The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือเตรียมสอบ-เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน-สพฐ.-2 รหัส 888899

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sk.dsd0478, 2022-06-23 23:12:18

คู่มือเตรียมสอบ-เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน-สพฐ.-2 รหัส 888899

คู่มือเตรียมสอบ-เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน-สพฐ.-2 รหัส 888899

-148-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

การตรวจสอบหรือทบทวนมิให้มีการขยายระยะเวลาไม่เปิดเผยจนเกินความจาเป็นให้เป็นไปตาม
หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการท่กี าหนดในกฎกระทรวง

บทบัญญัติตามมาตรานี้มิให้ใช้บังคับกับข้อมูลข่าวสารของราชการตามที่คณะรัฐมนตรีออกระเบียบ
กาหนดให้หน่วยงานของรฐั หรือเจา้ หน้าท่ขี องรฐั จะต้องทาลายหรืออาจทาลายได้ โดยไมต่ ้องเก็บรักษา

หมวด 5
คณะกรรมการขอ้ มลู ข่าวสารของราชการ

ควรจา

มาตรา 27 ให้มีคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ประกอบด้วยรัฐมนตรี ซึ่งนายกรัฐมนตรี
มอบหมายเป็นประธาน ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงพาณิชย์
เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เลขาธิการสภาความม่ันคง
แห่งชาติ เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ผู้อานวยการสานักข่าวกรองแห่งชาติ ผู้อานวยการสานักงบประมาณ
และผทู้ รงคุณวุฒิอ่ืนจากภาครัฐและภาคเอกชน ซงึ่ คณะรฐั มนตรแี ตง่ ตง้ั อีกเกา้ คนเป็นกรรมการ

ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีแต่งต้ังข้าราชการของสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งเป็น
เลขานุการ และอกี สองคนเปน็ ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร

มาตรา 28 คณะกรรมการมีอานาจหนา้ ที่ ดังต่อไปนี้
(1) สอดส่องดูแลและให้คาแนะนาเกย่ี วกับการดาเนินงานของเจา้ หน้าทขี่ องรฐั และหน่วยงานของรัฐใน
การปฏิบตั ติ ามพระราชบญั ญตั นิ ี้
(2) ให้คาปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐเก่ียวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี
ตามทไ่ี ด้รับคาขอ
(3) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือระเบียบของคณะรัฐมนตรี
ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
(4) พจิ ารณาและให้ความเหน็ เรอื่ งรอ้ งเรยี นตามมาตรา 13
(5) จัดทารายงานเกี่ยวกับการปฏบิ ตั ติ ามพระราชบัญญตั นิ เ้ี สนอคณะรฐั มนตรีเป็นคร้ังคราว ตามความ
เหมาะสม แตอ่ ย่างนอ้ ยปลี ะหนึ่งครงั้
(6) ปฏิบตั ิหน้าท่ีอนื่ ตามทีก่ าหนดในพระราชบญั ญัตินี้
(7) ดาเนนิ การเร่อื งอื่นตามทคี่ ณะรฐั มนตรีหรอื นายกรฐั มนตรีมอบหมาย

ออกบอ่ ย

มาตรา 29 กรรมการผ้ทู รงคุณวุฒิซึ่งได้รับแตง่ ต้ังตามมาตรา 27 มีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละสาม
ปนี ับแตว่ นั ทีไ่ ด้รับแต่งต้งั ผูท้ ีพ่ ้นจากตาแหน่งแล้วอาจไดร้ บั แต่งตง้ั ใหม่ได้

-149-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

มาตรา 30 นอกจากการพน้ จากตาแหนง่ ตามวาระ กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒซิ ง่ึ ได้รับแต่งตั้งตามมาตรา
27 พน้ จากตาแหนง่ เม่ือ

(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) คณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะมีความประพฤติเส่ือมเสียบกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าท่ีหรือหย่อน
ความสามารถ
(4) เป็นบุคคลลม้ ละลาย
(5) เปน็ คนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(6) ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่ได้กระทาโดย
ประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ

มาตรา 31 การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงของจานวน
กรรมการท้งั หมดจงึ จะเป็นองคป์ ระชุม

ใหป้ ระธานกรรมการเปน็ ประธานในท่ปี ระชุมถ้าประธานกรรมการไมม่ าประชมุ หรอื ไม่อาจปฏบิ ัติ
หน้าทีไ่ ด้ ให้กรรมการทมี่ าประชมุ เลอื กกรรมการคนหนงึ่ เป็นประธานในทปี่ ระชมุ

การวินิจฉัยชี้ขาดของท่ีประชุมให้ถือเสียงข้างมากกรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนนถ้า
คะแนนเสยี งเทา่ กัน ให้ประธานในท่ีประชุมออกเสยี งเพมิ่ ขนึ้ อีกเสยี งหนง่ึ เป็นเสียงชี้ขาด

มาตรา 32 ให้คณะกรรมการมีอานาจเรียกให้บุคคลใดมาให้ถ้อยคาหรือให้ส่งวัตถุ เอกสาร หรือ
พยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณาได้

มาตรา 33 ในกรณที ี่หนว่ ยงานของรฐั ปฏิเสธวา่ ไมม่ ขี อ้ มลู ขา่ วสารตามท่ีมีคาขอไม่ว่าจะเป็นกรณีตาม
มาตรา 11 หรือมาตรา 25 ถ้าผู้มีคาขอไม่เช่ือว่าเป็นความจริงและร้องเรียนต่อคณะกรรมการตามมาตรา 13
ให้คณะกรรมการมีอานาจเข้าดาเนินการตรวจสอบข้อมูลข่าวสารของราชการที่เก่ียวข้องได้และแจ้งผลการ
ตรวจสอบใหผ้ รู้ อ้ งเรียนทราบ

หน่วยงานของรฐั หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐต้องยินยอมให้คณะกรรมการหรือผู้ซ่ึงคณะกรรมการมอบหมาย
เขา้ ตรวจสอบขอ้ มูลขา่ วสารที่อยใู่ นความครอบครองของตนได้ไมว่ ่าจะเปน็ ข้อมูลขา่ วสารที่เปิดเผยได้หรือไม่ก็ตาม

มาตรา 34 คณะกรรมการจะแตง่ ตงั้ คณะอนุกรรมการเพ่ือพิจารณาหรือปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหน่ึง
ตามท่ีคณะกรรมการมอบหมายก็ได้ และให้นาความในมาตรา 31 มาใช้บงั คบั โดยอนุโลม

หมวด 6
คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปิดเผยข้อมลู ขา่ วสาร

มาตรา 35 ให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมลู ขา่ วสารสาขาต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ซ่ึง
คณะรัฐมนตรีแตง่ ต้งั ตามข้อเสนอของคณะกรรมการ มีอานาจหนา้ ทีพ่ จิ ารณาวนิ จิ ฉยั อุทธรณ์คาสง่ั มใิ ห้เปดิ เผย
ข้อมลู ขา่ วสารตามมาตรา 14 หรอื มาตรา 15 หรือคาสง่ั ไม่รับฟงั คาคัดค้านตามมาตรา 17 และคาส่งั ไม่แก้ไข
เปลีย่ นแปลงหรือลบข้อมูลขา่ วสารสว่ นบคุ คลตามมาตรา 25

-150-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

การแต่งต้ังคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามวรรคหน่ึงให้แต่งตั้งตามสาขาความ
เชี่ยวชาญเฉพาะด้านของข้อมูลข่าวสารของราชการ เช่น ความม่ันคงของประเทศ เศรษฐกิจและการคลังของ
ประเทศหรือการบังคบั ใช้กฎหมาย

ออกบอ่ ย

มาตรา 36 คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารคณะหน่ึง ๆ ประกอบด้วยบุคคลตาม
ความจาเป็นแต่ต้องไม่น้อยกว่าสามคนและให้ข้าราชการที่คณะกรรมการแต่งตั้งปฏิบัติหน้าที่เป็นเลขานุการ
และผ้ชู ว่ ยเลขานุการ

ในกรณีพจิ ารณาเกีย่ วกับขอ้ มลู ขา่ วสารของหนว่ ยงานของรัฐแห่งใดกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูล
ขา่ วสารซึง่ มาจากหน่วยงานของรฐั แหง่ น้ันจะเขา้ รว่ มพิจารณาดว้ ยไม่ได้

กรรมการวนิ ิจฉยั การเปดิ เผยขอ้ มลู ข่าวสาร จะเป็นเลขานกุ ารหรือผู้ช่วยเลขานกุ ารไมไ่ ด้

มาตรา 37 ให้คณะกรรมการพิจารณาส่งคาอุทธรณ์ให้คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูล
ขา่ วสาร โดยคานงึ ถึงความเชย่ี วชาญเฉพาะด้านของคณะกรรมการวนิ ิจฉัยการเปดิ เผยขอ้ มูลข่าวสารแต่ละสาขา
ภายใน เจด็ วนั นับแตว่ ันทีค่ ณะกรรมการได้รับคาอุทธรณ์

คาวินิจฉัยของคณะกรรมการวนิ ิจฉยั การเปิดเผยขอ้ มลู ข่าวสารให้เป็นท่ีสุด และในการมีคาวินิจฉัยจะมี
ข้อสังเกตเสนอต่อคณะกรรมการเพ่ือใหห้ นว่ ยงานของรัฐทีเ่ ก่ียวข้องปฏบิ ัติเก่ียวกบั กรณีใดตามทีเ่ ห็นสมควรก็ได้

ใหน้ าความในมาตรา 13 วรรคสอง มาใชบ้ งั คบั แก่การพิจารณาอุทธรณ์ของคณะกรรมการวินิจฉัยการ
เปดิ เผยขอ้ มลู ข่าวสารโดยอนุโลม

มาตรา 38 อานาจหน้าท่ีของคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแต่ละสาขาวิธีพิจารณา
และวินิจฉัยและองค์คณะในการพิจารณาและวินิจฉัยให้เป็นไปตามระ เบียบท่ีคณะกรรมการกาหนดโดย
ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา

มาตรา 39 ให้นาบทบัญญัติมาตรา 29 มาตรา 30 มาตรา 32 และบทกาหนดโทษที่ประกอบกับ
บทบญั ญตั ดิ งั กล่าวมาใช้บังคับกับคณะกรรมการวนิ ิจฉัยการเปิดเผยขอ้ มูลข่าวสารโดยอนโุ ลม

หมวด 7
บทกาหนดโทษ

ออกบอ่ ย

มาตรา 40 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาส่ังของคณะกรรมการท่ีสั่งตามมาตรา 32 ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกนิ ห้าพนั บาทหรือทงั้ จาท้งั ปรบั

มาตรา 41 ผู้ใดฝุาฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อจากัดหรือเง่ือนไขที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐกาหนดตามมาตรา
20 ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กนิ หน่งึ ปีหรือปรบั ไมเ่ กนิ สองหม่นื บาท หรอื ทง้ั จาทงั้ ปรับ

-151- รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์
บทเฉพาะกาล

มาตรา 42 บทบัญญตั มิ าตรา 7 มาตรา 8 และมาตรา 9 มิให้ใช้บังคับกับข้อมูลข่าวสารของราชการ
ทเ่ี กดิ ขนึ้ ก่อนวนั ท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบ้ ังคับ

ให้หน่วยงานของรัฐจัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารตามวรรคหน่ึง หรือจัดให้มีข้อมูลข่าวสารตามวรรคหนึ่งไว้
เพ่ือให้ประชาชนเขา้ ตรวจดไู ด้ แลว้ แต่กรณี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการท่คี ณะกรรมการจะได้กาหนด

มาตรา 43 ให้ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 ในส่วนที่เกี่ยวกับ
ข้อมูลข่าวสารของราชการ ยังคงใช้บังคับต่อไปได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อพระราชบัญญัติน้ี เว้นแต่ระเบียบท่ี
คณะรฐั มนตรกี าหนดตามมาตรา 16 จะได้กาหนดเปน็ อยา่ งอนื่

ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก ชวลติ ยงใจยทุ ธ
นายกรฐั มนตรี

หมายเหตุ :-เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ ในระบอบประชาธิปไตย การให้ประชาชนมี
โอกาสกว้างขวางในการได้รบั ขอ้ มูลข่าวสารเกีย่ วกบั การดาเนนิ การตา่ ง ๆ ของรัฐเป็นส่ิงจาเป็น เพื่อท่ีประชาชน
จะสามารถแสดงความคิดเห็นและใช้สิทธิทางการเมืองได้โดยถูกต้องกับความเป็นจริง อันเป็นการส่งเสริมให้มี
ความเป็นรัฐบาลโดยประชาชนมากย่ิงขึน้ สมควรกาหนดใหป้ ระชาชนมีสิทธิได้รู้ข้อมูลข่าวสารของราชการ โดย
มขี ้อยกเว้นอนั ไม่ต้องเปดิ เผยทแี่ จง้ ชดั และจากดั เฉพาะข้อมูลข่าวสารที่หากเปิดเผยแล้วจะเกิดความเสียหายต่อ
ประเทศชาติหรือต่อประโยชน์ท่ีสาคัญของเอกชน ทั้งน้ี เพื่อพัฒนาระบอบประชาธิปไตยให้มั่นคงและจะ
ยังผลให้ประชาชนมีโอกาสรู้ถึงสิทธิหน้าที่ของตนอย่างเต็มท่ี เพื่อท่ีจะปกปักรักษาประโยชน์ของตนได้อีก
ประการหนึ่งด้วย ประกอบกับสมควรคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับข้อมูลข่าวสารของราชการ
ไปพรอ้ มกัน จงึ จาเป็นต้องตราพระราชบญั ญตั นิ ี้

-152-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.ขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540
1. ข้อมูลขา่ วสารของราชการ หมายความวา่ อย่างไร ตาม พ.ร.บ.ข้อมลู ขา่ วสารของราชการ 2540

ก. ข้อมูลข่าวสารทีอ่ ยใู่ นความครอบครองของหนว่ ยงานของรัฐ
ข. ขอ้ มลู ข่าวสารที่อย่คู วบคมุ ดูแลของหนว่ ยงานของรัฐ
ค. ข้อมลู ขา่ วสารเกย่ี วกับการดาเนินงานของรฐั
ง. ถกู ทุกข้อ
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ
2. ข้อใดไมใ่ ช่ความหมายของหนว่ ยงานของรัฐ ตาม พ.ร.บ.ขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ 2540
ก. ราชการส่วนกลาง ราชการสว่ นภมู ิภาค ราชการส่วนทอ้ งถิ่น
ข. ศาลในสว่ นทเ่ี ก่ียวกับการพิจารณาพิพากษาคดี
ค. รฐั วสิ าหกจิ สว่ นราชการสังกดั รฐั สภา
ง. องคก์ รควบคุมการประกอบวชิ าชพี หนว่ ยงานอสิ ระของรฐั
เฉลย ข. ศาลในส่วนทีเ่ กย่ี วกับการพจิ ารณาพิพากษาคดี
3. ผใู้ ดเปน็ ผ้รู กั ษาการตามพระราชบญั ญตั ิข้อมลู ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ก. รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงยุตธิ รรม
ข. รฐั มนตรีประจาสานกั นายกรัฐมนตรี
ค. นายกรฐั มนตรี
ง. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
เฉลย ค. นายกรฐั มนตรี
4. หนว่ ยงานของรฐั ต้องส่งข้อมูลข่าวสารลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้อง
ก. โครงสรา้ งและการจัดองค์กรในการดาเนินงาน
ข. มติคณะรฐั มนตรี ข้อบังคบั คาสั่ง หนงั สอื เวยี น
ค. สรปุ อานาจหนา้ ทท่ี ส่ี าคัญและวิธดี าเนินงาน
ง. ถกู ทกุ ข้อ
เฉลย ง. ถกู ทุกขอ้
5. กฎ ระเบยี บ คาส่งั มติคณะรัฐมนตรี ถ้ายงั ไม่ไดล้ งพิมพ์ในราชกจิ จานุเบกษา จะมผี ลเปน็ อยา่ งไร
ก. นามาบงั คบั ในทางที่ไม่เป็นคุณแก่ผ้ใู ดไม่ได้
ข. เป็นโมฆะ
ค. เปน็ โมฆียะ
ง. ไมม่ ีผลบงั คบั ในทางกฎหมาย
เฉลย ก. นามาบงั คับในทางท่ีไมเ่ ป็นคุณแกผ่ ใู้ ดไมไ่ ด้
6. บุคคลใดมีสิทธเิ ข้าตรวจดู ขอสาเนาหรือขอสาเนาที่มคี ารับรองถกู ต้องของข้อมลู ขา่ วสารได้ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้อง
ก. บุคคลทมี่ ีสว่ นได้เสียเกย่ี วข้อง
ข. บุคคลท่ีไมม่ ีสว่ นไดเ้ สยี
ค. คนตา่ งดา้ ว
ง. ถูกทุกขอ้
เฉลย ง. ถกู ทกุ ข้อ

-153-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

7. ขอ้ มูลข่าวสารทีห่ น่วยงานของรฐั จดั ให้แก่ผู้ขอต้องเป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใด
ก. อยูใ่ นสภาพพร้อมทีจ่ ะให้ได้
ข. ต้องนาไปจัดทาวิเคราะห์ จาแนก หรือรวบรวมก่อน
ค. ตอ้ งจัดขนึ้ มาใหม่ โดยไมส่ อดคล้องกบั อานาจหนา้ ที่ตามปกติของหนว่ ยงานของรัฐ
ง. ไมม่ ขี ้อถูก
เฉลย ก. อยใู่ นสภาพพร้อมที่จะให้ได้

8. เมือ่ มีการร้องเรยี นเก่ียวกับหน่วยงานของรฐั ไมจ่ ดั หาข้อมลู ขา่ วสารจะต้องรอ้ งเรียนต่อคณะกรรมการชุดใด
ก. ปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี
ข. คณะกรรมการขอ้ มูลข่าวสารของราชการ
ค. คณะกรรมการวินจิ ฉยั การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ง. ประธานรัฐสภา
เฉลย ข. คณะกรรมการข้อมูลขา่ วสารของราชการ

9. ในกรณีเจ้าหน้าทขี่ องรัฐมีคาสงั่ มิให้เปิดเผยขอ้ มลู ขา่ วสาร ผู้ขอข้อมูลข่าวสารจะต้องอทุ ธรณต์ ่อใคร
ก. ปลดั สานกั นายกรฐั มนตรี
ข. คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
ค. คณะกรรมการวินิจฉยั การเปดิ เผยข้อมลู ข่าวสาร
ง. ประธานรัฐสภา
เฉลย ค. คณะกรรมการวินจิ ฉัยการเปดิ เผยข้อมูลขา่ วสาร

10. การย่นื อุทธรณ์คาส่ังของเจา้ หน้าท่ีของรัฐทีม่ ิให้เปิดเผยขอ้ มลู ข่าวสาร ต้องอุทธรณภ์ ายในกาหนดเวลาเท่าใด
ก. 15 วัน นับแตว่ ันยืน่ คาขอ
ข. 15 วนั นบั แต่วนั ที่ไดร้ บั แจ้งคาส่งั
ค. 30 วัน นบั แต่วนั ยื่นคาขอ
ง. 30 วัน นบั แตว่ ันทไี่ ด้รบั แจง้ คาส่งั
เฉลย ข. 15 วัน นบั แต่วันทไ่ี ด้รับแจง้ คาสัง่

11. คณะกรรมการวนิ ิจฉยั การเปดิ เผยข้อมูลข่าวสาร คณะหนึ่งตอ้ งมีไม่น้อยกว่ากี่คน
ก. 3 คน
ข. 5 คน
ค. 7 คน
ง. 9 คน
เฉลย ก. 3 คน

12. บุคคลใดมิได้เป็นคณะกรรมการข้อมลู ขา่ วสารของราชการ
ก. ปลดั กระทรวงกลาโหม
ข. ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ค. ปลดั กระทรวงการคลัง
ง. ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
เฉลย ง. ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

-154-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

13. ข้อมูลข่าวสารท่ีไม่ต้องเปิดเผยมีกาหนดเวลาครบกี่ปีหากหน่วยงานของรัฐจะส่งข้อมูลข่าวสารมอบให้แก่
หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ
ก. 50 ปี
ข. 75 ปี
ค. 100 ปี
ง. ไมม่ กี าหนดเวลา
เฉลย ข. 75 ปี

