรมและกอง
ง. เขียนระดบั กระทรวง ทบวง

37. หนงั สอื สัง่ การ มีก่ชี นดิ อะไรบ้าง
ก. มชี นิดเดียว คือ คาส่งั
ข. 2 ชนิด คอื คาสง่ั ระเบยี บ
ค. 3 ชนิด คือ คาสงั่ ระเบยี บ ขอ้ บังคับ
ง. 4 ชนิด คอื คาส่งั ระเบยี บ ข้อบังคบั กฎหมาย

38. บรรดาข้อความทั้งหลายท่ผี ูม้ อี านาจหน้าท่วี างไว้เพือ่ ถือเป็นหลักปฏบิ ัตงิ านเป็นการประจาเรยี กวา่ อะไร
ก. คาส่งั
ข. ระเบยี บ
ค. ขอ้ บังคับ
ง. กฎกระทรวง

39. บรรดาขอ้ ความทงั้ หลายที่ผูม้ อี านาจหนา้ ที่กาหนดให้ใช้โดยอาศัยอานาจของกฎหมายเรยี กวา่ อะไร
ก. คาส่งั
ข. ข้อบังคับ
ค. ระเบียบ
ง. กฎกระทรวง

40. คาสงั่ บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏบิ ตั ิโดยชอบดว้ ยกฎหมาย ใช้กระดาษชนิดใด
ก. กระดาษ A 4
ข. กระดาษ B 4
ค. กระดาษตราครุฑ
ง. กระดาษบนั ทึกขอ้ ความ

41. ขอ้ ความใดกลา่ วผดิ เกย่ี วกบั ระเบยี บ
ก. ระเบยี บต้องใชก้ ระดาษตราครุฑ
ข. บรรดาขอ้ ความทผ่ี ู้มีอานาจหน้าทไี่ ด้วางไว้
ค. ระเบยี บตอ้ งอาศัยอานาจทางกฎหมายทุกเร่อื ง
ง. ระเบียบจะอาศยั อานาจกฎหมายหรอื ไม่ก็ได้

-236-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

42. บรรดาข้อความทง้ั หลายทที่ างราชการเผยแพรใ่ ห้ประชาชนรบั ทราบทว่ั ไป เรียกว่าอะไร
ก. ขา่ ว
ข. ประกาศ
ค. แถลงการณ์
ง. ประชาสัมพนั ธ์

43. หนังสอื ประชาสัมพันธ์มีก่ชี นดิ
ก. มี 4 ชนดิ คอื ประกาศ แถลงการณ์ แจ้งความ
ข. มี 3 ชนดิ คือ ประกาศ แถลงการณ์ ขา่ ว
ค. มี 2 ชนิด ประกาศ แจ้งความ
ง. มเี พียงชนิดเดยี ว คอื แถลงการณ์

44. ข้อความใดกลา่ วผิดเกี่ยวกับข้อบงั คับ
ก. ข้อบงั คับต้องอาศยั กฎหมายทบ่ี ัญญตั ใิ ห้กระทา
ข. บรรดาขอ้ ความท่ีผ้มู ีอานาจหนา้ ท่ีกาหนดให้ใช้
ค. ขอ้ บงั คับใช้กระดาษบันทกึ ขอ้ ความ
ง. ขอ้ บังคับใชก้ ระดาษตราครุฑ

45. บรรดาขอ้ ความท่ีทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ประชาชนไดท้ ราบทัว่ ไป เรยี กว่าอะไร
ก. แถลงการณ์
ข. ประกาศ
ค. คาสัง่
ง. ข่าว

46. ข้อใดหมายถึงบตั รค้นเรื่อง
ก. บตั รอ้างองิ
ข. บตั รดัชนี
ค. บตั รนา
ง. ถกู ทกุ ขอ้

47. ข้อใดไม่ใช่หนงั สือส่งั การ
ก. คาสัง่
ข. ประกาศ
ค. ระเบียบ
ง. ขอ้ บงั คบั

48. คาสงั่ มหี วั ข้ออะไรบ้าง
ก. คาส่ังท่ี
ข. ส่งั ณ วนั ท่ี
ค. ลงชื่อ ตาแหนง่
ง. ถูกทุกขอ้

-237-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

49. บรรดาข้อความทง้ั หลายทผี่ ูบ้ งั คบั บญั ชาสง่ั การใหป้ ฏิบัติโดยชอบดว้ ยกฎหมาย เรยี กว่าอะไร
ก. คาสงั่
ข. ระเบียบ
ค. ขอ้ บงั คับ
ง. วนิ ยั

