The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือเตรียมสอบ-เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน-สพฐ.-2 รหัส 888899

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sk.dsd0478, 2022-06-23 23:12:18

คู่มือเตรียมสอบ-เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน-สพฐ.-2 รหัส 888899

คู่มือเตรียมสอบ-เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน-สพฐ.-2 รหัส 888899

รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

สารบญั

เรอื่ ง หนา้

วชิ าที่ 1 ความรูค้ วามสามารถเกี่ยวกับระเบียบ กฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกบั การปฏิบัตงิ าน (คะแนนเต็ม 100
คะแนน)

สรุปสาระสาคญั พระราชบญั ญัติระเบยี บข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. 2551 และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเติม……….…………….๑
แนวขอ้ สอบพระราชบัญญตั ิระเบียบขา้ ราชการพลเรือน 2551 และแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ …..…………………..……………9
พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔……………………………………..………………..……......14
แนวขอ้ สอบพระราชบญั ญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิม่ เตมิ .………………….…45
สรปุ สาระสาคญั พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการ กระทรวงศึกษาธกิ าร 2546
และแก้ไขเพิม่ เติม……………………………………………………………………………………………..………………………..…….55
แนวขอ้ ขอ้ สอบพระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ 2546
และแกไ้ ขเพิ่มเติม………………………………………………………………………………………………………………..……………63
พระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยหลักเกณฑแ์ ละวิธีการบรหิ ารกิจการบ้านเมอื งทด่ี ี พ.ศ. 2546 และ
แก้ไขเพิม่ เติม……………………………………………………………………………………………………………………………………67
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าดว้ ยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกจิ การบา้ นเมอื งทด่ี ี พ.ศ. 2546
แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ………………………………………………………………………………………………………………………………...…80
พระราชบญั ญตั ิวธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และแกไ้ ขเพมิ่ เติม………………………..……………...89
แนวข้อสอบพระราชบญั ญัติวธิ ีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ …………………….113

พระราชบัญญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมิดของเจ้าหนา้ ที่ พ.ศ. ๒๕๓๙……………………………………………..……….129

แนวขอ้ สอบพระราชบญั ญัตคิ วามรบั ผิดทางละเมิด พ.ศ. 2539………………………………………..………………..133
พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540………………………………………………………………….….140
แนวข้อสอบพระราชบญั ญัติขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540………………………………..…………………..152
สรปุ สาระสาคัญระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕…………………………159
แนวข้อสอบระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรวี ่าด้วยการลาของขา้ ราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕…………………..………….163
ความรเู้ กยี่ วกบั วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ โครงสรา้ ง อานาจหน้าที่ ภารกิจ นโยบายยทุ ธศาสตร์
ของสานักงานคณะกรรการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน และกระทรวงศกึ ษาธิการ…………………………………………..166
พระราชบัญญตั ิมาตรฐานทางจริยธรรมพ.ศ. ๒๕๖๒…………………………………………………………………………..205
แนวขอ้ สอบพระราชบัญญัตมิ าตรฐานทางจรยิ ธรรมพ.ศ. ๒๕๖๒…………………………………………………………213

-2-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

วิชาที่ 2 ความรคู้ วามสามารถเกยี่ วกบั งานในตาแหนง่ (100 คะแนน)

ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก้ไขเพมิ่ เติม………………………………217
แนวขอ้ สอบระเบียบสานักนายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไ้ ขเพมิ่ เติม…………….230

สาระสาคญั ระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรวี ่าดว้ ยการรกั ษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ. 2544
และแก้ไขเพม่ิ เตมิ …………………………………………………………………..…………………………..………………………….246

แนวขอ้ สอบระเบียบสานักนายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยการรักษาความลบั ของทางราชการ พ.ศ. 2544
และแก้ไขเพ่ิมเตมิ …………………………………………………………………………..…………………………………….………..248

แนวขอ้ สอบระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552
และแก้ไขเพมิ่ เตมิ ……………………………………………………………………………………………………………………………………..250

ความรดู้ า้ นการจดั การงานเอกสาร การจดบันทึกและสรุปรายงาน การจดั ทางบประมาณ การประสานงาน และ
การจัดการองค์การ………………………………………………………………………………..…………………………………257

-1-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

สรุปสาระสาคญั พระราชบญั ญตั ิระเบยี บข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. 2551 และท่ีแกไ้ ขเพิม่ เตมิ

 ข้าราชการพลเรือน หมายความวา่ บุคคลซ่งึ ได้รบั บรรจุและแต่งตั้งตามพระราชบัญญัตนิ ี้ให้
รบั ราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง กรมฝาุ ยพลเรือน

 ขา้ ราชการฝ่ายพลเรือน หมายความว่า ข้าราชการพลเรอื น และข้าราชการอ่นื ในกระทรวง
กรมฝาุ ยพลเรือน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบขา้ ราชการประเภทน้ัน

ออกบอ่ ย

คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนคณะหนึง่ เรยี กโดยย่อว่า “ก.พ.” ประกอบดว้ ย
 นายกรัฐมนตรหี รือรองนายกรฐั มนตรีทนี่ ายกรฐั มนตรีมอบหมาย เปน็ ประธาน
 ปลดั กระทรวงการคลัง ผ้อู านวยการสานักงบประมาณ และเลขาธกิ ารคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ เปน็ กรรมการโดยตาแหน่ง
 กรรมการซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งต้ัง จากผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากร
บุคคล ด้านการบริหารและการจัดการ และด้านกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเป็นท่ีประจักษ์ใน
ความสามารถมาแล้ว และเป็นผู้ท่ีได้รับการสรรหาตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีกาหนด
ในกฎ ก.พ. จานวนไม่น้อยกว่าหา้ คน แต่ไมเ่ กินเจด็ คน
 ใหเ้ ลขาธกิ าร ก.พ. เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร

กรรมการซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แตง่ ตั้งใหอ้ ยู่ในตาแหน่งไดค้ ราวละสามปี ถา้ ตาแหนง่ กรรมการ
วา่ งลงกอ่ นกาหนดและยงั มกี รรมการดงั กล่าวเหลอื อยอู่ กี ไม่นอ้ ยกวา่ สามคน ให้กรรมการท่ีเหลอื ปฏิบัติหนา้ ท่ีตอ่ ไปได้

เมื่อตาแหน่งกรรมการว่างลงก่อนกาหนดให้ดาเนินการแต่งต้ังกรรมการแทนภายในกาหนดสามสิบวัน
เว้นแต่วาระของกรรมการเหลือไม่ถึงหนึ่งร้อยแปดสิบวันจะไม่แต่งตั้งกรรมการแทนก็ได้ ผู้ซ่ึงได้รับแต่งต้ังเป็น
กรรมการแทนน้ันให้อยู่ในตาแหน่งได้เพียงเท่ากาหนดเวลาของผู้ซึ่งตนแทน กรรมการซ่ึงพ้นจากตาแหน่ง
จะทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังให้เป็นกรรมการอีกก็ได้

ควรจา

ก.พ. มีอานาจหนา้ ท่ี ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) เสนอแนะและใหค้ าปรึกษาแกค่ ณะรัฐมนตรีเก่ียวกับนโยบายและยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากร
บุคคลภาครัฐในด้านมาตรฐานค่าตอบแทน การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมตลอดท้ังการวางแผน
กาลงั คนและด้านอนื่ ๆ เพอ่ื ให้ส่วนราชการใชเ้ ปน็ แนวทางในการดาเนนิ การ
(๒) รายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาปรับปรุงเงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง เงินเพิ่ม ค่าครองชีพ
สวสั ดิการ หรือประโยชนเ์ กือ้ กลู อื่นสาหรับขา้ ราชการฝาุ ยพลเรือนใหเ้ หมาะสม
(๓) กาหนดหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และมาตรฐานการบรหิ ารและพัฒนาทรัพยากรบคุ คล ของข้าราชการพลเรือน
เพอ่ื ส่วนราชการใช้เป็นแนวทางในการดาเนนิ การ
(๔) ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากาลังของสว่ นราชการ
(๕) ออกกฎ ก.พ. และระเบยี บเกยี่ วกับการบรหิ ารทรัพยากรบคุ คลเพ่ือปฏิบตั กิ าร ตามพระราชบัญญัติ
น้ี รวมตลอดทั้งการใหค้ าแนะนาหรือวางแนวทางในการปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญตั นิ ้ี กฎ ก.พ. เม่ือได้รับอนุมัติ
จากคณะรฐั มนตรีและประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้ ใหใ้ ชบ้ งั คับได้
(๖) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดขึ้นเน่ืองจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ รวมตลอดทั้งกาหนด
แนวทางปฏิบตั ิในกรณที ีเ่ ป็นปัญหา มติของ ก.พ. ตามขอ้ นี้ เมอ่ื ไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้ใช้
บงั คบั ได้ตามกฎหมาย

-2-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ควรจา

(๗) กากบั ดูแล ตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการพลเรือน
ในกระทรวงและกรม เพอื่ รกั ษาความเปน็ ธรรมและมาตรฐานดา้ นการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล รวมทั้งตรวจสอบ
และติดตามการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ในการน้ี ให้มีอานาจเรียกเอกสารและหลักฐาน จากส่วนราชการ
หรือให้ผู้แทนส่วนราชการ ข้าราชการหรือบุคคลใด ๆ มาชี้แจงข้อเท็จจริง และให้มีอานาจออกระเบียบให้กระทรวง
และกรมรายงานเกีย่ วกบั การบรหิ ารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการพลเรอื น ทอ่ี ย่ใู นอานาจหนา้ ท่ไี ปยงั ก.พ.

(๘) กาหนดนโยบายและออกระเบียบเก่ียวกับทุนเล่าเรียนหลวงและทุนของรัฐบาล ให้สอดคล้องกับ
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการฝุายพลเรือน ตลอดจนจัดสรรผู้รับทุน ที่สาเร็จการศึกษา
แล้วเขา้ รบั ราชการในกระทรวงและกรมหรอื หน่วยงานของรฐั

(๙) ออกข้อบังคับหรือระเบียบเก่ียวกับการจัดการการศึกษาและควบคุมดูแลและ การให้ความช่วยเหลือ
บุคลากรภาครัฐ นักเรียนทุนเล่าเรียนหลวง นักเรียนทุนของรัฐบาล และนักเรียนทุนส่วนตัวท่ีอยู่ในความดูแล
ของ ก.พ. ตลอดจนการเก็บเงินชดเชยค่าใช้จ่ายในการดูแลจัดการการศึกษา ทั้งนี้ ให้ถือว่าเงินชดเชยค่าใช้จ่าย
ในการดูแลจัดการการศึกษาเป็นเงินรายรับของส่วนราชการที่เป็นสถานอานวยบริการ อันเป็นสาธารณะประโยชน์
ตามความหมายในกฎหมายวา่ ดว้ ยวิธีการงบประมาณ

(๑๐) กาหนดหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารเพื่อรบั รองคณุ วุฒิของผู้ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือ
คุณวุฒิอย่างอื่น เพื่อประโยชน์ในการบรรจุและแต่งต้ังเป็นข้าราชการพลเรือน และการกาหนดอัตราเงินเดือน
หรือค่าตอบแทน รวมทง้ั ระดับตาแหน่งและประเภทตาแหนง่ สาหรับคณุ วฒุ ดิ งั กล่าว

(๑๑) กาหนดอัตราค่าธรรมเนยี มในการปฏิบตั กิ ารเก่ยี วกบั การบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล ตามพระราชบัญญตั นิ ี้
(๑๒) พิจารณาจัดระบบทะเบียนประวตั แิ ละแก้ไขทะเบียนประวัติเกยี่ วกับวัน เดือน ปเี กิด และการควบคุม
เกษียณอายขุ องขา้ ราชการพลเรอื น
(๑๓) ปฏิบตั หิ นา้ ที่อ่ืนตามทบี่ ัญญัตไิ วใ้ นพระราชบญั ญัตนิ ้ีและกฎหมายอืน่

ในกรณที ่ี ก.พ. เห็นว่าการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคลในเร่ืองใดที่ข้าราชการ ฝุายพลเรือนทุกประเภทหรือ

บางประเภทควรมีมาตรฐานหรอื หลักเกณฑ์เดียวกนั ให้ ก.พ. จดั ให้มกี ารประชุมเพอ่ื หารอื ร่วมกันระหว่างผู้แทน ก.พ.

ผู้แทน ก.พ.ร. และผู้แทนองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการฝุายพลเรือนประเภทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

เพ่ือกาหนดมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์กลางการบริหารทรัพยากรบุคคลในเรื่องน้ันเสนอต่อคณะรัฐมนตรี และ

เมอื่ คณะรัฐมนตรใี ห้ความเหน็ ชอบแลว้ ให้ใชบ้ งั คบั มาตรฐาน หรือหลกั เกณฑ์กลางดังกลา่ วกับขา้ ราชการฝุายพล

เรือนทุกประเภทหรือประเภทนั้น ๆ แล้วแตก่ รณี

ก.พ. มีอานาจแต่งตงั้ คณะอนุกรรมการวิสามัญ เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.พ. วิสามัญ” เพื่อทาการใด ๆ แทนได้

จานวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการแต่งต้ัง อ.ก.พ. วิสามัญ รวมตลอดทั้งวิธีการได้มา วาระการดารงตาแหน่ง

และการพน้ จากตาแหน่งใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ.

ออกบ่อย

ใหม้ สี านักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน เรียกโดยยอ่ วา่ “สานกั งาน ก.พ.” โดยมเี ลขาธกิ าร

ก.พ. เปน็ ผู้บังคบั บัญชาข้าราชการและบริหารราชการของสานกั งาน ก.พ. ขึน้ ตรงต่อนายกรัฐมนตรี

-3-
ควรจา รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

 สานักงาน ก.พ. มีอานาจหนา้ ที่ ดังต่อไปนี้
(๑) เป็นเจา้ หน้าทเ่ี ก่ยี วกบั การดาเนนิ งานในหน้าท่ีของ ก.พ. และ ก.พ.ค. และดาเนนิ การตามท่ี ก.พ.
หรอื ก.พ.ค. มอบหมาย
(๒) เสนอแนะและใหค้ าปรึกษาแก่กระทรวง กรม เกย่ี วกบั หลกั เกณฑ์ วิธีการ และแนวทางการบริหาร
ทรพั ยากรบุคคลภาครัฐ
(๓) พฒั นา ส่งเสริม วเิ คราะห์ วิจัยเกี่ยวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ ระบบ หลักเกณฑ์ วธิ ีการ และมาตรฐาน
ดา้ นการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการพลเรอื น
(๔) ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการพลเรือน
(๕) ดาเนินการเกี่ยวกับแผนกาลังคนของข้าราชการพลเรือน
(๖) เปน็ ศนู ย์กลางข้อมูลทรัพยากรบคุ คลภาครฐั
(๗) จดั ทายทุ ธศาสตร์ ประสานและดาเนินการเก่ียวกบั การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ของข้าราชการฝาุ ย
พลเรือน

(๘) สง่ เสริม ประสานงาน เผยแพร่ ใหค้ าปรึกษาแนะนา และดาเนินการเกย่ี วกบั การจัดสวัสดิการและ
การเสรมิ สร้างคุณภาพชวี ติ สาหรบั ทรพั ยากรบุคคลภาครฐั

(๙) ดาเนินการเกย่ี วกบั ทนุ เล่าเรยี นหลวงและทุนของรัฐบาลตามนโยบายและระเบยี บ ของ ก.พ.
(๑๐) ดาเนนิ การเกยี่ วกับการดแู ลบคุ ลากรภาครฐั และนักเรียนทุนตามข้อบงั คบั หรอื ระเบียบของ ก.พ.
(๑๑) ดาเนินการเกี่ยวกับการรับรองคุณวุฒิของผู้ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือคุณวุฒิ
อย่างอ่ืน เพ่ือประโยชน์ในการบรรจุและแต่งต้ังเป็นข้าราชการพลเรือน และการกาหนดอัตราเงินเดือนหรือ
ค่าตอบแทน รวมทง้ั ระดับตาแหน่งและประเภทตาแหน่งสาหรบั คุณวฒุ ิดงั กล่าว
(๑๒) ดาเนนิ การเกีย่ วกับการรักษาทะเบียนประวตั ิและการควบคุมเกษียณอายุ ของขา้ ราชการพลเรือน
(๑๓) จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลในราชการพลเรือน เสนอต่อ ก.พ.
และคณะรฐั มนตรี
(๑๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ กฎหมายอ่ืน หรือตามท่ีคณะรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรี หรอื ก.พ. มอบหมาย

 คณะอนุกรรมการสามัญ เรียกโดยยอ่ ว่า “อ.ก.พ. สามญั ” เพอื่ เป็นองค์กรบริหารทรัพยากร
บคุ คลในสว่ นราชการตา่ ง ๆ ดังนี้

(๑) คณะอนุกรรมการสามัญประจากระทรวง เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.พ. กระทรวง” โดยออกนามกระทรวง
(๒) คณะอนุกรรมการสามญั ประจากรม เรียกโดยย่อว่า “อ.ก.พ. กรม” โดยออกนามกรม
(๓) คณะอนุกรรมการสามญั ประจาจงั หวัด เรียกโดยยอ่ ว่า “อ.ก.พ. จงั หวัด” โดยออกนามจังหวดั
(๔) คณะอนุกรรมการสามัญประจาสว่ นราชการอ่ืนนอกจากส่วนราชการตาม (๑) (๒) และ (๓)
การเรียกช่อื องคป์ ระกอบ และอานาจหน้าท่ขี อง อ.ก.พ. ตาม (๔) ให้เป็นไปตามที่กาหนด ในกฎ ก.พ.
อ.ก.พ. กรม ประกอบดว้ ยอธิบดี เป็นประธาน รองอธบิ ดีท่ีอธิบดีมอบหมาย หนึ่งคน เป็นรองประธาน
และอนุกรรมการซึง่ ประธาน อ.ก.พ. แตง่ ต้งั จาก
(๑) ผูท้ รงคุณวุฒดิ ้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านการบริหารและการจดั การและ ด้านกฎหมาย
ซึ่งมผี ลงานเปน็ ท่ีประจกั ษ์ในความสามารถมาแลว้ และมิได้เป็นข้าราชการในกรมนัน้ จานวนไม่เกินสามคน
(๒) ข้าราชการพลเรือนซ่ึงดารงตาแหน่งประเภทบรหิ ารหรือประเภทอานวยการในกรมนั้น ซึง่ ได้รับ
เลือกจากข้าราชการพลเรือนผู้ดารงตาแหนง่ ดังกลา่ ว จานวนไม่เกินหกคน และให้ อ.ก.พ. น้ีต้งั เลขานุการหนึ่งคน

-4-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

อ.ก.พ. กรม มีอานาจหน้าทดี่ ังต่อไปนี้
(๑) พจิ ารณากาหนดนโยบาย ระบบ และระเบยี บวธิ กี ารบรหิ ารทรัพยากรบุคคลในกรม ซ่ึงต้องสอดคล้อง
กับหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานท่ี ก.พ. กาหนดตามมาตรา ๘ (๓) และนโยบาย และระบบการบริหาร
ทรพั ยากรบุคคลท่ี อ.ก.พ. กระทรวงกาหนดตามมาตรา ๑๖ (๑)
(๒) พิจารณาการเกลย่ี อัตรากาลังระหว่างสว่ นราชการต่าง ๆ ภายในกรม
(๓) พจิ ารณาเก่ยี วกับการดาเนินการทางวินัยและการสัง่ ให้ออกจากราชการตามท่ีบญั ญัติไว้ใน
พระราชบัญญตั ินี้
(๔) ปฏบิ ตั กิ ารอน่ื ตามพระราชบัญญัตินีแ้ ละช่วย ก.พ. ปฏบิ ตั กิ ารใหเ้ ป็นไปตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
ตามท่ี ก.พ. มอบหมาย

ออกบอ่ ย  คณะกรรมการพิทกั ษร์ ะบบคุณธรรมคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ก.พ.ค.” ประกอบด้วย
 กรรมการจานวนเจด็ คนซ่งึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แต่งตั้ง
 กรรมการ ก.พ.ค. ต้องทางานเต็มเวลา ใหเ้ ลขาธิการ ก.พ. เป็นเลขานุการของ ก.พ.ค.