14. ข้อมูลขา่ วสารที่หน่วยงานของรัฐอาจมีคาส่ังมิให้เปิดเผยมีกาหนดเวลาครบกี่ปีหากหน่วยงานของรัฐจะส่ง
ขอ้ มลู ขา่ วสารมอบใหแ้ ก่หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ
ก. 10 ปี
ข. 15 ปี
ค. 20 ปี
ง. 25 ปี
เฉลย ค. 20 ปี

15. ข้อมลู ข่าวสารส่วนบคุ คล ขอ้ ใดกล่าวไม่ถกู ต้อง ตาม พ.ร.บ.ขอ้ มลู ข่าวสารของราชการ 2540
ก. เปดิ เผยเพือ่ ประโยชน์ในการศึกษาวิจัย โดยระบุช่ือหรือส่วนที่ทาให้รู้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลท่ี
เกย่ี วกับบุคคลใด
ข. เปิดเผยได้ เมื่อได้รับความยินยอมเปน็ หนงั สือของเจา้ ของข้อมูลทใี่ ห้ไว้ลว่ งหน้า
ค. เปิดเผยตอ่ เจ้าหน้าท่ีของรัฐ เพ่อื การปูองกนั การฝุาผนื หรือไมป่ ฏบิ ตั ิตามกฎหมาย
ง. เปิดเผยตอ่ เจา้ หนา้ ที่ของรฐั ในหนว่ ยงานของตน เพ่ือการนาไปใชต้ ามอานาจหนา้ ท่ีของหน่วยงานของรฐั แหง่ นนั้
เฉลย ก. เปิดเผยเพ่ือประโยชน์ในการศึกษาวิจัย โดยระบุช่ือหรือส่วนท่ีทาให้รู้ว่าเป็นข้อมูลข่าวสารส่วน
บคุ คลท่ีเกยี่ วกับบุคคลใด

16. ผใู้ ดเป็นผรู้ กั ษาการตามพระราชบัญญตั ิข้อมลู ขา่ วสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
ก. นายกรฐั มนตรี
ข. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหม
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
เฉลย ก. นายกรฐั มนตรี

17. ใหจ้ ดั ต้ังสานกั งานคณะกรรมการข้อมลู ขา่ วสารของราชการขึ้นในสงั กดั ใด
ก. สานักนายกรฐั มนตรี
ข. สานกั งานปลดั สานกั นายกรฐั มนตรี
ค. สานักงานขา่ วกรองแหง่ ชาติ กระทรวงกลาโหม
ง. สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
เฉลย ข. สานักงานปลดั สานักนายกรัฐมนตรี

-155-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

18. หน่วยงานของรัฐต้องส่งข่าวสารของราชการพิมพใ์ นราชกจิ จานเุ บกษา ขอ้ ใดถูกตอ้ ง
ก. โครงสร้างและการจดั องค์กรในการดาเนนิ งาน สรปุ อานาจหนา้ ท่ีท่สี าคัญและวธิ กี ารดาเนนิ งาน
ข. สถานท่ตี ิดต่อเพื่อขอรบั ข้อมูลข่าวสารหรอื คาแนะนาในการตดิ ต่อกับหน่วยงานของรัฐ
ค. กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คาสง่ั หนังสือเวียน ระเบยี บแบบแผน นโยบาย
ง. ถกู ทกุ ข้อ
เฉลย ง. ถูกทุกข้อ

19. ข้อมลู ขา่ วสารท่ีจดั ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ถา้ มสี ่วนทต่ี อ้ งห้ามมใิ หเ้ ปิดเผยอยดู่ ้วย ข้อใดถูกต้อง
ก. ใหล้ บขอ้ มูลข่าวสารสว่ นนน้ั
ข. ให้ตัดทอนขอ้ มูลข่าวสารส่วนน้ัน
ค. กระทาโดยประการอ่ืนที่ไม่เปน็ การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารส่วนนัน้
ง. ถูกทกุ ขอ้
เฉลย ง. ถกู ทกุ ขอ้

20. ผ้ใู ดเห็นว่าหน่วยงานของรัฐไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่าวสารลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาหรือไม่จัดหาข้อมูลข่าวสาร
ไว้ให้ประชาชนตรวจดูได้ หรือไม่จัดหาข่าวสารให้แก่ตน หรือฝุาฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ีหรือ
ปฏบิ ตั หิ น้าท่ีล่าช้า ผู้นั้นมีสิทธิดาเนนิ การตามข้อใด
ก. ร้องเรยี นตอ่ คณะกรรมการข้อมูลขา่ วสารของราชการ
ข. รอ้ งเรียนต่อคณะกรรมการวนิ ิจฉยั การเปดิ เผยข้อมูลข่าวสาร
ค. ร้องทุกขต์ อ่ คณะกรรมการขอ้ มลู ข่าวสารของราชการ
ง. ร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินจิ ฉยั การเปดิ เผยข้อมูลข่าวสาร
เฉลย ก. รอ้ งเรยี นต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ

21. ในกรณีทม่ี กี ารรอ้ งเรยี นต่อคณะกรรมการข้อมลู ข่าวสารของราชการ คณะกรรมการขอ้ มูลข่าวสารของ
ราชการ ต้องพิจารณาให้แลว้ เสรจ็ ขอ้ ใดถูกตอ้ งทส่ี ุด
ก. ภายใน 15 วันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รับคาร้องเรยี น
ข. ภายใน 30วนั นับแต่วนั ที่ไดร้ ับคาร้องเรยี น
ค. ภายใน 60วันนับแต่วันทีไ่ ดร้ บั คาร้องเรียน
ง. ภายใน 90วนั นับแต่วันที่ไดร้ บั คาร้องเรียน
เฉลย ข. ภายใน 30วนั นบั แตว่ นั ทไ่ี ด้รับคาร้องเรียน

22. ในกรณีทีม่ เี หตจุ าเป็นให้ขยายเวลาออกไปได้ แต่ตอ้ งแสดงเหตุผลและรวมเวลาท้งั หมด ข้อใดถูกต้องทสี่ ดุ
ก. ต้องไม่เกนิ 15 วนั นับแต่วนั ที่ไดร้ ับคารอ้ งเรยี น
ข. ต้องไมเ่ กิน 30 วนั นบั แต่วนั ทีไ่ ดร้ ับคาร้องเรยี น
ค. ตอ้ งไม่เกิน 60 วนั นบั แต่วันทไ่ี ด้รบั คาร้องเรยี น
ง. ต้องไมเ่ กิน 90 วันนบั แต่วนั ที่ได้รับคาร้องเรียน
เฉลย ค. ตอ้ งไมเ่ กนิ 60 วันนบั แต่วันท่ไี ดร้ ับคารอ้ งเรยี น

-156-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

23. ข้อมลู ข่าวสารของราชการจะเปดิ เผยมไิ ด้ ขอ้ ใดถูกตอ้ งท่สี ดุ
ก. ข้อมูลข่าวสารของราชการท่อี าจก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายตอ่ สถาบันพระมหากษัตรยิ ์
ข. การเปิดเผยจะก่อใหเ้ กิดความเสียหายต่อความมนั่ คงของประเทศ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศ หรอื
ความมน่ั คงในทางเศรษฐกจิ หรือการคลงั ของประเทศ
ค. การเปดิ เผยจะทาใหก้ ารบังคับใชก้ ฎหมายเสือ่ มประสิทธิภาพหรอื ไมอ่ าจสาเร็จตามวตั ถุประสงค์ได้ ไม่
ว่าจะเกี่ยวกบั การฟูองคดี การปอู งกนั การปราบปราม การทดสอบ การตรวจสอบ หรือการรูแ้ หล่งทมี่ า
ของข้อมูลขา่ วสารหรือไม่กต็ าม
ง. การเปดิ เผยจะก่อใหเ้ กดิ อันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภยั ของบคุ คลใดบุคคลหนงึ่
เฉลย ก. ข้อมลู ข่าวสารของราชการท่ีอาจก่อให้เกดิ ความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตรยิ ์

24. ในกรณีทเี่ จ้าหน้าที่ของรัฐเห็นว่า การเปิดเผยขอ้ มูลขา่ วสารของราชการใดอาจกระทบถึงประโยชน์ไดเ้ สีย
ของผใู้ ด ให้เจ้าหน้าทีข่ องรฐั แจ้งให้ผูน้ น้ั เสนอคาคัดค้านภายในเวลาท่กี าหนด ข้อใดถกู ต้องทส่ี ดุ
ก. ตอ้ งไม่น้อยกวา่ 7 วนั นับแตว่ นั ทไ่ี ด้รับแจง้
ข. ต้องไม่นอ้ ยกว่า 15 วันนับแตว่ นั ทีไ่ ดร้ ับแจ้ง
ค. ตอ้ งไม่น้อยกวา่ 30 วันนบั แต่วนั ท่ไี ด้รบั แจ้ง
ง. ต้องไมน่ ้อยกวา่ 60 วนั นับแตว่ นั ทไี่ ดร้ บั แจ้ง
เฉลย ข. ต้องไมน่ ้อยกว่า 15 วันนบั แตว่ ันที่ได้รับแจ้ง

25. ในกรณีทเี่ จา้ หน้าท่ีขอองรฐั มคี าส่ังมใิ ห้เปิดเผยข้อมลู ข่าวสาร หรือมคี าส่งั ไม่รบั ฟังคาคดั ค้านของผ้มู ี
ประโยชนไ์ ดเ้ สีย ผ้ขู ออาจดาเนินการตามขอ้ ใด
ก. ร้องทกุ ขต์ ่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปดิ เผยข้อมูลข่าวสาร ภายใน 15 วนั นบั แตว่ นั ที่ไดร้ ับแจง้ คาสัง่
ข. ร้องทกุ ข์ต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ ภายใน 15 วนั นบั แต่วันท่ไี ดร้ บั แจ้งคาสง่ั
ค. อุทธรณต์ ่อคณะกรรมการวินจิ ฉยั การเปิดเผยข้อมลู ข่าวสาร ภายใน 15 วันนบั แตว่ ันทไี่ ด้รับแจ้งคาส่งั
ง. อุทธรณต์ ่อคณะกรรมการข้อมูลขา่ วสารของราชการ ภายใน 15 วันนับแตว่ ันทีไ่ ดร้ ับแจ้งคาสงั่
เฉลย ค. อทุ ธรณ์ตอ่ คณะกรรมการวินิจฉยั การเปิดเผยขอ้ มลู ข่าวสาร ภายใน 15 วันนับแต่วนั ทไี่ ดร้ บั แจ้งคาสัง่

26. ถา้ บุคคลใดเห็นวา่ ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลท่เี ก่ยี วกบั ตนส่วนใดไมถ่ ูกต้องตามท่เี ป็นจริง ให้มสี ทิ ธยิ ่นื คาขอ
เปน็ หนังสอื ใหห้ นว่ ยงานของรัฐทีค่ วบคมุ ดแู ลข้อมลู ข่าวสารแกไ้ ขเปลี่ยนแปลง หรือลบขอ้ มูลขา่ วสารสว่ น
นั้นหากหนว่ ยงานของรฐั ไม่แกไ้ ขเปลย่ี นแปลงหรอื ลบข้อมูลขา่ วสารใหต้ รงตามท่ีมคี าขอ ให้ผนู้ ้ันมีสิทธิ
ดาเนนิ การตามข้อใด
ก. ร้องทุกขต์ ่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารภายใน 30 วันนบั แต่วนั ได้รบั แจ้งคาส่ังไม่
ยินยอมแกไ้ ขเปลยี่ นแปลงหรือลบข้อมลู ข่าวสาร
ข. ร้องทกุ ขต์ อ่ คณะกรรมการข้อมลู ข่าวสารของราชการภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั ได้รบั แจง้ คาสงั่ ไมย่ นิ ยอม
แกไ้ ขเปลยี่ นแปลงหรือลบข้อมลู ขา่ วสาร
ค. อทุ ธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉยั การเปดิ เผยข้อมูลข่าวสารภายใน 30 วันนบั แต่วนั ได้รับแจ้งคาส่ังไม่
ยินยอมแกไ้ ขเปลยี่ นแปลงหรือลบข้อมลู ขา่ วสาร
ง. อทุ ธรณ์ตอ่ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการภายใน 30 วันนับแต่วนั ไดร้ บั แจ้งคาส่งั ไม่ยนิ ยอม
แกไ้ ขเปล่ยี นแปลงหรือลบขอ้ มลู ข่าวสาร
เฉลย ค. อุทธรณต์ ่อคณะกรรมการวนิ ิจฉยั การเปิดเผยข้อมูลขา่ วสารภายใน 30 วนั นบั แต่วนั ไดร้ ับแจง้
คาสั่งไม่ยินยอมแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรอื ลบขอ้ มลู ข่าวสาร

-157-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

27. ขอ้ มลู ข่าวสารของราชการสถาบนั พระมหากษตั ริย์เม่ือครบกาหนดกี่ปีนบั แต่วนั ทีเ่ สร็จสิ้นการจดั ใหม้ ีข้อมูล
ข่าวสารน้ัน ให้หนว่ ยงานของรัฐสง่ มอบใหแ้ ก่จดหมายเหตุแห่งชาติ
ก. เมอ่ื ครบ 75 ปี
ข. เม่ือครบ 60 ปี
ค. เมอื่ ครบ 25 ปี
ง. เมือ่ ครบ 20 ปี
เฉลย ก. เมอื่ ครบ 75 ปี

28. ขอ้ มูลข่าวสารส่วนบคุ คลอายุเมื่อครบกาหนดก่ีปีนับแต่วนั ที่เสร็จส้ินการจัดให้มขี ้อมลู ข่าวสารนน้ั ให้
หน่วยงานของรัฐสง่ มอบใหแ้ ก่หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
ก. เมอื่ ครบ 75 ปี
ข. เม่ือครบ 60 ปี
ค. เมื่อครบ 25 ปี
ง. เมอื่ ครบ 20 ปี
เฉลย ง. เม่อื ครบ 20 ปี

29. กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นคณะกรรมการข้อมลู ข่าวสารของราชการมวี าระอยู่ในตาแหน่งตามข้อใด
ก. คราวละ 1 ปนี ับแตว่ นั ท่ไี ด้รบั แต่งต้ัง ผู้ที่พ้นตาแหนง่ แล้วอาจไดร้ ับแต่งต้ังใหม่ได้
ข. คราวละ 2 ปีนบั แต่วนั ทไ่ี ด้รับแตง่ ตั้ง ผูท้ ่ีพ้นตาแหน่งแล้วอาจไดร้ บั แต่งต้งั ใหม่ได้
ค. คราวละ 3 ปนี บั แตว่ นั ทไี่ ด้รับแต่งตงั้ ผทู้ พี่ ้นตาแหน่งแล้วอาจไดร้ บั แต่งต้งั ใหม่ได้
ง. คราวละ 4 ปีนบั แต่วันทีไ่ ด้รับแต่งตัง้ ผู้ทพ่ี ้นตาแหนง่ แล้วอาจได้รับแต่งตัง้ ใหมไ่ ด้
เฉลย ค. คราวละ 3 ปนี บั แต่วันทไี่ ดร้ บั แต่งต้ัง ผทู้ พ่ี น้ ตาแหน่งแล้วอาจไดร้ บั แตง่ ต้งั ใหม่ได้

30. ในกรณีทห่ี น่วยงานของรัฐปฏเิ สธว่าไม่มขี อ้ มลู ขา่ วสารตามท่ีมีคาขอ ถ้าผมู้ ีคาขอไมเ่ ช่ือวา่ เป็นความจรงิ ผู้
นั้นสามารถดาเนนิ การได้ตามข้อใด
ก. รอ้ งเรยี นต่อผู้อานวยการสานักขา่ วกรองแห่งชาติ
ข. ร้องเรียนต่อคณะกรรมการขอ้ มลู ข่าวสารของราชการ
ค. ร้องทุกขต์ ่อผู้อานวยการสานักขา่ วกรองแห่งชาติ
ง. ร้องทุกขต์ อ่ คณะกรรมการขอ้ มูลข่าวสารของราชการ
เฉลย ข. รอ้ งเรียนต่อคณะกรรมการข้อมูลขา่ วสารของราชการ

31. ผู้ทเี่ สนอแต่งตงั้ คณะกรรมการวนิ จิ ฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารคอื ใคร
ก. คณะรฐั มนตรี
ข. รฐั มนตรที ่คี ณะรฐั มนตรีมอบหมาย
ค. คณะกรรมการขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ
ง. ผู้อานวยการสานักข่าวกรองแหง่ ชาติ
เฉลย ค. คณะกรรมการข้อมูลขา่ วสารของราชการ

-158-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

32. ผทู้ ่แี ตง่ ต้งั คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั การเปดิ เผยข้อมลู ข่าวสารคอื ใคร
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. รฐั มนตรีที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
ค. คณะกรรมการขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ
ง. เลขาธิการสภาความม่ันคงแห่งชาติ
เฉลย ก. คณะรัฐมนตรี

33. ให้มีคณะกรรมการวินจิ ฉัยการเปดิ เผยข้อมูลขา่ วสารสาขาตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม คณะกรรมการ
วนิ จิ ฉยั การเปิดเผยข้อมูลขา่ วสารคณะหนึง่ ๆ ประกอบดว้ ยบุคคลตามความจาเป็นโดยใหแ้ ต่งตั้งตามสาขา
เชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นของข้อมูลขา่ วสารของราชการจานวนเท่าใด
ก. จานวนไมน่ อ้ ยกวา่ 3 คน
ข. จานวนไม่น้อยกวา่ 5 คน
ค. จานวนไม่นอ้ ยกว่า 7 คน
ง. จานวนไม่นอ้ ยกว่า 9 คน
เฉลย ก. จานวนไมน่ ้อยกวา่ 3 คน

34. ผใู้ ดไมป่ ฏบิ ตั ติ ามคาส่งั ของคณะกรรมการขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ ทีส่ ั่งเรียกให้บุคคลใดมาให้ถ้อยคา
หรือให้ส่งวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณาได้ ผ้นู น้ั มคี วามผิดตามขอ้ ใด
ก. ตอ้ งระวางโทษจาคุกไมเ่ กิน 1 เดอื น หรือปรบั ไมเ่ กิน 1,000 บาท หรือทงั้ จาท้ังปรับ
ข. ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 เดอื น หรอื ปรับไมเ่ กนิ 5,000 บาท หรอื ทงั้ จาท้ังปรับ
ค. ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดอื น หรือปรบั ไม่เกิน 10,000 บาท หรือท้ังจาท้ังปรับ
ง. ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไม่เกนิ 1 ปี หรือปรับไม่เกนิ 20,000 บาท หรือ ท้งั จาทง้ั ปรบั
เฉลย ข. ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกนิ 3 เดอื น หรอื ปรบั ไม่เกนิ 5,000 บาท หรอื ท้ังจาท้ังปรับ

35. กรณีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารทางราชการท่จี ะทาให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธภิ าพหรือไม่อาจ
สาเร็จตามวัตถปุ ระสงคไ์ ด้ ไมว่ ่าจะเกีย่ วกบั การฟอู งคดี การปอู งกนั การปราบปราม การทดสอบ การตรวจสอบ
ผใู้ ดฝาุ ฝนื หรือไมป่ ฏิบัตติ ามผู้นั้นมคี วามผดิ ตามขอ้ ใด
ก. ตอ้ งระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรบั ไมเ่ กนิ 1,000 บาท หรือท้งั จาทัง้ ปรบั
ข. ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรบั ไม่เกนิ 5,000 บาท หรือท้งั จาทง้ั ปรบั
ค. ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไมเ่ กิน 10,000 บาท หรอื ท้ังจาทั้งปรับ
ง. ต้องระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กนิ 1 ปี หรอื ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทง้ั จาท้ังปรับ
เฉลย ง. ตอ้ งระวางโทษจาคุกไมเ่ กิน 1 ปี หรือปรับไมเ่ กนิ 20,000 บาท หรอื ทัง้ จาทงั้ ปรับ

-159-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

สรุปสาระสาคญั

ระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕

 บังคบั ใช้วนั ถดั จากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป
 ประกาศ ๒4 มกราคม ๒๕55
 มีผลใชบ้ งั คับ วันท่ี ๒5 มกราคม ๒๕55
 ปลัดสานกั นายกรัฐมนตรเี ปน็ ผูร้ กั ษาการ

 ผู้มีอานาจการลาไมอ่ ย่หู รอื ไม่สามารถปฏิบตั ริ าชการได้หากมีเหตุจาเป็นเร่งด่วนให้เสนอใบลาต่อผู้มีอานาจ
เหนือขน้ึ ไปพจิ ารณา
 การลาในช่วงกอ่ นและหลังวันหยดุ ราชการประจาสัปดาห์หรือวันหยุดราชการประจาปีเพ่ือให้
มีวันหยุด ตอ่ เนอ่ื งกนั ให้ผมู้ ีอานาจใชด้ ุลพนิ ิจตามความเหมาะสม