50. หนงั สือรบั รอง คือหนังสือทสี่ ว่ นราชการออกใหแ้ ก่ใคร
ก. นติ ิบคุ คล
ข. หน่วยงาน
ค. บคุ คล
ง. ถกู ทุกข้อ

51. หนงั สอื ส่วนราชการระดับใดขึ้นไปทีใ่ ชป้ ระทบั ตราแทนการลงช่ือ
ก. ระดับกระทรวง
ข. ระดับแผนก
ค. ระดบั กอง
ง. ระดับกรม

52. หนังสอื ประทบั ตราไม่ใช้สาหรบั ขอ้ ใด
ก. การแจง้ ผลงานท่ีได้ดาเนินการไปแลว้
ข. การสง่ ธนาณตั ทิ างไปรษณีย์
ค. การเตอื นเรื่องเก่า
ง. การสง่ สาเนาหนงั สอื

53. หนังสอื ท่ตี ้องปฏบิ ัติใหเ้ ร็วกว่าปกติเปน็ หนงั สือทต่ี ้องจัดสง่ และดาเนินการทางสารบรรณดว้ ยความรวดเร็ว
เปน็ พิเศษ มกี ป่ี ระเภท อะไรบ้าง
ก. 4 ประเภท คือ ด่วนทส่ี ดุ ด่วนมาก ด่วน ดว่ นพิเศษ
ข. 3 ประเภท คือ ด่วนทีส่ ุด ด่วนมาก ดว่ น
ค. 2 ประเภท คือ ด่วนพเิ ศษ ดว่ นท่สี ุด
ง. 1 ประเภท คือ ด่วนมาก

54. ขอ้ ใดไม่ใช่หน้าท่ขี องผรู้ ายงานการประชุม
ก. บนั ทึกความคิดเห็นของผู้ร่วมประชมุ
ข. จดั หาอาหารพร้อมเครื่องดื่ม
ค. บนั ทึกความคิดเหน็ ของผูม้ าประชุม
ง. บันทกึ มตขิ องทปี่ ระชมุ ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน

55. คาว่า ด่วนมาก ท่ีมีในหนังสอื ราชการ พนักงาน หรือ เจา้ หนา้ ท่ี ผมู้ ีหนา้ ท่ีจะต้องดาเนนิ การอยา่ งไร
ก. ปรกึ ษาผบู้ ังคับบญั ชาด่วน
ข. ปฏิบตั ิตามกาหนดกฎหมาย
ค. ปฏิบตั ิเรว็ กว่าปกติ
ง. ปฏบิ ตั โิ ดยเรว็

-238-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

56. คาวา่ ด่วน ที่มใี นหนงั สือราชการ พนกั งานหรือเจา้ หน้าที่ผมู้ ีหน้าท่ีจะตอ้ งดาเนินการอย่างไร
ก. ปฏบิ ัตเิ ร็วกว่าปกติเท่าท่ีทาได้
ข. ปฏิบัตใิ หเ้ ร็วกวา่ กาหนดเวลา
ค. ปฏบิ ัตเิ ร็วท่สี ดุ
ง. ปฏิบตั โิ ดยเร็ว

57. ตามระเบยี บงานสารบรรณ หนงั สอื ราชการทีจ่ ดั ทาขึ้น จะต้องมีสาเนาคู่ฉบบั อย่างน้อยก่ีฉบับ
ก. 2 ฉบบั
ข. 3 ฉบบั
ค. ไม่น้อยกวา่ 3 ฉบบั
ง. 2 ฉบบั หรือ 3 ฉบบั ก็ได้

58. การรับหนงั สอื ราชการ จะต้องปฏิบัตอิ ย่างไรจงึ จะถูกต้อง
ก. ทาหลกั ฐานการรบั
ข. ลงวนั ที่ เดือน พ.ศ. ทร่ี บั
ค. ประทับตราที่มมุ บนด้านขวา
ง. ถูกทุกข้อ

59. การประทับตรา รับหนังสอื ตอ้ งประทับทใ่ี ด
ก. ที่มุมซองด้านซ้าย
ข. ทีม่ ุมซองดา้ นขวา
ค. ทมี่ มุ บนดา้ นซ้ายของหนังสือ
ง. ทีม่ มุ บนดา้ นขวาของหนังสือ