ก.พ.ค. มอี านาจหนา้ ท่ี ดังต่อไปน้ี
(๑) เสนอแนะต่อ ก.พ. หรือองค์กรกลางบรหิ ารงานบุคคลอ่ืน เพ่ือให้ ก.พ. หรือองคก์ รกลางบริหารงาน
บุคคลอ่นื ดาเนนิ การจัดให้มีหรือปรับปรงุ นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลในสว่ นท่ีเก่ียวกับ การพิทักษ์
ระบบคุณธรรม
(๒) พจิ ารณาวนิ ิจฉยั อุทธรณ์
(๓) พิจารณาวินจิ ฉัยเร่ืองร้องทุกข์
(๔) พิจารณาเรื่องการคุ้มครองระบบคุณธรรม
(๕) ออกกฎ ก.พ.ค. ระเบยี บ หลกั เกณฑ์ และวิธีการเพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบญั ญัตินี้ กฎ ก.พ.ค.
เม่อื ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาแลว้ ให้ใชบ้ งั คบั ได้
(๖) แตง่ ตัง้ บุคคลซ่ึงมคี ุณสมบัติและไมม่ ลี กั ษณะต้องห้ามตามท่ี ก.พ.ค. กาหนด เพื่อเป็นกรรมการ
วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณ์หรอื เป็นกรรมการวินิจฉัยรอ้ งทุกข์

การจดั ระเบยี บข้าราชการพลเรอื นตอ้ งเป็นไปเพื่อผลสมั ฤทธิ์ตอ่ ภารกจิ ของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ
และความคุ้มคา่ โดยให้ข้าราชการปฏบิ ัตริ าชการอย่างมคี ุณภาพ คณุ ธรรม และมคี ุณภาพชวี ติ ทีด่ ี

ออกบอ่ ย  ข้าราชการพลเรอื นมี ๒ ประเภท คอื

 ข้าราชการพลเรือนสามญั ได้แก่ ขา้ ราชการพลเรือนซ่งึ รับราชการโดยไดร้ ับบรรจแุ ตง่ ต้ังตามที่

บญั ญตั ไิ ว้ในลักษณะ ๔ ข้าราชการพลเรอื นสามญั

 ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ ได้แก่ ขา้ ราชการพลเรือนซ่ึงรบั ราชการโดยไดร้ บั บรรจุแต่งต้งั

ใหด้ ารงตาแหน่งในพระองค์พระมหากษตั ริย์ตามทีก่ าหนดในพระราชกฤษฎกี า

การจ่ายเงนิ เดือนและเงินประจาตาแหน่งให้ข้าราชการพลเรือนใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บที่ ก.พ. กาหนด

โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลงั

ข้าราชการพลเรือนอาจไดร้ บั เงนิ เพม่ิ ค่าครองชพี ชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการ

ทคี่ ณะรฐั มนตรีกาหนด

-5-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ออกบอ่ ย

วนั เวลาทางาน วนั หยุดราชการตามประเพณี วันหยดุ ราชการประจาปี และการลาหยุดราชการของ
ข้าราชการพลเรือน ใหเ้ ป็นไปตามทค่ี ณะรฐั มนตรกี าหนด

เครอื่ งแบบของขา้ ราชการพลเรือนและระเบียบการแตง่ เครื่องแบบใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายหรอื ระเบยี บ
ว่าดว้ ยการนั้น

บาเหน็จบานาญขา้ ราชการพลเรือนใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการนน้ั

การจดั ระเบยี บข้าราชการพลเรือนสามญั ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหค้ านงึ ถงึ ระบบคุณธรรมดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) การรับบุคคลเพื่อบรรจุเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งต้องคานึงถึงความรู้ความสามารถ
ของบคุ คล ความเสมอภาค ความเปน็ ธรรม และประโยชนข์ องทางราชการ
(๒) การบรหิ ารทรัพยากรบุคคล ต้องคานึงถึงผลสัมฤทธ์ิและประสิทธภิ าพขององค์กร และลักษณะของงาน
โดยไมเ่ ลอื กปฏบิ ัตอิ ย่างไมเ่ ป็นธรรม
(๓) การพิจารณาความดีความชอบ การเล่ือนตาแหน่ง และการให้ประโยชน์อื่นแก่ข้าราชการต้อง
เป็นไปอย่างเป็นธรรมโดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพ และความประพฤติ และจะนาความคิดเห็นทางการ
เมืองหรือสังกัดพรรคการเมืองมาประกอบการพจิ ารณามิได้
(๔) การดาเนินการทางวินยั ต้องเป็นไปด้วยความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ
(๕) การบริหารทรัพยากรบุคคลตอ้ งมีความเปน็ กลางทางการเมือง

ขา้ ราชการพลเรือนสามัญมีเสรีภาพในการรวมกลุ่มตามที่บัญญัติไว้ ในรัฐธรรมนูญ แต่ทั้งน้ีต้องไม่กระทบ
ประสิทธภิ าพในการบริหารราชการแผ่นดินและความตอ่ เนือ่ งในการจัดทาบริการสาธารณะ และต้องไมม่ ีวัตถุประสงค์
ทางการเมือง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือ่ นไขในการรวมกลมุ่ ให้เปน็ ไปตามท่กี าหนด ในพระราชกฤษฎีกา

ออกบอ่ ย ตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามญั มี ๔ ประเภท ดังต่อไปนี้
 ตาแหน่งประเภทบริหาร ไดแ้ ก่ ตาแหนง่ หวั หนา้ ส่วนราชการและรองหวั หน้าส่วนราชการ
ระดบั กระทรวง กรม และตาแหนง่ อน่ื ที่ ก.พ. กาหนดเปน็ ตาแหนง่ ประเภทบรหิ าร
 ตาแหน่งประเภทอานวยการ ได้แก่ ตาแหน่งหัวหน้าสว่ นราชการทีต่ ่ากว่าระดบั กรม และ
ตาแหน่งอน่ื ที่ ก.พ. กาหนดเป็นตาแหน่งประเภทอานวยการ
 ตาแหน่งประเภทวิชาการ ได้แก่ ตาแหนง่ ที่จาเป็นต้องใช้ผู้สาเรจ็ การศึกษาระดับปริญญา
ตามท่ี ก.พ. กาหนดเพ่ือปฏิบัติงานในหนา้ ท่ีของตาแหนง่ นั้น
 ตาแหน่งประเภททว่ั ไป ได้แก่ ตาแหน่งท่ีไม่ใช่ตาแหน่งประเภทบริหาร ตาแหน่งประเภท
อานวยการ และตาแหน่งประเภทวิชาการ ท้งั นี้ ตามที่ ก.พ. กาหนด

ระดบั ตาแหน่งข้าราชการพลเรอื นสามัญ มดี ังต่อไปนี้
 ตาแหนง่ ประเภทบรหิ าร มีระดบั ดงั ตอ่ ไปน้ี
(ก) ระดับตน้
(ข) ระดับสูง

 ตาแหนง่ ประเภทอานวยการ มีระดบั ดังต่อไปนี้
(ก) ระดับต้น
(ข) ระดบั สงู

-6-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

ออกบอ่ ย

 ตาแหน่งประเภทวชิ าการ มรี ะดบั ดังต่อไปน้ี
(ก) ระดบั ปฏิบัติการ
(ข) ระดบั ชานาญการ
(ค) ระดบั ชานาญการพเิ ศษ
(ง) ระดับเช่ยี วชาญ
(จ) ระดบั ทรงคุณวุฒิ

 ตาแหน่งประเภททวั่ ไป มรี ะดบั ดงั ต่อไปนี้
(ก) ระดบั ปฏบิ ตั ิงาน
(ข) ระดบั ชานาญงาน
(ค) ระดบั อาวโุ ส
(ง) ระดับทักษะพเิ ศษ

การจัดประเภทตาแหนง่ และระดับตาแหน่ง ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑท์ ี่กาหนดในกฎ ก.พ.
ให้ ก.พ. จดั ทามาตรฐานกาหนดตาแหน่ง โดยจาแนกตาแหน่งเป็นประเภท และสายงานตามลักษณะงาน
และจัดตาแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกันที่คุณภาพของงานเท่ากันโดยประมาณเป็นระดับเดียวกัน
ทั้งน้ี โดยคานึงถึงลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพของงาน ในมาตรฐานกาหนดตาแหน่งให้ระบุชื่อ
ตาแหน่งในสายงาน หนา้ ท่ีความรับผิดชอบหลัก และคณุ สมบตั ิเฉพาะสาหรบั ตาแหนง่ ไวด้ ้วย

 ตาแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญจะมีในส่วนราชการใด จานวนเท่าใด และ เป็นตาแหน่ง
ประเภทใด สายงานใด ระดับใด ให้เป็นไปตามท่ี อ.ก.พ. กระทรวงกาหนด โดยต้องคานึงถึงประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล ความไม่ซ้าซ้อนและประหยัดเป็นหลัก ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ี ก.พ. กาหนด และต้อง

เปน็ ไปตามมาตรฐานกาหนดตาแหนง่
 การสรรหาเพอื่ ให้ได้บคุ คลมาบรรจุเขา้ รบั ราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญและแต่งตั้งให้

ดารงตาแหน่ง ต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรมและคานึงถึงพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคลดังกล่าว ตลอดจน
ประโยชนข์ องทางราชการ

ออกบอ่ ย

 การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญเพื่อแต่งตั้ง ให้ดารงตาแหน่งใด
ให้บรรจุและแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันได้ในตาแหน่งนั้น โดยบรรจุและแต่งตั้งตามลาดับที่ ในบัญชีผู้
สอบแข่งขันได้การสอบแข่งขัน การข้ึนบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ และรายละเอียดเกี่ยวกับการสอบแข่งขัน ให้เป็นไป
ตามหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเง่อื นไขท่ี ก.พ. กาหนด

 การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงตาแหน่งหัวหน้า ส่วนราชการ
ระดบั กระทรวง หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมท่ีอยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อ
นายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดนาเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาอนุมัติ
เม่ือไดร้ ับอนมุ ตั จิ ากคณะรฐั มนตรีแลว้ ใหร้ ฐั มนตรเี จา้ สังกดั เป็นผู้สั่งบรรจุ และ ให้นายกรัฐมนตรีนาความกราบ
บังคมทลู เพ่ือทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตั้ง

-7-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

 การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงตาแหน่งรองหัวหน้า ส่วน
ราชการระดับกระทรวง หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม รองหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ใน บังคับบัญชา
หรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี หรือตาแหน่งอื่นที่
ก.พ. กาหนดเป็นตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง ให้ปลัดกระทรวงผู้บังคับบัญชา หรือหัวหน้าส่วนราชการ
ระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ ข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี
แล้วแต่กรณี เสนอรัฐมนตรีเจ้าสังกัดเพ่ือนาเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ เมื่อได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี
แล้ว ให้ปลัดกระทรวงผู้บังคับบัญชา หรือหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมดังกล่าวเป็นผู้สั่งบรรจุ และให้
นายกรฐั มนตรีนาความกราบบงั คมทลู เพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตัง้

 การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับต้น ให้ปลัดกระทรวง
ผ้บู ังคับบญั ชา หรือหัวหน้าสว่ นราชการระดับกรมท่ีอยู่ในบังคบั บัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ ขึ้นตรง
ตอ่ นายกรัฐมนตรีหรอื ตอ่ รฐั มนตรี แล้วแต่กรณี เปน็ ผ้มู อี านาจสงั่ บรรจุและแตง่ ตงั้

 การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการ ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ
ชานาญการ ชานาญการพิเศษ และเชยี่ วชาญ และประเภททัว่ ไปในสานักงานรัฐมนตรี ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดเป็น
ผู้มีอานาจสง่ั บรรจุและแต่งต้ัง

 การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการระดับสูง ให้ปลัดกระทรวง
ผู้บังคับบัญชา หรอื หวั หนา้ ส่วนราชการระดับกรมทอี่ ยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการ ข้ึนตรงต่อ
นายกรัฐมนตรีหรือต่อรฐั มนตรี แล้วแต่กรณี เป็นผมู้ ีอานาจส่ังบรรจุและแต่งต้งั

 การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทอานวยการระดับต้น ให้อธิบดีผู้บังคับบัญชา
เป็นผู้มีอานาจสั่งบรรจุและแต่งตั้งเม่ือได้รับความเห็นชอบจากปลัดกระทรวง ส่วนการบรรจุ และแต่งตั้งให้ดารง
ตาแหน่งประเภทอานวยการระดับต้นในส่วนราชการระดับกรมที่หัวหน้าส่วนราชการ อยู่ในบังคับบัญชาหรือ
รบั ผิดชอบการปฏบิ ัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรี หรือต่อรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี ให้อธิบดีผู้บังคับบัญชา เป็น
ผมู้ ีอานาจส่ังบรรจแุ ละแต่งตง้ั

 การบรรจุและแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัด
นาเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ เม่ือได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดเป็นผู้สั่ง
บรรจุ และให้นายกรฐั มนตรีนาความกราบบงั คมทูลเพ่อื ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แตง่ ตั้ง

 การบรรจุและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับเช่ียวชาญ ให้ปลัดกระทรวงหรือ
หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
หรอื ต่อรัฐมนตรี แลว้ แตก่ รณี เปน็ ผมู้ ีอานาจส่งั บรรจุและแต่งต้งั

 การบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับชานาญการพิเศษ และตาแหน่ง
ประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษ ให้อธิบดีผู้บังคับบัญชา เป็นผู้มีอานาจส่ังบรรจุและแต่งต้ัง เม่ือได้รับความ
เห็นชอบจากปลัดกระทรวง ส่วนการบรรจุและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชานาญการพิเศษ
และตาแหน่งประเภทท่ัวไป ระดับทักษะพิเศษในส่วนราชการระดับกรมที่หัวหน้า ส่วนราชการอยู่ในบังคับบัญชา
หรอื รับผดิ ชอบการปฏิบตั ริ าชการขน้ึ ตรงต่อนายกรฐั มนตรหี รอื ต่อรัฐมนตรี แล้วแต่กรณี ให้อธิบดีผู้บังคับบัญชา
เปน็ ผู้มีอานาจสงั่ บรรจุและแตง่ ต้งั

 การบรรจแุ ละแต่งตงั้ ให้ดารงตาแหน่งประเภทวชิ าการ ระดบั ปฏิบัติการ ชานาญการ ตาแหน่ง
ประเภทท่ัวไประดับปฏิบัติงาน ชานาญงาน และอาวุโส ให้อธิบดีผู้บังคับบัญชา หรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมาย
จากอธิบดีผบู้ ังคับบญั ชา เปน็ ผมู้ ีอานาจส่งั บรรจุและแตง่ ต้ัง

-8-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

 ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารผู้ใดปฏิบัติหน้าที่เดียวติดต่อกันเป็น
เวลาครบสีป่ ี ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุ ดาเนินการให้มีการสับเปล่ียนหน้าที่ ย้าย หรือโอนไปปฏิบัติ
หน้าท่ีอื่น เว้นแต่มีความจาเป็นเพ่ือประโยชน์ของทางราชการจะขออนุมัติคณะรัฐมนตรีให้คงอยู่ปฏิบัติหน้าท่ี
เดิมต่อไปเป็นเวลาไม่เกินสองปีก็ได้ ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ. กาหนด และไม่ให้ใช้บังคับแก่ผู้
ดารงตาแหน่งที่ ก.พ. กาหนดวา่ เป็นตาแหนง่ ทีม่ ี ลักษณะงานเฉพาะอยา่ ง

 การย้าย การโอน หรือการเล่ือนข้าราชการพลเรอื นสามญั ไปแตง่ ต้ัง ให้ดารงตาแหน่งขา้ ราชการพล
เรือนสามญั ในหรอื ตา่ งกระทรวงหรอื กรม แล้วแต่กรณี ใหเ้ ปน็ ไปตามทกี่ าหนดในกฎ ก.พ.