 การนบั วนั ลานบั ตามปงี บประมาณ
 การนับวันลาให้นบั ต่อเนือ่ งกนั รวมวนั หยุดราชการที่อยรู่ ะหว่างวันลาประเภทเดียวกัน ยกเว้น

ลาปุวย ลาไปช่วยเหลือภรยิ าทค่ี ลอดบุตร ลากจิ สว่ นตัว ลาพักผอ่ น นับเฉพาะวนั ทาการ
 การลาปุวยหรือลากิจส่วนตัวต่อเน่ืองกัน ในปีงบประมาณเดียวกันหรือไม่ก็ตาม นับเป็นหนึ่ง
คร้งั
 การลาไปช่วยเหลือภริยา ลากิจส่วนตัว (ไม่ใช่ลากิจเลี้ยงดูบุตร) ลาพักผ่อน หากมีราชการ

จาเป็น ผู้บังคับบัญชามีอานาจเรียกกลับมาปฏิบัติราชการระหว่างลาได้ และถือว่าให้สิ้นสุดวันลาก่อนวัน
กลบั มาปฏบิ ตั ิ ราชการ แตถ่ า้ ผู้มีอานาจเห็นวา่ การเดนิ ทางตอ้ งใช้เวลา ให้ถอื วา่ ส้นิ สุดกอ่ นวันเดินทางกลบั

 การลาครึง่ วันเช้าบ่าย นับเปน็ การลาคร่งึ วนั
 การยกเลกิ วันลา การลาสน้ิ สดุ ก่อนวนั มาปฏิบัตริ าชการ
 การควบคมุ การลา
 จัดทาบญั ชีลงเวลาปฏบิ ตั ริ าชการ
 เคร่อื งบันทกึ เวลาการปฏิบตั ิราชการ
 แบบอ่ืนตามทีเ่ ห็นสมควรได้
 การลาต้องใช้ใบลาตามแบบที่กาหนด เว้นกรณีเร่งด่วนจาเป็นใช้วิธีการอ่ืนได้ แต่ต้องส่งใบลาตามแบบใน
วันแรก ท่ีมาปฏิบัติราชการ ส่วนราชการอาจนาระบบอิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้ในการเสนอ อนุญาต

และยกเลกิ วนั ลา สาหรับวนั ลาปวุ ย ลาพักผ่อน ลากจิ สว่ นตวั (เวน้ ลากิจเลย้ี งดบู ตุ ร)
 การไปต่างประเทศระหว่างการลา หรือวันหยุดราชการ ให้เสนอขออนุญาตต่อผู้บังคับบัญชาตาม ลาดับ

จนถึง หวั หนา้ สว่ นราชการ (ผู้ว่าราชการจังหวดั ) แลว้ รายงานให้ปลัดกระทรวงทราบดว้ ย
 การขออนุญาตไปต่างประเทศซ่ึงอยู่ติดเขตแดนประเทศไทย ผู้ว่าราชการจังหวัดอนุญาตได้ไม่เกิน ๗ วัน

นายอาเภอท้องทที่ ่ีมีอาณาเขตตดิ ตอ่ ประเทศนั้นอนญุ าตได้ไมเ่ กิน ๓ วัน
 ขา้ ราชการทีไ่ มส่ ามารถมาปฏิบัติราชการเพราะพฤติการณ์พิเศษ ให้รีบรายงานพฤติการณ์ ปัญหาอุปสรรค

ต่อ ผู้บังคับบัญชาตามลาดับจนถึงหัวหน้าส่วนราชการ (ผู้ว่าราชการจังหวัด) ทันทีในวันแรกท่ีมาปฏิบัติ
ราชการ แล้วไม่ต้องนับเป็น วันลา แต่ถ้าเห็นว่าไม่เป็นพฤติการณ์พิเศษ ให้ถือวันวันที่ไม่มาเป็นวันลากิจ

สว่ นตวั

-160-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

 การลาแบง่ ออกเปน็ ๑๑ ประเภท ดังนี้
๑. การลาปวุ ย
๒. การลาคลอดบตุ ร
๓. การลาไปช่วยเหลือภรยิ าทคี่ ลอดบตุ ร
๔ การลากิจส่วนตวั
๕. การลาพักผอ่ น
๖. การลาอุปสมบทหรอื การลาไปประกอบพธิ ีฮัจย์
๗. การลาเข้ารบั การตรวจเลอื กหรือเขา้ รับการเตรยี มพล
๘. การลาไปศกึ ษา ฝกึ อบรม ปฏิบตั ิงานวิจยั หรือดูงาน
๙. การลาไปปฏบิ ัตงิ านในองค์กรระหวา่ งประเทศ
๑๐. การลาตดิ ตามคสู่ มรส
๑๑. การลาไปฟืน้ ฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ

 การลาปุวย
 เสนอใบลาก่อนหรอื ในวนั ที่ลา ยกเวน้ จาเป็น เสนอวนั แรกท่ีมาปฏบิ ตั ริ าชการ
 ในกรณีท่ีข้าราชการผู้ขอลามีอาการปุวย จนไม่สามารถจะลงชื่อในใบลาได้ให้ผู้อ่ืนลา
แทนไดแ้ ตเ่ มอ่ื สามารถลงชื่อได้แลว้ ใหเ้ สนอใบลาโดยเรว็
 การลาปุวย ๓๐ วนั ขนึ้ ไป ต้องมีใบรบั รองแพทย์
 การลาปุวยไม่ถึง ๓๐ วัน ถ้าผู้มีอานาจอนุญาตเห็นสมควรให้เสนอใบรับรองแพทย์
ประกอบการลา หรอื ส่งั ใหไ้ ปตรวจรา่ งกายประกอบการพจิ ารณาอนญุ าตได้

 การลาคลอดบตุ ร (ไมต่ อ้ งมีใบรับรองแพทย์)
 เสนอใบลาก่อนหรือในวันที่ลา ถ้าลงช่ือไม่ได้ให้ผู้อ่ืนลาแทนได้ เม่ือลงช่ือได้ให้ส่งใบลา
โดยเรว็
 ลาในวนั ทคี่ ลอด ก่อนหรอื หลังคลอดก็ได้ แตร่ วมแลว้ ตอ้ งไม่เกนิ ๙๐ วนั
 ลาไปแล้วยังไม่คลอด ยกเลิกวันลาคลอดบุตรได้ ให้นับวันที่หยุดราชการไปแล้วเป็นวัน
ลากจิ
 การลาคลอดบุตรคาบเก่ียวการลาประเภทอื่น ให้ถือว่าวันลานั้นสิ้นสุดลง และนับเป็น
วันลาคลอดบตุ รนับ แต่วนั ลาคลอดบตุ ร

 การลาไปชว่ ยเหลือภริยาทคี่ ลอดบุตร (ทช่ี อบด้วยกฎหมาย)
 เสนอใบลากอ่ นหรือในวนั ทล่ี าภายใน ๙๐ วันนับแตว่ ันท่ีคลอดบุตร ลาคร้ังหนึ่งติดต่อกัน
ไมเ่ กิน ๑๕ วันทาการ
 ผ้มู ีอานาจอนญุ าตอาจใหแ้ สดงหลักฐานประกอบการพจิ ารณาได้

 การลากจิ สว่ นตวั
 เสนอใบลาจนถึงผูม้ ีอานาจอนุญาต ได้รับอนุญาตแล้วจงึ จะหยุดราชการได้
 ถา้ มีเหตุจาเปน็ เสนอแลว้ ระบสุ าเหตุ แลว้ หยดุ ราชการไปกอ่ นได้ แต่ตอ้ งรีบชแ้ี จงโดยเรว็
 ถ้าไม่สามารถเสนอใบลาได้ ให้ส่งใบลาพร้อมเหตุผลความจาเป็นในวันแรกท่ีมาปฏิบัติ
ราชการ
 ลากิจส่วนตวั ต่อเน่ืองจากลาคลอดบุตรไดไ้ มเ่ กนิ ๑๕๐ วันทาการ

-161-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์
 การลาพักผ่อน

 เสนอใบลาจนถงึ ผู้มีอานาจอนญุ าต ได้รับอนุญาตแล้วจงึ จะหยุดราชการได้
 ลาไดป้ ีงบประมาณละ ๑๐ วนั ทาการ
 ข้าราชการท่ีบรรจุเข้ารับราชการยังไม่ถึง ๖ เดือนไม่มีสิทธิลาพักผ่อนประจาปีในปีที่

บรรจุ
 ปีใดที่ไมไ่ ด้ลา หรอื ลาแตไ่ ม่ครบ ๑๐ วัน ให้สะสมวันท่ียังไม่ได้ลารวมกับปีต่อๆ ไปได้ แต่

รวมกบั วันลา พักผอ่ นในปีปจั จุบันแลว้ ไมเ่ กนิ ๒๐ วันทาการ

ถ้ารบั ราชการไมน่ อ้ ยกว่า ๑๐ ปี สะสมไมเ่ กนิ ๓๐ วันทาการ
 การลาไปอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพธิ ีฮจั ย์

 เสนอใบลาก่อนวันอุปสมบทหรือวันเดินทาง ไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน ถ้าไม่ทันให้อยู่ใน

ดลุ พนิ จิ ของผมู้ ีอานาจ อนญุ าต
 ตอ้ งอุปสมบทหรอื เดนิ ทาง ภายใน ๑๐ วันนับแต่วันเร่ิมลา และรายงานตัวภายใน ๕ วัน

นับแต่วันท่ีลา สิกขาหรือวันเดินทางกลับถึงประเทศไทย ท้ังน้ี นับรวมอยู่ในระยะเวลาที่

ได้รบั อนญุ าตการลา
 ถ้ามอี ุปสรรค ยกเลิกวันลาและใหน้ ับวันทีห่ ยดุ ราชการไปแลว้ เปน็ ลากิจสว่ นตวั
 การลาเขา้ รบั การตรวจเลือกหรือเขา้ รับการเตรยี มพล
 หมายเรียกเข้ารับการตรวจเลือก รายงานลาต่อผู้บังคับบัญชาก่อนวันเข้ารับการตรวจ

เลือกภายใน ๔๘ ชัว่ โมง
 หมายเรยี กเขา้ รับการเตรียมพลรายงานต่อผู้บังคับบัญชาภายใน ๔๙ ช่ัวโมง นับแต่เวลา

รบั หมายเรยี ก
 รายงานลาแลว้ ไปเขา้ รบั การตรวจเลือกโดยไม่ต้องรออนุญาต ผู้บังคับบัญชารายงานผู้ว่า

ราชการจงั หวัดทราบ
 รายงานตัวกลับเขา้ รับราชการภายใน ๗ วนั
 การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ปฏิบัติการวิจัย และดูงาน (ทั้งในประเทศและต่างประเทศ)
 เสนอใบลาตามลาดับจนถึง อธิบดี เพื่อพิจารณาอนุญาต แล้วรายงานปลัดกระทรวง

ทราบ
 การลาไปปฏิบัตงิ านในองค์การระหวา่ งประเทศ

 เสนอใบลาตามลาดับจนถึงรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเพื่อพิจารณาอนุญาต (นับเวลาเต็มเวลา

ราชการ)
 ลาไม่เกิน ๑ ปี รายงานตัวภายใน ๑๕ วันนับแต่วันครบกาหนดเวลา และรายงานผล

ภายใน ๓๐ วัน นับแต่ วนั ทกี่ ลบั มาปฏิบตั ริ าชการ
 การลาติดตามคสู่ มรส

 เสนอใบลาตามลาดบั จนถงึ ปลดั กระทรวงเพ่อื พิจารณาอนญุ าต
 ลาได้ไม่เกิน ๒ ปี จาเป็นลาต่อได้อีก ๒ ปี รวมแล้วต้องไม่เกิน ๔ ปี ถ้าเกิน ๔ ปีให้

ลาออก
 การลาไปฟ้ืนฟูสมรรถภาพดา้ นอาชีพ

 ไดร้ บั อนั ตรายหรือเจ็บปุวยเหตุปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีราชการจนทพุ พลภาพหรอื พิการ
 ลาไปเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรเก่ียวกับการฟ้ืนฟูสมรรถภาพท่ีจาเป็นต่อการปฏิบัติ

หน้าทรี่ าชการ หรือ จาเป็นต่อการประกอบอาชีพ

-162-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

 ลาไดค้ รง้ั หน่ึงตามระยะเวลาที่กาหนดไวใ้ นหลักสตู รทปี่ ระสงคจ์ ะลา แตไ่ มเ่ กิน ๑๒ เดือน
 ได้รับอันตรายเพราะเหตุอ่ืนจนทุพพลภาพหรือพิการ ผู้มีอานาจสั่งบรรจุ (อธิบดี, ผู้ว่า

ราชการจังหวัด) เห็นว่ายังรับราชการ ได้ สามารถลาไปอบรบหลักสูตรที่จาเป็นต่อการ
ปฏิบตั ิหน้าทรี่ าชการได้ แตไ่ ม่เกิน ๑๒ เดือน
 ต้องเป็นหลักสูตที่ส่วนราชการ หน่วยงานอ่ืนของรัฐ องค์กรการกุศลอันเป็นสาธารณะ
สถาบันท่ีได้รบั การ รบั รองจากหน่วยงานของทางราชการ เปน็ ผจู้ ัดหรอื รว่ มจัด
 เสนอใบลา พร้อมหลักฐานเก่ียวกับหลักสูตรที่จะลา เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง ตามลาดับ เมื่อ
ได้รบั อนญุ าตแล้วจงึ จะหยุดราชการเพอื่ ไปฟื้นฟไู ด้
อธิบดี อนญุ าตได้ไม่เกิน ๖ เดือน ปลัดกระทรวง,รมต.ไมเ่ กนิ ๑๒ เดอื น

-163-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

แนวข้อสอบระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรี วา่ ดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. 2555

1. ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. 2555 มที มี่ าตามกฎหมายใด
ก. พระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ข. พระราชบญั ญัตวิ ่าด้วยระเบียบขา้ ราชการพลเรอื น
ค. พระราชบญั ญัติวา่ ด้วยการปรับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม
ง. กฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญขา้ ราชการ
เฉลย ก. พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผน่ ดนิ

2. ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. 2555 มผี ลบังคับใช้เมอื่ ใด
ก. 23 มกราคม 2555
ข. 24มกราคม 2565
ค. 25 มกราคม 2555
ง. 26 มกราคม 2555
เฉลย ค. 25 มกราคม 2555

3. การลา แบ่งออกเปน็ ก่ปี ระเภท
ก. 8 ประเภท
ข. 9 ประเภท
ค. 10 ประเภท
ง. 11 ประเภท
เฉลย ง. 11 ประเภท

4. บคุ คลใดเป็นผู้มีอานาจตคี วามและวนิ จิ ฉยั ปญั หาเก่ยี วกับการปฏิบัติตามระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรีว่าด้วย
การลาของข้าราชการ พ.ศ. 2555
ก. รฐั มนตรปี ระจาสานักนายกรัฐมนตรี
ข. ปลดั สานกั นายกรัฐมนตรี
ค. เลขาธกิ ารคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น
ง. นายกรัฐมนตรี
เฉลย ข. ปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี

5. การอนุญาตการลาในข้อใดตอ่ ไปนี้มคี วาม แตกต่างจากการลาประเภทอื่น
ก. การลาไปศึกษา ฝกึ อบรม ปฏิบตั กิ ารวจิ ยั หรือดูงาน
ข. การลาตดิ ตามคสู่ มรส
ค. การลาพักผ่อน
ง. การลาเขา้ รับการตรวจเลอื ก
เฉลย ง. การลาเขา้ รบั การตรวจเลอื ก

-164-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

6. ข้าราชการที่ไดร้ บั คาสัง่ ใหไ้ ปชว่ ยราชการ ณ หนว่ ยงานสว่ นราชการอ่ืน หากประสงคจ์ ะลาปวุ ย จะตอ้ งขอ
อนญุ าตต่อผู้ใด
ก. ผูบ้ งั คับบญั ชาของหน่วยงานท่ไี ปชว่ ยราชการ
ข. ผู้บังคับบญั ชาของหนว่ ยงานตน้ สังกัด
ค. ผบู้ ังคับบญั ชาของหนว่ ยงานทีไ่ ปช่วยราชการหรอื ตน้ สังกัดกไ็ ด้
ง. ผบู้ ังคบั บญั ชาของหน่วยงานที่ทาข้อตกลงการลาไว้
เฉลย ก. ผบู้ งั คับบัญชาของหนว่ ยงานที่ไปชว่ ยราชการ

7. วนั ลาคลอดบตุ รรวมท้งั สน้ิ ตอ้ งไมเ่ กินกี่วนั
ก. 45 วนั
ข. 60 วนั
ค. 90 วัน
ง. 120 วัน
เฉลย ค. 90 วัน

8. ลากิจสว่ นตัวเพื่อเลีย้ งดบู ุตร ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ลาได้ไม่เกนิ 90 วัน
ข. ลาต่อเนอ่ื งจากการคลอดบุตรไดไ้ ม่เกิน 90 วนั ทาการ
ค. ลาไดไ้ ม่เกนิ 120 วนั
ง. ลาตอ่ เนอ่ื งจากการคลอดบุตรได้ไมเ่ กิน 150 วนั ทาการ
เฉลย ง. ลาตอ่ เนือ่ งจากการคลอดบุตรได้ไมเ่ กิน 150 วนั ทาการ

9. กาหนดให้ข้าราชการท่รี บั ราชการตดิ ต่อกนั มาแล้วไม่น้อยกวา่ 10 ปี มีสทิ ธินาวันลาพักผ่อนสะสมรวมกับวัน
ลาพกั ผ่อนในปีปจั จบุ ันได้ก่วี ัน
ก. ไม่เกิน 10 วัน
ข. ไมเ่ กนิ 20 วัน
ค. ไม่เกิน 30 วันทาการ
ง. ไมเ่ กนิ 40 วนั ทาการ
เฉลย ค. ไมเ่ กนิ 30 วันทาการ

10. การลาติดตามคูส่ มรส ต้องมีระยะเวลาไม่เกินกาหนดในข้อใดเพื่อมิให้มีผลเป็นการลาออกจากราชการ
ก. ไม่เกิน 1 ปี
ข. ไม่เกนิ 2 ปี
ค. ไมเ่ กนิ 3 ปี
ง. ไม่เกิน 4 ปี
เฉลย ง. ไมเ่ กนิ 4 ปี

-165-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

11. การลาไปฟน้ื ฟสู มรรถภาพด้านอาชพี มกี าหนดระยะเวลาตามข้อใด
ก. 1 เดอื น
ข. 6 เดือน
ค. 12 เดอื น
ง. 18 เดือน
เฉลย ค. 12 เดือน

12. การลาไปประกอบพธิ ฮี จั ย์ จะตอ้ งเสนอหรอื จดั ส่งใบลากอ่ นวันเดนิ ทางกวี่ นั
ก. ไมน่ อ้ ยกวา่ 15 วนั
ข. ไม่น้อยกวา่ 30 วนั
ค. ไม่น้อยกวา่ 45 วนั ทาการ
ง. ไมน่ ้อยกวา่ 60 วนั ทาการ
เฉลย ง. ไมน่ ้อยกว่า 60 วนั ทาการ

13. ข้าราชการที่พ้นจากการลาเข้ารับการเตรียมพล จะต้องรายงานตัวกลบั เข้าปฏิบัตริ าชการตามปกตภิ ายในเวลา
ใด

ก. 5 วนั
ข. 7 วนั
ค. 15 วนั
ง. 30 วนั
เฉลย ข. 7 วัน

-166-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ความร้เู กีย่ วกบั วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ โครงสรา้ ง อานาจหน้าท่ี ภารกิจ นโยบายยทุ ธศาสตร์ของสานักงาน
คณะกรรการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน และกระทรวงศึกษาธิการ

ความรเู้ ก่ยี วกบั ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธกิ าร

บทสรุปสาหรบั ผูบ้ ริหาร

 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) เป็นแผนแม่บทหลักในการพัฒนา
ประเทศ

 ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา มผี ลบังคบั ใช้เมื่อวันท่ี ๑๘ เมษายน ๒๕๖๒

 เปา้ หมายและประเด็นยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์ชาติ ลงสู่แผนระดับต่างๆ รวมทั้งแผนในระดับ
กระทรวง โดยแผนแมบ่ ทฯ จะแบ่งช่วงเวลาออกเป็น ๔ ช่วง ชว่ งละ ๕ ปี

 การพัฒนาประเทศในช่วงเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนา
ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในรูปแบบ
ประชารัฐ ดงั นั้น

 วสิ ยั ทศั น์ “กระทรวงศึกษาธิการ วางระบบเพ่อื ใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ – ทักษะ มีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อ
บ้านเมือง มพี นื้ ฐานชวี ิตทมี่ ่ันคง มีคุณธรรม มงี านทา มีอาชพี และเปน็ พลเมอื งท่เี ขม้ แข็ง”

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) ฉบับนี้ จึงได้มีการกาหนดเป้าหมาย
หลักและวางยุทธศาสตร์ที่เน้นการปรับสภาวการณ์ของกระทรวงฯ สามารถตอบสนองต่อแนวทางการพัฒนา
ท่ีสาคญั ของแผนแมบ่ ทฯในช่วงแรกซึง่ ได้แก่

 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ การพฒั นาหลกั สูตร กระบวนการจดั การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล

 ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ ยุทธศาสตร์พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
 ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ ยุทธศาสตร์ผลิตและพัฒนากาลังคน รวมท้ังงานวิจัยที่สอดคล้องกับความ

ตอ้ งการของประเทศ
 ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ ยุทธศาสตร์เพิม่ โอกาสให้คนทุกช่วงวัยเข้าถึงบริการทางการศึกษาอย่างต่อเน่ือง

ตลอดชีวติ
 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๕ ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพฒั นาระบบเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพ่อื การศกึ ษา
 ยุทธศาสตร์ท่ี ๖ ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม

ในการจัดการศกึ ษา

-167-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

-168-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

เหตุผลความจาเป็นในการจดั ทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงฯ
๑. กฎหมายสาคัญที่เกีย่ วข้องกบั อานาจหนา้ ทข่ี องกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ศธ.)