60. หนังสือสาเนา ผู้รบั รองสาเนา คือ ผมู้ ีหน้าท่ีเก่ียวข้องตั้งแตร่ ะดับใดขนึ้ ไปรบั รอง จงึ จะเป็นไปตามระเบยี บ
งานสารบรรณ
ก. ระดบั 2
ข. ระดับ 3
ค. ระดับ 4
ง. ระดบั 5

61. เรื่องราชการทจ่ี ะดาเนินการหรือส่งั การด้วยหนังสือได้ไมท่ นั ให้ส่งขอ้ ความทางเครอื่ งมือส่ือสาร เครอ่ื งมอื
สอื่ สารดงั กลา่ วชนดิ การสั่งการไดเ้ ร็วท่สี ุด
ก. โทรเลข
ข. โทรสาร
ค. โทรศพั ท์
ง. โทรพิมพ์

62. หนังสอื เวียน ให้เพิ่มรหัสพยัญชนะ ว ไวท้ ่ใี ด
ก. มมุ ซองทางขวา
ข. หลงั เลขทะเบยี นหนังสือส่ง
ค. หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง
ง. บรเิ วณใดก็ได้ ขอใหผ้ ู้รบั เห็นชัดเจน

-239-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

63. เมอ่ื เจ้าหนา้ ทีง่ านสารบรรณรบั หนงั สือรบั แล้ว ควรปฏบิ ัติตามข้อใด
ก. จดั ลาดับความสาคญั และเรง่ ด่วน
ข. เปดิ ซองตรวจเอกสาร
ค. ประทบั ตรารับหนงั สือ
ง. ลงทะเบยี นในหนงั สือรบั

64. ข้อใดไม่ใช่หนงั สือสั่งการ
ก. คาสัง่
ข. ระเบียบ
ค. ข้อบงั คับ
ง. แถลงการณ์

65. ข้อใดไม่ใชเ่ ร่ืองทจ่ี ะต้องกรอกรายละเอียดในหนงั สือประทบั ตรา
ก. เลขรบั ให้ลงเลขทร่ี บั ตามเลขท่ีรบั ในทะเบียน
ข. เลขสง่ ใหล้ งเลขที่ส่งตามเลขที่ส่งในทะเบียน
ค. วันที่ ใหล้ งวนั ท่ี เดอื น ปี ทีร่ ับหนังสอื
ง. เวลา ใหล้ งเวลาที่รับหนงั สอื

66. การสง่ ออก ของหนังสือราชการ จะต้องปฏิบัตติ ามข้อใด
ก. ก่อนบรรจซุ อง ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีของหน่วยงานสารบรรณตรวจความเรยี บร้อยของหนงั สือ
ข. ให้เจ้าของเรื่องตรวจความเรียบรอ้ ยของหนงั สอื
ค. ลงวนั เดือน ปี ทจ่ี ะสง่ หนงั สืออก
ง. ถกู ทกุ ขอ้

67. หนังสอื รับรอง ใช้กระดาษใด
ก. กระดาษบนั ทกึ ขอ้ ความ
ข. กระดาษธรรมดา
ค. กระดาษตราครุฑ
ง. กระดาษ A 4

68. ระเบียบวาระการประชมุ ต้องจัดทาและส่งไปใหผ้ ้เู ข้าร่วมประชมุ พร้อมกบั เรื่องใด
ก. หนังสอื เชิญประชุม
ข. รายงานการประชุม
ค. หนังสอื ยนื ยันมติที่ประชุม
ง. ญัตติทปี่ ระชมุ

69. การเก็บระหวา่ งปฏิบตั ิ ตรงกบั ข้อใดมากทีส่ ดุ
ก. การเก็บหนงั สือท่ยี ังปฏบิ ตั ิไมเ่ สร็จ
ข. การเก็บหนังสอื เมื่อปฏบิ ตั เิ สรจ็ แล้ว
ค. การเกบ็ ไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
ง. การเกบ็ หนังสือก่อนปฏบิ ตั ิ

-240-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

70. ขอ้ ใดมใิ ช่เปน็ การเก็บหนังสอื ของทางราชการ
ก. การเก็บไว้เพอื่ ใช้ในการตรวจสอบ
ข. การเก็บเม่ือปฏิบัติเสร็จแล้ว
ค. การเก็บระหว่างปฏิบตั ิ
ง. การเก็บก่อนปฏบิ ัติ