 การย้ายหรือการโอนข้าราชการพลเรือนสามัญไปแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งในระดับ ท่ีตา่
กว่าเดิมจะกระทามิได้ เวน้ แต่จะไดร้ บั ความยนิ ยอมจากขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผนู้ น้ั

 การบรรจขุ ้าราชการพลเรอื นสามัญทไ่ี ดอ้ อกจากราชการไปเนื่องจากถูกส่ังให้ออกจากราชการ
เพ่ือไปรับราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร หรือได้รับอนุมัติ จากคณะรัฐมนตรีให้ไป
ปฏิบตั งิ านใด ๆ ซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้นสาหรับการคานวณบาเหน็จบานาญ เหมือนเต็มเวลาราชการหรือ
ออกจากราชการไปที่มิใช่เป็นการออกจากราชการในระหว่างทดลองปฏิบัติ หน้าที่ราชการกลับเข้ารับ
ราชการในกระทรวงหรือกรม ตลอดจนจะสง่ั บรรจุและแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด
และให้ได้รับเงินเดือนเท่าใด ใหก้ ระทาไดต้ ามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการ ท่ี ก.พ. กาหนด

-9-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

แนวข้อสอบพระราชบญั ญัติระเบียบขา้ ราชการพลเรอื น 2551 และแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ

1. พระราชบญั ญตั ขิ ้าราชการพลเรอื น พ.ศ. 2551 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเมื่อใด
ก. 23 มีนาคม 2551
ข. 24 ธันวาคม 2551
ค. 25 มกราคม 2551
ง. 26 มกราคม 2551
เฉลย ค. 25 มกราคม 2551

2. พระราชบญั ญัตขิ า้ ราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 บังคบั ใช้เมื่อใด
ก. 23 มกราคม 2551
ข. 24 ธันวาคม 2551
ค. 25 มีนาคม 2551
ง. 26 มกราคม 2551
เฉลย ง. 26 มกราคม 2551

3. ขา้ ราชการพลเรือน ตามพระราชบญั ญัติระเบยี บข้าราชการพลเรือน 2551 และแก้ไขเพ่ิมเตมิ มีกปี่ ระเภท

ก. 1 ประเภท คอื ข้าราชการพลเรือนสามญั

ข. 2 ประเภท คือ ข้าราชการพลเรอื นสามญั และข้าราชการพลเรือนในพระองค์
ข. 3 ประเภท คือ ขา้ ราชการพลเรือนสามัญ ขา้ ราชการพลเรือนในพระองค์และข้าราชการประจา

ตา่ งประเทศพิเศษ
ค. 4 ประเภท คือ ข้าราชการพลเรือนสามัญ ขา้ ราชการพลเรอื นในพระองค์และขา้ ราชการประจา

ตา่ งประเทศพิเศษและข้าราชการตุลาการ

เฉลย ข. 2 ประเภท คอื ขา้ ราชการพลเรือนสามัญและขา้ ราชการพลเรอื นในพระองค์

4. ข้อใดมใิ ช่ “ขา้ ราชการพลเรือน”ตามพระราชบญั ญตั ิระเบียบขา้ ราชการพลเรอื น 2551 และแกไ้ ขเพ่มิ เติม
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. ปลัดกระทรวง
ค. นายอาเภอ
ง. ถกู ทุกขอ้
เฉลย ก. นายกรฐั มนตรี

5. หนว่ ยงานใดปฏบิ ตั ิราชการขึน้ ตรงตอ่ นายกรฐั มนตรี ตามพระราชบัญญตั ิระเบยี บข้าราชการพลเรือน
2551 และแก้ไขเพิ่มเติม

ก. สานักขา่ วกรองแห่งชาติ
ข. สานักงบประมาณ
ค. สานักคณะกรรมการการกฤษฎกี า
ง. ถูกทกุ ข้อ
เฉลย ง. ถกู ทกุ ข้อ

-10-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

6. บุคคลใดรักษาการตามพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. 2551
ก. เลขาธิการ ก.พ.
ข. รัฐมนตรีประจาสานกั นายกรัฐมนตรี
ค. นายกรฐั มนตรี
ง. ปลดั ประจาสานักนายกรัฐมนตรี
เฉลย ค. นายกรฐั มนตรี

7. คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) มีจานวนไม่เกินก่ีคน
ก. 10 คน
ข. 11 คน
ค. 12 คน
ง. 13 คน
เฉลย ค. 12 คน

8. บคุ คลใดดารงตาแหน่งประธานกรรมการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
ก. นายกรฐั มนตรี
ข. นายกรฐั มนตรหี รือรองนายกรฐั มนตรีท่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ค. รฐั มนตรที ีน่ ายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ง. เลขาธกิ ารคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น
เฉลย ข. นายกรัฐมนตรหี รือรองนายกรฐั มนตรที ี่นายกรัฐมนตรมี อบหมาย

9. คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน (ก.พ.) ซงึ่ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตง้ั อยูใ่ นตาแหน่งคราวละกปี่ ี
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 3 ปี
ง. 4 ปี
เฉลย ค. 3 ปี

10. เมื่อตาแหนง่ กรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ว่างลงกอ่ นกาหนดต้องดาเนินการแตง่ ต้ังภายในกว่ี นั
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วนั
ง. 60 วัน
เฉลย ข. 30 วนั

11. บคุ คลใดเปน็ ผ้บู ังคบั บญั ชาขา้ ราชการและบรหิ ารราชการสานกั งาน ก.พ.
ก. นายกรฐั มนตรี
ข. ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ค. เลขาธิการ ก.พ.
ง. เลขาธกิ ารสานกั นายกรัฐมนตรี
เฉลย ค. เลขาธกิ าร ก.พ.

-11-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

12. อนุกรรมการ ก.พ. สามัญ มีก่ปี ระเภท ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ก. 1 ประเภท คือ อ.ก.พ.กระทรวง
ข. 2 ประเภท คือ อ.ก.พ.กระทรวง อ.ก.พ.กรม
ค. 3 ประเภท คือ อ.ก.พ.กระทรวงทบวง อ.ก.พ.ทบวง อ.ก.พ.กรม
ง. 4 ประเภท คือ อ.ก.พ.กระทรวง อ.ก.พ.กรม อ.ก.พ.จังหวดั และ อ.ก.พ.ส่วนราชการอ่นื
เฉลย ง. 4 ประเภท คือ อ.ก.พ.กระทรวง อ.ก.พ.กรม อ.ก.พ.จังหวดั และ อ.ก.พ.ส่วนราชการอ่นื

13. อ.ก.พ. จังหวดั มผี ใู้ ดเป็นประธาน
ก. นายกองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด
ข. ปลดั องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั
ค. ผู้วา่ ราชการจังหวัด
ง. ปลดั จงั หวดั
เฉลย ค. ผู้วา่ ราชการจงั หวัด

12. อ.ก.พ. กรม บคุ คลใดเป็นประธาน
ก. ปลดั กระทรวง
ข. รฐั มนตรวี า่ การทบวง
ค. อธบิ ดี
ง. รฐั มนตรวี ่าการกระทรวง
เฉลย ค. อธบิ ดี

13. คณะกรรมการผ้ทู รงคุณวุฒิ ดารงตาแหนง่ ได้คราวละกป่ี ี
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
ค. 4 ปี
ง. 5 ปี
เฉลย ข. 3 ปี

14. “ก.พ.ค.” ยอ่ มาจากหน่วยงานใด
ก. คณะอนกุ รรมการสามัญ
ข. คณะอนกุ รรมการพทิ ักษ์ระบบคุณธรรม
ค. คณะกรรมการพทิ ักษร์ ะบบคุณธรรม
ง. คณะกรรมการพทิ ักษค์ ุณธรรม
เฉลย ค. คณะกรรมการพทิ ักษร์ ะบบคุณธรรม

15. กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ “ก.พ.ค.” ดารงตาแหน่งคราวละกี่ปี
ก. 5 ปี
ข. 6 ปี
ค. 6 ปี วาระเดียว
ง. 4 ปี วาระเดียว
เฉลย ค. 6 ปี วาระเดยี ว

-12-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

16. ใครเปน็ ประธานคัดเลอื กคณะกรรมการพิทกั ษร์ ะบบคุณธรรม
ก. ประธานศาลฎีกา
ข. ประธานศาลปกครองสูงสุด
ค. ประธานศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ
ง. นายกรฐั มนตรี
เฉลย ข. ประธานศาลปกครองสูงสุด

17. คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ประกอบดว้ ยกรรมการจานวนกคี่ น
ก. 5 คน
ข. 7 คน
ค. 9 คน
ง. 11 คน
เฉลย ข. 7 คน

18. คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรมมีวาระการดารงตาแหนง่ คราวละก่ีปี
ก. 4 ปี
ข. 4 ปี วาระเดียว
ค. 6 ปี
ง. 6 ปี วาระเดยี ว
เฉลย ง. 6 ปี วาระเดยี ว

19. คณะกรรมการพทิ ักษร์ ะบบคุณธรรม ถา้ เป็นหรือเคยเป็นผู้สอนวิชาในสาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ สงั คมศาสตร์ ต้องดารงตาแหนง่ หรือเคยดารงตาแหนง่ มาแล้วไม่น้อยกว่ากป่ี ี
ก. 5 ปี
ข. 10 ปี
ค. 15 ปี
ง. 20 ปี
เฉลย ก. 5 ปี

20. นายเอ หนุ่มสรุ ินทร์ รบั ราชการเป็นเจา้ พนักงานตรวจเงินแผ่นดินอยูท่ ีจ่ ังหวัดสกลนคร นายเอเป็น
ขา้ ราชการประเภทใด
ก. ขา้ ราชการพลเรือนสามญั
ข. ขา้ ราชการประจาต่างประเทศพิเศษ
ค. ขา้ ราชการอยั การ
ง. ข้าราชการพลเรือสามญั
เฉลย ก. ขา้ ราชการพลเรือนสามัญ

21. วนั เวลาทางาน วนั หยดุ ราชการตามประเพณี วนั หยุดราชการประจาปี และการลาหยุดราชการของ
ขา้ ราชการพลเรือน ให้เปน็ ไปตามข้อใด
ก. นายกรฐั มนตรี
ข. ปลัดสานกั นายกรัฐมนตรี
ค. รองนายกรฐั มนตรี
ง. คณะรัฐมนตรี
เฉลย ง. คณะรฐั มนตรี

-13-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

22. การจดั ทามาตรฐานกาหนดตาแหน่งต้องพิจารณาตามข้อใด
ก. ลักษณะหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบและคุณภาพของงาน
ข. คณุ ภาพและปรมิ าณงาน
ค. ความสาคัญและความเร่งด่วนของงาน
ง. อานาจหน้าทีใ่ นตาแหน่ง
เฉลย ก. ลักษณะหน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบและคุณภาพของงาน

23. ข้อใดเรียงลาดบั โทษทางวนิ ยั จากหนักที่สดุ ไปเบาทีส่ ุดตามลาดบั อยา่ งถูกตอ้ ง
ก. ไลอ่ อก ปลดออก ลดเงินเดือน ตัดเงินเดือน ภาคทัณฑ์
ข. ไลอ่ อก ปลดออก ตดั เงินเดือน ลดเงินเดอื น ภาคทัณฑ์
ค. ภาคทัณฑ์ ตัดเงนิ เดือน ลดเงนิ เดอื น ปลดออก ไลอ่ อก
ง. ไลอ่ อก ปลดออก ภาคทัณฑ์ ลดเงนิ เดือน ตัดเงนิ เดอื น
เฉลย ก. ไลอ่ อก ปลดออก ลดเงินเดอื น ตดั เงินเดือน ภาคทัณฑ์

24. ขา้ ราชการพลเรือนสามัญผู้ใดประสงคจ์ ะลาออกจากราชการใหย้ ่นื หนังสอื ขอลาออกต่อผบู้ ังคบั บัญชา
เหนือขึ้นไปชัน้ หนง่ึ โดยย่นื ล่วงหน้าก่อนวันขอลาออกไม่น้อยกว่ากวี่ นั
ก. 15 วนั
ข. 30 วนั
ค. 45 วนั
ง. 60 วนั
เฉลย ข. 30 วัน

25. ผูใ้ ดถูกส่ังลงโทษตามพระราชบัญญัติระเบยี บข้าราชการพลเรอื นหรือถูกส่ังใหอ้ อกจากราชการผนู้ ัน้ มสี ิทธิ
อทุ ธรณ์โดยต้องยื่นเรื่องอุทธรณต์ ่อหน่วยงานใด
ก. สานกั งาน ก.พ.
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. คณะกรรมการพิทักษร์ ะบบคุณธรรม
ง. คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ
เฉลย . ค. คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคณุ ธรรม

26. พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรอื นมีกี่ลกั ษณะ ก่หี มวด กม่ี าตรา
ก. 4 ลกั ษณะ 10 หมวด 138 มาตรา
ข. 5 ลกั ษณะ 11 หมวด 139 มาตรา
ค. 4 ลักษณะ 11 หมวด 138 มาตรา
ง. 5 ลกั ษณะ 12 หมวด 139 มาตรา
เฉลย ข. 5 ลกั ษณะ 11 หมวด 139 มาตรา

-14-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

พระราชบัญญตั ิ
ระเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน

พ.ศ. ๒๕๓๔
ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๔
เปน็ ปที ี่ ๔๖ ในรชั กาลปจั จุบนั

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ
ใหป้ ระกาศวา่

โดยทเี่ ป็นการสมควรปรบั ปรงุ กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผน่ ดนิ
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของสภา
นิตบิ ัญญตั ิแห่งชาติดังตอ่ ไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญตั ินี้เรยี กวา่ “พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหารราชการ แผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔”
มาตรา ๒ พระราชบญั ญัตนิ ้ีให้ใช้บงั คับตัง้ แต่วันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ใหย้ กเลกิ
(๑) ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๑๕
(๒) ประกาศของคณะปฏวิ ัตฉิ บับที่ ๓๑๐ ลงวันท่ี ๑๓ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑๕
(๓) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันท่ี ๒๙ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๑๕ พ.ศ. ๒๕๑๗
(๔) พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประกาศของคณะปฏิวัติฉบับท่ี ๒๑๘ ลงวันท่ี ๒๙ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๗
(๕) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติฉบับท่ี ๒๑๘ ลงวันท่ี ๒๙ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๑๗
(๖) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันท่ี ๒๙ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๙
(๗) ประกาศของคณะปฏิวตั ิฉบับที่ ๒๒ ลงวนั ที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๐
(๘) พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประกาศของคณะปฏิวัติฉบับท่ี ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๑๕ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๒๒
(๙) ประกาศคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติฉบับที่ ๔๘ เร่ือง แก้ไขเพ่ิมเติม ประกาศ
ของคณะปฏิวัตฉิ บบั ท่ี ๒๑๘ ลงวนั ท่ี ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ลงวนั ท่ี ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๔
มาตรา ๓/๑ การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน
เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดข้ันตอนการ
ปฏบิ ัตงิ าน การลดภารกจิ และยบุ เลกิ หนว่ ยงานที่ไม่จาเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถ่ินการ
กระจายอานาจตัดสินใจ การอานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ท้ังน้ีโดยมี
ผ้รู บั ผดิ ชอบต่อผลของงาน

-15-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

การจดั สรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งต้ังบุคคลเข้าดารงตาแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้อง
คานึงถึงหลกั การตามวรรคหนง่ึ

ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งให้คานึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน ทงั้ นต้ี ามความเหมาะสมของแต่ละภารกจิ

เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้จะตราพระราชกฤษฎีกา กาหนด
หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการในการปฏบิ ัตริ าชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏบิ ัติก็ได้

ออกบ่อย มาตรา ๔ ใหจ้ ัดระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ดังน้ี
(๑) ระเบียบบรหิ ารราชการส่วนกลาง
(๒) ระเบียบบริหารราชการสว่ นภมู ภิ าค
(๓) ระเบยี บบริหารราชการส่วนทอ้ งถน่ิ

มาตรา ๕ การแบ่งราชการออกเป็นส่วนต่าง ๆ ตามท่ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ให้กาหนด

ตาแหนง่ และอตั ราเงินเดือนโดยคานึงถงึ คุณภาพและปริมาณงานของส่วนราชการน้นั ๆ ไวด้ ้วย

การบรรจุและการแต่งตัง้ บุคคลใหด้ ารงตาแหน่งหนา้ ท่รี าชการตา่ ง ๆ ให้เปน็ ไปตามกฎหมาย

ออกบ่อย มาตรา ๖ ให้นายกรฐั มนตรีรักษาการตามพระราชบญั ญัตนิ ี้

สว่ นที่ ๑

การจัดระเบยี บบริหารราชการส่วนกลาง

มาตรา ๗ ใหจ้ ดั ระเบียบบรหิ ารราชการสว่ นกลางดงั น้ี

(๑) สานกั นายกรฐั มนตรี

(๒) กระทรวง หรอื ทบวงซ่ึงมฐี านะเทยี บเทา่ กระทรวง

(๓) ทบวง ซ่งึ สังกัดสานักนายกรฐั มนตรีหรอื กระทรวง

(๔) กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ซ่ึงสังกัดหรือไม่สังกัดสานัก

นายกรัฐมนตรีกระทรวงหรือทบวง

สานกั นายกรัฐมนตรีมฐี านะเปน็ กระทรวง

ออกบอ่ ย สว่ นราชการตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔) มฐี านะเป็นนติ บิ คุ คล
มาตรา ๘ การจัดต้ัง การรวม หรือการโอนส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ

การจัดต้ังทบวงโดยให้สังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ให้ระบุการสังกัดไว้ในพระราชบัญญัติด้วย

การจดั ตงั้ กรมหรอื สว่ นราชการทเ่ี รยี กชอ่ื อย่างอน่ื และมฐี านะเปน็ กรม ซึง่ ไม่สงั กดั สานกั นายกรัฐมนตรีกระทรวง

หรอื ทบวง ใหร้ ะบกุ ารไมส่ ังกดั ไว้ในพระราชบัญญตั ดิ ว้ ย

ออกบอ่ ย -16-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

มาตรา ๘ ทวิ การรวมหรือการโอนส่วนราชการตามมาตรา ๗ ไม่ว่าจะมีผลเป็นการจัดต้ังส่วน

ราชการข้ึนใหม่หรือไม่ถ้าไม่มีการกา หนดตาแหน่งหรืออัตราของข้าราชการหรือลูกจ้างเพ่ิมขึ้น ให้ตราเป็น

พระราชกฤษฎีกา

พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่ง ให้ระบุอานาจหน้าท่ีของส่วนราชการ การโอนอานาจหน้าท่ี
ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ซ่ึงส่วนราชการหรือเจ้าพนักงานที่มีอยู่เดิม การโอนข้าราชการและลูกจ้าง
งบประมาณรายจา่ ย รวมท้งั ทรัพยส์ ินและหนี้สนิ เอาไวด้ ้วย แลว้ แตก่ รณี

ควรจา

ให้สานกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณ มีหน้าที่ตรวจสอบดูแล
มิให้มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของข้าราชการหรือลูกจ้างของส่วนราชการที่จัดต้ังขึ้นใหม่ หรือที่ถูกรวม
หรอื โอนไปตามวรรคหนึ่ง เพ่ิมขึ้นจนกว่าจะครบกาหนดสามปีนับแต่วันท่ีพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหน่ึงมีผล
ใช้บังคับ

มาตรา ๘ ตรี การเปล่ียนชื่อส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และใน
กรณีท่ีชื่อตาแหนง่ ของข้าราชการในสว่ นราชการน้นั เปลีย่ นไปใหร้ ะบุการเปลยี่ นช่ือไวใ้ นพระราชกฤษฎกี าด้วย

บทบญั ญตั แิ ห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นอ่ืน ประกาศ
หรือคาส่ังใดท่ีอ้างถึงส่วนราชการหรือตาแหน่งของข้าราชการที่ได้ถูกเปลี่ยนช่ือตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่า
บทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นอื่น ประกาศหรือคาส่ังนั้น
อา้ งถึงส่วนราชการหรอื ตาแหนง่ ของข้าราชการทไี่ ดเ้ ปลีย่ นชื่อน้ัน

มาตรา ๘ จัตวา การยุบส่วนราชการตามมาตรา ๗ ให้ตราเปน็ พระราชกฤษฎกี า
เม่ือมีพระราชกฤษฎกี ายบุ สว่ นราชการตามวรรคหน่ึงแลว้ ใหง้ บประมาณรายจ่ายท่ีเหลืออยู่ของ
ส่วนราชการน้ันเป็นอันระงับไป สาหรับทรัพย์สินอ่ืนของส่วนราชการนั้นให้โอนให้แก่ส่วนราชการอ่ืนหรือ
หน่วยงานอ่ืนของรัฐ ตามท่ีรัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้รักษาการตามพระราชกฤษฎีกาตามวรรค หน่ึงกาหนดโดยความ
เห็นชอบของคณะรัฐมนตรีสาหรับวิธีการจัดการกิจการ สิทธิและหนี้สินของส่วนราชการนั้นให้เป็นไปตามท่ี
กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
ข้าราชการหรือลูกจา้ งซึง่ ต้องพน้ จากราชการเพราะเหตุยุบตาแหน่ง อันเนื่องมาจากการยุบส่วน
ราชการตามวรรคหนึ่ง นอกเหนือจากสิทธิประโยชน์ท่ีพึงได้รับตามกฎหมายหรือระเบียบ ข้อบังคับอ่ืนแล้ว ให้
ขา้ ราชการหรือลูกจา้ งไดร้ ับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการที่กาหนดในพระราชกฤษฎกี าตามวรรคหนึ่งดว้ ย
ในกรณีที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอ่ืนของรัฐ ประสงค์จะรับโอนข้าราชการหรือ
ลูกจา้ งตามวรรคสามกใ็ หก้ ระทาไดโ้ ดยมิใหถ้ อื ว่าข้าราชการหรือลกู จ้างผู้น้ันได้พ้นจากราชการตามวรรคสาม แต่
ทั้งน้ตี อ้ งกระทาภายในสามสบิ วันนบั แต่พระราชกฤษฎกี าตามวรรคหน่งึ มีผลใช้บงั คบั
มาตรา ๘ เบญจ พระราชกฤษฎีกาตามมาตรา ๘ ทวิหรือมาตรา ๘ จัตวา ที่มีผลเป็นการแก้ไข
เพ่ิมเติมหรือยกเลิกบทบัญญัติแห่งกฎหมายท่ีจัดตั้งส่วนราชการ กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง
กรม หรือกฎหมายอื่นทีเ่ กย่ี วข้อง ตามมาตรา ๒๓๐ วรรคห้า ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ให้ระบุให้
ชดั เจนในพระราชกฤษฎีกาว่าบทบญั ญตั ิใดถกู แก้ไขเพ่มิ เติมหรอื ยกเลิกเปน็ ประการใดในกฎหมายนั้น