๑.๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ซ่ึงเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครอง
ประเทศที่ยังคงเจตนารมณ์ยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขโดยได้ระบุข้อ
มาตราท่ีต้องนาไปใช้บังคับในการจัดการศึกษา การส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเข้ารับ
บริการการศกึ ษาของประชาชน

๑.๒ คาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี ๑๙ / ๒๕๖๐ เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาใน
ภมู ภิ าคของกระทรวงศึกษาธกิ าร

1.3 พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีระบเุ หตุผลเพ่ือกาหนดขอบเขตใน
การดาเนนิ การของกระทรวงศกึ ษาธิการ และหนว่ ยงานอื่นใหส้ อดคลอ้ งกับอานาจหน้าทท่ี ีเ่ ปลยี่ นไป

1.4 พระราชบัญญัตปิ รับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม (ฉบับท่ี ๑๙) พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีระบุเหตุผลเพ่ือการ
ต้ังกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ และนวัตกรรม เพื่อให้มีการบูรณาการการเรียน การสอน การวิจัย
และการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อ่ืนเข้าด้วยกัน รวมทั้งให้เกิดความ
ร่วมมือในการปฏบิ ัตหิ น้าทร่ี ะหว่างสถาบนั อดุ มศึกษาและสถาบนั วิจัยในทศิ ทางท่สี อดคล้องกับยทุ ธศาสตรช์ าติ

1.5 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีระบุ
เหตุผลเพ่ือแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อกาหนดโครงสร้าง
และตาแหน่งต่างๆ ให้สอดคล้องกับอานาจหน้าท่ีของกระทรวงศึกษาธิการที่เปลี่ยนแปลงไปตามท่ีถูกระบุใน
กฎหมายหลกั ท่ีว่าดว้ ยการศึกษาแหง่ ชาติ

1.6 พระราชบัญญัตกิ ารพฒั นาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีระบุเหตุผลตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ที่สมควรให้เดก็ เลก็ ซงึ่ เปน็ เด็กปฐมวัยได้รับการศึกษาอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง ทั่วถึงและ
เสมอภาค มีการส่งเสริมการเรียนรู้และการเตรียมความพร้อมในช่วงรอยต่อ ต้ังแต่ก่อนอนุบาลจนถึงระดับ
ประถมศึกษาอย่างเหมาะสม

1.7 พระราชบัญญัติพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีระบุเหตุผลเพ่ือพัฒนาการจัด
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อันเป็นรากฐานสาคัญในการพัฒนาคนไทยให้มีคุณภาพ สามารถอยู่และทางานร่วมกับ
ผอู้ ืน่ ทมี่ คี วามแตกต่างได้

1.8 พระราชบัญญัติกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ท่ีระบุเหตุผลเพื่อใช้ใน
การช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ ลดความเหลื่อมล้าในการศึกษา เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและ
ประสิทธภิ าพครู

1.9 พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒
ที่ระบุเหตุผลเพื่อให้มีการนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินและบริการ
สาธารณะ และใหม้ ีการบรู ณาการฐานข้อมลู ของหน่วยงานภาครัฐทกุ แหง่ เขา้ ดว้ ยกนั

1.10 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีระบุเหตุผลเพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินของทุกส่วนราชการมีความสอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ และพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการดาเนินการ
ปฏริ ปู ประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐

-169-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

๒. ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้กาหนดให้รัฐมียุทธศาสตร์ชาติเป็น

เปูาหมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่างๆให้
สอดคล้องและบรู ณาการกนั ต่อมาได้มีการตราพระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ซ่ึงมีผล
บังคับใช้กับส่วนราชการทุกหน่วยมีหน้าที่ดาเนินการเพ่ือให้บรรลุเปูาหมายและวิสัยทัศน์ที่กาหนดไว้ใน
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๙๐) คือ “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืนเป็นประเทศที่
พัฒนาแลว้ ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง”

โดยเปูาหมายการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ จะประกอบด้วยความ
อยู่ดมี สี ุขของคนไทยและสงั คมไทย ขีดความสามารถในการแข่งขนั การพัฒนาเศรษฐกิจและการกระจายรายได้
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสังคมความหลากหลายทาง
ชีวภาพ คุณภาพส่ิงแวดล้อมและความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติ และประสิทธิภาพการบริหารจัดการและ
การเข้าถึงการใหบ้ รกิ ารของภาครฐั

การพัฒนาประเทศในช่วงเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการ
พฒั นาความมน่ั คง เศรษฐกจิ สังคม และส่ิงแวดล้อม โดยการมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วนในรูปแบบ “ประชารัฐ”
โดยประกอบดว้ ย ๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่

๒.๑ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง มีเปูาหมายการพัฒนาที่สาคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง
ประชาชนมีความสขุ

๒.๒ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเปูาหมายการพัฒนาท่ีมุ่งเน้น
การยกระดบั ศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพนื้ ฐานแนวคิด ๓ ประการ ได้แก่

(๑) “ตอ่ ยอดอดตี ”โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถี
ชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรท่ีหลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้านอ่ืนๆ
นามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลก
สมยั ใหม่

(๒) “ปรับปัจจุบัน”เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และดจิ ทิ ัล และการปรบั สภาพแวดลอ้ มให้เออ้ื ต่อการพฒั นาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต

(๓) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต”ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่
รวมถงึ การปรบั รูปแบบธุรกิจ

๒.๓ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเปูาหมายการ
พัฒนาทีส่ าคัญเพ่อื พฒั นาคนไทยในทุกมติ ิและในทุกช่วงวยั ใหเ้ ป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ

๒.๔ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเปูาหมายการพัฒนาท่ี
สาคัญ ท่ีใหค้ วามสาคัญกบั การดึงเอาพลังของภาคสว่ นต่างๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสงั คม ชุมชนท้องถิ่น มาร่วม
ขับเคลื่อน

๒.๕ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม มีเปูาหมาย
การพัฒนาทสี่ าคญั เพื่อนาไปสเู่ ปูาหมายการพฒั นาที่ยง่ั ยนื ในทุกมิติ ท้งั ด้านสังคม เศรษฐกิจสง่ิ แวดล้อม ธรรมาภิบาล
และความเป็นห้นุ สว่ นความร่วมมือระหวา่ งกันทง้ั ภายในและภายนอกประเทศอยา่ งบรู ณาการ

๒.๖ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเปูาหมาย
การพัฒนา เพื่อปรบั เปลีย่ นภาครฐั ท่ียดึ หลกั “ภาครฐั ของประชาชนเพอ่ื ประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม”

-170-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

๓. มติคณะรัฐมนตรที ีส่ าคญั ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั กระทรวงศึกษาธิการ
๓.๑ มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบเม่ือวันท่ี ๒ ตุลาคม

๒๕๖๑ โดยให้กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา นามาตรฐานการศึกษาของ
ชาติ ไปเป็นกรอบในการกาหนดมาตรฐานและหลักสูตรการศึกษาในแต่ละระดับและประเภทการศึกษา การ
สง่ เสรมิ กากบั ดแู ล การตรวจสอบ การประเมนิ ผล และการประกันคุณภาพการศึกษาซ่ึง “มาตรฐานการศึกษา
ของชาติ” จะหมายถงึ ขอ้ กาหนดเก่ียวกับคุณลักษณะ คุณภาพท่ีพึงประสงค์ของคนไทย เพ่ือให้สถานศึกษาทุก
แห่งยึดเป็นกรอบสาหรับสร้างคนไทย ๔.๐ ที่แม้จะแตกต่างตามบริบทของท้องถ่ินและของสถานศึกษา แต่มี
จดุ หมายรว่ มกนั คือ ธารงความเป็นไทยและแข่งขันได้ในเวทีโลก สามารถเป็นกาลังในการพัฒนาประเทศ ท้ังใน
มิตเิ ศรษฐกิจ มติ สิ ังคม และมิติการเมืองต่อไป

๓.๒ กรอบคณุ วุฒิแห่งชาติ ฉบบั ปรบั ปรงุ ทคี่ ณะรัฐมนตรไี ดเ้ หน็ ชอบเม่ือวันท่ี ๑๘ เมษายน ๒๕๖๐
โดยให้กระทรวงศึกษาธิการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการจัดทาแผนการขับเคล่ือนกรอบ
คณุ วฒุ ิแหง่ ชาตสิ กู่ ารปฏบิ ัติ

๓.3 แผนการปฏิรูปประเทศ ๑๑ ด้าน ท่ีคณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบ เมื่อวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑
ตามทค่ี ณะกรรมการยทุ ธศาสตร์ชาตเิ ป็นผนู้ าเสนอ โดยมอบให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาจัดทาแผนงาน
/โครงการที่อยู่ระหวา่ งการดาเนนิ งานของหนว่ ยงาน

ส่วนที่ ๒ : กรอบหลกั การของแผนยุทธศาสตร์กระทรวงฯ
๑. หลักการของแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธกิ าร (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕)

บทบาทการดาเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี เพ่ือให้การ
บรรลุเปูาหมายของการพัฒนาประเทศ ได้แก่ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง สงั คมเปน็ ธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาตยิ ัง่ ยนื ไดน้ ้ัน จะตอ้ งให้ความสาคัญกับกระบวนการการพัฒนา
ทง้ั ในระยะยาวและระยะกลาง โดยเฉพาะ “การพัฒนาผู้เรียน” ให้มีการเตรียมความพร้อมรองรับการเปล่ียนแปลง
ของโลกในศตวรรษท่ี ๒๑ ซึ่งเน้นไปที่ทักษะการเรียนรู้และการเสริมสร้างปัจจัยแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการพัฒนา
ผู้เรียนในทุกช่วงวัยให้เป็นคนไทยที่มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์โดยน้อมนาพระราโชบายด้านการศึกษาของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คือ การศึกษาต้องสร้างให้คนไทยมีคุณสมบัติ ได้แก่ มีทัศนคติท่ีดีและถูกต้อง
มพี น้ื ฐานชีวิตท่มี ่ันคงเขม้ แขง็ มีระเบยี บวินยั มงี านทา มีอาชีพและเปน็ พลเมืองดี แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์
ชาติ ถือเป็นกลไกในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติให้บรรลุตามเปูาหมายที่วางไว้ในปี ๒๕๘๐ ในข้างต้น โดย
ถ่ายทอดเปูาหมายและประเด็นยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์ชาติเช่ือมโยงลงสู่แผนระดับต่าง ๆ ท่ีรวมถึงแผน
ยทุ ธศาสตร์ในระดบั กระทรวง ซงึ่ แผนแมบ่ ทฯ มีจานวน ๒๓ ฉบับและแต่ละฉบับจะประกอบด้วยเปูาหมายและ
ตัวชว้ี ดั ในการดาเนนิ การท่แี บ่งช่วงเวลาออกเปน็ ๔ ชว่ งช่วงละ ๕ ปี ท้ังนี้ เปูาหมายของแผนแม่บทฯ ในช่วง ๕
ปีแรก (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) จะเป็นการมุ่งเน้นการปรับสภาวการณ์ของประเทศในทุกมิติ (Shape Situation)
เพอื่ ให้สามารถเอ้ือตอ่ ทุกภาคสว่ น ทั้งภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม ไดม้ ีความพร้อมสาหรับการบูรณาการ
การทางานร่วมกัน แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูปประเทศเพ่ือสนับสนุน
การบรรลุตามยุทธศาสตร์ชาติท่ีกาหนดไว้ในด้านต่าง ๆ เน่ืองด้วยการศึกษาเป็นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนา
ประเทศ ดังนั้น แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาจึงเป็นองค์ประกอบสาคัญที่จะสนับสนุนการดาเนินการ
ตามยุทธศาสตร์ชาติทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างย่ิงในด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ด้านความเท่า
เทียมและความเสมอภาคของสังคม และด้านขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจและการ
กระจายรายได้ ซงึ่ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาประกอบด้วยวัตถุประสงค์ของการปฏิรูป ๔ ด้าน และ
แผนงานเพอื่ การปฏิรปู การศึกษา ๗ เร่อื ง สาหรบั บรรจุโครงการสาคญั ในการขบั เคล่อื นแผนฯ

-171-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

ดังน้ัน ในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) นอกจากจะ
คานึงถึงกฎหมายสาคัญฉบับต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับอานาจหน้าที่ในการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการ
การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซึ่งจะต้องปรับเปล่ียนไปจากเดิม กระทรวงศึกษาธิการได้ยึดกรอบหลักการ
ทีส่ าคัญ อนั ไดแ้ ก่

๑) เปาู หมาย/แนวทางการพฒั นาของแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ในช่วงแรก (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)
๒) วตั ถปุ ระสงค์ของแผนการปฏิรูปประเทศดา้ นการศึกษา
๓) แผนการปฏิรูปประเทศ ๑๑ ด้านในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษา มาวิเคราะห์เพ่ือกาหนด
เปาู หมายหลกั ของกระทรวงศึกษาธิการในช่วง ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) รวมทั้งแนวทางการขับเคล่ือนไปสู่
เปูาหมายดังกล่าว เพื่อให้ทุกส่วนราชการและทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สามารถนาไปใช้เป็น
กรอบสาหรับดาเนินการสร้างผลผลิตท่ีตอบสนองต่อการบรรลุเปูาหมายของกระทรวงศึกษาธิการ และเกิด
ผลลัพธ์ต่อเด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชน ท่ีเป็นผู้รับบริการจากกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสอดคล้อง
กบั เปาู หมายของยุทธศาสตร์ชาติ

๒. เป้าหมาย /แนวทางการพฒั นาของแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติทเ่ี ก่ยี วข้องกับกระทรวง
ศกึ ษาธิการ

กรอบสาหรับการดาเนินงานไปสู่เปูาหมายในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ ในช่วงระยะเวลา ๓
ปแี รก (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) จะมคี วามเกยี่ วขอ้ งสอดคลอ้ งกบั เปูาหมาย /แนวทางการพัฒนาของแผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ ซงึ่ ปรากฏตามประเดน็ สาคัญ ดังนี้

๒.๑ ประเดน็ แผนแมบ่ ทฯ ที่กระทรวงศึกษาธกิ ารมคี วามเก่ียวขอ้ งโดยตรง
๒.๑.๑ แผนแมบ่ ทฯ ๑๐ การปรับเปล่ยี นคา่ นิยมและวฒั นธรรม
๒.๑.๒ แผนแมบ่ ทฯ ๑๑ การพฒั นาคนตลอดชว่ งชวี ติ
๒.๑.๓ แผนแม่บทฯ ๑๒ การพัฒนาการเรียนรู้
๒.๑.๔ แผนแม่บทฯ ๑๕ พลงั ทางสงั คม
๒.๑.๕ แผนแมบ่ ทฯ ๑๗ ความเสมอภาคและหลกั ประกันทางสงั คม
๒.๑.๖ แผนแม่บทฯ ๒๐ การบรกิ ารประชาชนและประสทิ ธิภาพภาครัฐ
๒.๑.๗ แผนแมบ่ ทฯ ๒๓ การวิจัยและพัฒนานวตั กรรม

๒.๒ ประเดน็ แผนแมบ่ ทฯ ท่ีกระทรวงศึกษาธิการมีสว่ นสนบั สนุน
๒.๒.๑ แผนแมบ่ ทฯ ๑ ความม่นั คง
๒.๒.๒ แผนแมบ่ ทฯ ๒ การต่างประเทศ
๒.๒.๓ แผนแมบ่ ทฯ ๓ การเกษตร
๒.๒.๔ แผนแม่บทฯ ๔ อตุ สาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
๒.๒.๕ แผนแมบ่ ทฯ ๕ การท่องเท่ียว
๒.๒.๖ แผนแมบ่ ทฯ ๗ โครงสรา้ งพื้นฐาน ระบบโลจสิ ตกิ ส์ และดิจทิ ลั
๒.๒.๗ แผนแม่บทฯ ๘ ผ้ปู ระกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มยุคใหม่
๒.๒.๘ แผนแมบ่ ทฯ ๙ เขตเศรษฐกิจพิเศษ
๒.๒.๙ แผนแมบ่ ทฯ ๑๓ การเสรมิ สรา้ งใหค้ นไทยมีสขุ ภาวะที่ดี
๒.๒.๑๐ แผนแม่บทฯ ๑๔ ศักยภาพการกีฬา
๒.๒.๑๑ แผนแม่บทฯ ๑๘ การเติบโตอยา่ งยั่งยืน
๒.๒.๑๒ แผนแมบ่ ทฯ ๒๑ การต่อตา้ นการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ
๒.๒.๑๓ แผนแม่บทฯ ๒๒ กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม

-172-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

๓. วตั ถุประสงค์ของแผนการปฏิรปู ประเทศด้านการศึกษา
กรอบสาหรับให้การดาเนินการในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการในช่วง ๓ ปีแรก (พ.ศ. ๒๕๖๓ –

๒๕๖๕) เกิดความสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ของแผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศึกษา ทั้ง ๔ ข้อ คอื
๑) ยกระดบั คุณภาพของการจัดการศกึ ษา
๒) ลดความเหลอ่ื มลา้ ทางการศกึ ษา
๓) มุ่งความเปน็ เลิศและสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
๔) ปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพ่ิมความคล่องตัวในการรองรับ

ความหลากหลายของการจัดการศึกษาและสร้างเสริมธรรมาภิบาล ดังน้ัน จึงได้พิจารณานาเปูาหมายของ
แผนงานเพอ่ื การปฏิรูปการศึกษาภายใต้วัตถุประสงค์ฯที่มีความสาคัญสาหรับนามาพิจารณากาหนดเป็นเปูาหมาย
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดงั น้ี

๓.๑ ยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา ซ่ึงมีแผนงานการปฏิรูปการจัดการเรียนการสอน
เพ่อื ตอบสนองการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ และแผนงานการปฏริ ปู กลไกและระบบการผลติ

๓.๒ ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา ซงึ่ มีแผนงานการปฏิรูปเพื่อลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา
แผนงานการปฏิรูปการพัฒนาเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน และแผนงานการปฏิรูปการจัดการเรียนการสอน
เพ่อื ตอบสนองการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ เป็นแผนงานฯ ทส่ี าคัญ

๓.๓ มุ่งความเป็นเลิศและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ท่ีเน้นการสร้าง
สมรรถนะและคุณลกั ษณะของผเู้ รยี นที่มีศักยภาพสงู

๓.๔ ปรับปรงุ ระบบการศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพ่ิมความคล่องตัวในการ
รองรบั ความหลากหลายของการจัดการศกึ ษา และสรา้ งเสรมิ ธรรมาภบิ าล