71. การเกบ็ หนงั สือ โดยปกติใหเ้ กบ็ ไว้ไมน่ ้อยกว่าก่ีปี
ก. 5 ปี
ข. 10 ปี
ค. 15 ปี
ง. 20 ปี

72. หนงั สือประเภทใดที่เป็นขอ้ ยกเว้นในเรอ่ื งอายุการเก็บหนังสือ
ก. หนังสอื ท่ีต้องสงวนเป็นความลับ
ข. หนังสือทีเ่ ปน็ หลกั ฐานทางอรรถคดี
ค. หนังสือทม่ี ีคุณคา่ ทางประวตั ิศาสตร์
ง. ถูกทุกขอ้

73. หนงั สือราชการฉบบั ใดท่ีเจ้าหน้าทตี่ อ้ งปฏิบตั ิทนั ที เมื่อไดร้ ับ
ก. หนังสือแถลงการณ์ลบั พิเศษ
ข. หนงั สือสงั่ การโดยเฉพาะ
ค. หนังสอื จากโทรเลข
ง. หนังสอื ด่วนทีส่ ุด

74. ผู้อยใู่ นตาแหน่งระดบั ใดข้ึนไป มีอานาจให้ยืมหนังสอื ราชการระหว่างส่วนราชการได้
ก. รองอธบิ ดี
ข. หัวหนา้ ฝุาย
ค. หวั หนา้ กอง
ง. หัวหน้าแผนก

75. ผู้มายืมและขอรบั หนังสอื ภายในสว่ นราชการเดียวกัน ตอ้ งเปน็ ข้าราชการท่ีไดร้ บั มอบหมายจากหัวหนา้
ส่วนราชการในตาแหน่งใดขนึ้ ไป
ก. รองอธิบดี
ข. หวั หน้าฝาุ ย
ค. หวั หน้ากอง
ง. หัวหน้าแผนก

-241-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

76. ในราชการงานสารบรรณ ใช้เคร่อื งมือสอื่ สารต่อไปน้ี คือ วิทยุ โทรทัศน์ วิทยกุ ระจายเสยี ง โทรศพั ท์และ
โทรพมิ พ์ในกรณใี ด
ก. เรอ่ื งลับเฉพาะระหวา่ งผู้บงั คบั บญั ชา
ข. ส่ังการด้วยหนังสือไมท่ นั *
ค. ด่วนทีส่ ดุ
ง. ด่วนมาก

77. ทุกปปี ฏทิ ินให้ส่วนราชการจดั ส่งหนังสือทม่ี ีอายุครบ 20 ปี นับจากวนั ทีไ่ ด้จัดทาข้ึนท่ีเกบ็ ไว้ ณ สว่ น
ราชการพร้อมทะเบยี นบัญชีส่งมอบให้แก่สว่ นราชการใดต่อไปน้ี
ก. สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศลิ ปากร
ข. กองทะเบียน สานกั นายกรัฐมนตรี
ค. กองการศกึ ษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ง. กองวฒั นธรรม กรมการศาสนา

78. หนงั สือทปี่ ฏบิ ตั เิ สร็จสิน้ แล้วและเปน็ คสู่ าเนาที่มตี ้นเร่ืองจะคน้ ได้จากที่อน่ื ให้เกบ็ ไวไ้ ม่น้อยกวา่ กป่ี ี
ก. 1 ปี
ข. 3 ปี
ค. 5 ปี
ง. 7 ปี

79. หนงั สือราชการประเภทใดต่อไปน้ี ต้องเกบ็ รักษาไว้ 10 ปี จึงจะทาลายได้
ก. หนังสอื ทเี่ ก่ยี วกับประวตั ศิ าสตร์
ข. หนังสือที่เก่ียวกับสถติ ิหลักฐาน
ค. หนงั สอื ที่ต้องใช้สาหรบั คน้ คว้า
ง. ไมม่ ีหนังสอื ราชการในข้อใดทาลายได้

80. แบบพมิ พต์ ราครุฑในระเบียบงานสารบรรณขนาดใหญ่ มคี วามสงู เท่าไหร่
ก. 2 ซม.
ข. 2.5 ซม.
ค. 3 ซม.
ง. 3.5 ซม

81. หนงั สือที่เป็นเร่ืองธรรมดาสามญั ซ่ึงไมม่ ีความสาคัญ เมื่อดาเนินการเสร็จแลว้ ให้เก็บไว้ไมน่ ้อยกว่ากปี่ ี
ก. 1 ปี
ข. 3 ปี
ค. 5 ปี
ง. 7 ปี

82. แบบพมิ พต์ ราครุฑในระเบียบงานสารบรรณขนาดเล็กมีความสูงเท่าไหร่
ก. 1.5 ซม
ข. 2 ซม
ค. 2.5 ซม.
ง. 3 ซม.