ออกบอ่ ย -17-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

มาตรา ๘ ฉ การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานรัฐมนตรี กรม หรือส่วนราชการท่ีเรียกช่ือ

อย่างอ่ืนและมีฐานะเป็นกรม ให้ออกเป็นกฎกระทรวง และให้ระบุอานาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการไว้ใน

กฎกระทรวงดว้ ย

ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดของส่วนราชการตามวรรคหน่ึงเป็นผู้ออกกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
ดงั กล่าว กฎกระทรวงนั้นเม่อื ไดป้ ระกาศในราชกิจจานเุ บกษาแลว้ ให้ใชบ้ ังคบั ได้

มาตรา ๘ สัตต ให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและสานักงบประมาณร่วมกัน
เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการแบ่งส่วนราชการภายในและในการกาหนดอานาจหน้าที่ของแต่ละส่วน
ราชการตามมาตรา ๘ ฉ ในการเสนอความเห็นดังกล่าวให้สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
จดั อัตรากาลัง และสานกั งบประมาณ จัดสรรเงนิ งบประมาณใหส้ อดคล้องเสนอไปในคราวเดียวกนั

มาตรา ๘ อัฏฐ การแบ่งส่วนราชการภายในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันในทบวงมหาวิทยาลัย
ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายว่าดว้ ยมหาวทิ ยาลยั หรือสถาบันนั้น

หมวด ๑

ออกบ่อย การจัดระเบียบราชการในสานักนายกรัฐมนตรี

มาตรา ๙ การจัดระเบียบราชการในสานักนายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการ

ปรบั ปรุงกระทรวง ทบวง กรม

ให้ส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรีบรรดาท่ีกาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุง

กระทรวง ทบวง กรม มฐี านะเป็นกรม

สานักนายกรัฐมนตรีอาจจัดให้มีส่วนราชการเป็นการภายในข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรี เพื่อ
ทาหน้าทจี่ ัดทานโยบายและแผน กากับ เรง่ รัด และติดตามนโยบายและแผนการปฏิบัติราชการ ตามนโยบายท่ี
คณะรัฐมนตรีกาหนดหรอื อนุมตั ิ เพอื่ การนี้นายกรฐั มนตรีจะส่ังให้กรมหรือส่วนราชการ ท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนและ
มฐี านะเปน็ กรมในสานักนายกรฐั มนตรีจัดทากไ็ ด้

มาตรา ๑๐ สานกั นายกรัฐมนตรีมอี านาจหน้าท่ตี ามทก่ี าหนดไว้ในกฎหมายวา่ ดว้ ย การปรับปรุง
กระทรวง ทบวง กรม

สานกั นายกรัฐมนตรมี ีนายกรฐั มนตรีเป็นผูบ้ ังคบั บัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการกาหนด
นโยบาย เปูาหมาย และผลสัมฤทธ์ิของงานในสานักนายกรัฐมนตรีให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรี
แถลงไว้ต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรืออนุมัติ โดยจะให้มีรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจา
สานกั นายกรฐั มนตรีเป็นผู้ช่วยสง่ั และปฏิบัติราชการก็ได้

ในกรณที ่มี ีรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรีหรือมีท้ังรองนายกรัฐมนตรี
และรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรีการส่ังและการปฏิบัติราชการของรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี
ประจาสานักนายกรัฐมนตรใี หเ้ ป็นไปตามทนี่ ายกรฐั มนตรมี อบหมาย

-18-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

ในระหวา่ งทคี่ ณะรฐั มนตรีต้องอยใู่ นตาแหนง่ เพื่อปฏิบัติหนา้ ท่ตี อ่ ไปจนกวา่ คณะรัฐมนตรีที่ต้ังขึ้น
ใหม่จะเข้ารับหน้าที่ เพราะนายกรัฐมนตรีตาย ขาดคุณสมบัติต้องคาพิพากษาให้จาคุก สภาผู้แทนราษฎรมีมติ
ไม่ไว้วางใจ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง หรือวุฒิสภามีมติให้ถอด
ถอนจากตาแหน่ง ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ปฏิบัติหน้าท่ีแทน
นายกรัฐมนตรี ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้คณะรัฐมนตรี
มอบหมายใหร้ ัฐมนตรีคนใดคนหนึง่ เปน็ ผู้ปฏิบตั ิหน้าท่แี ทน

ในระหว่างที่คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าท่ีต่อไปจนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ต้ัง
ขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าท่ี ให้คณะรัฐมนตรีดังกล่าวอานวยความสะดวกให้หัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ดาเนินการ
ใด ๆ เทา่ ทจี่ าเปน็ เพื่อรับแนวทางการบริหารราชการแผน่ ดินจากนายกรัฐมนตรีคนใหม่มาเตรียมการดาเนินการได้

ควรจา มาตรา ๑๑ นายกรฐั มนตรใี นฐานะหัวหน้ารฐั บาลมีอานาจหน้าท่ีดังนี้
(๑) กากับโดยทว่ั ไปซึ่งการบริหารราชการแผ่นดนิ เพือ่ การนี้จะสงั่ ใหร้ าชการส่วนกลาง ราชการ

ส่วนภูมิภาค และส่วนราชการซึ่งมีหน้าที่ควบคุมราชการส่วนท้องถ่ิน ช้ีแจง แสดงความคิดเห็น ทารายงาน
เก่ียวกับการปฏิบัติราชการ ในกรณีจาเป็นจะยับย้ังการปฏิบัติราชการใด ๆ ที่ขัดต่อนโยบายหรือมติของ
คณะรฐั มนตรกี ็ไดแ้ ละมอี านาจส่ังสอบสวนข้อเท็จจรงิ เกยี่ วกับการปฏบิ ตั ริ าชการของราชการส่วนกลาง ราชการ
ส่วนภมู ภิ าค และราชการสว่ นทอ้ งถ่ิน

(๒) มอบหมายใหร้ องนายกรัฐมนตรีกากบั การบริหารราชการของกระทรวงหรือ ทบวงหน่ึงหรือ
หลายกระทรวงหรือทบวง

(๓) บังคับบัญชาข้าราชการฝุายบริหารทุกตาแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วน
ราชการทเี่ รยี กช่อื อย่างอืน่ ที่มีฐานะเปน็ กรม

(๔) สั่งให้ข้าราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหน่ึงมาปฏิบัติราชการสานักนายกรัฐมนตรี
โดยจะให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรือไม่ก็ได้ในกรณีที่ให้ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม ให้
ไดร้ ับเงนิ เดือนในสานกั นายกรัฐมนตรีในระดับและข้ันท่ีไม่สงู กว่าเดมิ

(๕) แต่งต้ังข้าราชการซ่ึงสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหน่ึงไปดารงตาแหน่งของอีกกระทรวง
ทบวง กรมหน่ึง โดยให้ได้รับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเช่นว่าน้ีให้ข้าราชการซ่ึงได้รับ
แต่งตั้งมีฐานะเสมือนเป็นข้าราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมาดารงตาแหน่งนั้นทุกประการ แต่ถ้า
เป็นการแต่งตง้ั ข้าราชการตง้ั แตต่ าแหน่งอธบิ ดหี รอื เทียบเทา่ ขึน้ ไป ต้องไดร้ ับอนมุ ตั ิจากคณะรฐั มนตรี

(๖) แต่งตงั้ ผ้ทู รงคุณวุฒิเป็นประธานที่ปรึกษา ท่ีปรึกษา หรือคณะที่ปรึกษาของ นายกรัฐมนตรีหรือ
เป็นคณะกรรมการเพ่ือปฏบิ ตั ริ าชการใด ๆ และกาหนดอัตราเบ้ียประชุมหรือ ค่าตอบแทนให้แกผ่ ู้ซ่ึงได้รับแตง่ ตั้ง

(๗) แตง่ ตง้ั ขา้ ราชการการเมืองให้ปฏบิ ตั ิราชการในสานกั นายกรฐั มนตรี
(๘) วางระเบียบปฏิบัติราชการ เพ่ือให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปโดยรวดเร็ว และมี
ประสิทธิภาพ เทา่ ที่ไม่ขัดหรอื แยง้ กบั พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอืน่
(๙) ดาเนินการอ่ืน ๆ ในการปฏิบัติตามนโยบาย ระเบียบตาม (๘) เม่ือคณะรัฐมนตรีให้ความ
เห็นชอบแลว้ ให้ใช้บังคับได้

-19-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

มาตรา ๑๒ ในกรณีท่ีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาส่วนราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอื่นและมี
ฐานะเป็นกรม แต่มิได้สังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือทบวง นายกรัฐมนตรีจะมอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี
หรือรัฐมนตรปี ระจาสานกั นายกรัฐมนตรีปฏบิ ตั ิราชการแทนก็ได้

ออกบอ่ ย มาตรา ๑๓ สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีมีอานาจหน้าท่ีเกี่ยวกับราชการทางการเมือง

มีเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อ

นายกรฐั มนตรีและใหม้ ีรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝุายการเมืองและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝุายบริหาร

เปน็ ผู้ชว่ ยสัง่ และปฏิบตั ิราชการ และจะใหม้ ีผชู้ ่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรเี ป็นผู้ชว่ ยส่ังและปฏบิ ตั ิราชการดว้ ยก็ได้

ให้เลขาธิการนายกรัฐมนตรีและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝุายการเมือง เป็นข้าราชการ

การเมือง และให้รองเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรฝี าุ ยบริหารและผู้ช่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเป็นข้าราชการพล

เรือนสามัญ

มาตรา ๑๔ สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีมีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับราชการของคณะรัฐมนตรี

รฐั สภา และราชการในพระองค์ มเี ลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการ

ปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีและให้มีรองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการ

และจะให้มีผู้ชว่ ยเลขาธิการคณะรัฐมนตรเี ป็นผชู้ ่วยสัง่ และปฏบิ ตั ิราชการด้วยก็ได้

ให้เลขาธิการคณะรัฐมนตรี รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรีและผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเป็น

ขา้ ราชการพลเรอื นสามัญ

มาตรา ๑๕ ในสานักนายกรัฐมนตรีอาจมีส่วนราชการที่อยู่ในบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อ
นายกรฐั มนตรีได้ตามทีก่ าหนดในกฎหมายวา่ ดว้ ยการปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม

ออกบ่อย มาตรา ๑๖ สานักนายกรัฐมนตรีนอกจากมีนายกรัฐมนตรีรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี

ประจาสานักนายกรัฐมนตรี ใหม้ ปี ลัดสานกั นายกรัฐมนตรีคนหน่งึ มอี านาจหนา้ ทีด่ ังนี้

(๑) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในสานักนายกรัฐมนตรีกาหนดแนวทางและแผนการ

ปฏิบัติราชการของสานักนายกรัฐมนตรีและลาดับความสาคัญของแผนการปฏิบัติราชการประจาปีของส่วน

ราชการในสานกั นายกรฐั มนตรีใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายที่นายกรัฐมนตรีกาหนด รวมท้ังกากับ เร่งรัด ติดตามและ

ประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการในสานกั นายกรฐั มนตรี

(๒) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในสา นักนายกรัฐมนตรีรองจาก

นายกรัฐมนตรีรองนายกรฐั มนตรแี ละรัฐมนตรปี ระจาสานักนายกรัฐมนตรียกเว้นข้าราชการของส่วนราชการซ่ึง

หัวหนา้ สว่ นราชการข้ึนตรงต่อนายกรฐั มนตรี

(๓) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีและรับผิดชอบในการ

ปฏิบัตริ าชการของสานกั งานปลดั สานกั นายกรฐั มนตรี

-20-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

ในการปฏิบัติราชการของปลัดสานักนายกรัฐมนตรีตามวรรคหน่ึง ให้มีรองปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยส่ังและปฏิบัติราชการ และจะให้มีผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยส่ังและ
ปฏิบัติราชการดว้ ยก็ได้

ในกรณีที่มีรองปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือมีท้ังรองปลัด
สานักนายกรัฐมนตรีและผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรีให้รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือผู้ช่วยปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการรองจากปลัดสา นัก
นายกรัฐมนตรี

ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรี และผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ และให้รองปลัดสานักนายกรัฐมนตรีผู้ช่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรีและผู้ดารง
ตาแหน่งทเี่ รยี กชือ่ อยา่ งอน่ื ในสานกั งานปลดั สานักนายกรัฐมนตรีมีอานาจหน้าท่ีตามท่ีปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
กาหนดหรอื มอบหมาย

ให้นาความในมาตรา ๑๙/๑ มาใช้บังคับแก่ราชการของสานักนายกรัฐมนตรีในส่วนที่เก่ียวกับ
สานกั งานปลดั สานักนายกรัฐมนตรีและสว่ นราชการท่มี ไิ ด้ข้นึ ตรงตอ่ นายกรฐั มนตรีด้วยโดยอนโุ ลม
ควรจา มาตรา ๑๗ สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการประจาทั่วไป
ของสานักนายกรัฐมนตรีและราชการที่คณะรัฐมนตรีมิได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใด กรมหนึ่งในสังกัด
สานักนายกรัฐมนตรีโดยเฉพาะ รวมท้ังกากับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสานัก
นายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของสานักนายกรัฐมนตรียกเว้น
ราชการของส่วนราชการซึง่ กฎหมายกาหนดให้หวั หนา้ ส่วนราชการขึน้ ตรงตอ่ นายกรฐั มนตรี

ในกรณีที่สานกั นายกรัฐมนตรีมีทบวงอยู่ในสงั กัดและยงั ไมส่ มควรจัดต้ังสานกั งานปลัดทบวงตาม
มาตรา ๒๕ วรรคสาม จะให้สานักงานปลดั สานกั นายกรัฐมนตรีทาหนา้ ทส่ี านกั งานปลดั ทบวงด้วยก็ได้

หมวด ๒
การจดั ระเบยี บราชการในกระทรวงหรือทบวง

มาตรา ๑๘ ให้จัดระเบียบราชการของกระทรวงดงั นี้
(๑) สานักงานรฐั มนตรี
(๒) สานกั งานปลัดกระทรวง
(๓) กรม หรือสว่ นราชการทเี่ รียกช่ืออย่างอื่น เว้นแต่บางกระทรวงเห็นว่าไม่มีความจาเป็นจะไม่
แยกส่วนราชการตั้งข้ึนเป็นกรมก็ได้ ให้ส่วนราชการตาม (๒) และส่วนราชการที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนตาม (๓) มี
ฐานะเป็น กรม
กระทรวงใดมีความจาเป็นจะต้องมีส่วนราชการเพ่ือทาหน้าที่จัดทานโยบายและแผน กากับ
เร่งรัด และติดตามนโยบายและแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง จะจัดระเบียบบริหารราชการโดยอนุมัติ
คณะรฐั มนตรเี พอ่ื ใหม้ สี านกั นโยบายและแผนเปน็ สว่ นราชการภายในข้ึนตรงต่อรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงก็ได้

-21-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

ในกระทรวงจะตราพระราชกฤษฎีกาจัดตัง้ ส่วนราชการเพื่อรบั ผดิ ชอบภาระหน้าที่ใด โดยเฉพาะ

ซ่ึงไม่มีฐานะเป็นกรมแต่มีผู้บังคับบัญชาของส่วนราชการดังกล่าวเป็นอธิบดีหรือตาแหน่งท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนที่มี

ฐานะเป็นอธิบดีก็ได้ในกรณีเช่นน้ันให้อธิบดีหรือผู้ดารงตาแหน่งที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนดังกล่าวมีอานาจหน้าที่

สาหรับส่วนราชการน้ันเช่นเดียวกับอธิบดีตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา และให้คณะอนุกรรมการสามัญ

ประจากระทรวงทาหน้าทีค่ ณะอนกุ รรมการสามญั ประจากรม สาหรบั สว่ นราชการน้นั

การตราพระราชกฤษฎีกาตามวรรคส่ีให้กระทาได้ในกรณีเป็นการยุบ รวม หรือโอน กรมใน

กระทรวงใดมาจดั ตัง้ เป็นส่วนราชการตามวรรคส่ใี นกระทรวงน้ันหรือกระทรวงอ่ืน โดยไม่มีการกาหนดตาแหน่ง

หรอื อตั ราของข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มข้ึน และให้นาความในมาตรา ๘ ทวิและ มาตรา ๘ เบญจ มาใช้บังคับ

โดยอนโุ ลม

การแต่งตั้งอธบิ ดีหรือผ้ดู ารงตาแหนง่ ท่เี รียกชอื่ อยา่ งอ่ืนของส่วนราชการตามวรรคสี่ ให้รัฐมนตรี

เจ้าสังกัดเป็นผู้นาเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาอนุมัติและให้ผู้ดารงตาแหน่งดังกล่าว เป็นผู้ดารงตาแหน่ง

ระดบั สูงตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยการปูองกนั และปราบปรามการทจุ รติ

ก่อนทค่ี ณะรัฐมนตรีจะให้ความเห็นชอบในร่างพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งส่วนราชการ ตามวรรคส่ี

ของกระทรวงใด ให้นายกรัฐมนตรีส่งรา่ งพระราชกฤษฎกี าดังกลา่ วตอ่ สภาผแู้ ทนราษฎร และวุฒิสภาเพื่อทราบ

ให้นาความในวรรคส่ี วรรคห้า วรรคหก และวรรคเจ็ด มาใช้บังคับกับสานักนายกรัฐมนตรีและ

ทบวงตามหมวด ๓ โดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๙ กระทรวงมอี านาจหน้าทต่ี ามทก่ี าหนดไวใ้ นกฎหมายวา่ ด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม

การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหนึง่ ๆ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าดว้ ยการปรับปรุงกระทรวง

ทบวง กรม ส่วนการจดั ระเบยี บราชการในกระทรวงที่เก่ียวกับการทหารและการศึกษา ให้เป็นไปตามกฎหมาย

วา่ ด้วยการนน้ั

ออกบ่อย มาตรา ๑๙/๑ ให้ปลัดกระทรวง หัวหน้ากลุ่มภารกิจและหัวหน้าส่วนราชการ ต้ังแต่ระดับกรม

ขึ้นไป วางแผนและประสานกิจกรรมให้มีการใช้ทรัพยากรของส่วนราชการต่าง ๆ ในกระทรวงร่วมกันเพื่อให้

เกดิ ประสิทธภิ าพ ความค้มุ ค่า และบรรลุเปาู หมายของกระทรวง

เพ่ือประโยชน์ในการดาเนินการตามวรรคหน่ึง หัวหน้าส่วนราชการและหัวหน้ากลุ่ม ภารกิจ
ดงั กล่าวจะมมี ตใิ หน้ างบประมาณทแี่ ต่ละสว่ นราชการได้รับจัดสรรมาดาเนินการและใช้จ่ายร่วมกันกไ็ ด้