๔. ประเดน็ สาคัญของแผนการปฏิรปู ประเทศ ๑๑ ด้าน ท่ีเก่ียวข้องกับกระทรวงศกึ ษาธิการ
กรอบสาหรบั การดาเนินงานไปสเู่ ปาู หมายในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ในช่วงระยะเวลา

๓ ปีแรก (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) จะมีความสอดคล้องกับเปูาหมายของแผนการปฏิรูปประเทศ ๑๑ ด้าน
ซึง่ ปรากฏตามประเดน็ สาคญั ดงั น้ี

๔.๑ แผนการปฏริ ปู ประเทศ ด้านการเมือง ทีม่ ีเปาู หมายเพื่อใหป้ ระชาชนมคี วามรู้ ความเข้าใจท่ี
ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขการมีส่วนร่วม รู้จัก
ยอมรบั ความคิดเหน็ ท่แี ตกต่าง

๔.๒ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ท่ีมีเปูาหมายเพื่อให้จัดองค์กร
ภาครัฐใหเ้ ปิดกวา้ งและเช่ือมโยงข้อมูลกนั มีโครงสร้างองคก์ รทเ่ี หมาะสม

๔.๓ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านกฎหมาย ที่มีเปูาหมายเพื่อให้มีการปรับปรุงกฎหมายให้มี
ความเป็นธรรม สอดคล้องกับหลักนิติธรรม ทันสมัย สามารถเป็นเครื่องมือในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ไมส่ รา้ งภาระหรือเป็นอปุ สรรคตอ่ การพฒั นาประเทศ

๔.๔ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านกระบวนการยุติธรรม ที่มีเปูาหมายเพ่ือให้การดาเนินงาน
ทุกข้ันตอนในกระบวนการยุติธรรมมีระยะเวลาท่ีชัดเจน มีกลไกช่วยเหลือประชาชนโดยเสมอภาค มีกลไกการ
บังคบั ใชก้ ฎหมายอย่างเครง่ ครดั

๔.๕ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านเศรษฐกิจ ที่มีเปูาหมายเพื่อสร้างผลิตภาพและความสามารถ
ในการแขง่ ขนั ทส่ี งู ขนึ้ ของประเทศ และมกี ารเติบโตที่ครอบคลมุ ทกุ ภาคสว่ นอย่างย่งั ยนื

-173-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

๔.๖ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่มีเปูาหมายเพ่ือรักษา
และปอู งกนั ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฟืน้ ฟูใหส้ มบรู ณ์และยั่งยืนเพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศ

๔.๗ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านสาธารณสขุ ทมี่ เี ปาู หมายเพ่อื ใหร้ ะบบบริการปฐมภูมิ มีความ
ครอบคลมุ มีขอ้ มลู สารสนเทศจดั การการเงินการคลัง

๔.๘ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านส่ือสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ีมีเปูาหมาย เพ่ือให้
เกิดดลุ ยภาพระหวา่ งเสรภี าพของการทาหน้าทข่ี องสื่อบนความรับผดิ ชอบ

๔.๙ แผนการปฏริ ปู ประเทศ ด้านสังคม ทม่ี เี ปาู หมายเพือ่ ให้คนไทยมีหลักประกัน ทางรายได้ใน
วัยเกษยี ณ และมกี ารปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมไปสกู่ ารมีจติ สาธารณะ สงั คมไทยเป็นสงั คมแห่งโอกาส และไม่มีการ
แบ่งแยก

๔.๑๐ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านพลังงาน ท่ีมีเปูาหมายเพ่ือ ปรับปรุงโครงสร้างการบริหาร
จัดการเพอ่ื สรา้ งความเชอ่ื ม่นั และการยอมรบั ของประชาชนด้านพลังงาน

๔.๑๑ แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ท่ีมีเปูาหมายเพ่ือให้ประเทศมีมาตรการควบคุม กากับ ติดตาม การบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐและ
ภาคเอกชน

ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธิการ
สาระสาคัญของแผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) จากการวิเคราะห์
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ จานวน ๒๓ ฉบับ แผนการปฏิรูปประเทศด้าน
การศึกษา รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศด้านอ่ืนๆ ท้ัง ๑๑ ด้าน ที่มีความเชื่อมโยง กับขอบเขตอานาจหน้าที่
ของกระทรวงศกึ ษาธิการภายใต้กฎหมายท่ีเกีย่ วข้อง ซงึ่ ปรากฏความเกี่ยวขอ้ งกับ กระทรวงศึกษาธิการในหลาย
ประเด็น ท้ังในส่วนที่กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อน และในส่วนที่กระทรวงศึกษาธิการ
เป็นหน่วยสนับสนุน ประกอบกับได้ประเมินสถานภาพของกระทรวง ศึกษาธิการจากผลการดาเนินงานในช่วง
สามปีท่ีผ่านมา (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒) จึงสามารถกาหนดยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๕๖๓ –
๒๕๖๕) ท่ีจะมีความสอดคล้องกับกรอบระยะเวลาตามที่ยุทธศาสตร์ชาติ ได้วางไว้ในช่วง ๓ ปีแรก โดยมุ่งเน้น
การปรับสภาวการณ์ของประเทศให้สามารถเอ้ือต่อการสร้างความพร้อม สาหรับการบูรณาการการทางาน
ร่วมกันของทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพในอนาคตช่วง ๕ ปีต่อไป (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ท้ังน้ี สาระสาคัญ
ของแผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) จะประกอบด้วย เปูาหมายหลัก วิสัยทัศน์
พันธกิจ ยทุ ธศาสตร์ และผลผลิต /ผลลัพธภ์ ายใตย้ ุทธศาสตร์ ดงั นี้
เปา้ หมายหลกั
๑. คณุ ภาพการศึกษาของไทยดีข้ึน ผูเ้ รยี นมีคณุ ลักษณะตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ
๒. ครมู สี มรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ
๓. สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานในภมู ิภาค มที รัพยากรพ้ืนฐานท่ีเพยี งพอตามเกณฑ์มาตรฐาน
๔. ผเู้ รียนทุกกลุ่มทกุ ชว่ งวัยไดร้ บั โอกาสในการเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวิต
๕. ระบบและวธิ ีการคัดเลือกเพ่ือการศึกษาต่อ ได้รับการพัฒนา ปรบั ปรงุ แก้ไข
๖. ผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา ได้รับการเพิ่มเติมความรู้ ทักษะในการประกอบอาชีพ ที่ตรงกับ
สภาพตลาดแรงงานในพน้ื ทีช่ มุ ชน สังคม จงั หวัด และภาค
๗. กาลงั คนได้รบั การผลติ และพัฒนาตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ
๘. ผเู้ รยี นปฐมวัยได้รบั การเตรยี มความพร้อมในด้านสุขภาพและโภชนาการ ร่วมกับหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง
๙. มีองค์ความรู้ นวตั กรรม ส่งิ ประดษิ ฐ์ ท่สี นบั สนุนการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาในพื้นทจี่ ังหวดั และภาค

-174-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

๑๐. ระบบบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ
เพอ่ื รองรบั พ้นื ทนี่ วัตกรรมการศกึ ษาร่วมกับทุกภาคส่วน

วิสัยทศั น์
“กระทรวงศึกษาธิการวางระบบเพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ - ทักษะ มีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมืองมี

พนื้ ฐานชีวติ ทีม่ น่ั คง มคี ณุ ธรรม มงี านทา มอี าชพี และเปน็ พลเมอื งท่เี ขม้ แข็ง”
“วางระบบ” หมายถึง วางระบบการจัดการเรียนรู้ และระบบการบริหารจัดการการศึกษา

ที่บูรณาการการทางานระหวา่ งหนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ ารใหม้ คี วามคลอ่ งตัว เพื่อดาเนินการปฏิรูป
การศกึ ษารว่ มกับภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม

“ผู้เรียน” หมายถึง เด็กปฐมวัย เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทุกช่วงวัย ที่ได้รับ
บรกิ ารจากกระทรวงศึกษาธกิ าร

“มีความรู้ – ทักษะ” หมายถึง ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ และการบริหาร จัดการ
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีจะเกิดกบั ผู้เรยี น ได้แก่

๑) ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น และ
๒) ทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ (ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม / ทักษะด้านส่ือ
เทคโนโลยดี จิ ิทัล / ทักษะชีวิตและอาชพี
“มีทศั นคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง” หมายถงึ
๑) ความรูค้ วามเข้าใจต่อชาติบ้านเมือง
๒) ยดึ มัน่ ในศาสนา
๓) ม่ันคงในสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ และ
๔) มคี วามเออ้ื อาทรต่อครอบครวั และชมุ ชน ของตน
“มพี ื้นฐานชีวติ ทมี่ น่ั คง มีคุณธรรม” หมายถึง
๑) รจู้ กั แยกแยะส่ิงทผี่ ิด – ชอบ /ช่ัว – ดี
๒) ปฏบิ ัติแตส่ ่ิงทถ่ี ูกต้องดีงาม
๓) ปฏเิ สธสงิ่ ท่ีไม่ถูกต้อง
๔) มีระเบียบวนิ ยั และ
๕) มสี ขุ ภาพท่ีแขง็ แรง
“มีงานทา มอี าชีพ” หมายถึง
๑) การฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เด็ก เยาวชน รักการทางาน สู้งาน อดทน
ทางานจนสาเรจ็
๒) การเรยี นการสอนทัง้ ในหลกั สูตรและนอกหลักสตู รต้องมี จดุ มงุ่ หมายให้ผูเ้ รยี นทางานเป็น
๓) ตอ้ งสนับสนนุ ผู้สาเร็จหลกั สตู รให้มอี าชพี และมีงานทา
“เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง” หมายถึง การเป็นผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ มีจิตอาสา การอยู่
รว่ มกนั และยอมรับความแตกต่างในสงั คมไทยบนหลกั การประชาธิปไตย ตามมาตรฐานการศกึ ษา ของชาติ

พนั ธกจิ
๑. ยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา
๒. ลดความเหลอ่ื มล้าทางการศกึ ษา
๓. มงุ่ ความเป็นเลศิ และสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

-175-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

๔. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพิ่มความคล่องตัว
ในการรองรับความหลากหลายของการจดั การศึกษา และสร้างเสรมิ ธรรมาภบิ าล

ยทุ ธศาสตร์
๑. พฒั นาหลกั สูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
๒. พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๓. ผลติ และพัฒนากาลังคน รวมทัง้ งานวจิ ยั ที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
๔. เพิ่มโอกาสให้คนทุกช่วงวยั เข้าถึงบริการทางการศึกษาอย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวิต
๕. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพื่อการศึกษา
๖. พฒั นาระบบบริหารจัดการและส่งเสรมิ ให้ทุกภาคสว่ นมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษา

ผลผลติ /ผลลัพธ์ภายใต้ยทุ ธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พฒั นาหลกั สูตร กระบวนการจัดการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล
ผลผลิต /ผลลพั ธ์
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีสูงข้ึน มีทักษะการเรียนรู้ที่คอบคลุมท้ังด้านวิชาการ วิชาชีพ

วิชาชีวิตและสุขภาวะท่ีดี มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดในเชิงสร้างสรรค์ และแก้ไขปัญหา ท่ีเกิดขึ้นได้
มีความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อื่น สอดคล้องกับทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีคุณธรรมจริยธรรม
และมีจติ อาสา มีจิตสานึกรกั ษ์สิง่ แวดล้อม และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การดาเนินชีวิต ผู้สาเร็จ
การศึกษาทุกระดับ/ประเภทไดร้ บั การศึกษาท่ีมีคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของชาติ รวมท้ังมีทัศนคติท่ีถูกต้อง
ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้
อย่างมีความสามคั คีปรองดอง

ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผลผลติ /ผลลัพธ์
ผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะตาม มาตรฐาน
วิชาชีพ มีจรรยาบรรณของวิชาชีพ มีองค์ความรู้และทักษะในด้านพหุปัญญา มีความเป็นมืออาชีพ สามารถใช้
ศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีขวัญกาลังใจท่ีดีในการปฏิบัติหน้าที่ รวมท้ังมีแผนการ
พฒั นาและการใชอ้ ตั รากาลงั ครใู ห้มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะครรู ะดบั ปฐมวยั ครูระดับ อาชวี ศึกษา ครูสอนภาษา
องั กฤษ และภาษาท่ีสาม
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ผลิตและพัฒนากาลังคน รวมทง้ั งานวจิ ัยทส่ี อดคล้องกับความต้องการของประเทศ
ผลผลติ /ผลลัพธ์
มีการผลิตกาลังคนด้านอาชีวศึกษา และด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีท่ีมีปริมาณเพียงพอ โดยมี
คุณภาพ มีสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ ผู้มีความสามารถพิเศษด้านพหุปัญญา
สามารถต่อยอดการประกอบอาชีพ ประชาชนในพ้ืนที่ชุมชนได้รับการศึกษาเพ่ือฝึกอาชีพตาม ความถนัดและ
ความสนใจ รวมท้ังมีผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริงในเชิงพาณิชย์ และการสร้าง
มูลคา่ เพ่ิมทางสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ เพ่ิมโอกาสใหค้ นทกุ ชว่ งวยั เข้าถึงบรกิ ารทางการศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอดชวี ิต
ผลผลติ /ผลลัพธ์
ผู้เรียนทุกคนเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกันในทุกระดับและประเภทการศึกษา
ได้รบั การสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายตั้งแตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน และสามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้
ได้อย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวติ สถานศึกษาในภมู ภิ าค/ชนบท ไดร้ บั การยกระดบั คณุ ภาพในการใหบ้ ริการ เด็กพิการ

-176-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

และด้อยโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษาท้ังในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน รวมทั้ง มีระบบเทียบ
โอนผลการเรียนและทักษะประสบการณเ์ พ่ือขอรับวฒุ ิการศึกษาเพมิ่ ข้นึ ได้

ยทุ ธศาสตร์ที่ ๕ สง่ เสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยีดิจิทลั เพื่อการศึกษา
ผลผลิต /ผลลพั ธ์
ผเู้ รยี น สถานศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาทุกระดับทุกประเภทการศึกษาเข้าถึง ทรัพยากร
พื้นฐานระบบดิจิทัลแพลตฟอร์มรองรับการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มองค์ความรู้และทักษะ ต่อยอดการ
ประกอบอาชีพ /การปฏิบัติงาน รวมท้ังมีศูนย์กลางในการจัดเก็บรวบรวมส่ือการเรียนการสอน แบบดิจิทัลท่ี
ทันสมัย และระบบฐานข้อมูลกลางทางการศึกษาของประเทศท่ีถูกต้องเป็นปัจจุบัน และสามารถ เช่ือมโยงกับ
ฐานขอ้ มูลการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์กบั หน่วยงานอ่ืนทีเ่ กย่ี วข้องได้
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๖ พฒั นาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคสว่ นมสี ว่ นร่วมในการจดั การศึกษา
ผลผลติ /ผลลัพธ์
ระบบบริหารจัดการของกระทรวงศึกษาธิการมีความคล่องตัวในการบริหารงานการศึกษามากย่ิงข้ึน
มเี อกภาพ และเป็นที่ยอมรับของผรู้ บั บริการ โครงสร้างของกระทรวงได้รับการปรับปรุงให้มี ประสิทธิภาพ โดย
การกระจายอานาจลงไปสู่สว่ นภมู ิภาค สถานศึกษาทุกระดับมีมาตรฐานขัน้ ตา่ ตามมาตรฐาน การศึกษาของชาติ
มีธรรมาภิบาลในการบริหาร และมีกลไกการส่งเสริมพลังทางสังคมให้ทุกภาคส่วนเข้ามา ดาเนินการร่วมและ/
หรอื สนบั สนนุ ทรพั ยากรในพืน้ ทีน่ วตั กรรมการศึกษา รวมทง้ั มีกลไกการนาความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ และภูมิ
ปญั ญาของผสู้ ูงอายุมาถ่ายทอดส่ผู ู้เรยี นในพ้นื ท่ชี ุมชน เพ่อื นาไปใชส้ าหรับการประกอบ อาชพี ได้
ส่วนท่ี ๕ : การนายทุ ธศาสตรก์ ระทรวงฯ สู่การปฏบิ ัติ
๑. กลไกการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ
การนายุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) ไปสู่การปฏิบัติให้เกิด ผลสาเร็จ
ตามเปูาหมายน้ัน จาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกส่วนราชการ ทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ศึกษาธิการ
ท่จี ะร่วมกาหนดโครงการและกจิ กรรมเพ่อื ขบั เคลอ่ื นการดาเนินงานภายใต้ยทุ ธศาสตร์กระทรวงฯ และถ่ายทอด
สาระสาคญั ของแผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงฯ ลงสแู่ ผนปฏิบตั ิราชการ แผนปฏบิ ัตกิ าร แผนงาน ของหน่วยงานท้ัง
ในส่วนกลางและในระดับพ้ืนท่ีภูมิภาค /จังหวัด ซึ่งในการขับเคล่ือนฯ ควรจะต้องมีการสร้าง การสื่อสารให้แก่
บุคลากรในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดร้ ับรู้ เขา้ ใจทช่ี ดั เจนในยุทธศาสตรก์ ระทรวงฯ โดยผ่านกลไกท่ีสาคัญคือ
การจัดทาแผน การจัดทาและบริหารงบประมาณในระดับต่างๆ รวมท้ังการสร้าง ช่องทางให้ภาคประชาสังคม
ได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอย่างกว้างขวาง ภายใต้ยุทธศาสตร์กระทรวง
ศกึ ษาธิการ ดังน้ี

๑.๑ กล่มุ ขบั เคล่ือนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง
กระทรวงศึกษาธิการ (ป.ย.ป. ศธ.) ซึ่งมีอานาจหน้าที่เป็นหน่วยงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูป
ประเทศของกระทรวงศึกษาธิการ และกากับ ติดตามการดาเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นไปตาม
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ โดยกลุ่มขับเคล่ือนฯ ควรให้ความสาคัญกับการ
นาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงฯ สาหรับใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนปฏิบัติการของกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือ
สนบั สนนุ การดาเนินงานของยุทธศาสตรช์ าติ แผนแมบ่ ทฯ แผนการปฏริ ูปประเทศ ให้บรรลุตามเปาู หมาย

๑.๒ คณะกรรมการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ซ่ึงมี
อานาจหน้าที่กาหนดทิศทางการดาเนินงานของกระทรวงศึกษาธกิ ารในระดบั ภูมิภาคหรอื จงั หวัด และ พิจารณา
จดั สรรงบประมาณใหแ้ กห่ น่วยงานของกระทรวงฯ ในระดบั ภูมิภาคหรือจังหวดั โดยคณะกรรมการฯ ควรให้

-177-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ความสาคัญกับการใช้แผนยุทธศาสตร์กระทรวงฯ เพื่อเป็นกรอบในการกาหนดแผนพัฒนาการศึกษา ในระดับ
ภาคต่างๆ ที่จะเชือ่ มโยงไปสู่การจัดทาแผนการศึกษาในระดับจังหวดั

๑.๓ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) ซึ่งมีอานาจหน้าท่ีในเขตจังหวัดตาม กฎหมาย
ว่าด้วยการศกึ ษาแห่งชาติ กาหนดยุทธศาสตร์ แนวทางการจัดการศึกษา และการส่งเสริมสนับสนุน การจัดการ
ศึกษาทุกระดับและทุกประเภทในจังหวัด โดยคณะกรรมการฯ ควรให้ความสาคัญกับการใช้ แผนยุทธศาสตร์
กระทรวงฯ เพ่ือเป็นกรอบในการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติการในระดับจังหวัด และการพิจารณา
เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานศึกษาในจังหวัด

๑.๔ แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงศึกษาธิการ โดยยึดสาระสาคัญของแผนยุทธศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) ได้แก่ เปูาหมายหลัก พันธกิจ และยุทธศาสตร์กระทรวงฯ
สาหรับใช้จัดทาแผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) และแผนปฏิบัติราชการประจาปีของ
กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือนาไปสู่การขอจัดตั้งและการบริหารงบประมาณของกระทรวงศึกษาธิการในแต่ละ
ปงี บประมาณให้มีความสอดคลอ้ งกบั นโยบายของรฐั บาล