-242-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

83. การทาทะเบยี นหนงั สือทาเพ่ืออะไร
ก. ทาเพื่อให้รูว้ ่าหนังสืออยทู่ ีใ่ ด
ข. ทาเพ่ือใหร้ ู้วา่ ใครรบั ผิดชอบ
ค. ทาเพื่อใหร้ วู้ ่าปฏบิ ัตไิ ปแล้วอยา่ งไร
ง. ทกุ ข้อเปน็ ความมุ่งหมายของการทาทะเบยี นหนังสือ

84. หลงั จากส้ินปีปฏิทนิ ของแต่ละปี ภายในกวี่ นั จงึ จะทาบญั ชีขอทาลายหนังสือ เสนอหัวหน้าส่วนราชการ
ระดับกรม เพ่ือพจิ ารณาแตง่ ตั้งคณะกรรมการทาลายหนังสือได้
ก. 60 วนั
ข. 90 วนั
ค. 120 วนั
ง. 180 วัน

85. ข้อใดไม่ใช่วิธีการยืมหนงั สือทสี่ ่งเกบ็ แล้ว
ก. ผูย้ มื ตอ้ งมอบหลักฐานการยมื ใหก้ บั เจ้าหน้าทีเ่ กบ็
ข. ผู้ยมื ตอ้ งแจ้งใหท้ ราบว่าเร่ืองท่ียมื น้นั จะนาไปใชใ้ นราชการใด
ค. ผใู้ ห้ยืมตอ้ งยดึ บตั รประจาตัวประชาชนหรอื บตั รขา้ ราชการหรือบตั รพนกั งานของผู้ยืมเอาไว้
ง. การยืมหนังสอื ระหวา่ งส่วนราชการ ผยู้ ืมและผู้อนุญาตให้ยืม ต้องเป็นหัวหน้าสว่ นราชการระดับกองข้ึนไป

86. เม่ือรับหนงั สือแล้ว จะประทับตราลงวนั ท่ี เดือน พ.ศ. จะต้องประทับบรเิ วณใด
ก. มมุ ล่างด้านขวา
ข. มุมบนดา้ นขวา
ค. มมุ บนดา้ นซา้ ย
ง. มุมล่างดา้ นซ้าย

87. วงนอกของตราชอื่ ส่วนราชการ มลี กั ษณะเป็นวงกลมสองวงซ้อนกนั มเี ส้นผ่าศูนย์กลางเทา่ ไหร่
ก. 3.5 ซม.
ข. 4.5 ซม
ค. 5.5 ซม
ง. 6.5 ซม

88. บัตรยืมหนงั สอื ไมม่ รี ายละเอยี ดในเรื่องใด
ก. ช่ือหนังสอื
ข. ผยู้ ืม - ผรู้ ับ
ค. ผสู้ งั่ มาให้ยืม
ง. วนั ยมื - กาหนดสง่ คนื

89. มาตรฐานกระดาษ โดยปกตใิ ชก้ ระดาษปอนด์ขาวนา้ หนัก 60 กรัมตอ่ ตารางเมตร กี่ขนาด อะไรบ้าง
ก. 4 ขนาด คือ ขนาด เอ 4 เอ 5 เอ 8 และ เอ 9
ข. 3 ขนาด คือ ขนาด เอ 4 เอ 5 เอ 8
ค. 2 ขนาด คือขนาด เอ 4 เอ 5
ง. ขนาดเดียว คือ เอ 4

-243-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

90. การจา่ ซองหนังสือราชการ เพือ่ สง่ ทางไปรษณีย์ บริเวณมมุ บนดา้ นซา้ ยด้านจ่าหน้าใตค้ รุฑเป็นข้อความ
แทนอะไรต่อไปนี้
ก. ลายช่อื หรือประทับตราเจ้าหนา้ ท่ผี ้รู ับผิดชอบในการฝากส่ง
ข. ชอ่ื หรือตาแหน่งของผู้รบั พรอ้ มท่อี ยหู่ รือสังกัด และรหัสไปรษณีย์
ค. ชอ่ื สว่ นราชการ หรือหน่วยงาน และสถานท่ีต้ังของสว่ นราชการท่ีสง่ หนงั สือ
ง. ผิดทกุ ขอ้