มาตรา ๒๐ ภายใตบ้ ังคับบทบัญญัติมาตรา ๑๑ ในกระทรวงหนึ่ง ให้มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
คนหนึง่ เปน็ ผู้บงั คับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการกาหนดนโยบาย เปูาหมาย และผลสัมฤทธ์ิของงาน
ในกระทรวงให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภาหรือท่ีคณะรัฐมนตรีกา หนดหรืออนุมัติ
โดยจะให้มรี ฐั มนตรีช่วยวา่ การกระทรวงเปน็ ผชู้ ่วยสง่ั และปฏิบัตริ าชการกไ็ ด้

ในกรณที ี่มรี ฐั มนตรีช่วยว่าการกระทรวง การสั่งหรือการปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีช่วยว่าการ
กระทรวงให้เปน็ ไปตามที่รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมอบหมาย

-22-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ในกรณที ีร่ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงเปน็ ผู้บงั คับบญั ชาสว่ นราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น และมีฐานะ
เป็นกรม แต่มิได้สังกัดกระทรวง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงจะมอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงปฏิบัติ
ราชการแทนก็ได้

ออกบ่อย มาตรา ๒๑ ในกระทรวงให้มปี ลัดกระทรวงคนหน่ึงมีอานาจหนา้ ทด่ี ังนี้

(๑) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนการ

ปฏบิ ัตริ าชการ กากับการทางานของสว่ นราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์และประสานการปฏิบัติงานของ

ส่วนราชการในกระทรวงให้มีเอกภาพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ

ของส่วนราชการในกระทรวง

(๒) เปน็ ผ้บู ังคบั บญั ชาขา้ ราชการของส่วนราชการในกระทรวงรองจากรฐั มนตรี

(๓) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในการปฏิบัติ

ราชการของสานกั งานปลดั กระทรวง

ในการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงตามวรรคหนึ่ง จะให้มีรองปลัดกระทรวงคนหน่ึงเป็น
ผชู้ ว่ ยส่ังและปฏิบตั ิราชการตามที่ปลัดกระทรวงมอบหมายกไ็ ด้

ภายในกระทรวงจะออกกฎกระทรวง กาหนดให้ส่วนราชการระดับกรมต้ังแต่สองส่วนราชการ
ขึ้นไปอยู่ภายใต้กลุ่มภารกิจเดียวกันก็ได้ โดยให้แต่ละกลุ่มภารกิจมีผู้ดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีคนหนึ่งเป็น
หัวหนา้ กลุม่ ภารกจิ รบั ผิดชอบราชการและบังคับบัญชาข้าราชการของสว่ นราชการในกลุม่ ภารกิจนนั้ โดยปฏิบัติ
ราชการขึน้ ตรงตอ่ ปลดั กระทรวงหรือข้นึ ตรงตอ่ รัฐมนตรีตามท่ีกาหนดโดยกฎกระทรวง และในกรณีที่ข้ึนตรงต่อ
รฐั มนตรีตอ้ งรายงานผลการดาเนินงานต่อปลดั กระทรวงตามทกี่ าหนดโดยกฎกระทรวง

ในกลุ่มภารกิจเดียวกัน หัวหน้ากลุ่มภารกิจอาจส่วนกาหนดให้ราชการของส่วนราชการระดับ
กรมแห่งหน่ึงปฏิบัติงานที่เก่ียวกับสารบรรณ บุคลากร การเงิน การพัสดุ หรือการบริหารงานท่ัวไปให้แก่ส่วน
ราชการแห่งอน่ื ภายใต้กลมุ่ ภารกจิ เดียวกันกไ็ ด้

กระทรวงใดมิได้จัดให้มีกลุ่มภารกิจ และมีปริมาณงานมาก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็นผู้ช่วย
สั่งและปฏบิ ตั ริ าชการเพิม่ ขนึ้ เปน็ สองคนก็ได้

ในกรณีที่กระทรวงใดมีการจัดกลุ่มภารกิจ จะให้มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นหัวหน้ากลุ่ม
ภารกจิ ก็ได้และให้อานาจหน้าทข่ี องปลดั กระทรวงท่ีเก่ียวกับราชการของส่วนราชการในกลุ่มภารกิจเป็นอานาจ
หนา้ ทีข่ องหัวหน้ากลุ่มภารกจิ นั้น ทง้ั นเี้ วน้ แตจ่ ะมีกฎกระทรวงกาหนดไวเ้ ป็นอย่างอืน่

ควรจา

กระทรวงใดมีภารกิจเพ่ิมข้ึน และมีความจาเป็นอย่างยิ่งต้องมีรองปลัดกระทรวง มากกว่าที่
กาหนดไว้ ในวรรคห้าหรือวรรคหก คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
จะรว่ มกันอนมุ ตั ใิ หก้ ระทรวงน้นั มรี องปลดั กระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นกรณีพเิ ศษ โดยจะกาหนดเงื่อนไขหรือเง่ือนเวลา
ไวด้ ว้ ยหรอื ไม่ก็ได้

-23-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

ในการดาเนินการตามวรรคเจ็ด ให้คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจัดให้มีการประชุม
พจิ ารณาร่วมกัน โดยกรรมการแต่ละฝุายจะต้องมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งจึงจะเป็นองค์ประชุม และในการ
ออกเสียงลงมติจะต้องได้คะแนนเสียงของกรรมการแต่ละฝุายเกินกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการฝุ ายดังกล่าวท่ีมา
ประชุมแลว้ ให้นามตดิ งั กล่าวเสนอคณะรฐั มนตรีพจิ ารณาตอ่ ไป

ควรจา มาตรา ๒๒ สานักงานรัฐมนตรีมีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการ
รัฐมนตรี ซึ่งเป็นข้าราชการการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ
สานักงานรัฐมนตรีข้ึนตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวง และจะให้มีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้าราชการ
การเมอื งคนหนงึ่ หรอื หลายคนเป็นผูช้ ว่ ยส่งั หรือปฏิบตั ิราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรกี ไ็ ด้

ออกบอ่ ย มาตรา ๒๓ สานักงานปลัดกระทรวงมีอานาจหน้าที่เก่ียวกับราชการประจาทั่วไปของกระทรวง

และราชการท่ีคณะรัฐมนตรีมิได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัดกระทรวงโดยเฉพาะ รวมทั้ง

กากับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงให้เป็นไปตามนโยบายแนวทาง และแผนการ

ปฏิบัติราชการของกระทรวง

ในกรณีท่ีกระทรวงมีทบวงอยู่ในสังกัดและยังไม่สมควรจัดตั้งสานักงานปลัดทบวง ตามมาตรา
๒๕ วรรคสาม จะใหส้ านักงานปลัดกระทรวงทาหนา้ ที่สานกั งานปลดั ทบวงด้วยก็ได้

มาตรา ๒๔ การจัดระเบยี บราชการในทบวงซ่ึงมฐี านะเทยี บเท่ากระทรวง ให้อนุโลม ตามการจัด
ระเบยี บราชการของกระทรวงซึง่ บัญญตั ิไวใ้ นมาตรา ๑๘ ถึงมาตรา ๒๓

หมวด ๓
การจดั ระเบียบราชการในทบวงซงึ่ สังกัดสานกั นายกรฐั มนตรหี รือกระทรวง

มาตรา ๒๕ ราชการส่วนใดซ่ึงโดยสภาพและปริมาณของงานไม่เหมาะสมท่ีจะจัดตั้ง เป็น
กระทรวงหรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง จะจัดตั้งเป็นทบวงสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี หรือกระทรวง
เพื่อให้มีรัฐมนตรีว่าการทบวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของทบวงก็ได้
และใหจ้ ดั ระเบียบราชการในทบวงดังน้ี

(๑) สานักงานรัฐมนตรี
(๒) สานักงานปลดั ทบวง
(๓) กรม หรือส่วนราชการท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืน เว้นแต่บางทบวงซึ่งเห็นว่าไม่มีความจาเป็นจะไม่
แยกสว่ นราชการต้ังข้ึนเปน็ กรมก็ได้
ใหส้ ว่ นราชการตาม (๒) และส่วนราชการท่ีเรียกช่อื อย่างอนื่ ตาม (๓) มีฐานะเป็น กรม
ในกรณีที่สานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวงมีทบวงอยู่ในสังกัด และปริมาณและคุณภาพของ
ราชการในทบวงยังไมส่ มควรจัดตงั้ สานกั งานปลดั ทบวง จะให้สานกั งานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือสานักงาน
ปลัดกระทรวงทาหนา้ ท่สี านกั งานปลัดทบวงด้วยก็ได้

-24-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

มาตรา ๒๖ การจัดระเบียบราชการในทบวงหนึ่ง ๆ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุง
กระทรวง ทบวง กรม ส่วนการจัดระเบยี บราชการในทบวงมหาวทิ ยาลัย ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการน้ัน

ทบวง มีอานาจหนา้ ทีต่ ามท่กี าหนดไว้ในกฎหมายวา่ ดว้ ยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
มาตรา ๒๗ ภายใต้บังคับบทบัญญัติมาตรา ๑๑ ทบวงหน่ึงมีรัฐมนตรีว่าการทบวง เป็น
ผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และกาหนดนโยบายของทบวงให้สอดคล้องกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรือ
อนุมัติและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของทบวง และจะให้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการทบวงเป็นผู้ช่วยสั่งและ
ปฏิบตั ริ าชการกไ็ ด้
ในกรณีท่ีมีรัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง การสั่งหรือการปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีช่วยว่าการ
ทบวงให้เปน็ ไปตามที่รฐั มนตรวี า่ การทบวงมอบหมาย
ในกรณีที่เป็นทบวงสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ให้รัฐมนตรีว่าการทบวง ปฏิบัติ
ราชการภายใตก้ ารกากับของนายกรัฐมนตรหี รอื รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงแลว้ แต่กรณี
มาตรา ๒๘ ทบวง นอกจากมีรัฐมนตรีว่าการทบวงและรัฐมนตรชี ว่ ยว่าการทบวง ใหม้ ีปลัดทบวง
คนหนงึ่ มีอานาจหน้าทีด่ ังนี้
(๑) รบั ผดิ ชอบควบคมุ ราชการประจาในทบวง กาหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของ
ทบวง และลาดับความสาคัญของแผนการปฏิบัติราชการประจาปีของส่วนราชการในทบวงให้เป็นไปตาม
นโยบายที่รัฐมนตรีกาหนด รวมทั้งกากับ เรง่ รดั ติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ริ าชการของส่วนราชการในทบวง
(๒) เป็นผู้บังคับบญั ชาขา้ ราชการของส่วนราชการในทบวงรองจากรฐั มนตรี
(๓) เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดทบวงและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ
ของสานักงานปลดั ทบวง
ในการปฏิบัติราชการของปลัดทบวงตามวรรคหนึ่ง ให้มีรองปลัดทบวงเป็นผู้ช่วยส่ัง และปฏิบัติ
ราชการ และจะให้มผี ู้ช่วยปลัดทบวงเป็นผชู้ ว่ ยสัง่ และปฏิบตั ิราชการดว้ ยก็ได้
ในกรณที มี่ รี องปลดั ทบวงหรอื ผู้ช่วยปลัดทบวง หรือมีทั้งรองปลัดทบวงและผู้ช่วยปลัดทบวง ให้
รองปลัดทบวงหรือผู้ช่วยปลัดทบวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการรองจาก
ปลดั ทบวง
ให้รองปลัดทบวง ผู้ช่วยปลัดทบวง และผู้ดารงตาแหน่งท่ีเรียกช่ืออย่างอื่นใน สานักงานปลัด
ทบวง มอี านาจหน้าท่ีตามทป่ี ลดั ทบวงกาหนดหรือมอบหมาย
ในกรณีท่ีปลัดทบวงจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสั่งใด หรือมติของ
คณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถา้ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสั่งน้ัน หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องน้ันมิได้
กลา่ วถงึ อานาจของปลดั ทบวงไวใ้ ห้ปลัดทบวงมีอานาจดงั เช่น ปลดั กระทรวง
ในกรณที ่ใี หส้ านกั งานปลัดสานักนายกรัฐมนตรีหรือสานักงานปลัดกระทรวงทาหน้าท่ีสานักงาน
ปลัดทบวง ให้ปลดั สานักนายกรัฐมนตรหี รอื ปลดั กระทรวงทาหน้าทป่ี ลดั ทบวง

-25-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ควรจา

มาตรา ๒๙ สานักงานเลขานุการรัฐมนตรีมีอานาจหน้าท่ีเกี่ยวกับราชการทางการเมือง
มีเลขานุการรัฐมนตรี ซ่ึงเป็นข้าราชการการเมืองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติ

ราชการของสานักงานรัฐมนตรีข้ึนตรงต่อรัฐมนตรีว่าการทบวง และจัดให้มีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีซ่ึงเป็น
ข้าราชการการเมืองคนหนึง่ หรือหลายคนเปน็ ผ้ชู ว่ ยสั่งหรือปฏิบัติราชการแทนเลขานกุ ารรัฐมนตรีกไ็ ด้

มาตรา ๓๐ สานักงานปลัดทบวงมีอานาจหน้าท่ีเกี่ยวกับราชการประจาท่ัวไปของ ทบวง และ
ราชการที่คณะรัฐมนตรีมิได้กาหนดให้เป็นหน้าท่ีของกรมใดกรมหน่ึงในสังกัดทบวง โดยเฉพาะ รวมทั้งกากับ
และเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในทบวงให้เป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติ
ราชการของทบวง

หมวด ๔
การจดั ระเบียบราชการในกรม

มาตรา ๓๑ กรมซ่ึงสังกัดหรือไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรีกระทรวง หรือทบวง อาจแบ่งส่วน

ราชการดังนี้

(๑) สานกั งานเลขานุการกรม

(๒) กองหรือส่วนราชการที่มีฐานะเทียบกอง เว้นแต่บางกรมเห็นว่าไม่มีความจาเป็น จะไม่แยก

ส่วนราชการต้ังขนึ้ เปน็ กองก็ได้

กรมใดมคี วามจาเปน็ จะแบ่งสว่ นราชการโดยให้มีสว่ นราชการอ่นื นอกจาก (๑) หรอื (๒) กไ็ ด้

สาหรับสานักงานตารวจแห่งชาติจะแบ่งสว่ นราชการใหเ้ หมาะสมกับราชการของตารวจก็ได้

มาตรา ๓2 กรมมีอานาจหน้าทีเ่ กี่ยวกบั ราชการของกระทรวงตามทีก่ าหนดใน กฎกระทรวงแบ่ง

ส่วนราชการของกรม หรอื ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยอานาจหนา้ ที่ของกรมนั้น

ออกบ่อย ในกรมหนึ่งมีอธิบดีคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ

ของกรม ให้เกดิ ผลสัมฤทธิ์และเปน็ ไปตามเปูาหมาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงและใน

กรณีที่มีกฎหมายอ่ืนกาหนดอานาจหน้าท่ีของอธิบดีไว้เป็นการเฉพาะ การใช้อานาจและการปฏิบัติหน้าที่ตาม

กฎหมายดังกล่าวให้คานึงถึงนโยบายท่ีคณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกาหนด หรืออนุมัติ

และนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบตั ริ าชการของกระทรวง ด้วย

ในกรมหน่ึงจะให้มีรองอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการรองจากอธิบดีและช่วยอธิบดีปฏิบัติ

ราชการก็ได้

ออกบ่อย รองอธิบดีมอี านาจหน้าทต่ี ามท่อี ธิบดีกาหนดหรือมอบหมาย

มาตรา ๓๓ สานักงานเลขานุการกรม มีอานาจหน้าท่ีเก่ียวกับราชการท่ัวไปของกรม และ

ราชการที่มิได้แยกให้เป็นหน้าที่ของกองหรือส่วนราชการใดโดยเฉพาะ มีเลขานุการกรม เป็นผู้บังคับบัญชา

ขา้ ราชการ และรบั ผิดชอบในการปฏบิ ตั ิราชการของสานักงานเลขานกุ ารกรม

-26-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

ส่วนราชการตามมาตรา ๓๑ วรรคหนึ่ง (๒) และส่วนราชการตามมาตรา ๓๑ วรรค สอง ให้มี
อานาจหนา้ ท่ตี ามท่ีได้กาหนดไวใ้ ห้เป็นหน้าทีข่ องส่วนราชการนน้ั ๆ โดยให้มีผอู้ านวยการกอง หัวหน้ากอง หรือ
หัวหน้าส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอ่ืนท่ีเทียบเท่าผู้อานวยการกอง หรือหัวหน้ากอง หรือหัวหน้าส่วนราชการ
ออกบ่อยตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง เปน็ ผูบ้ งั คบั บญั ชาขา้ ราชการ และรบั ผดิ ชอบในการปฏิบตั ริ าชการ

มาตรา ๓๔ กระทรวง ทบวง กรมใดมีเหตุพิเศษ จะตราพระราชกฤษฎีกาแบ่งท้องที่ ออกเป็น
เขตเพ่อื ให้มหี วั หนา้ สว่ นราชการประจาเขตแล้วแตจ่ ะเรยี กชอื่ เพ่ือปฏิบัติงานทางวิชาการก็ได้

หัวหน้าส่วนราชการประจาเขตมีอานาจหน้าที่เป็นผู้รับนโยบายและคาส่ังจาก กระทรวง ทบวง
กรม มาปฏิบัติงานทางวิชาการ และเป็นผ้บู ังคับบญั ชาขา้ ราชการประจาสานักงานเขตซงึ่ สังกัดกระทรวง ทบวง กรมนั้น

ความในมาตราน้ีไม่ใช้บังคับแก่การแบ่งเขตและการปกครองบังคับบัญชาของตารวจ ซึ่งได้
กาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา

มาตรา ๓๕ กระทรวง ทบวง หรือกรมใดโดยสภาพและปริมาณของงานสมควรมี ผู้ตรวจ
ราชการของกระทรวง ทบวง หรอื กรมน้นั กใ็ ห้กระทาได้

ผู้ตรวจราชการของกระทรวง ทบวง หรือกรม มีอานาจหน้าท่ีตรวจและแนะนาการปฏิบัติ
ราชการอนั เก่ยี วกับกระทรวง ทบวง หรอื กรมนน้ั ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ ของกระทรวง
ทบวง หรอื กรมหรอื มตขิ องคณะรฐั มนตรีหรอื การสง่ั การของนายกรัฐมนตรี

มาตรา ๓๖ ส่วนราชการที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนและมีฐานะเป็นกรมจะมีเลขาธิการผู้อานวยการ
หรือตาแหน่งท่ีเรียกช่ืออย่างอื่นซึ่งเทียบเท่าปลัดกระทรวงหรืออธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และ
รบั ผิดชอบในการปฏิบัตริ าชการของสว่ นราชการน้ันใหเ้ ป็นไปตามทกี่ ฎหมายกาหนด และจะใหม้ รี องเลขาธิการ
รองผอู้ านวยการหรือตาแหนง่ รองของตาแหน่งทเ่ี รียกชือ่ อย่างอนื่ หรือ ผชู้ ่วยเลขาธิการ ผู้ช่วยผู้อานวยการหรือ
ตาแหน่งผู้ช่วยของตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น หรือมีทั้งรองเลขาธิการและผู้ช่วยเลขาธิการหรือทั้งรอง
ผู้อานวยการและผู้ช่วยผู้อานวยการ หรือทั้งตาแหน่งรองและตาแหน่งผู้ช่วยของตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น
เป็นผบู้ ังคับบญั ชาข้าราชการ และชว่ ยปฏบิ ัติราชการแทนก็ได้