๑.๕ แผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับกรม /หน่วยงานในกากับของกระทรวง
ศึกษาธิการส่วนกลาง โดยยึดสาระสาคัญของแผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕)
ไดแ้ ก่ เปูาหมายหลกั พันธกิจ และยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงฯ สาหรับใชจ้ ัดทาแผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๓ ปี (พ.ศ.
๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) และแผนปฏิบัติราชการประจาปีของส่วนราชการระดับกรม ซ่ึงควรเน้นการวิเคราะห์กาหนด
แผนงาน /โครงการที่มีความสาคัญสูงภายใต้ยุทธศาสตร์กระทรวงฯ เพ่ือนาไปสู่การขอจัดตั้งงบประมาณของ
กระทรวงศึกษาธิการในแตล่ ะปีงบประมาณ ใหม้ ีความสอดคลอ้ งกบั แผนปฏบิ ัตริ าชการของกระทรวงฯ

๒. กลยุทธ์/แนวทางดาเนินงาน เพื่อให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ.
๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) โดยผ่านกลไก กลุ่มขับเคลื่อนฯ และคณะกรรมการฯ แผนปฏิบัติราชการ แผนพัฒนา
แผนปฏิบัติการ ของหน่วยงานท้ังใน ส่วนกลางและในระดับพ้ืนท่ีภูมิภาคและจังหวัด สามารถสร้างผลผลิต
ผลลัพธ์ให้ไปสู่เปูาหมายและบรรลุ วิสัยทัศน์ของกระทรวงศึกษาธิการในปี 2565 โดยผู้ที่เก่ียวข้องอาจจะ
พิจารณานากลยุทธ์ /แนวทางดาเนินงาน ภายใต้ยุทธศาสตร์กระทรวงฯ มาใช้สาหรับการวิเคราะห์เพื่อจัดทา
แผนงาน โครงการ กิจกรรม ดงั นี้

๒.๑ ยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาหลกั สตู ร กระบวนการจัดการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล
๑) พัฒนาและปรบั ปรุงโครงสร้างของหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานให้ทันสมัย สอดคล้องกับ

ทกั ษะที่จาเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ และเหมาะสมกับผเู้ รียนในแตล่ ะช่วงวยั
๒) พัฒนาและใหก้ ารรบั รองหลกั สูตรฐานสมรรถนะที่สอดคล้องกับกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ

รวมท้งั จัดทาแผนการดาเนินงานเพื่อผลกั ดันใหม้ กี ารเชอื่ มโยงระหว่างวฒุ กิ ารศึกษาและมาตรฐานอาชพี
๓) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรระยะสั้นของการศึกษานอกระบบให้มีมาตรฐานอย่าง

ต่อเนื่องตามบริบทที่เปล่ียนแปลงของประเทศ โดยเฉพาะหลักสูตรพัฒนาทักษะอาชีพที่เหมาะสมสาหรับกลุ่ม
ผูเ้ รียนวัยกาลังแรงงาน และกล่มุ ผ้สู ูงอายุ โดยร่วมกับสถาบันอุดมศึกษาในพ้นื ที่

๔) นามาตรฐานการศกึ ษาของชาติมาใชเ้ ป็นเปาู หมายและกรอบสาหรับการจัดการศึกษา
ของโรงเรยี น สถานศึกษา และหนว่ ยงานต้นสงั กัด

๕) จัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นพหุปัญญาของผู้เรียนตามศักยภาพ และสร้างทักษะพื้นฐานที่
เช่อื มโยงสู่การสร้างอาชีพและมีงานทา

-178-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

๖) จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ (Active Learning) โดยใช้สถานการณ์จริง /
สถานการณ์จาลองท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของแต่ละพ้ืนท่ี และกาหนดกิจกรรมให้ผู้เรียนและครูได้
แสดงความคิดเห็นรว่ มกัน

๗) ออกแบบการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะการคิดแบบมีเหตุผลและเป็นขั้นตอน และเพิ่มระดับ
ดว้ ยการเรียนการสอนวิชาภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) อย่างตอ่ เนอ่ื ง

๘) จัดการเรียนรู้และกิจกรรมโครงงานด้วยแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม
คณิตศาสตร์ และภูมิสังคม บูรณาการร่วมกับการส่งเสริมการนาคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองท่ี
เข้มแขง็ มาสผู่ ูเ้ รียน (STAR STEMS)

๙) นากระบวนการลูกเสือมาใช้ในกิจกรรมเสริมทักษะชีวิตผู้เรียนอย่างเข้มข้น ตลอดจน
พัฒนา /ปรับปรุงให้ค่ายลูกเสือเป็นแหล่งเรียนรู้ และจัดกิจกรรมเสริมสร้างระเบียบวินัย การมีจิตอาสา และ
การมีทัศนคติท่ีถูกต้องตอ่ การอยรู่ ่วมกนั ในสังคม

๑๐) ส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และ
สงิ่ แวดลอ้ ม

๑๑) ส่งเสริมการเรียนรู้ในการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
ปฏบิ ัติในการดาเนนิ ชวี ิต

๑๒) ส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือสร้างความเข้าใจ ความตระหนักในการเลือกรับ /การส่งต่อ
ข้อมูลข่าวสารจากส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างถกู ต้อง

๑๓) จัดทาแผนขบั เคลือ่ น /ขยายผลการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสังกัดกระทรวง
ศึกษาธิการ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยพื้นทนี่ วตั กรรมการศึกษา

๑๔) ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือสร้างทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม
การขจัดความขัดแย้ง และกิจกรรมสันติศึกษา รวมท้ังพัฒนาทักษะด้านอาชีพให้เยาวชน ประชาชนสามารถ
ประกอบอาชพี มงี านทาในพื้นทชี่ ุมชนในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้

๑๕) ปรบั ปรุงระบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติให้สอดคล้องกับการปรับปรุงหลักสูตร
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และหลกั สตู รฐานสมรรถนะ

๑๖) พัฒนาระบบประเมินผลการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับผลลัพธ์ของมาตรฐาน
การศึกษาของชาติ

๒.๒ ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
๑) พัฒนาครูให้มีความสามารถในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการท่ี

มุ่งเน้นพหุปัญญาท่ีหลากหลาย การกระตุ้นความคิดและจินตนาการของผู้เรียน รวมทั้งสนับสนุนการเพ่ิม
ความสามารถดา้ นภาษาและดา้ นดิจทิ ลั ใหแ้ กค่ รูและบุคลากรทางการศึกษา

๒) จัดทาแผนเพื่อเพิ่มสมรรถนะทางวิชาชีพครูอย่างเป็นระบบ ให้ครูสามารถปรับบทบาท
เป็นผู้อานวยการเรียนรู้ และสอดคล้องกับการปรับปรุงโครงสร้างของหลักสูตร โดยใช้กลไกกองทุนเพ่ือความ
เสมอภาค ทางการศกึ ษามาใชส้ นับสนุนในการขับเคลอ่ื นแผนฯ

๓) พัฒนากระบวนการนิเทศ การวัดผล การประเมินผลครู ที่สะท้อนต่อผลลัพธ์ ที่เกิด
ขึน้ กับผู้เรยี น

๔) ประสานงานกับสถาบันการศึกษาท่ีผลิตครู เพื่อร่วมวางแผนการผลิตและพัฒนาครู
ใหต้ รงกับความตอ้ งการของการจัดการเรียนร้ใู นทุกระดบั /ทุกประเภทการศึกษา

-179-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

๕) ปรับปรุงระบบบริหารงานบุคคล และจัดทาแผนการใช้อัตรากาลังครูให้มีประสิทธิภาพ
อยา่ งเป็นรปู ธรรม โดยให้ความสาคญั กบั ครอู นบุ าล (ปฐมวยั ) และครอู าชีวศึกษา

๖) ทบทวนและปรบั ปรุงระบบการออกใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพครู ใหเ้ อื้อต่อการแก้ไข
ปัญหาความขาดแคลนครูในสาขาวชิ าทขี่ าดแคลน และพน้ื ทที่ รุ กนั ดาร

๗) กาหนดให้สถาบันท่ีมีหน้าท่ีในการพัฒนาครู ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากร ทาง
การศึกษา จัดทาหลักสูตรการฝึกอบรมให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องระบบหลักสูตรบทบาท
การอานวยการเรยี นรู้ การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน

๘) สร้างขวัญกาลังใจ สร้างแรงจูงใจให้แก่ครู เช่น ลดภารกิจอื่นๆ ในโรงเรียนที่ไม่ใช่ภารกิจ
ดา้ นการสอน แกไ้ ขปัญหาหน้ีสินครอู ยา่ งเปน็ ระบบ ปรบั ปรุง/สรา้ งบา้ นพกั ครูในพ้ืนที่ทีห่ ่างไกล

๒.๓ ยุทธศาสตรผ์ ลิตและพัฒนากาลงั คน รวมท้งั งานวจิ ยั ทสี่ อดคลอ้ งกับความต้องการของประเทศ
๑) ขยายการศึกษาสายอาชีวศึกษาให้มีสัดส่วนใกล้เคียงกับสายสามัญ และส่งเสริม ค่านิยม

และภาพลกั ษณ์ของการเรียนอาชวี ศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๒) จัดทาแผนเพ่มิ การผลิตกาลงั คนดา้ นอาชีวศึกษาร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องให้เพียงพอ

กับความตอ้ งการในสาขาเปูาหมายที่จาเป็นต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านอุตสาหกรรม
ด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร

๓) ผลิตกาลังในภาคการบริการ โดยพิจารณาตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับแนวโน้ม
ทศิ ทางดา้ นการทอ่ งเท่ียวของประเทศ

๔) เร่งขยายผลการจัดการอาชีวศึกษาในระบบทวิภาคี เพ่ือเชื่อมโยงภาคการศึกษากับ
การปฏิบัติจรงิ ในภาคธุรกจิ และพฒั นากาลงั คนทม่ี ที กั ษะข้นั สงู

๕) วางรากฐานทักษะอาชีพของผู้เรียนทุกระดับให้ทันกับความเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
และเสริมให้ผู้เรียนอาชีวศึกษามีทักษะด้านภาษาอังกฤษและภาษาท่ีสามเพื่อเพิ่มสมรรถนะสาหรับการทางาน
รองรบั พนื้ ทเ่ี ขตเศรษฐกิจพเิ ศษ รวมท้งั การเปน็ ผ้ปู ระกอบการเอง (SMEs และ Start up)

๖) สนับสนุนให้ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ ช่วยสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ
แกป่ ระเทศ โดยจัดหาโอกาสทางาน /ฝกึ ปฏิบัติงานรว่ มกบั เครือขา่ ยองคก์ รสาคญั ต่างๆ

๗) สง่ เสริมงานวจิ ัยท่ีสามารถสรา้ งนวตั กรรมเชงิ เศรษฐกิจท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
จริงในเชิงพาณชิ ย์ รวมทัง้ สร้างเครือข่ายการพัฒนางานวจิ ัยเชงิ พาณิชยร์ ่วมกับสถาบันอดุ มศึกษาและหน่วยงานอน่ื

๘) ส่งเสริมงานวิจัยท่ีสามารถสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเชิงสังคม โดยเน้นงานวิจัย
ทสี่ ามารถช่วยแกป้ ัญหาความเหล่ือมล้าในเชงิ พ้นื ท่ีระดบั ภาคภมู ิศาสตร์

๙) ขยายผลการนากรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยจัดทาระบบ
เทียบโอนความรู้และทักษะของผู้เรียนจากงานสายอาชีพในสถานประกอบการ รวมทั้งจัดทาระบบใบรับรอง
สาหรับแรงงานท่ีระบุเกี่ยวกับประสบการณ์การทางานและการฝึกอบรม เพ่ือพัฒนาคุณภาพวิชาชีพและระดับ
ฝมี อื แรงงาน

๑๐) เพ่มิ กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะวิชาชีพทอ้ งถ่นิ ในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ
ในพื้นทีเ่ ขตเศรษฐกจิ พิเศษ เช่น EEC SEC SEZ

๒.๔ ยุทธศาสตร์เพ่ิมโอกาสให้คนทุกช่วงวยั เข้าถึงบริการทางการศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ
๑) ทบทวนหลักเกณฑ์ อัตราเงินและวิธีการจัดสรรเงินสนับสนุนค่าใช้จ่ายตั้งแต่ระดับ

อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ท่เี หมาะสมกบั สภาพฐานะท่ีแทจ้ ริงของผเู้ รียน

-180-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

๒) นากลไกกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา มาบูรณาการการดาเนินงานร่วมกับ
หน่วยจัดการศึกษา โดยเน้นกลุ่มเด็กปฐมวัย กลุ่มเด็กวัยเรียนที่พลาดโอกาสจากการเข้าศึกษาในระบบปกติ
และครูท่ีสอนเด็กด้อยโอกาส

๓) จัดทาระบบประกันโอกาสการเข้าถึงการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ครอบคลุมทุกพ้ืนท่ีโดย
เน้นกลมุ่ เด็กพิการ และกลุ่มเด็กที่มคี วามต้องการจาเป็นพิเศษ รวมทั้งค้นหาวิธีการจัดเตรียมความพร้อมให้เด็ก
ทม่ี ปี ัญหาในดา้ นการส่ือสารทางภาษา

๔) พัฒนาการศึกษานอกระบบให้มีมาตรฐาน โดยเน้นกลุ่มเด็กท่ีหลุดออกจากระบบ
การศกึ ษาปกติ กลุม่ เดก็ ในพ้ืนท่ีห่างไกลการคมนาคม และกลุ่มวัยกาลังแรงงาน

๕) ส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยให้สอดคล้องกับบริบทพ้ืนที่ชุมชนท้องถิ่น โดยเน้น
กลุ่มผ้สู ูงอายุ

๖) พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ให้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชนในพ้ืนที่สูง พื้นที่ตามแนว
ตะเข็บชายแดน และพน้ื ท่ีเกาะแก่ง ชายฝง่ั ทะเล

๗) พัฒนาระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e – Library) เพ่ือการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง
ตลอด ชีวติ ของประชาชน

๘) ปรับปรุงกิจกรรมแนะแนวการศึกษาต่อให้ทั่วถึงนักเรียนเป็นรายบุคคล รวมท้ังรณรงค์
ใหเ้ ดก็ และผู้ปกครองเห็นถึงความสาคัญของการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต การฝึกฝนตนเอง เพ่ือมีงานทา
โดยเฉพาะการประกอบอาชพี อสิ ระ

๒.๕ ยทุ ธศาสตรส์ ง่ เสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพอ่ื การศึกษา
๑) เพ่ิมและขยายช่องทางการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลเข้าไปในการเรียนการสอนเพ่ือ

สรา้ งความคนุ้ เคยและยกระดับความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน สาหรบั เป็นฐานในการเรียนรวู้ ิชาอื่นๆ
๒) จัดหาและบริหารจัดการระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงที่ทันสมัยให้แก่ทุก

สถานศกึ ษา
๓) สร้างแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ และสนับสนุนให้ผู้เรียนใช้ดิจิทัลเป็นเครื่องมือ

การเรยี นรแู้ ละการสร้างอาชีพอยา่ งต่อเนือ่ ง
๔) สง่ เสรมิ การผลติ สื่อการเรียนการสอน หนังสือและตาราเรยี นในระบบดิจทิ ัล
๕) จัดทาระบบฐานข้อมูล (Big Data) และระบบรายงานผลการใช้ฐานข้อมูลท่ีถูกต้อง

ครบถ้วน ทันสมัย และสามารถเช่ือมโยงเข้ากับระบบฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของส่วนราชการ/
หนว่ ยงานอ่นื ๆ

๖) จัดหาวัสดุอุปกรณ์ท่ีมีมาตรฐานแก่สถานศึกษา เพ่ือให้สามารถรองรับการจัดการเรียน
การสอนทางไกลดว้ ยระบบ DLIT DLTV และ ETV

๗) ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้เชิงลึกผ่านบทเรียนที่
หลากหลาย (Massive Open Online Course : MOOCs) รวมท้ังส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสม
สาหรับค้นหาช่องทางในการสรา้ งอาชพี

๒.๖ ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสรมิ ใหท้ ุกภาคส่วนมสี ่วนร่วม ในการจดั การศึกษา
๑) ปรับปรุงโครงสร้างของกระทรวงศึกษาธิการให้มีเอกภาพและเกิดความคล่องตัว ในการ

บริหารจัดการในภาพรวม เพ่ือให้สามารถดาเนินการปฏิรูปการศึกษาทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคร่วมกับ
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

-181-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

๒) ทบทวน /ปรบั ปรุงกฎหมาย กฎกระทรวง ระเบียบที่เก่ียวข้องให้ทันสมัย เหมาะสม และ
เอ้อื ต่อการปฏิบัติงานที่มปี ระสทิ ธิภาพ ร่วมกบั ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน

๓) สนับสนุนให้ภาคเอกชนจัดการสอนให้มากขึ้น โดยเฉพาะระดับอนุบาลและโรงเรียน
เอกชนประเภทนอกระบบ ปรับปรุงระเบียบการจัดตั้งโรงเรียนเอกชนให้มีความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมของการลงทนุ รวมท้งั ทบทวนการกาหนดเพดานการจดั เก็บคา่ ธรรมเนยี มทีเ่ หมาะสม

๔) ขยายผลนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนและวิธีปฏิบัติที่ดีของสถานศึกษานาร่องใน
พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งประเมินผลการจัดการศึกษา และรายงานให้สาธารณชน ได้รับ
ทราบถงึ ผลสัมฤทธ์ิ เพ่อื ส่งเสริมภาพลกั ษณ์ใหเ้ กดิ ความร่วมมอื /เครอื ข่ายมากยิ่งขน้ึ

๕) กาหนดหลักเกณฑ์และกลไกการจัดสรรงบประมาณอัตรากาลังบุคลากร อาคารสถานที่
และทรัพยากรทางการศึกษาไปยังสถานศึกษาและหน่วยงานในพื้นที่ (School Mapping / Education Mapping)
โดยใชจ้ งั หวัดเปน็ ฐาน ตามสภาพความตอ้ งการจาเป็นทแ่ี ทจ้ รงิ

๖) สร้างกลไกการบริหารจัดการการศึกษาในพ้ืนที่ระดับภาคภูมิศาสตร์ ได้แก่ ภาคเหนือ
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ และภาคใต้ชายแดน ให้มีประสิทธิภาพ และธรรมาภิบาล
เพ่อื นาการศกึ ษาไปสู่การสนบั สนุนการพัฒนาในดา้ นเศรษฐกิจและด้านความม่นั คง

๗) ปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา ทั้งในรูปแบบ อนุบาล
ศึกษา ช้นั เด็กเลก็ ให้เหมาะสมกบั สภาพสงั คมแต่ละทอ้ งถ่นิ โดยร่วมกบั ภาคส่วนต่าง ๆ ในพ้ืนท่ี (บ้าน โรงเรียน
และชุมชน)

๘) ปรับปรงุ เกณฑ์การรับนกั เรียนต่อทเี่ หมาะสม โดยให้มีพื้นท่ีบริการการศึกษา และสถานศึกษา
ที่รบั ผิดชอบในแต่ละพน้ื ที่ จากระดบั อนบุ าลตอ่ ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนต้น จนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย
/อาชีวศกึ ษา ตามลาดบั

ส่วนที่ ๖ : การประเมนิ แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงฯ
ความสาเร็จในการดาเนินงานในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการภายใต้แผนยุทธศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕) จาเป็นต้องมีการกาหนดตัวช้ีวัดและค่าเปูาหมายที่สามารถ
สะท้อนการบรรลุเปูาหมายหลักท่ีระบุไว้ในแผนยุทธศาสตร์ฯ และควรมีการกาหนดหน่วยงานที่เป็นเจ้าภาพ
หลัก รับผิดชอบในแต่ละตัวช้ีวัด เพ่ือให้การจัดเก็บข้อมูลของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ซ่ึงการประเมินความสาเร็จเม่อื สิ้นสดุ แผนยทุ ธศาสตรฯ์ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ มดี งั น้ี
ท่ีถกู ตอ้ ง นอกจากน้ี ควรให้มกี ารทบทวนตวั ชี้วัดท่ีไดร้ ับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของ
กฎหมายหรือ มติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้สอดคล้องกับสภาพจริงในการดาเนินงาน และหลังจากท่ี
หนว่ ยงาน เจ้าภาพหลักได้ดาเนินการจัดเก็บข้อมูล / สถิติท่ีสะท้อนผลการดาเนินงานจริงในแต่ละตัวช้ีวัด และ
นามา วเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบกับค่าเปาู หมายตามตวั ช้วี ัดที่ระบุไวใ้ นข้างต้นแลว้ ในภาพรวมกระทรวงศึกษาธิการ
จะดาเนินการการรวบรวมและจัดทารายงานสรุปผลการประเมินฯ และข้อเสนอแนะต่อผู้บริหารระดับสูง ที่สาคัญ
คือ ผลการประเมินฯ จะเป็นฐานที่นาไปสู่การวิเคราะห์เพ่ือจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับใหม่
(พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ใหส้ อดคล้องกับแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาตติ อ่ ไป
3. ความรเู้ กย่ี วกบั แนวโนม้ การศกึ ษายุคใหม่