91. ตราครุฑสาหรบั แบบพมิ พ์ มกี ี่ขนาด อะไรบ้าง
ก. มี 3 ขนาด คอื ขนาดครฑุ สูง 4.5 ซม. 3 ซม. และ 1.5 ซม
ข. มี 2 ขนาด คอื ขนาดครฑุ สงู 3 ซม. และ 1.5 ซม.
ค. มขี นาดเดียว คือขนาด 4.5 ซม
ง. ผดิ ทกุ ข้อ

92. ใครเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการทาลายหนงั สือ
ก. ส่วนราชการระดบั กอง
ข. สว่ นราชการระดบั กรม
ค. ส่วนราชการระดับทบวง
ง. สว่ นราชการระดบั กระทรวง

93. คณะกรรมการทาลายหนังสอื นอกจากมีประธานกรรมการแลว้ จะต้องมีกรรมการอกี อยา่ งน้อยกคี่ น
ก. 1 คน
ข. 2 คน
ค. 3 คน
ง. 4 คน

94. ตอ้ งทาอยา่ งไรกับเอกสารการเงนิ ซ่ึงไมใ่ ชเ่ อกสารสิทธิ ที่ไม่มคี วามจาเป็นต้องเกบ็ ไว้ถงึ 10 ปี เพอื่ ให้
เป็นไปตามระเบียบงานสารบรรณ
ก. เสนออนมุ ัติอธบิ ดเี จ้าสังกดั
ข. เสนอผ้บู ังคบั บญั ชาพิจารณาตามความเหมาะสม
ค. ให้ทาความตกลงกบั กระทรวงการคลัง เพ่ือขอทาลาย
ง. สง่ เกบ็ ไว้ทกี่ องจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศลิ ปากร

95. กองจดหมายเหตุแห่งชาติ สังกัดกรมในส่วนราชการใด
ก. กรมอนุรักษ์วัตถุโบราณ กระทรวงศึกษาธกิ าร
ข. กรมการศึกษาพิเศษ กระทรวงศกึ ษาธิการ
ค. กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
ง. กรมศิลปากร กระทรวงมหาดไทย

-244-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

96. มาตรฐานซองปกติใช้กระดาษสขี าวหรือสีนา้ ตาล นา้ หนัก 80 กรัมต่อตารางเมตร เว้นแต่ซองขนาด ซี 4
ให้ใชก้ ระดาษนา้ หนกั 120 กรมั ต่อตารางเมตร มีกข่ี นาดอะไรบ้าง
ก. มีขนาดเดียวคือ ดแี อล
ข. 2 ขนาด คือ ซี 4 และซี 5
ค. 3 ขนาด คือ ซี 4 ซี 5 และ ซี 6
ง. 4 ขนาด คือ ซี 4 ซี 5 ซี 6 และดแี อล

97. การเก็บและการค้นท่ีดจี ะต้องมรี ะบบอยา่ งไร
ก. สะดวกรวดเร็วและง่ายกว่าวธิ อี ่นื
ข. ถูกและประหยัด
ค. สะอาดเรียบร้อย
ง. ถูกทกุ ข้อ

98. การเขียนหนงั สือถึงฯพณฯนายกรัฐมนตรี จา่ หนา้ ซองว่าอย่างไร
ก. ขอประทานกราบเรยี น
ข. ขอประทานเรียน
ค. กราบเรียน
ง. เรยี น

99. การเขยี นหนงั สือราชการไปถงึ ประธานองคมนตรี ใช้คาขึ้นต้นและคาสรรพนามวา่ อยา่ งไร
ก. ขอประทานกราบเรยี น-ข้าพเจ้า
ข. เรียน-กระผม (ดฉิ นั )
ค. กราบเรียน-ขา้ พเจ้า
ง. เรยี น-ข้าพเจ้า

100. หนงั สอื ราชการถงึ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ใชค้ าข้ึนต้นว่าอย่างไร
ก. ขอประทานกราบทลู สมเด็จพระสงั ฆราช
ข. ทลู สมเดจ็ พระสังฆราช
ค. กราบทลู สมเด็จพระสงั ฆราช
ง. ทลู สมเดจ็ พระสงั ฆราช ทราบฝุาพระบาท

-245-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

เฉลยแนวขอ้ สอบระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก้ไขเพิม่ เติม