มาตรา ๓๗ ให้นาความในมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ และ มาตรา ๓๕
มาใช้บงั คับแก่ส่วนราชการทีเ่ รียกช่อื อยา่ งอื่นและมีฐานะเป็นกรมโดยอนโุ ลม

หมวด ๕
การปฏบิ ตั ริ าชการแทน

มาตรา ๓๘ อานาจในการส่ัง การอนญุ าต การอนุมัตกิ ารปฏบิ ตั ริ าชการหรือการดาเนินการอ่ืนท่ี
ผู้ดารงตาแหน่งใดจะพึงปฏิบัติหรือดาเนินการตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคาส่ังใด หรือมติของ
คณะรฐั มนตรใี นเรือ่ งใด ถ้ากฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคาส่ังน้ัน หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้น
มิได้กาหนดเรื่องการมอบอานาจไว้เป็นอย่างอ่ืน หรือมิได้ห้ามเร่ือง การมอบอานาจไว้ผู้ดารงตาแหน่งน้ันอาจ
มอบอานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งอื่นในส่วนราชการเดียวกัน หรือส่วนราชการอื่น หรือผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น
ผู้ปฏิบัติราชการแทนได้ ท้งั นต้ี ามหลกั เกณฑ์ที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา

-27-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหน่ึงอาจกาหนดให้มีการมอบอานาจในเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง ตลอดจน

การมอบอานาจให้ทานิติกรรมสัญญา ฟูองคดีและดาเนินคดีหรือกาหนดหลักเกณฑ์วิธีการ หรือเง่ือนไขในการ

มอบอานาจหรอื ท่ีผู้รบั มอบอานาจตอ้ งปฏิบัติกไ็ ด้

ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับอานาจในการอนุญาตตามกฎหมายท่ีบัญญัติให้ ต้องออก

ใบอนุญาตหรือท่ีบัญญัติผู้มีอานาจอนุญาตไว้เป็นการเฉพาะ ในกรณีเช่นน้ันให้ผู้ดารงตาแหน่ง ซ่ึงมีอานาจตาม

กฎหมายดังกล่าวมีอานาจมอบอานาจให้ข้าราชการซ่ึงเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้ ว่าราชการจังหวัดได้ตาม

ที่เหน็ สมควร หรอื ตามทคี่ ณะรฐั มนตรีกาหนด ในกรณีมอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด

มอี านาจมอบอานาจได้ตอ่ ไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ผี ู้มอบอานาจกาหนด

ในกรณีตามวรรคสาม เพื่อประโยชน์ในการอานวยความสะดวกแก่ประชาชนจะตราพระราช

กฤษฎีกากาหนดรายชื่อกฎหมายท่ีผู้ดารงตาแหน่งซึ่งมีอานาจตามกฎหมายดังกล่าวอาจมอบอานาจตามวรรค

หน่ึงตามหลกั เกณฑแ์ ละเงื่อนไขที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกาดงั กล่าวก็ได้

ออกบ่อย การมอบอานาจให้ทาเปน็ หนงั สือ

มาตรา ๓๙ เม่ือมีการมอบอานาจแล้ว ผู้รับมอบอานาจมีหน้าท่ีต้องรับมอบอานาจน้ัน
โดยผู้มอบอานาจจะกาหนดให้ผู้รับมอบอานาจมอบอานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งอื่นปฏิบัติ ราชการแทนต่อไป
โดยจะกาหนดหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขในการใช้อานาจน้ันไว้ด้วยหรือไม่ก็ได้แต่ในกรณีการมอ บอานาจให้
ผู้ว่าราชการจังหวัด คณะรัฐมนตรีจะกาหนดหลักเกณฑ์ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ต้องมอบอานาจต่อไปให้
รองผู้ว่าราชการจงั หวดั ปลัดจังหวัดหรอื หวั หนา้ สว่ นราชการท่เี กยี่ วขอ้ งในจงั หวัดกไ็ ด้

มาตรา ๔๐ ในการมอบอานาจ ให้ผู้มอบอานาจพิจารณาถึงการอานวยความ สะดวกแก่ประชาชน
ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของ ตาแหน่งของผู้รับมอบอานาจ
และผู้รับมอบอานาจตอ้ งปฏิบัติหนา้ ท่ที ีไ่ ด้รบั มอบอานาจตามวัตถุประสงค์ของการมอบอานาจดังกลา่ ว

เม่ือได้มอบอานาจแล้ว ผู้มอบอานาจมีหน้าที่กากับดูแลและติดตามผลการปฏิบัติราชการของ
ผรู้ ับมอบอานาจ และใหม้ อี านาจแนะนาหรอื แก้ไขการปฏิบตั ิราชการของผูร้ ับมอบอานาจได้

มาตรา ๔๐/๑ ในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการภายในกรม ถ้าการปฏิบัติราชการใดของ
ส่วนราชการนั้นมีลกั ษณะเป็นงานการให้บริการหรือมีการให้บริการเกี่ยวเน่ืองอยู่ด้วย และหากแยกการบริหาร
ออกเป็นหน่วยบริการรูปแบบพิเศษจะบรรลุเปูาหมายตามมาตรา ๓/๑ ย่ิงขึ้น ส่วนราชการดังกล่าวโดยความ
เห็นชอบของคณะรฐั มนตรจี ะแยกการปฏบิ ัตริ าชการในเร่ืองนนั้ ไป จดั ต้ังเป็นหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ซ่ึงมิใช่
เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจแต่อยู่ในกากับของส่วนราชการดังกล่าวก็ได้ ท้ังน้ีให้เป็นไปตามระเบียบสานัก
นายกรัฐมนตรี

ระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยให้กาหนดรายละเอียดเก่ียวกับ การจัดต้ัง
การมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการแทน วิธีการบริหารงาน การดาเนินการด้านทรัพย์สิน การกากับดูแลสิทธิ
ประโยชนข์ องบคุ ลากรและการยุบเลิกไวด้ ว้ ย

-28-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

ควรจา

ให้หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ มีหน้าที่ปฏิบัติงานให้กับส่วนราชการตามภารกิจที่จัดต้ังหน่วย
บรกิ ารรปู แบบพเิ ศษนัน้ เปน็ หลัก และสนบั สนุนภารกิจอ่ืนของส่วนราชการดังกล่าวตามท่ีได้รับมอบหมาย และ
อาจให้บริการแก่ส่วนราชการอื่น หน่วยงานของรัฐหรือเอกชน แต่ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อภารกิจ
อนั เป็นวัตถปุ ระสงค์แห่งการจดั ตั้ง

ให้รายได้ของหน่วยบริการรูปแบบพิเศษเป็นรายได้ท่ีไม่ต้องนาส่งคลังตามกฎหมายว่าด้วย
วธิ กี ารงบประมาณและกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง

หมวด ๖

ออกบอ่ ย การรกั ษาราชการแทน

มาตรา ๔๑ ในกรณีท่ีนายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษา

ราชการแทน ถ้ามีรองนายกรัฐมนตรีหลายคน ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหน่ึง

เป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้

คณะรฐั มนตรีมอบหมายใหร้ ัฐมนตรีคนใดคนหน่งึ เปน็ ผู้รักษาราชการแทน

ควรจา มาตรา ๔๒ ในกรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ
ราชการได้ ใหร้ ฐั มนตรชี ่วยว่าการกระทรวงเปน็ ผู้รักษาราชการแทน ถ้ามีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงหลายคน
ให้คณะรัฐมนตรมี อบหมายใหร้ ัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงคนใดคนหน่ึงเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดารง
ตาแหนง่ รฐั มนตรีช่วยว่าการกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้รัฐมนตรี
คนใดคนหนึ่งเปน็ ผู้รักษาราชการแทน ให้นาความในวรรคหน่ึงมาใชบ้ งั คบั แก่รัฐมนตรีว่าการทบวงด้วยโดยอนโุ ลม
มาตรา ๔๓ ในกรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
ใหผ้ ูช้ ว่ ยเลขานกุ ารรฐั มนตรเี ปน็ ผ้รู กั ษาราชการแทน ถ้ามีผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีหลายคน ให้รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมอบหมายใหผ้ ชู้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ช่วยเลขานุการ
รฐั มนตรใี ห้รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงแต่งตั้งข้าราชการในกระทรวงคนหน่ึงเป็นผู้รักษาราชการแทน ให้นาความ
ในวรรคหนึ่งมาใช้บังคบั แก่เลขานกุ ารรฐั มนตรวี ่าการทบวงด้วยโดยอนุโลม
มาตรา ๔๔ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
ให้รองปลัดกระทรวงเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้ามีรองปลัดกระทรวงหลายคนให้นายกรัฐมนตรีสาหรับสานัก
นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแต่งต้ังรองปลัดกระทรวงคน ใดคนหน่ึงเป็นผู้รักษาราชการ แทน
ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้นายกรัฐมนตรีสาหรับสานัก
นายกรฐั มนตรหี รอื รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงแตง่ ตงั้ ข้าราชการในกระทรวงซ่ึงดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีหรือ
เทียบเทา่ เปน็ ผ้รู กั ษาราชการแทน
ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้
ปลัดกระทรวงจะแต่งต้ังข้าราชการในกระทรวงซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้อานวยการกองหรือเทียบเท่า
เปน็ ผู้รักษาราชการแทนก็ได้

-29-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

มาตรา ๔๕ ให้นาความในมาตรา ๔๔ มาใช้บังคับแก่กรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งปลัดทบวงหรือ
รองปลดั ทบวงตามมาตรา ๒๔ หรือมาตรา ๒๘ ด้วยโดยอนุโลม

ควรจา มาตรา ๔๖ ในกรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งอธิบดีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองอธิบดี
เป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้ามีรองอธิบดีหลายคน ให้ปลัดกระทรวงแต่งต้ังรองอธิบดีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษา
ราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองอธิบดีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้ปลัดกระทรวงแต่งต้ัง
ขา้ ราชการในกรมซ่ึงดารงตาแหน่งเทียบเท่ารองอธิบดีหรือข้าราชการต้ังแต่ ตาแหน่งหัวหน้ากองหรือเทียบเท่า
ขึ้นไปคนใดคนหน่ึงเป็นผู้รักษาราชการแทน แต่ถ้านายกรัฐมนตรี สาหรับสานักนายกรัฐมนตรีหรือ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเห็นสมควรเพื่อความเหมาะสมแก่การรับผิดชอบการปฏิบัติราชการในกรมนั้น
นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงจะแต่งต้ัง ข้าราชการคนใดคนหน่ึงซ่ึงดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่ารอง
อธบิ ดหี รือเทยี บเทา่ เปน็ ผูร้ กั ษาราชการแทนก็ได้
ในกรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองอธิบดีหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ อธิบดีจะแต่งตั้ง
ข้าราชการในกรมซ่ึงดารงตาแหน่งเทียบเท่ารองอธิบดีหรือข้าราชการตั้งแต่ตาแหน่งหัวหน้ากองหรือเทียบเท่า
ข้นึ ไปเป็นผ้รู กั ษาราชการแทนก็ได้

ควรจา ให้นาความในวรรคหน่ึงและวรรคสองมาใช้บังคับแก่กรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งเลขาธิการ
ออกบอ่ ย รองเลขาธิการ ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ หรือตาแหน่งที่เรียกช่ืออย่างอื่นซ่ึงเทียบเท่า ปลัดกระทรวงหรือ
อธิบดใี นส่วนราชการท่ีเรียกชอ่ื อย่างอนื่ และมฐี านะเปน็ กรมดว้ ยโดยอนโุ ลม

มาตรา ๔๗ ในกรณที ีไ่ ม่มผี ดู้ ารงตาแหน่งเลขานุการกรมตามมาตรา ๓๓ วรรคหน่ึง หรือหัวหน้า
ส่วนราชการตามมาตรา ๓๓ วรรคสอง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้อธิบดีแต่งตั้งข้าราชการในกรมคน
หนึง่ ซึ่งดารงตาแหน่งไมต่ า่ กว่าหัวหนา้ กองหรือเทยี บเท่าเปน็ ผู้รักษาราชการแทน

ให้นาความในมาตราน้ีมาใช้บังคับแก่ส่วนราชการท่ีเรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรมด้วย
โดยอนโุ ลม

มาตรา ๔๘ ให้ผู้รักษาราชการแทนตามความในพระราชบัญญัติน้ีมีอานาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้
ซ่งึ ตนแทน

ในกรณีท่ีผู้ดารงตาแหน่งใดหรือผู้รักษาราชการแทนผู้ดารงตาแหน่งน้ันมอบหมายหรือมอบ
อานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งอ่ืนปฏิบัติราชการแทนให้ผู้ปฏิบัติราชการแทนมีอานาจหน้าที่ เช่นเดียวกับผู้ซึ่ง
มอบหมายหรือมอบอานาจ

ในกรณีท่ีมีกฎหมายอ่ืนแต่งต้ังให้ผู้ดารงตาแหน่งใดเป็นกรรมการหรือให้มีอานาจหน้าที่อย่างใด
ให้ผรู้ กั ษาราชการแทนหรือผู้ปฏิบัติราชการแทนมีอานาจหน้าท่ีเป็นกรรมการหรือมีอานาจหน้าท่ีเช่นเดียวกับผู้
ดารงตาแหนง่ นัน้ ในการรกั ษาราชการแทนหรอื ปฏบิ ตั ิราชการแทนด้วยแล้วแต่กรณี

-30-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

มาตรา ๔๙ การเป็นผู้รักษาราชการแทนตามพระราชบัญญัติน้ีไม่กระทบกระเทือนอานาจ
นายกรฐั มนตรรี ัฐมนตรเี จา้ สังกดั ปลดั กระทรวง หรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่าปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบดี
หรือผดู้ ารงตาแหน่งเทยี บเท่าอธิบดีซ่ึงเป็นผู้บังคับบัญชาท่ีจะแต่งต้ังข้าราชการอื่นเป็นผู้รักษาราชการแทนตาม
อานาจหน้าท่ีทมี่ ีอย่ตู ามกฎหมาย

ในกรณีท่ีมีการแต่งต้ังผู้รักษาราชการแทนตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ดารงตาแหน่งรองหรือผู้ช่วยพ้น
จากความเป็นผู้รักษาราชการแทนนบั แตเ่ วลาทีผ่ ้ไู ดร้ ับแตง่ ตง้ั ตามวรรคหนึ่งเขา้ รับหน้าที่

มาตรา ๕๐ ความในหมวดนม้ี ใิ หใ้ ชบ้ งั คับแก่ราชการในกระทรวงท่เี ก่ยี วกับทหาร

หมวด ๗
การบรหิ ารราชการในต่างประเทศ

มาตรา ๕๐/๑ ในหมวดนี้
“คณะผู้แทน” หมายความว่า บรรดาข้าราชการฝุายพลเรือน หรือข้าราชการฝุายทหาร
ประจาการในต่างประเทศซ่ึงได้รับแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลใหญ่
สถานกงสุล สถานรองกงสุล ส่วนราชการของกระทรวงการต่างประเทศซึ่งเรียกช่ือเป็นอย่างอ่ืน และปฏิบัติหน้าท่ี
เช่นเดยี วกบั สถานเอกอคั รราชทูตหรือสถานกงสลุ ใหญ่และคณะผู้แทนถาวรไทยประจาองค์การระหว่างประเทศ
“หัวหน้าคณะผู้แทน” หมายความว่า ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศ ซ่ึงได้รับ
แต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งหัวหน้าคณะผู้แทนตามระเบียบพิธีการทูต หรือระเบียบพิธีการกงสุล ในกรณีของคณะ
ผแู้ ทนถาวรไทยประจาองคก์ ารระหว่างประเทศ ให้หมายความว่า ข้าราชการสังกัดส่วนราชการซ่ึงได้รับแต่งตั้ง
ใหด้ ารงตาแหนง่ หัวหนา้ คณะผ้แู ทนถาวรไทยประจาองคก์ ารระหว่างประเทศ
“รองหัวหน้าคณะผู้แทน” หมายความว่า ข้าราชการสังกัดกระทรวงการต่างประเทศ ซ่ึงได้รับ
แต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทนหัวหน้าคณะผู้แทน ในกรณีของคณะผู้แทนถาวร
ไทยประจาองค์การระหว่างประเทศ ให้หมายความว่า ข้าราชการสังกัดส่วนราชการ ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ดารง
ตาแหนง่ ในลักษณะเดยี วกนั
มาตรา ๕๐/๒ ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้รับนโยบายและคาสั่งจากนายกรัฐมนตรีในฐานะ
หัวหน้ารัฐบาล คณะรัฐมนตรีกระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติการให้เหมาะสมกับการปฏิบัติราชการใน
ต่างประเทศ และเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาบุคคลในคณะผู้แทน และจะให้มีรองหัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้ช่วยส่ัง
และปฏบิ ัติราชการแทนหวั หนา้ คณะผูแ้ ทนกไ็ ด้
การส่งั และการปฏบิ ัตริ าชการของกระทรวง ทบวง กรม ต่อบุคคลในคณะผู้แทน ให้เป็นไปตาม
ระเบียบทีค่ ณะรัฐมนตรกี าหนด
หัวหน้าคณะผู้แทนอาจมอบอานาจให้บุคคลในคณะผู้แทนปฏิบัติราชการแทนตาม ระเบียบที่
คณะรัฐมนตรีกาหนด
มาตรา ๕๐/๓ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการ
ได้ให้รองหัวหน้าคณะผ้แู ทนรกั ษาราชการแทน

-31-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

ในกรณีท่ีไม่มีรองหัวหน้าคณะผู้แทนท่ีจะรักษาราชการแทนตามวรรคหน่ึง หรือไม่มีผู้ดารง
ตาแหน่งใดอันเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือมีแต่บุคคลดังกล่าวไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้การรักษาราชการแทน
หวั หนา้ คณะผูแ้ ทนหรือผู้ดารงตาแหน่งใดอันเป็นบุคคลในคณะผแู้ ทน เป็นไปตามระเบียบท่ีคณะรัฐมนตรีกาหนด