ภายใต้ปริเขตของการเปลี่ยนแปลงในทุกๆมิติของสังคมท่ัวโลก สิ่งท่ีปรากฏออกมาให้เห็น

อย่างเดน่ ชดั คอื จะทาอย่างไร่ หรอื มีวธิ กี ารใดทจี่ ะทาใหส้ ภาพการณข์ องประเทศตนเอง มีความเปน็ เลิศ

ในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม รวมท้ังด้าน

การศึกษาดว้ ย เพราะการศึกษาจดั การศึกษาในยคุ น้ีมี

-182-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

ด้วยกระทรวงศึกษาธิการตระหนักถึงความสาคัญของยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนา และ
เสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ โดยเฉพาะแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ

ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาและ
เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพมนุษย์ การพฒั นาเด็กตั้งแตช่ ่วงการต้งั ครรภจ์ นถงึ ปฐมวัย การพฒั นาช่วงวัยเรยี นและวัยรนุ่

การพัฒนาและยกระดับศกั ยภาพวัยแรงงาน รวมถึงการส่งเสรมิ ศักยภาพวัยผู้สูงอายุ ประเด็นการ
พัฒนาการเรียนรู้ที่ตอบสนอง ต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 และพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
และประเดน็ อ่ืนทเี่ กย่ี วขอ้ ง

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศนโยบายการจัดการศึกษา
ของกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 ดงั นี้

หลักการตามนโยบาย ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565
 สร้าง “TRUST” หรือ “ความเชื่อมั่น ไว้วางใจ” ให้กับสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและ
ผปู้ กครอง โดยทุกหน่วยงานสามารถท่ีจะเป็นหลกั หรอื เป็นทีพ่ ึ่งได้

 T (Transparency) หมายถึง ความโปรง่ ใส
 R (Responsibility) หมายถงึ ความรบั ผดิ ชอบ
 U (Unity) หมายถึง ความเป็นอนั หนง่ึ อนั เดยี ว
 S (Student-Centricity) หมายถงึ ผู้เรียนเปน็ เปาู หมายแห่งการพฒั นา
 T (Technology) หมายถงึ เทคโนโลยี
 ให้ทุกหน่วยงานนารูปแบบการทางาน “MOE ONE TEAM” หรือ “การทางานร่วมกัน
เป็นหนึ่งเดยี วของกระทรวงศึกษาธกิ าร” และนา “TRUST”
 ซ่ึงเป็นรปู แบบในการทางานที่จะทาให้ครู บุคลากรทางการศึกษา ผปู้ กครอง ผู้เรียน และ

ประชาชน กลบั มาให้ความไว้วางใจในการทางานของกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือเป็นส่วน
เสริมในเรอ่ื งความโปรง่ ใส ทง้ั ในเชิงกระบวนการทางาน และกระบวนการตรวจสอบจาก
ภาคส่วนตา่ ง ๆ
 สนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนดาเนินการตามภารกิจด้วยความรับผิดชอบ ต่อตนเอง
องค์กร ประชาชน และประเทศชาติ
 ให้ความสาคัญกับการประสานความรว่ มมอื จากทกุ ภาคส่วน โดยผ่านกลไกการรบั ฟงั ความคิดเห็น
มาประกอบการดาเนินงานท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อการยกระดับคณุ ภาพการศึกษา

กาหนดนโยบายการจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565
ดงั นี้

 นโยบายการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565
 การปรับปรงุ หลกั สูตรและกระบวนการเรียนรู้ใหท้ นั สมยั และทันการเปล่ียนแปลงของโลก

ในศตวรรษท่ี 21 โดยม่งุ พฒั นาผูเ้ รียนทกุ ระดับการศึกษาใหม้ ีความรู้ ทักษะและคุณลกั ษณะ
ทเ่ี หมาะสมกบั บรบิ ทสังคมไทย

-183-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ ในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและ
อาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพื่อให้ครูและอาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มี
สมรรถนะ ท้ังด้านการจัดการเรียนรู้ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธีการเรียนการสอน
และการใช้สื่อทนั สมยั และมีความรบั ผดิ ชอบต่อผลลพั ธท์ างการศกึ ษาทเ่ี กิดกบั ผู้เรียน

 การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดจิ ิทัล ผ่านแพลตฟอร์มการเรยี นรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (NDLP) และ
การสง่ เสริมการฝึกทักษะดิจทิ ลั ในชีวิตประจาวัน เพอื่ ใหม้ ีหน่วยงานรับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอร์ม
การเรียนรดู้ ้วยดิจิทัลแห่งชาติ ที่สามารถนาไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีทันสมัย และ
เขา้ ถึงแหลง่ เรียนรไู้ ด้อย่างกวา้ งขวางผ่านระบบออนไลน์ และการนาฐานข้อมูลกลางทางการศึกษา
มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประสทิ ธภิ าพการบริหารและการจัดการศึกษา

 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุน
สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอานาจการบริหารและการจัด
การศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน โดยอาศยั อานาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชาติที่ได้รับการ
ปรับปรุงเพ่ือกาหนดให้มีระบบบริหารและการจัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้
เอ้ือต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว
การบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน มีระบบการบริหารงานบุคคลโดยยึด
หลกั ธรรมาภิบาล

 การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบวัด
ความรู้ และทักษะท่ีจาเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาท้ังสายวิชาการและสายวิชาชีพ
เพ่ือให้ระบบการประเมินผลการศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ได้รับการปรบั ปรงุ ใหท้ ันสมัย ตอบสนองผลลพั ธท์ างการศึกษาได้อยา่ งเหมาะสม

 การจัดสรรและการกระจายทรัพยากรให้ท่ัวถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการระดมทรัพยากร
ทางการศึกษาจากความร่วมมือทุกภาคส่วน เพอื่ ให้การจดั สรรทรัพยากรทางการศึกษามีความ
เป็นธรรมและสร้างโอกาสให้กลุ่มเปูาหมายได้เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพทัดเทียมกลุ่มอื่น ๆ
กระจายทรัพยากรทง้ั บุคลากรทางการศึกษา งบประมาณและสอ่ื เทคโนโลยไี ด้อยา่ งทัว่ ถงึ

 การนากรอบคุณวุฒิแห่งชาติ National Qualifications Framework (NQF) และกรอบ
คุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน ASEAN Qualification Reference Framework (AQRF) สู่การ
ปฏิบัติ เป็นการผลิตและการพัฒนากาลังคนเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยใช้กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ
เชื่อมโยงระบบการศึกษาและการอาชีพ โดยใช้กลไกการเทียบโอนประสบการณ์ด้วยธนาคาร
หนว่ ยกติ และการจดั ทามาตรฐานอาชีพในสาขาที่สามารถอ้างอิงอาเซยี นได้

 การพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้ได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาเพื่อพัฒนาร่างกาย
จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย เพ่ือเป็นการขับเคลื่อนแผนบูรณาการ
การพัฒนาเด็กปฐมวัยตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 สู่การปฏิบัติ
เป็นรปู ธรรม โดยหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องนาไปเป็นกรอบในการจัดทาแผนปฏิบัติการเพ่ือพัฒนา
เดก็ ปฐมวยั และมีการตดิ ตามความกา้ วหนา้ เป็นระยะ

 การศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพ่ือให้ผู้จบ
การศึกษาระดับปริญญาและอาชีวศึกษามีอาชีพและรายได้ท่ีเหมาะสมกับการดารงชีพและ
คณุ ภาพชีวิตทดี่ ี มีสว่ นชว่ ยเพม่ิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั ในเวทีโลกได้

-184-

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

 การพลิกโฉมระบบการศกึ ษาไทย ดว้ ยการนานวัตกรรมและเทคโนโลยีทีท่ ันสมัยมาใชใ้ นการ
จัดการศกึ ษาทุกระดบั การศกึ ษา เพื่อให้สถาบนั การศึกษาทุกแห่งนานวตั กรรมและเทคโนโลยี
ทีท่ นั สมัยมาใชใ้ นการจัดการศึกษาผา่ นระบบดิจทิ ัล

 การเพ่มิ โอกาสและการเขา้ ถึงการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพของกลมุ่ ผู้ด้อยโอกาสทาง
การศึกษา และผเู้ รียนทม่ี ีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ เพ่ือเพ่ิมโอกาสและการเขา้ ถึงการศึกษา
ท่ีมคี ณุ ภาพของกล่มุ ผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา และผ้เู รียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ

 การจัดการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยยดึ หลกั การเรียนรู้ตลอดชวี ิต
และการมสี ว่ นรว่ มของผูม้ ีส่วนเก่ียวขอ้ ง เพ่อื เพ่ิมโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาทม่ี คี ุณภาพ
ของกลุม่ ผ้ดู อ้ ยโอกาสทางการศึกษาและผู้เรียนท่ีมคี วามต้องการจาเป็นพเิ ศษ

นโยบายระยะเรง่ ด่วน

 ความปลอดภยั ของผ้เู รียน โดยจัดใหม้ ีรปู แบบ วธิ กี าร หรือกระบวนการในการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับการปกปูองคุ้มครอง
ความปลอดภัยท้ังด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสร้างทักษะให้ผู้เรียนมีความสามารถใน
การดูแลตนเองจากภัยอันตรายตา่ ง ๆ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสงั คม

 หลักสูตรฐานสมรรถนะ มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลายโดยยึดความสามารถของ
ผูเ้ รยี นเปน็ หลัก และพัฒนาผเู้ รยี นให้เกิดสมรรถนะที่ตอ้ งการ

 ฐานข้อมูล Big Data มุ่งพัฒนาการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและไม่ซ้าซ้อน เพ่ือให้ได้
ข้อมูลภาพรวมการศึกษาของประเทศท่ีมีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และ
สามารถนามาใช้ประโยชน์ไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ

 ขับเคล่ือนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สนับสนุนการ
ดาเนินงานของศูนยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) ตามความเป็นเลิศ
ของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพ้ืนที่ สอดคล้องกับความต้องการของประเทศท้ังใน
ปจั จบุ ันและอนาคต ตลอดจนมีการจดั การเรยี นการสอนดว้ ยเครือ่ งมอื ทท่ี นั สมัย สอดคล้องกับ
เทคโนโลยปี จั จบุ นั

 พัฒนาทักษะทางอาชีพ ส่งเสริมการจัดการศึกษาท่ีเน้นพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียน เพ่ือ
พัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างอาชีพและรายได้ท่ีเหมาะสม และเพ่ิมขีดความสามารถในการ
แข่งขนั ของประเทศ

 การศึกษาตลอดชีวิต การจัดเรียนรู้ตลอดชีวิตสาหรับประชาชนทุกช่วงวัย ให้มีคุณภาพและ
มาตรฐาน ประชาชนในแต่ละช่วงวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมีมาตรฐาน
เหมาะสมและเตม็ ตามศกั ยภาพตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยชรา และพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมเพ่ือ
เตรียม ความพรอ้ มในการเขา้ สสู่ ังคมผ้สู งู วยั

 การจัดการศึกษาสาหรับผู้ท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้ที่มี
ความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งเต็มศักยภาพ สามารถดารงชีวิตในสังคมอย่าง
มีเกียรติ ศักด์ิศรีเท่าเทียมกับผู้อื่นในสังคม สามารถช่วยเหลือตนเอง และมีส่วนร่วมในการ
พัฒนาประเทศ

-185-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

การขับเคลอื่ นนโยบายสู่การปฏิบตั ิ

ให้ส่วนราชการ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นานโยบายการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 ข้างต้น เพ่ือเป็นกรอบแนวทางในการจัดการศึกษา
โดยดาเนินการจัดทาแผนและจัดทางบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565

ให้คณะกรรมการขับเคล่ือนงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ให้คาแนะนา แก้ไขในระดับ
พื้นที่ โดยบูรณาการการทางานรว่ มกนั ทกุ ภาคส่วนทเี่ กีย่ วข้องทั้งภายในและภายนอกกระทรวงศึกษาธกิ าร

ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สู่การปฏบิ ตั ริ ะดับพน้ื ท่ี ทาหนา้ ทีต่ รวจราชการ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลในระดับนโยบาย และ
จัดทารายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ทราบตามลาดับ

กรณีมีปัญหาในเชิงพ้ืนที่หรือข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน ให้คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
ดาเนนิ การบริหารจดั การในการแกไ้ ขปญั หาและข้อขัดข้อง พรอ้ มท้ังรายงานต่อคณะกรรมการฯ

สาหรับภารกิจของส่วนราชการหลักและหน่วยงานท่ีปฏิบัติในลักษณะงานในเชิงหน้าที่
(Function) งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพื้นที่ (Area) ซ่ึงได้ดาเนินการอยู่ก่อนแล้ว หากมี
ความสอดคล้องกับหลักการนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 –
2565 ข้างต้น ให้ถือเป็นหน้าที่ของส่วนราชการหลักและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องต้องเร่งรัด กากับ ติดตาม
ตรวจสอบให้การดาเนินการเกิดผลสาเรจ็ และมปี ระสิทธิภาพอยา่ งเปน็ รูปธรรม

ทัง้ นี้ ตงั้ แตว่ ันท่ี 29 มีนาคม พ.ศ. 2564 เปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี 25 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564
นางสาวตรนี ุช เทียนทอง

รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร

-186-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564-2565

เรื่อง นโยบายสานกั งานคณะกรมการการศึกษาช้นั พ้นื ฐานปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๒๔- ๒๕๒๕
ตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2๕๖1 - 2๕๘o) และแผนปฏิรูปประเทศด้าน

การศึกษากาหนดให้มีการพัฒนาเด็กตั้งแต่ระดับปฐมวัยให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะที่ดี สมวัยทุกด้านโดย
การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 2๑ ตระหนักถึงพหุปัญญาของ
มนษุ ย์ท่ีหลากหลาย มเี ปูาหมายให้ผเู้ รยี นทกุ กลุม่ วัยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จาเป็น
ของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว ส่ือสาร และทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิผลมีวินัย มีนิสัย
ใฝุเรยี นรู้ อย่างตอ่ เน่ืองตลอดชวี ติ รวมทงั้ เปน็ พลเมอื งท่ีรู้สทิ ธแิ ละหน้าที่ มคี วามรบั ผดิ ขอบและมจี ติ สาธารณะ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาช้ันพื้นฐาน มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้เป็น
"การศึกษาขัน้ พน้ื ฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ" มุ่งเน้นความปลอดภัยในสถานศึกษา ส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาท่ี
มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกาหนดนโยบายสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ ดงั น้ี

๑. ดา้ นความปลอดภัย
พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากร

ทางการศึกษาและสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อ
การมีสขุ ภาวะทด่ี ีสามารถปรบั ตัวต่อโรคอุบตั ใิ หม่และโรคอุบัติช้า

2. ดา้ นโอกาส
2.1 สนับสนุนให้เด็กปฐมวัยได้เข้าเรียนทุกคน มีพัฒนาการที่ดี ทั้งทางร่างกาย

จติ ใจ วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญา ให้สมกบั วยั
๒.2 ดาเนนิ การ ใหเ้ ด็กและเยาวชนได้วับการศึกษาจนจบการศึกษาช้ันพื้นฐาน อย่าง

มีคุณภาพตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพ่ืออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพ่ือการศึกษาต่อ และ
ประกอบอาชีพตรงตามศักยภาพและความถนัดของคนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนท่ีมีความสามารถสิ
เศษสู่ความเปน็ เลศิ เพ่ือขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

๒.๓ พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนท่ีอยู่ในการศึกษาชั้นพ้ืนฐาน เพ่ือ
ปูองกันไม่ให้ออกจากระบบการศึกษา รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางต้นให้ได้รับการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐานอยา่ งเท่าเทยี มกนั

2.๔ ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ไห้ได้รับโอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพมี
ทักษะในการดาเนินชวี ติ มีพ้นื ฐานในการประกอบอาชพี เพิง่ ตนเองได้อย่างมศี ักดศ์ิ รีความเป็นมนุษย์ตามหลักปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

๓. ด้านคุณภาพ
๓.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะท่ี

จาเป็นของโลกในศตวรรษที่ ๒1 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักซองชาติ ยึดม่ันการ
ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพรมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข มีทศั นคตทิ ีถ่ ูกตอ้ งต่อบา้ นเมือง

-187-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะแกะทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดช้ันสูง
นวัตกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภายาต่างประเทศ เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งชัน
และการเลอื กศึกษาตอ่ เพื่อการมีงานทา

๓.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักที่
จาเป็นในแตถ่ ะระดบั จัดกระบวนการเรยี นร้แู บบลงมือปฏบิ ัตจิ ริง รวมทง้ั ส่งเสรมิ การจดั การเรยี นรู้ท่ีสร้างสมดุล
ทกุ ดา้ นส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาพหปุ ญั ญา พัฒนาระบบการวคั และประเมินผลผเู้ รยี นทุกระดบั

3.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นครูยุคใหม่ มีศักยภาพในการ
จัดการเรียนการสอนตามหลกั สูตรฐานสมรรถนะ มที ักษะในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ีได้ดี มีความรู้ความสามารถในการ
ใช้เทคโนโลยดี จี ิทลั มีการพัฒนาตนเองทางวิชาพอย่างต่อเนือ่ ง รวมท้ังมจี ิตวิญญาณความเป็นครู

๔. ด้านประสทิ ธภิ าพ
4.1 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการโดยใช้พ้ืนท่เี ป็นฐาน มีนวตั กรรมเปน็ กลไกหลักในการ

ขบั เคล่อื นบนฐานข้อมลู สารสนเทศที่ถกู ต้อง ทันสมยั และการมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น
4.2 พัฒนาโรงเรยี นมธั ยมดสี มี่ มุ เมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็ก

และโรงเรียนทส่ี ามารถดารงอย่ไู ด้อย่างมคี ณุ ภาพ (Stand Alone) ให้มีคณุ ภาพอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับบริบท
ของพ้นื ที่

4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ท่ีมีจานวนนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 - ๓ น้อยกว่า ๒0 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายโรงเรียน
คณุ ภาพของชุมชน

4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาท่ีมีวัตถุประสงค์เฉพาะ และ
สถานศึกษาทตี่ ง้ั ในพ้นื ทีล่ ักษณะพเิ ศษ

4.5 สนับสนุนพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรม
การศึกษาและการเพม่ิ ความคลอ่ งตัวในการบริหารและการจัดการศึกษาข้นั พื้นฐาน

4.6 เพ่มิ ประสิทธภิ าพการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการศึกษาชน้ั พน้ื ฐาน

ท้งั น้ี ต้ังแต่บดั นี้เป็นตน้ ไป
ประกาศ ณ วนั ที่ 16 ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

(นายอัมพร พินะสา)
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

-188-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

ความรเู้ ก่ียวกบั แผนการศึกษาแห่งชาติ
แนวข้อสอบแผนการศกึ ษาแหง่ ชาตพิ .ศ. 2560 - 2579
1. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ มีระยะเวลาต้งั แต่ปีใดถึงปีใด ข้อใดกลา่ วถูกต้อง

ก. 2560 – 2579
ข. 2561 – 2580
ข. 2562 – 2581
ง. 2563 – 2582
เฉลย ก. 2560 – 2579

2. คณะผดู้ าเนนิ การจดั ทาแผนการศึกษาแห่งชาติ ข้อใดถูกตอ้ ง
ก. สานกั ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร
ข. สานักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ
ค. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
ง. กระทรวงศึกษาธิการ
เฉลย ข. สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