1 ค 26 ง ๕1 ง ๗6 ข
2 ข 27 ง ๕2 ข ๗7 ก
3 ง 28 ง ๕3 ข ๗8 ค
4 ข 29 ก ๕4 ข ๗9 ง
5 ข 30 ข ๕5 ง ๘0 ค
6 ข 31 ง ๕6 ก ๘1 ก
7 ค 32 ก ๕7 ก ๘2 ก
8 ข 33 ข ๕8 ง ๘3 ง
9 ข 34 ข ๕9 ง ๘4 ก
10 ข 35 ก ๖0 ก ๘5 ค
11 ค 36 ค ๖1 ข ๘6 ข
12 ข 37 ค ๖2 ค ๘7 ข
13 ง 38 ข ๖3 ก ๘8 ค
14 ง 39 ข ๖4 ง ๘9 ข
15 ข 40 ค ๖5 ข ๙0 ค
16 ค 41 ค ๖6 ง ๙1 ข
17 ง 42 ก ๖7 ค ๙2 ข
18 ก 43 ข ๖8 ก ๙3 ข
19 ข 44 ค ๖9 ก ๙4 ค
20 ค 45 ง ๗0 ง ๙5 ค
21 ข 46 ข ๗1 ข ๙6 ง
22 ง 47 ข ๗2 ง ๙7 ง
23 ง 48 ง ๗3 ง ๙8 ค
24 ง 49 ก ๗4 ค ๙9 ค
25 ข 50 ง ๗5 ง ๑๐0 ก

-246-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรกั ษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕44 และแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ

โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
เพ่ือให้สอดคล้องกับสถานการณ์ โครงสร้างและอานาจหน้าท่ีของหน่วยงานของรัฐในปัจจุบัน รวมท้ังกาหนด
ให้มีการรายงานและการตรวจสอบการปฏิบัติเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารลับของหน่วยงานของรัฐและ กาหนดให้มี
แบบเอกสารเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารลับเป็นการเพิ่มเติม เพื่อให้มีความชัดเจนและเหมาะสม อาศัยอานาจตาม
ความในมาตรา ๑๖ และมาตรา ๒๖ วรรคห้า แห่งพระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
คณะรัฐมนตรีจึงวางระเบียบไว้ ดงั ต่อไปน้ี

ขอ้ ๑ ระเบยี บนเ้ี รียกว่า “ระเบยี บวา่ ด้วยการรักษาความลบั ของทางราชการ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑”

ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับเม่ือพ้นกาหนดหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน็ ต้นไป
ควรจา ขอ้ ๓ ใหย้ กเลกิ ความในบทนิยามคาวา่ “หวั หน้าหน่วยงานของรัฐ” ในข้อ ๕ แห่งระเบียบ ว่าด้วยการ
รักษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนแ้ี ทน “หัวหนา้ หนว่ ยงานของรัฐ” หมายความว่า

(๑) หวั หน้าสว่ นราชการท่ีมฐี านะเป็นนิตบิ คุ คล สาหรับกระทรวงกลาโหม ให้หมายความรวมถึง
หวั หน้าสว่ นราชการที่ขน้ึ ตรงต่อสว่ นราชการ ในสังกัดกระทรวงกลาโหมที่มฐี านะเปน็ นติ บิ ุคคลดว้ ย

(๒) ผวู้ ่าราชการจังหวัด สาหรับราชการสว่ นภมู ภิ าค
(๓) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรี นายก
องค์การบริหารส่วนตาบล นายกเมืองพัทยา หรือหัวหน้าผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอ่ืน ที่มีกฎหมาย
จัดตง้ั แล้วแตก่ รณี สาหรับราชการสว่ นท้องถ่ิน
(๔) ผู้ว่าการ ผู้อานวยการ กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือบุคคลซ่ึงดารงตาแหน่งผู้บริหารสูงสุด
ท่ีมีอานาจหน้าท่คี ลา้ ยคลึงกนั ในรัฐวิสาหกจิ น้ัน สาหรับงานของรฐั วสิ าหกิจ
(๕) ผู้บรหิ ารสูงสุดของหนว่ ยงานอ่ืนของรัฐ เชน่ อัยการสูงสุด เลขาธิการสานักงานศาลยุติธรรม
เลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร เลขาธิการคณะกรรมการปูองกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ผู้อานวยการ
องคก์ ารมหาชน นายกสภาทนายความ