ความในวรรคหน่งึ ไม่ใช้บังคบั กับขา้ ราชการฝาุ ยทหารประจาการในต่างประเทศ
มาตรา ๕๐/๔ หัวหน้าคณะผู้แทนมีอานาจและหน้าทดี่ ังนี้
(๑) บรหิ ารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ
(๒) บริหารราชการตามท่ีคณะรัฐมนตรีกระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย หรือ ตามที่
นายกรัฐมนตรีสั่งการในฐานะหวั หน้ารฐั บาล
(๓) บังคับบัญชาบุคคลในคณะผู้แทนและข้าราชการฝุายพลเรือนท่ีมิใช่บุคคลในคณะผู้แทนซ่ึง
ประจาอยู่ในประเทศที่ตนมีอานาจหน้าท่ี เพื่อให้การปฏิบัติราชการเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
หรือคาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรีหรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีใน ฐานะ
หัวหนา้ รฐั บาล
(๔) รายงานข้อเท็จจริงและความเห็นเก่ียวกับผลการปฏิบัติราชการของบุคคลตาม (๓) เพ่ือ
ประกอบการพิจารณาของผบู้ ังคับบัญชาของสว่ นราชการต้นสังกัดเกยี่ วกับการแต่งต้ังและการเล่ือนข้นั เงนิ เดือน
มาตรา ๕๐/๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง รัฐมนตรีว่าการทบวง ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบดีหรือผู้ดารงตาแหน่งเทียบเท่า อาจมอบอานาจให้หัวหน้าคณะผู้แทนปฏิบัติ
ราชการแทนไดใ้ นการน้ีใหน้ าความในมาตรา ๓๘ มาใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลม
เม่ือมีการมอบอานาจตามวรรคหน่ึงโดยชอบแล้ว ผู้รับมอบอานาจมีหน้าที่ต้องรับมอบอานาจ
น้ัน และจะมอบอานาจนั้นให้แก่ผู้อ่ืนต่อไปไม่ได้เว้นแต่เป็นการมอบอานาจต่อไปให้บุคคลในคณะผู้แทนตาม
ระเบียบทีค่ ณะรฐั มนตรีกาหนด
เม่ือได้มีการมอบอานาจแล้ว หัวหน้าคณะผู้แทนมีหน้าท่ีกากับ ติดตามผลการปฏิบัติราชการ
ของผูร้ ับมอบอานาจ และใหม้ อี านาจแนะนาและแกไ้ ขการปฏิบตั ิราชการของผู้รบั มอบอานาจได้

มาตรา ๕๐/๖ การที่กระทรวง ทบวง กรม จะมอบอานาจหรือมีคาสั่งใดท่ีเกี่ยวข้องไปยัง
หวั หนา้ คณะผ้แู ทนใหแ้ จ้งผ่านกระทรวงการตา่ งประเทศ

สว่ นที่ ๒
การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนภมู ิภาค

ควรจา

มาตรา ๕๑ ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาคดงั นี้
(๑) จงั หวดั
(๒) อาเภอ

-32-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

หมวด ๑
จงั หวดั

มาตรา ๕๒ ใหร้ วมทอ้ งท่ีหลาย ๆ อาเภอตง้ั ขน้ึ เปน็ จงั หวดั มีฐานะเป็นนติ บิ ุคคล
การต้งั ยุบ และเปล่ยี นแปลงเขตจังหวัดใหต้ ราเปน็ พระราชบัญญัติ

ควรจา

เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดหรือกลุ่ม
จังหวัดยื่นคาขอจัดต้ังงบประมาณได้ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเง่ือนไขท่ีกาหนดในพระราชกฤษฎีกา
ในกรณนี ใ้ี ห้ถอื ว่าจังหวดั หรือกลุม่ จังหวัดเป็นส่วนราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณ

มาตรา ๕๒/๑ ใหจ้ งั หวัดมอี านาจภายในเขตจงั หวดั ดงั ต่อไปน้ี
(๑) นาภารกจิ ของรัฐและนโยบายของรฐั บาลไปปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผลสมั ฤทธิ์
(๒) ดูแลให้มีการปฏิบัติและบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อย
และเป็นธรรมในสังคม
(๓) จัดให้มีการคุ้มครอง ปูองกัน ส่งเสริม และช่วยเหลือประชาชนและชุมชนที่ด้อยโอกาส
เพอื่ ใหไ้ ด้รับความเปน็ ธรรมท้ังด้านเศรษฐกจิ และสงั คมในการดารงชีวติ อยา่ งพอเพียง
(๔) จดั ใหม้ กี ารบรกิ ารภาครฐั เพ่อื ใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ ถึงได้อย่างเสมอหน้า รวดเรว็ และมคี ณุ ภาพ
(๕) จัดให้มีการส่งเสริม อุดหนุน และสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้สามารถ
ดาเนินการตามอานาจและหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และให้มีขีดความสามารถ พร้อมที่
จะดาเนินการตามภารกิจทไ่ี ดร้ บั การถา่ ยโอนจากกระทรวง ทบวง กรม
(๖) ปฏิบัติหน้าท่ีอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ
มอบหมายหรอื ทมี่ กี ฎหมายกาหนด
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าท่ีของจังหวัดตามวรรคหน่ึง ให้เป็นหน้าท่ีของส่วนราชการและ
หน่วยงานของรัฐที่ประจาอยู่ในเขตจังหวัดท่ีจะต้องปฏิบัติให้สอดคล้องและเป็นไปตามแผนพัฒนาจังหวัดตาม
มาตรา ๕๓/๑
มาตรา ๕๓ ในจังหวัดหน่ึงให้มีคณะกรมการจังหวัด ทาหน้าท่ีเป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัด
ในการบริหารราชการแผน่ ดนิ ในจังหวัดนนั้ กับปฏิบัตหิ นา้ ท่ีอน่ื ตามท่กี ฎหมายหรือมติของคณะรฐั มนตรกี าหนด
คณะกรมการจังหวัดประกอบดว้ ย ผู้ว่าราชการจังหวัดเปน็ ประธาน รองผู้ว่าราชการจังหวัดหนึ่ง
คนตามที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายปลัดจังหวัด อัยการจังหวัดซึ่งเป็นหัวหน้าท่ีทาการอัยการจังหวัด
ผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัด และหัวหน้าส่วนราชการประจาจังหวัดจากกระทรวง และทบวงต่าง ๆ เว้นแต่
กระทรวงมหาดไทยซึ่งประจาอยู่ในจังหวัด กระทรวง หรือทบวงละหนึ่งคน เป็นกรมการจังหวัดและหัวหน้า
สานกั งานจังหวัดเปน็ กรมการจงั หวดั และเลขานกุ าร
ถา้ กระทรวงหรือทบวงมหี วั หน้าส่วนราชการประจาจงั หวดั ซ่งึ กรมต่าง ๆ ในกระทรวงหรือทบวง
น้ันส่งมาประจาอยู่ในจังหวัดมากกว่าหนึ่งคน ให้ปลัดกระทรวงหรือปลัดทบวง กาหนดให้หัวหน้าส่วนราชการ
ประจาจงั หวัดหนง่ึ คนเป็นผู้แทนของกระทรวงหรือทบวงในคณะกรมการจังหวัด

-33-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ในการปฏิบัติหน้าท่ีตามวรรคหน่ึง เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นสมควรจะแต่งตั้งให้หัวหน้าส่วน

ราชการประจาจังหวัดซ่ึงปฏิบัติหน้าที่ในราชการส่วนภูมิภาคคนหน่ึงหรือหลายคนเป็นกรมการจังหวัดเพ่ิมขึ้น

เฉพาะการปฏิบตั ิหน้าที่ใดหน้าที่หน่ึงกไ็ ด้

มาตรา ๕๓/๑ ให้จังหวัดจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมในระดับชาตแิ ละความตอ้ งการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวดั

ในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุม

ปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างหัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานท่ีต้ังทาการอยู่ในจังหวัดไม่ว่าจะเป็นราชการบริหาร

ส่วนภูมิภาคหรือราชการบริหารส่วนกลางและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท้ังหมด ในจังหวัดรวมทั้ง

ผูแ้ ทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธรุ กจิ เอกชน

การจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง จานวนและวิธีการสรรหาผู้แทนภาคประชาสังคม

และผูแ้ ทนภาคธุรกิจเอกชนตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการทกี่ าหนดในพระราชกฤษฎกี า

เม่ือประกาศใช้แผนพัฒนาจังหวัดแล้ว การจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ินขององค์กรปกครองส่วน

ท้องถิ่นและการดาเนินกิจการของส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐทั้งปวงที่กระทาในพ้ืนท่ีจังหวัดต้อง

สอดคล้องกบั แผนพัฒนาจงั หวัดดงั กล่าว

มาตรา ๕๓/๒ ใหน้ าความในมาตรา ๕๓/๑ มาใช้บังคบั กบั การจดั ทาแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดด้วย

โดยอนุโลม

ออกบอ่ ย มาตรา ๕๔ ในจังหวัดหน่ึง ให้มีผู้ว่าราชการจังหวัดคนหน่ึงเป็นผู้รับนโยบายและคาส่ังจาก

นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาล คณะรัฐมนตรีกระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติการให้เหมาะสมกับท้องที่

และประชาชน และเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการฝุายบริหาร ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในราชการส่วน

ภูมิภาคในเขตจังหวัด และรับผิดชอบในราชการจังหวัดและอาเภอ และจะให้มีรองผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ

ผู้ชว่ ยผู้ว่าราชการจังหวัด หรือท้ังรองผู้ว่าราชการจังหวัดและผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ

ราชการแทนผวู้ ่าราชการจงั หวัดกไ็ ด้

รองผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการฝุายบริหาร

ออกบ่อย สว่ นภมู ิภาคในเขตจังหวดั และรบั ผดิ ชอบในราชการรองจากผู้วา่ ราชการจังหวัด
ผวู้ ่าราชการจงั หวดั รองผู้วา่ ราชการจังหวดั และผชู้ ว่ ยผ้วู ่าราชการจังหวัด สงั กดั กระทรวงมหาดไทย

มาตรา ๕๕ ในจังหวัดหน่ึง นอกจากจะมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นหัวหน้าปกครอง บังคับบัญชา

ข้าราชการ และรับผิดชอบงานบริหารราชการของจังหวัดดังกล่าวในมาตรา ๕๔ ให้มีปลัดจังหวัดและหัวหน้า

สว่ นราชการประจาจังหวัด ซ่ึงกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ส่งมาประจาทาหน้าท่ีเป็นผู้ช่วยเหลือผู้ว่าราชการจังหวัด

ออกบอ่ ย และมอี านาจบังคบั บัญชาขา้ ราชการฝุายบริหารสว่ นภมู ิภาคซึ่งสงั กดั กระทรวง ทบวง กรมนั้นในจังหวัดนน้ั

มาตรา ๕๕/๑ ในจังหวดั หน่งึ นอกจากกรุงเทพมหานคร ให้มีคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด

คณะหน่งึ เรยี กโดยย่อวา่ “ก.ธ.จ.” ทาหน้าที่สอดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐใน

จงั หวดั ใหใ้ ชว้ ิธกี ารบริหารกจิ การบา้ นเมืองทีด่ แี ละเป็นไปตามหลักการที่กาหนดไว้ในมาตรา ๓/๑

-34-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

ก.ธ.จ. ประกอบด้วยผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรีซ่ึงมีเขตอานาจในจังหวัดเป็นประธาน

ผู้แทนภาคประชาสังคม ผู้แทนสมาชิกสภาท้องถ่ินที่ไม่ได้ดารงตาแหน่งผู้บริหารและผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน

ทัง้ นจ้ี านวน วธิ กี ารสรรหา และการปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ อง ก.ธ.จ. ให้เปน็ ไปตามระเบียบสานักนายกรฐั มนตรี

ในกรณที ่ี ก.ธ.จ. พบวา่ มีการละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ หรือมีกรณีท่ี

เป็นการทุจริต ให้เป็นหน้าที่ของ ก.ธ.จ. ท่ีจะต้องแจ้งให้ผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ

หรอื หน่วยงานอน่ื ของรฐั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง แลว้ แต่กรณีเพื่อดาเนินการตามอานาจหนา้ ท่ตี ่อไป

มาตรา ๕๖ ในกรณีที่ไม่มีผู้ดารงตาแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้

ให้รองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองผู้ว่าราชการจังหวัด หรือมีแต่ไม่

อาจปฏิบัติราชการได้ให้ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผู้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยผู้ว่า

ราชการจังหวัด หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้ปลัดจังหวัดเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้ามีรองผู้ว่าราชการ

จังหวัด ผู้ช่วยผู้ว่าราชการจังหวัด หรือปลัดจังหวัดหลายคน ให้ปลัดกระทรวงแต่งต้ังรองผู้ว่าราชการจังหวัด

ผูช้ ว่ ยผู้วา่ ราชการจงั หวดั หรือปลัดจังหวัดคนใดคนหน่ึง แล้วแต่กรณีเป็นผู้รักษาราชการแทน ถ้าไม่มีท้ังผู้ดารง

ตาแหน่งรองผวู้ ่าราชการจังหวดั ผูช้ ่วยผู้วา่ ราชการจงั หวดั และปลัดจงั หวดั หรอื มีแต่ไมอ่ าจปฏบิ ัติราชการได้ให้

หัวหนา้ สว่ นราชการประจา จังหวัดซึ่งมอี าวุโสตามระเบียบแบบแผนของทางราชการเปน็ ผู้รักษาราชการแทน

ออกบ่อย มาตรา ๕๗ ผวู้ ่าราชการจงั หวดั มอี านาจและหนา้ ท่ีดังนี้

(๑) บริหารราชการตามกฎหมาย ระเบยี บแบบแผนของทางราชการ และตามแผนพัฒนาจังหวัด

(๒) บริหารราชการตามท่ีคณะรัฐมนตรีกระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามท่ี

นายกรฐั มนตรีสง่ั การในฐานะหัวหน้ารัฐบาล

(๓) บริหารราชการตามคาแนะนาและคาชี้แจงของผู้ตรวจราชการกระทรวงในเมื่อ ไม่ขัดต่อกฎหมาย

ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสง่ั ของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรหี รือการสัง่ การของนายกรัฐมนตรี

(๔) กากับดูแลการปฏิบัติราชการอันมิใช่ราชการส่วนภูมิภาคของข้าราชการซ่ึงประจาอยู่ใน

จังหวัดน้ัน ยกเว้นข้าราชการทหาร ข้าราชการฝุายตุลาการ ข้าราชการฝุายอัยการ ข้าราชการพลเรือนใน

มหาวิทยาลัย ข้าราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดินและข้าราชการครูให้ปฏิบัติราชการให้เป็นไปตาม

กฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคับ หรอื คาสง่ั ของกระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรีหรือการสั่งการของ

นายกรัฐมนตรีหรือยับยั้งการกระทาใด ๆ ของข้าราชการในจังหวัดท่ีขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ

คาส่งั ของกระทรวง ทบวง กรม มตขิ องคณะรัฐมนตรี หรือการส่ังการของนายกรัฐมนตรีไว้ช่ัวคราวแล้วรายงาน

กระทรวง ทบวง กรม ท่ีเก่ียวข้อง

(๕) ประสานงานและรว่ มมือกับข้าราชการทหาร ขา้ ราชการฝุายตุลาการ ข้าราชการฝุายอัยการ

ขา้ ราชการพลเรอื นในมหาวทิ ยาลัย ขา้ ราชการในสานักงานตรวจเงินแผ่นดินและ ข้าราชการครูผู้ตรวจราชการ

และหวั หน้าสว่ นราชการในระดบั เขตหรือภาค ในการพัฒนาจังหวัดหรือ ปอู งปดั ภัยพบิ ัติสาธารณะ

(๖) เสนองบประมาณต่อกระทรวงที่เก่ียวข้อง หรือเสนอขอจัดต้ังงบประมาณต่อสานัก

งบประมาณตามมาตรา ๕๒ วรรคสาม และรายงานให้กระทรวงมหาดไทยทราบ

-35-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

(๗) กากบั ดแู ลการบรหิ ารราชการสว่ นทอ้ งถ่ินตามกฎหมาย
(๘) กากบั การปฏบิ ัติหน้าที่ของพนักงานองคก์ ารของรัฐบาลหรอื รัฐวิสาหกจิ ในการน้ีให้มีอานาจ
ทารายงานหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงานขององค์การของรัฐบาลหรือ รัฐวิสาหกิจต่อรัฐมนตรี
เจ้าสงั กัดองค์การของรัฐบาลหรอื รฐั วิสาหกจิ
(๙) บรรจุแต่งต้ัง ให้บาเหน็จ และลงโทษข้าราชการส่วนภูมิภาคในจังหวัดตามกฎหมาย และ
ตามที่ปลัดกระทรวง ปลดั ทบวง หรืออธิบดีมอบหมาย

ควรจา

มาตรา ๕๘ การยกเว้น จากัด หรือตัดทอน อานาจหน้าท่ีของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหาร
ราชการในจังหวัด หรือให้ข้าราชการของส่วนราชการใดมีอานาจหน้าท่ีในการบริหารราชการส่วนภูมิภาค
เช่นเดยี วกับผ้วู ่าราชการจังหวัดจะกระทาไดโ้ ดยตราเป็นพระราชบัญญัติ

มาตรา ๕๙ ให้นาความในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ มาใช้บังคับแก่ผู้รักษาราชการแทนและผู้

ปฏบิ ัตริ าชการแทนตามหมวดนี้

ออกบอ่ ย มาตรา ๖๐ ให้แบง่ ส่วนราชการของจังหวัดดังน้ี

(๑) สานกั งานจังหวดั มหี น้าทเ่ี กย่ี วกับราชการท่ัวไปและการวางแผนพัฒนาจังหวัดของจังหวัดนั้นมี

หวั หนา้ สานกั งานจงั หวดั เป็นผบู้ ังคับบญั ชาข้าราชการ และรับผิดชอบในการปฏบิ ัติราชการของสานักงานจงั หวดั

(๒) ส่วนตา่ ง ๆ ซึง่ กระทรวง ทบวง กรม ได้ตัง้ ขึ้น มหี นา้ ทีเ่ กยี่ วกบั ราชการของ กระทรวง ทบวง

กรมนั้น ๆ มหี วั หน้าสว่ นราชการประจาจงั หวัดนน้ั ๆ เป็นผปู้ กครองบงั คบั บญั ชารับผิดชอบ

หมวด ๒
อาเภอ

มาตรา ๖๑ ในจงั หวัดหนงึ่ ให้มีหน่วยราชการบริหารรองจากจังหวัดเรยี กวา่ อาเภอ
การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอาเภอ ใหต้ ราเปน็ พระราชกฤษฎกี า
มาตรา ๖๑/๑ ให้อาเภอมอี านาจหนา้ ทีภ่ ายในเขตอาเภอ ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) อานาจและหน้าท่ีตามท่ีกาหนดในมาตรา ๕๒/๑ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) โดยให้นา
ความในมาตรา ๕๒/๑ วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนโุ ลม
(๒) ส่งเสริม สนับสนุน และจัดให้มีการบริการร่วมกันของหน่วยงานของรัฐในลักษณะ
ศูนย์บริการร่วม
(๓) ประสานงานกบั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพื่อร่วมมือกับชุมชนในการดาเนินการให้มีแผน
ชุมชน เพ่อื รองรับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จงั หวัด และกระทรวง ทบวง กรม
(๔) ไกล่เกลี่ยหรอื จดั ใหม้ ีการไกล่เกลี่ยประนอมขอ้ พพิ าทเพ่ือให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
ตามมาตรา ๖๑/๒ และมาตรา ๖๑/๓

ออกบ่อย -36-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

มาตรา ๖๑/๒ ในอาเภอหนึ่ง ให้มีคณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทของ

ประชาชนที่คู่กรณีฝุายใดฝุายหนึ่งมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตอาเภอ ในเร่ืองที่พิพาททางแพ่ง เก่ียวกับที่ดิน มรดก

และข้อพพิ าททางแพ่งอ่นื ที่มที ุนทรัพย์ไมเ่ กนิ สองแสนบาท หรอื มากกว่าน้ัน ตามทีก่ าหนดในพระราชกฤษฎีกา

ให้นายอาเภอโดยความเหน็ ชอบของคณะกรมการจังหวัดจัดทาบัญชีรายชื่อบุคคลท่ีจะทาหน้าท่ี
เป็นคณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท โดยคัดเลือกจากบุคคลท่ีมีความรู้หรือมี
ประสบการณเ์ หมาะสมกับการทาหนา้ ทีไ่ กลเ่ กลย่ี ข้อพิพาท