3. วสิ ัยทศั นแ์ ผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ –๒๕๗๙ ข้อใดกลา่ วถูกต้อง
ก. “คนไทยทุกคนไดร้ ับการศึกษาและเรียนรตู้ ลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพดารงชีวิตอยา่ งเป็นสุขสอดคล้องกับ
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของ โลกศตวรรษที่ ๒๑”
ข. “คนไทยทุกคนไดร้ ับการศึกษาและเรียนรูต้ ลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพดารงชีวติ อย่างเป็นสขุ สอดคล้องกับ
หลักพลงั ประชารฐั และการเปลยี่ นแปลงของ โลกศตวรรษท่ี ๒๑”
ค. “คนไทยทกุ คนไดร้ บั การศึกษาและเรยี นรตู้ ลอดชีวติ อย่างมคี ุณภาพ ดารงชีวิต อยา่ งเปน็ สขุ สอดคล้อง
กับหลักธรรมาภบิ าล และการเปล่ียนแปลงของ โลกศตวรรษท่ี ๒๑”
ง. “ทุกคนได้รบั การศกึ ษาและเรียนร้ตู ลอดชีวิตอยา่ งมคี ุณภาพ ดารงชีวติ อยา่ งเปน็ สุข สอดคล้องกบั
หลกั การเพ่ิงพาตนเอง และการเปล่ียนแปลงของ โลกศตวรรษที่ ๒๑”
เฉลย ก. คนไทยทุกคนไดร้ บั การศึกษาและเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชวี ิตอยา่ งเป็นสขุ
สอดคลอ้ งกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษท่ี ๒๑

4. แผนการศึกษาแห่งชาติเป็นแผนระยะเวลาตามข้อใด
ก. 5 ปี
ข. 10 ปี
ค. 15 ปี
ง. 20 ปี
เฉลย ง. 20 ปี

-189-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

5. ยุทธศาสตร์แผนการศกึ ษาแห่งชาติไดก้ าหนดยทุ ธศาสตร์ตามข้อใด
ก. 2 ขอ้
ข. 4 ข้อ
ค. 6 ขอ้
ง. 8 ข้อ
เฉลย ค. 6 ขอ้

6. ข้อใดคือความจาเป็นในการจดั ทาแผนการศึกษาแห่งชาติ และความท้าทายที่เป็นพลวัตของโลกศตวรรษท่ี
๒๑ ท้ังในส่วนที่เปน็ แรงกดดันภายนอกจาเปน็
ก. การเปลีย่ นแปลงส่อู ตุ สาหกรรม ๔.๐
ข. การเปลย่ี นแปลงของบรบิ ทเศรษฐกิจและสังคมโลกอันเน่อื งจากการปฏวิ ัติดจิ ทิ ัล
ค. ความต้องการกาลงั คนที่มีทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑
ง. ถกู ทกุ ขอ้
เฉลย ง. ถกู ทกุ ข้อ

7. ผ้เู รยี นทกุ คนให้มี คุณลกั ษณะและทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ เปน็ ไปตามเปูาหมายข้อใดถูกต้อง
ก. 3Rs 8Cs
ข. 3R 8C
ค. 4Rs 9Cs
ง. 5R 9C
เฉลย ก. 3Rs 8Cs

8. เปาู หมายแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ –๒๕๗๙ มีท้ังหมดกีเ่ ปูาหมาย
ก. 3 เปูาหมาย
ข. 4 เปาู หมาย
ค. 5 เปาู หมาย
ง. 6 เปูาหมาย
เฉลย ค. 5 เปาู หมาย

9. เปูาหมายแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ –๒๕๗๙ ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้อง
ก. ความเทา่ เทยี ม
ข. คุณภาพ
ค. ประสทิ ธิภาพ
ง. ถกู ทกุ ข้อ
เฉลย ง. ถกู ทุกข้อ

-190-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

10. ขอ้ ใดไม่ใช่เปูาหมายแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
ก. Relevancy
ข. Access)
ค. Writing
ง. Quality
เฉลย ค. Writing

11. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ บรรลวุ ิสยั ทัศน์และจุดมุ่งหมายจัดการศกึ ษาวางเปูาหมาย
ไวก้ ี่ดา้ น
ก. ๒ ดา้ น
ข. 3 ดา้ น
ค. 4 ดา้ น
ง. 5 ดา้ น
เฉลย ก. ๒ ดา้ น

12. ขอ้ ใดคือจุดมงุ่ หมายเพ่ือให้บรรลุวิสยั ทศั น์จัดการศึกษาตามเปาู หมายทีว่ า่ งไว้
ก. เปูาหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนาผ้เู รียนทกุ คนให้มี
ข. คณุ ลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
ค. ถกู ท้ัง ก และ ข
ง. ไมม่ ีข้อใดถูกต้อง
เฉลย ค. ถูกทั้ง ก และ ข

13. ขอ้ ใดไม่ใช่ 3Rs ตามแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
ก. Reading
ข. Writing
ค. Relevancy
ง. Arithmetics
เฉลย ค. Relevancy

14. ข้อใดไม่ใช่ 8Cs ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
ก. ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร
ข. ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้
ค. ความมีเมตตา กรุณา มวี ินัย คุณธรรม จริยธรรม
ง. การอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเปน็
เฉลย ง. การอา่ นออก เขยี นได้ คิดเลขเป็น

-191-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

15. ตัวช้วี ัดเพ่อื การบรรลเุ ปาู หมาย ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ มกี ตี่ วั ชีว้ ัด
ก. ๕1 ตัวช้วี ดั
ข. ๕๓ ตัวชวี้ ัด
ค. ๕5 ตัวชว้ี ดั
ง. ๕7 ตัวชวี้ ัด
เฉลย ข. ๕๓ ตวั ชี้วดั

16. ยทุ ธศาสตร์ตามแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ มีท้ังหมดก่ียทุ ธศาสตร์
ก. 5 ยุทธศาสตร์
ข. 6 ยุทธศาสตร์
ค. 10 ยุทธศาสตร์
ง. 11 ยุทธศาสตร์
เฉลย ข. 6 ยุทธศาสตร์

17. ข้อใดไม่ใช่ยทุ ธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
ก. คนทกุ ช่วงวยั ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้และพ้นื ที่พเิ ศษได้รบั การศกึ ษาและ
เรียนร้อู ยา่ งมีคณุ ภาพ
ข. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี ม ทางการศึกษา
ค. การจัดการศึกษาเพ่ือสรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวติ ทเี่ ป็นมิตร กบั สง่ิ แวดล้อม
ง. การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา
เฉลย ก. คนทกุ ชว่ งวัยในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใตแ้ ละพื้นท่ีพเิ ศษได้รบั การศึกษา
และเรยี นรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ

18. ขอ้ ใดคือยทุ ธศาสตร์ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
ก. การจัดการศึกษาเพ่ือความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ
ข. การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวตั กรรม เพื่อสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ค. การพฒั นาศักยภาพคนทุกชว่ งวยั และการสร้างสงั คม แห่งการเรียนรู้
ง. ถูกทุกขอ้
เฉลย ง. ถกู ทุกข้อ

-192-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

19. ขอ้ ใดไม่ใช่เปูาหมายยุทธศาสตร์ที่ 1 ตามแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
ก. คนทุกช่วงวัยมีความรักสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
ข. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพ้ืนท่ีพิเศษได้รับการศึกษาและ
เรยี นรู้อย่างมีคณุ ภาพ
ค. คนทกุ ชว่ งวัยไดร้ บั การศกึ ษา การดูแลและปูองกนั จากภยั คุกคามในชีวติ รปู แบบใหม่
ง. กาลังคนมที ักษะท่สี าคัญจาเป็นและมสี มรรถนะตรงตามความตอ้ งการของตลาดงานและการพัฒนา
เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ
เฉลย ง. กาลงั คนมีทักษะทสี่ าคัญจาเปน็ และมสี มรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและการ
พฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ

20. แนวคดิ การจัดการศึกษา ตามแผนการศึกษาแหง่ ชาตยิ ึดหลักสาคัญตามข้อใด
ก. หลักการจัดการศกึ ษาเพื่อปวงชน (Education for All)
ข. หลกั การจัดการศึกษาเพ่ือความเท่าเทียมและทั่วถงึ (Inclusive Education)
ค. หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficiency Economy)
ง. ถกู ทกุ ขอ้
เฉลย ง. ถูกทุกขอ้

21. ข้อใดไม่ใช่แนวคดิ การจดั การศกึ ษา ตามแผนการศึกษาแห่งชาตยิ ึดหลักสาคญั
ก. ความตอ้ งการกาลังคนที่มีทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑
ข. หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ค. หลกั การมีส่วนรว่ มของทุกภาคสว่ นของสงั คม
ง. ยดึ ตามเปาู หมายการพัฒนาที่ยง่ั ยืน
เฉลย ก. ความตอ้ งการกาลงั คนที่มที ักษะในศตวรรษท่ี ๒๑

22. ข้อใดไม่ใช่แนวคดิ การจดั การศึกษา ตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติยดึ หลกั สาคัญ
ก. Sustainable Development Goals : SDGs 2030
ข. The Fourth Industrial Revolution
ค. Inclusive Education
ง. All for Education
เฉลย ข. The Fourth Industrial Revolution

-193-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

23. การจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นความจาเปน็ และความท้าทายท่ีเปน็ พลวัตของโลกศตวรรษที่ ๒๑
ท้ังในส่วนท่เี ปน็ แรงกดดันภายนอก ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้อง
ก. การเปลี่ยนแปลงสอู่ ตุ สาหกรรม ๔.๐
ข. การดาเนินงานเพื่อบรรลุเปูาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ ๒๕๗๓ ที่
ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน รวมทั้ง ผลกระทบของการเป็นประชาคมอาเซียน และ ประกอบกับแรง
กดดันจากภายในประเทศจากการเปลีย่ นแปลงโครงสรา้ งประชากร
ค. ประเทศเข้าส่สู งั คมสงู วยั อยา่ งสมบูรณ์ในอนาคตอันใกล้น้ี
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ง. ถกู ทกุ ข้อ

24. แนวทางการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแหง่ ชาติสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ ูกต้อง
ก. การสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจให้ทุกภาคส่วนได้ตระหนักถึงความสาคัญและพร้อมเข้าร่วมในการ ผลักดัน
แผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติ การสร้างความเข้าใจกับหน่วยงานองค์กร และภาคีทุกภาคส่วน
ถงึ วสิ ัยทศั น์และเปาู หมายของ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ
ข. การปรับปรุงกฎ ระเบียบ และกฎหมายต่าง ๆ ให้เอื้อต่อการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาในระดับ
ต่าง ๆ
ค. การดาเนินงานเพื่อบรรลุเปูาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนขององค์การสหประชาชาติ ๒๕๗๓ ที่
ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน รวมทั้ง ผลกระทบของการเป็นประชาคมอาเซยี น และ ประกอบกับแรง
กดดนั จากภายในประเทศจากการเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากร
ง. การสร้างช่องทางให้ประชาสังคมมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา อย่าง
กว้างขวาง ทั้งระดบั นโยบายและระดับพื้นท่ี
เฉลย ค. การดาเนินงานเพื่อบรรลุเปูาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ
๒๕๗๓ ที่ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน รวมทั้ง ผลกระทบของการเป็นประชาคมอาเซียน และ ประกอบ
กบั แรงกดดนั จากภายในประเทศจากการเปล่ียนแปลงโครงสรา้ งประชากร

25. คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิต อย่างเป็นสุข สอดคล้องกับ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของ โลกศตวรรษท่ี ๒๑ โดยมีวัตถุประสงค์
ในการจัดการศกึ ษา ข้อใดกลา่ วถกู ตอ้ ง
ก. เพอื่ พัฒนาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาทีม่ ีคุณภาพและมีประสทิ ธภิ าพ
ข. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดีมีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติ
ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติและยุทธศาสตร์ชาติ
ค. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคีและร่วมมือผนึก
กาลังมุง่ สกู่ ารพัฒนาประเทศอย่างยัง่ ยืน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ง. ถกู ทุกขอ้
เฉลย ง. ถกู ทกุ ข้อ

-194-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

26. คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิต อย่างเป็นสุข สอดคล้องกับ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของ โลกศตวรรษที่ ๒๑ โดยมีวัตถุประสงค์ใน
การจัดการศึกษา มีก่ปี ระการ
ก. 2 ประการ
ข. 4 ประการ
ค. 6 ประการ
ง. 8 ประการ
เฉลย ข. 4 ประการ

-195-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

ความรูเ้ ก่ียวกับยุทธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แนวข้อสอบ ความรเู้ กี่ยวกบั ยุทธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธิการ

1. ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารมีผลบังคับใช้เมือ่ ใด

ก. ๑๘ เมษายน ๒๕๖๒

ข. ๑9 เมษายน ๒๕๖๒

ค. 20 เมษายน ๒๕๖๒

ง. 21 เมษายน ๒๕๖๒

เฉลย ก. ๑๘ เมษายน ๒๕๖๒

2. เปูาหมายและประเด็นยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์ชาติ ลงสู่แผนระดับต่างๆ รวมท้ังแผนในระดับ
กระทรวง โดยแผนแม่บทจะแบง่ ช่วงเวลาออกเป็นกช่ี ่วง ชว่ งละก่ปี ี
ก. 3 ช่วง ชว่ งละ 4 ปี
ข. ๔ ช่วง ชว่ งละ ๕ ปี
ค. 5 ชว่ ง ชว่ งละ ๕ ปี
ง. 5 ช่วง ชว่ งละ 4 ปี
เฉลย ข. ๔ ช่วง ชว่ งละ ๕ ปี

3. ขอ้ ใดคอื วิสยั ทศั น์ของกระทรวงศกึ ษา
ก. กระทรวงศกึ ษาธิการ ส่งเสรมิ เพอื่ ให้ผู้เรยี นมีความรู้ ทักษะมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิต
ทมี่ นั่ คง มีคณุ ธรรม มงี านทา มอี าชีพและเป็นพลเมอื งทีเ่ ข้มแขง็
ข. กระทรวงศึกษาธกิ าร วางระบบเพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้ ทักษะมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมืองมีวิชาความรู้
ท่ดี ี มคี ุณธรรม มงี านทา มีอาชีพและเปน็ พลเมอื งทเี่ ข้มแข็ง
ค. กระทรวงศึกษาธิการ วางระบบเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐาน
ชวี ติ ท่มี นั่ คง มีคุณธรรม มีงานทา มอี าชีพและเปน็ พลเมืองทเี่ ขม้ แขง็
ง. กระทรวงศึกษาธิการ วางระบบให้ผู้เรียนอย่างถูกต้อง ทักษะมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพ้ืนฐาน
ชีวติ ทมี่ นั่ คง มีคณุ ธรรม มีงานทา มอี าชีพและเปน็ พลเมืองทเี่ ขม้ แขง็
เฉลย ค. กระทรวงศึกษาธิการ วางระบบเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะมีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง

มพี นื้ ฐานชวี ติ ทม่ี ั่นคง มีคุณธรรม มงี านทา มอี าชีพและเป็นพลเมอื งที่เข้มแขง็

4. แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธกิ ารข้อใดถูกตอ้ ง
ก. พ.ศ. ๒๕๖1 – ๒๕๖๕
ข. พ.ศ. ๒๕๖2 – ๒๕๖
ค. พ.ศ. ๒๕๖1 – ๒๕80
ง. พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕
เฉลย ง. พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕

-196-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

5. แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธิการมกี ยี่ ุทธศาสตร์
ก. 4 ยทุ ธศาสตร์
ข. 6 ยุทธศาสตร์
ค. 8 ยุทธศาสตร์
ง. 10 ยทุ ธศาสตร์
เฉลย ข. 6 ยทุ ธศาสตร์

6. การพัฒนาประเทศในช่วงเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาความม่ันคง
เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม โดยการมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคส่วนในรปู แบบใด
ก. ประชารฐั
ข. เศรษฐกิจพอเพียง
ค. ไทยแลนด์ 4.0
ง. ไมม่ ีข้อใดถูกตอ้ ง
เฉลย ก. ประชารฐั

7. ข้อใดถกู ตอ้ งเกีย่ วกับแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธกิ าร
ก. การพัฒนาหลกั สูตร กระบวนการจัดการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล
ข. ยุทธศาสตร์พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ค. ยทุ ธศาสตรผ์ ลิตและพฒั นากาลังคน รวมท้ังงานวจิ ัยท่สี อดคล้องกบั ความต้องการของประเทศ
ง. ถูกทกุ ข้อ
เฉลย ง. ถกู ทกุ ข้อ

8. ขอ้ ใดไม่ใช่ถกู ตอ้ งเก่ยี วกับแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ก. ยทุ ธศาสตร์เพ่มิ โอกาสให้คนทกุ ช่วงวัยเข้าถึงบริการทางการศึกษาอยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชีวิต
ข. ยุทธศาสตร์สง่ เสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพอื่ การศึกษา
ค. ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาระบบบรหิ ารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีสว่ นร่วม
ในการจัดการศึกษา
ง. ยทุ ธศาสตรท์ ีเ่ นน้ การปรบั สภาวการณข์ องกระทรวงศึกษาธกิ ารสามารถตอบสนองต่อแนวทางการพฒั นา

เฉลย ง. ยทุ ธศาสตรท์ ีเ่ นน้ การปรับสภาวการณ์ของกระทรวงศกึ ษาธิการสามารถตอบสนองต่อแนวทางการ

พัฒนา

9. ข้อใดไมถ่ กู ต้องเกย่ี วกบั กฎหมายท่ีเกีย่ วข้องกับอานาจหนา้ ท่ขี องกระทรวงศกึ ษาธิการ
ก. พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผน่ ดนิ
ข. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
ค. คาสง่ั หวั หนา้ คณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี ๑๙ / ๒๕๖๐
ง. พระราชบญั ญัตปิ รับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม (ฉบบั ท่ี ๑๙) พ.ศ. ๒๕๖๒
เฉลย ก. พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ

-197-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

10. ขอ้ ใดถกู ตอ้ งเกยี่ วกบั กฎหมายทเ่ี กีย่ วข้องกบั อานาจหนา้ ทีข่ องกระทรวงศึกษาธิการ
ก. พระราชบัญญตั กิ องทุนเพือ่ ความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ข. พระราชบญั ญัติการบรหิ ารงานและการใหบ้ รกิ ารภาครัฐผา่ นระบบดจิ ิทลั พ.ศ. ๒๕๖๒
ค. พระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารบริหารกจิ การบ้านเมืองท่ดี ี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
ง. ถูกทกุ ขอ้
เฉลย ง. ถูกทกุ ข้อ

11. กฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ งกบั อานาจหน้าทข่ี องกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมีทั้งหมดก่ฉี บบั
ก. 9 ฉบับ
ข. 10 ฉบับ
ค. 11 ฉบับ
ง. 12 ฉบับ
เฉลย ข. 10 ฉบับ

12. กระทรวงศึกษาธกิ ารไดย้ ึดกรอบหลักการท่สี าคญั ตามข้อใดถกู ต้อง
ก. เปูาหมายและแนวทางการพฒั นาของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ข. วัตถปุ ระสงค์ของแผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศึกษา
ค.แผนการปฏิรปู ประเทศ ๑๑ ดา้ นในประเดน็ ทเี่ กยี่ วข้องกบั การศึกษา
ง. ถกู ทุกข้อ
เฉลย ง. ถกู ทุกขอ้

13. ประเดน็ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ท่กี ระทรวงศึกษาธกิ ารมคี วามเก่ยี วข้องโดยตรง ข้อใดไม่ถกู ต้อง
ก. การปรับเปลย่ี นคา่ นิยมและวัฒนธรรม
ข. ศักยภาพการกีฬา
ค. การพฒั นาคนตลอดช่วงชีวติ
ง. การพฒั นาการเรยี นรู้
เฉลย ข. ศกั ยภาพการกีฬา

14. ประเดน็ แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ที่กระทรวงศึกษาธกิ ารมสี ่วนสนับสนนุ ขอ้ ใดไม่ถกู ต้อง
ก. การเกษตร
ข. พลงั ทางสังคม
ค. ความเสมอภาคและหลกั ประกันทางสังคม
ง. การบรกิ ารประชาชนและประสทิ ธิภาพภาครัฐ
เฉลย ก. การเกษตร

15. วตั ถุประสงคข์ องแผนการปฏิรูปประเทศดา้ นการศึกษา ข้อใดกล่าวไม่ถกู ต้อง
ก. ยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา
ข. ลดความเหล่ือมลา้ ทางการศกึ ษา
ค. มุง่ ความเป็นเลศิ และสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและต่างประเทศ
ง. ปรบั ปรงุ ระบบการศึกษาใหม้ ีประสทิ ธิภาพในการใช้ทรัพยากร
เฉลย ค. มุ่งความเปน็ เลิศและสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศและต่างประเทศ


Click to View FlipBook Version