ออกบอ่ ย

ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความในขอ้ ๑๑ แห่งระเบยี บว่าด้วยการรกั ษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
และใหใ้ ช้ความต่อไปนีแ้ ทน “ข้อ ๑๑ องค์การรักษาความปลอดภัยตามระเบียบน้ี ได้แก่

(๑) สานักข่าวกรองแหง่ ชาติ สานักนายกรฐั มนตรี เป็นองค์การรักษาความปลอดภยั ฝาุ ยพลเรอื น
(๒) ศูนย์รกั ษาความปลอดภัย กองบญั ชาการกองทัพไทย กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม เป็น
องค์การรกั ษาความปลอดภัยฝุายทหาร
(๓) กองบัญชาการตารวจสันติบาล สานักงานตารวจแห่งชาติ เป็นองค์การรักษาความ
ปลอดภัย ฝาุ ยตารวจ”

-247-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ควรจา ข้อ ๕ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๙ แห่งระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
และให้ใช้ความต่อไปน้ีแทน “ข้อ ๑๙ การกาหนดให้ข้อมูลข่าวสารอยู่ในชั้นความลับใด ให้พิจารณาถึงองค์ประกอบ
อยา่ งนอ้ ย ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ความสาคญั ของเนื้อหา
(๒) แหล่งทมี่ าของข้อมูลขา่ วสาร
(๓) วิธีการนาไปใช้ประโยชน์
(๔) จานวนบุคคลที่ควรรับทราบ
(๕) ผลกระทบหากมีการเปดิ เผย
(๖) หนว่ ยงานของรฐั ท่รี ับผดิ ชอบในฐานะเจ้าของเรื่องหรือผู้อนมุ ัติ”

ข้อ ๖ ให้เพ่ิมความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ ๒๙ แห่งระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทาง
ราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ “แบบรายงานการตรวจสอบข้อมูลข่าวสารลับให้เป็นไปตามที่นายกรัฐมนตรีกาหนดโดย
ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา”

ขอ้ ๗ ใหเ้ พมิ่ ความตอ่ ไปน้เี ปน็ ขอ้ ๒๙/๑ แห่งระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.
๒๕๔๔ “ข้อ ๒๙/๑ ให้หน่วยงานของรัฐรายงานผลการปฏิบัติเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารลับตามระเบียบนี้ ภายใน
เดือนมีนาคมของทุกปี ต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการตามแบบท่ีนายกรัฐมนตรีกาหนด โดย
ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เมอื่ คณะกรรมการขอ้ มูลข่าวสารของราชการได้รับรายงานผลการปฏิบัติเก่ียวกับ
ข้อมูลข่าวสารลับ ตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ตรวจสอบการปฏิบัติตามรายงานดังกล่าว และรายงานผลการตรวจสอบต่อ
นายกรฐั มนตรี โดยจะมขี อ้ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะด้วยกไ็ ด้”

ข้อ ๘ ให้ยกเลิกความในข้อ ๓๔ แห่งระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน ข้อ ๓๔ การโอนข้อมูลข่าวสารลับระหว่างหน่วยงานของรัฐ หรือการโอนภายใน
หนว่ ยงานเดียวกัน ใหเ้ จ้าหน้าท่ีผูโ้ อนและเจ้าหน้าท่ีผู้รับโอนจัดทาบันทึกการโอนและการรับโอนข้อมูลข่าวสาร
ลับตามแบบ ที่นายกรัฐมนตรีกาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาไว้เป็นหลักฐาน และให้นายทะเบียน
ขอ้ มลู ขา่ วสารลับจดแจง้ การโอนขอ้ มลู ขา่ วสารลับดงั กล่าวไว้ในทะเบียนควบคุมข้อมูลข่าวสารลบั ดว้ ย”

ข้อ ๙ ให้ยกเลิกความในข้อ ๕๓ แห่งระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ ๕๓ ให้องค์การรักษาความปลอดภัยฝุายพลเรือน องค์การรักษาความปลอดภัย
ฝุายทหาร และองคก์ ารรักษาความปลอดภยั ฝาุ ยตารวจประสานการปฏิบตั ิในการจดั ให้มีหลักเกณฑ์ วิธีการและ
คาแนะนาการปฏบิ ตั ิตามระเบยี บน้ี รวมท้งั การอบรมบุคลากรท่ีเกี่ยวขอ้ งตามความจาเปน็ และงบประมาณ”

ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี


Click to View FlipBook Version