เมื่อมีข้อพิพาทเกิดขึ้นและคูพ่ พิ าทตกลงยินยอมให้ใช้วธิ ีการไกล่เกล่ียข้อพิพาท ให้คู่พิพาทแต่ละ
ฝาุ ยเลอื กบคุ คลจากบัญชีรายชื่อตามวรรคสองฝุายละหนง่ึ คน และให้นายอาเภอ พนักงานอัยการประจาจังหวัด
หรือปลัดอาเภอที่ได้รับมอบหมายคนหน่ึงเป็นประธาน เพื่อทาหน้าท่ีเป็นคณะบุคคลผู้ทาหน้าท่ีไกล่เกลี่ยและ
ประนอมขอ้ พิพาท

ใหค้ ณะบคุ คลผทู้ าหนา้ ท่ไี กลเ่ กล่ียและประนอมข้อพิพาทมีอานาจหน้าที่รับฟังข้อพิพาทโดยตรง
จากค่พู ิพาท และดาเนินการไกล่เกลี่ยให้เกิดข้อตกลงยินยอมร่วมกันระหว่างคู่พิพาทโดยเร็ว ถ้าคู่พิพาททั้งสอง
ฝุายตกลงกันได้ให้คณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกล่ียและประนอมข้อพิพาท จัดให้มีการทาสัญญาประนีประนอม
ยอมความระหว่างคู่พิพาท และให้ถือเอาข้อตกลงตามสัญญาประนีประนอมยอมความมีผลผูกพันคู่พิพาทท้ัง
สองฝุาย ในกรณีท่ีคู่พิพาทไม่อาจตกลงกันได้ให้คณะบุคคลผู้ทาหน้าท่ีไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาทส่ัง
จาหน่ายขอ้ พิพาทนนั้

ข้อตกลงตามวรรคสี่ให้มีผลเช่นเดียวกับคาช้ีขาดของอนุญาโตตุลาการตามกฎหมายว่าด้วย
อนญุ าโตตุลาการ

หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทาบัญชีการดาเนินการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและการจัดทาสัญญา
ประนีประนอมยอมความ ตลอดจนค่าตอบแทนของคณะบุคคลผู้ทาหน้าท่ีไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพาท
ใหเ้ ป็นไปตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง

ในกรณีที่คู่พิพาทฝุายใดฝุายหนึ่งไม่ปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความให้ คู่พิพาทอีก
ฝาุ ยหน่งึ ย่นื คาร้องตอ่ พนกั งานอยั การ และใหพ้ นักงานอัยการดาเนนิ การยนื่ คาร้องตอ่ ศาล ท่ีมีเขตอานาจเพ่ือให้
ออกคาบังคับให้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล่าวโดยให้นากฎหมายว่าด้วยอนุญาโตตุลาการมาใช้
บังคับโดยอนุโลม

เม่ือคณะบุคคลผู้ทาหน้าที่ไกล่เกล่ียและประนอมข้อพิพาทได้รับข้อพิพาทไว้ พิจารณาให้อายุ
ความในการฟูองร้องคดีสะดุดหยุดลง นับแต่วันที่ยื่นข้อพิพาทจนถึงวันที่คณะบุคคล ผู้ทาหน้าท่ีไกล่เกล่ียและ
ประนอมข้อพพิ าทส่งั จาหนา่ ยข้อพิพาทหรอื วันที่คู่พิพาททาสญั ญา ประนีประนอมยอมความกัน แล้วแตก่ รณี

ความในมาตรานใ้ี หใ้ ช้กับเขตของกรุงเทพมหานครดว้ ยโดยอนุโลม
มาตรา ๖๑/๓ บรรดาความผิดท่ีมีโทษทางอาญาที่เกิดข้ึนในเขตอาเภอใดหากเป็นความผิดอัน
ยอมความได้และมิใช่เป็นความผิดเกี่ยวกับเพศ ถ้าผู้เสียหายและผู้ถูกกล่าวหายินยอม หรือแสดงความจานง
ให้นายอาเภอของอาเภอนั้นหรือปลัดอาเภอที่นายอาเภอดังกล่าวมอบหมาย เป็นผู้ไกล่เกล่ียตามควรแก่กรณี
และเมอ่ื ผเู้ สยี หายและผ้ถู กู กลา่ วหายนิ ยอมเป็นหนังสือตามท่ีไกล่เกล่ีย และปฏิบัติตามคาไกล่เกล่ียดังกล่าวแล้ว
ใหค้ ดีอาญาเปน็ อนั เลกิ กันตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา

-37-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

ในกรณที ผี่ ู้เสียหายและผถู้ ูกกล่าวหาไม่ยินยอมตามที่ไกล่เกลี่ย ให้จาหน่ายข้อพิพาทนั้น แต่เพื่อ
ประโยชนใ์ นการท่ีผเู้ สยี หายจะไปดาเนินคดีต่อไป อายุความการร้องทุกข์ตามประมวลกฎหมายอาญาให้เร่ิมนับ
แตว่ ันทจี่ าหน่ายข้อพิพาท

หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ใี นการดาเนนิ การตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๖๒ ในอาเภอหน่ึง มีนายอาเภอคนหน่ึงเป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชาบรรดา
ขา้ ราชการในอาเภอ และรบั ผดิ ชอบงานบริหารราชการของอาเภอ

ออกบอ่ ย

นายอาเภอ สงั กดั กระทรวงมหาดไทย

บรรดาอานาจและหน้าท่ีเกี่ยวกับราชการของกรมการอาเภอหรือนายอาเภอซึ่งกฎหมาย

กาหนดใหก้ รมการอาเภอและนายอาเภอมีอย่ใู หโ้ อนไปเปน็ อานาจและหน้าท่ีของนายอาเภอ

มาตรา ๖๓ ในอาเภอหนึ่ง นอกจากจะมีนายอาเภอเป็นผู้ปกครองบังคับบัญชาและรับผิดชอบ

ดังกล่าวในมาตรา ๖๒ ให้มีปลัดอาเภอและหัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอซ่ึงกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ

ส่งมาประจาให้ปฏิบัติหน้าท่ีเป็นผู้ช่วยเหลือนายอาเภอ และมีอานาจบังคับบัญชาข้าราชการฝุายบริหารส่วน

ภูมิภาคซ่งึ สงั กดั กระทรวง ทบวง กรมน้ัน ในอาเภอนนั้

มาตรา ๖๔ ในกรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งนายอาเภอ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งต้ัง ปลัดอาเภอ

หรือหัวหน้าสว่ นราชการประจาอาเภอผมู้ ีอาวุโสตามระเบยี บแบบแผนของทางราชการ เป็นผูร้ กั ษาราชการแทน

ถ้ามีผู้ดารงตาแหน่งนายอาเภอ แต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ให้นายอาเภอแต่งต้ัง ปลัดอาเภอ

หรือหวั หนา้ ส่วนราชการประจาอาเภอผมู้ อี าวโุ สตามระเบยี บแบบแผนของทางราชการ เป็นผู้รกั ษาราชการแทน

ในกรณีท่ีผู้ว่าราชการจังหวัดหรือนายอาเภอมิได้แต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนไว้ตามวรรคหน่ึง

และวรรคสอง ให้ปลัดอาเภอหรือหัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอผู้มีอาวุโสตามระเบียบแบบแผนของทาง

ราชการ เปน็ ผูร้ ักษาราชการแทน

ออกบอ่ ย มาตรา ๖๕ นายอาเภอมอี านาจและหน้าที่ดงั น้ี

(๑) บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถ้ากฎหมายใดมิได้

บัญญัติว่าการปฏิบัติตามกฎหมายน้ันเป็นหน้าท่ีของผู้ใดโดยเฉพาะ ให้เป็นหน้าท่ีของนายอาเภอท่ีจะต้อง

รกั ษาการให้เปน็ ไปตามกฎหมายนั้นด้วย

(๒) บริหารราชการตามท่ีคณะรัฐมนตรีกระทรวง ทบวง กรม มอบห มายหรือตามท่ี

นายกรัฐมนตรสี ่ังการในฐานะหัวหน้ารฐั บาล

(๓) บรหิ ารราชการตามคาแนะนาและคาชี้แจงของผู้ว่าราชการจังหวัดและผู้มีหน้าที่ตรวจการอื่น

ซึ่งคณะรัฐมนตรีนายกรัฐมนตรีกระทรวง ทบวง กรม และผู้ว่าราชการจังหวัด มอบหมาย ในเม่ือไม่ขัดต่อกฎหมาย

ระเบียบ ขอ้ บงั คับ หรอื คาสง่ั ของกระทรวง ทบวง กรม มตขิ องคณะรัฐมนตรหี รือการสงั่ การของนายกรัฐมนตรี

(๔) ควบคมุ ดูแลการบริหารราชการสว่ นทอ้ งถ่ินในอาเภอตามกฎหมาย

ควรจา

มาตรา ๖๖ ให้แบ่งสว่ นราชการของอาเภอดังน้ี
(๑) สานักงานอาเภอ มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของอาเภอนั้น ๆ มีนายอาเภอ
เป็นผปู้ กครองบงั คบั บญั ชาข้าราชการ และรับผิดชอบ
(๒) ส่วนต่าง ๆ ซ่ึงกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งข้ึนในอาเภอน้ัน มีหน้าที่เกี่ยวกับราชการของ
กระทรวง ทบวง กรมน้ัน ๆ มีหัวหนา้ ส่วนราชการประจาอาเภอนน้ั ๆ เป็นผ้ปู กครองบงั คับบญั ชารับผดิ ชอบ

-38-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

มาตรา ๖๗ ให้นาความในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ มาใช้บังคับแก่ผู้รักษาราชการแทนและผู้
ปฏบิ ัติราชการแทนตามหมวดนี้

มาตรา ๖๘ การจัดการปกครองอาเภอ นอกจากท่ีได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ให้เป็นไป
ตามกฎหมายว่าด้วยการปกครองทอ้ งท่ี

ส่วนท่ี ๓
การจัดระเบยี บบริหารราชการสว่ นท้องถนิ่

มาตรา ๖๙ ทอ้ งถ่นิ ใดทเี่ หน็ สมควรจัดให้ราษฎรมีส่วนในการปกครองท้องถิ่นให้จัดระเบียบการ

ปกครองเป็นราชการสว่ นทอ้ งถนิ่

ออกบ่อย มาตรา ๗๐ ให้จัดระเบยี บบริหารราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ ดังนี้

(๑) องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั

(๒) เทศบาล

(๓) สขุ าภิบาล

(๔) ราชการส่วนท้องถิน่ อื่นตามที่มีกฎหมายกาหนด

มาตรา ๗๑ การจัดระเบียบการปกครององค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล และ
ราชการส่วนทอ้ งถน่ิ อน่ื ตามท่มี ีกฎหมายกาหนด ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนนั้

ส่วนที่ ๔

คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

ออกบ่อย มาตรา ๗๑/๑ ให้มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการคณะหน่ึง เรียกโดยย่อว่า “ก.พ.ร.”

ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธาน รัฐมนตรีหน่ึงคนที่

นายกรัฐมนตรกี าหนดเป็นรองประธาน ผู้ซ่ึงคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

มอบหมายหน่ึงคน และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่เกินสิบคน ซ่ึงคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้มีความรู้ความ

เชี่ยวชาญในทางด้านนิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์การ บริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงินการคลัง

จติ วทิ ยาองค์การ และสังคมวิทยา อย่างน้อยดา้ นละหนงึ่ คน

ในกรณีที่มีความจาเป็นเพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุผลคณะรัฐมนตรีจะกาหนดให้กรรมการ
ผทู้ รงคณุ วุฒิ ไมน่ ้อยกวา่ สามคน แตไ่ ม่เกินหา้ คน ต้องทางานเตม็ เวลาก็ได้

เลขาธกิ าร ก.พ.ร. เปน็ กรรมการและเลขานุการโดยตาแหน่ง
การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาจากรายชื่อบุคคลท่ีได้รับการเสนอ
โดยวิธีการสรรหา ทงั้ นี้ตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารสรรหาท่ีคณะรัฐมนตรีกาหนด
มาตรา ๗๑/๒ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิตอ้ งมคี ุณสมบตั แิ ละไม่มีลกั ษณะต้องห้าม ดงั ต่อไปน้ี
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) ไม่เปน็ บคุ คลลม้ ละลาย คนไรค้ วามสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๓) ไมเ่ คยไดร้ บั โทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ เป็นโทษสาหรับความผิดท่ีได้
กระทาโดยประมาทหรือความผดิ ลหโุ ทษ
(๔) ไมเ่ ป็นผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการหรือผู้ซึ่ง
ดารงตาแหนง่ ซ่ึงรับผิดชอบการบรหิ ารพรรคการเมือง ทป่ี รกึ ษาพรรคการเมืองหรือ เจ้าหน้าทีพ่ รรคการเมือง

-39-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดิษฐ์

(๕) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือ รัฐวิสาหกิจ

เพราะทจุ ริตต่อหนา้ ที่ หรอื ถือวา่ กระทาการทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบในวงราชการ

มาตรา ๗๑/๓ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ มีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสี่ปี ผู้ซึง่ พ้นจากตาแหน่ง

แลว้ อาจไดร้ ับแต่งต้งั อกี ได้ แต่ไม่เกนิ สองวาระตดิ ต่อกนั

ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งตามวาระ แต่ยังมิได้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

ใหม่ ใหก้ รรมการผู้ทรงคุณวุฒินนั้ ปฏบิ ตั หิ น้าที่ไปก่อนจนกวา่ จะได้แตง่ ตั้งกรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ใิ หม่

มาตรา ๗๑/๔ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิ พน้ จากตาแหนง่ เม่ือ

(๑) ตาย

(๒) ลาออก

(๓) ขาดคณุ สมบัติหรือมลี ักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๗๑/๒

(๔) คณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าท่ี มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือหย่อน

ความสามารถ

มาตรา ๗๑/๕ ในกรณีท่ีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระและยังมิได้แต่งตั้ง

กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิแทนตาแหน่งที่ว่าง ใหก้ รรมการทเ่ี หลอื อยูป่ ฏบิ ตั ิหน้าที่ต่อไปได้

เมื่อตาแหน่งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิวา่ งลงก่อนวาระ ให้ดาเนินการแต่งต้ังกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

ภายในสามสิบวัน เว้นแต่วาระของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลือไม่ถึงหนึ่งร้อยแปดสิบวัน จะไม่แต่งต้ังกรรมการ

ผทู้ รงคุณวุฒกิ ็ได้

มาตรา ๗๑/๖ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับแต่งต้ังแทนตาแหน่งที่ว่าง หรือ กรรมการ

ผู้ทรงคณุ วุฒิซ่ึงได้รับแต่งต้ังเพ่ิมขึ้นในระหว่างท่ีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอื่นยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้กรรมการ

ผู้ทรงคณุ วุฒทิ ่ไี ดร้ บั แต่งต้ังมีวาระการดารงตาแหน่งเท่ากับเวลาที่เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิท่ียังอยู่ใน

ตาแหนง่

มาตรา ๗๑/๗ การประชุม ก.พ.ร. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึง ของจานวน

กรรมการท้ังหมดเทา่ ทีม่ ีอยู่ จงึ จะเปน็ องค์ประชุม ไมว่ ่ากรรมการดงั กลา่ วจะเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิท่ีทางาน

เต็มเวลาหรอื ไม่

ในการประชุม ก.พ.ร. ถ้าประธานไม่อยู่ในท่ีประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ให้ รองประธาน

ปฏิบัติหน้าที่แทน ในกรณีท่ีไม่มีรองประธานหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ให้กรรมการที่มาประชุมเลือก

กรรมการคนหนึง่ ทาหนา้ ท่เี ป็นประธานในท่ีประชุม

การวินิจฉัยช้ีขาดให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่ึงให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน

ถา้ มีคะแนนเสียงเท่ากนั ใหป้ ระธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสยี งหน่ึงเป็นเสยี งชข้ี าด

มาตรา ๗๑/๘ การปฏิบัติหน้าที่และค่าตอบแทนของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ต้องทางานเต็ม

ออกบ่อย เวลา ใหเ้ ป็นไปตามท่กี าหนดในพระราชกฤษฎีกา

มาตรา ๗๑/๙ ให้มีสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ เป็นส่วนราชการในสานัก

นายกรัฐมนตรที าหน้าท่ีรบั ผิดชอบงานธรุ การของ ก.พ.ร. และหนา้ ทอี่ ืน่ ตามท่ีกฎหมายหรือ ก.พ.ร. กาหนด โดย

มีเลขาธิการ ก.พ.ร. ซึ่งเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและลูกจ้างของสานักงาน

คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ และรบั ผิดชอบการปฏบิ ัตริ าชการข้ึนตรงตอ่ นายกรฐั มนตรี

-40-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

ควรจา มาตรา ๗๑/๑๐ ก.พ.ร. มอี านาจหน้าทด่ี ังตอ่ ไปนี้
(๑) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเก่ียวกับการพัฒนาระบบราชการ และงานของ

รัฐอย่างอื่น ซ่ึงรวมถึงโครงสร้างระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร มาตรฐานทางคุณธรรมและ
จริยธรรม คา่ ตอบแทน และวิธีปฏิบัติราชการอ่ืน ให้เป็นไปตามมาตรา ๓/ ๑ โดยจะเสนอแนะให้มีการกาหนด
เปูาหมายยุทธศาสตร์และมาตรการกไ็ ด้

(๒) เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่หน่วยงานอ่ืนของรัฐที่มิได้อยู่ในกากับของราชการ ฝุาย
บรหิ ารตามทห่ี นว่ ยงานดังกล่าวรอ้ งขอ

(๓) รายงานต่อคณะรัฐมนตรีในกรณีที่มีการดาเนินการขัดหรือไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ที่
กาหนดในมาตรา ๓/๑

(๔) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือกาหนดหลักเกณฑ์และมาตรฐานในการจัดต้ัง การรวม การโอน
การยุบเลิก การกาหนดชื่อ การเปลี่ยนช่ือ การกาหนดอานาจหน้าที่ และการแบ่งส่วนราชการภายในของส่วน
ราชการทเี่ ป็นกระทรวง ทบวง กรม หรือสว่ นราชการอน่ื

(๕) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกา และกฎท่ีออกตาม
พระราชบัญญตั ิน้ี

(๖) ดาเนินการให้มีการช้ีแจงทาความเข้าใจแก่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้อง และ
ประชาชนทว่ั ไป รวมตลอดทง้ั การฝึกอบรม

(๗) ติดตาม ประเมินผล และแนะนาเพื่อให้มีการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ีและรายงานต่อ
คณะรัฐมนตรพี รอ้ มท้งั ขอ้ เสนอแนะ

(๘) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดข้ึนจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายว่าด้วย
การปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม รวมตลอดท้ังกาหนดแนวทางปฏิบัติในกรณีที่เป็นปัญหา มติของคณะกรรมการ
ตามขอ้ นเ้ี ม่ือไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะรัฐมนตรแี ลว้ ให้ใช้บังคับไดต้ ามกฎหมาย

(๙) เรยี กให้เจ้าหน้าท่หี รือบุคคลอน่ื ใดมาชแี้ จงหรอื แสดงความเห็นประกอบการพจิ ารณา
(๑๐) จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราชการและงานของรัฐอย่างอื่น
เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา
(๑๑) แตง่ ต้ังคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะทางาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ ต่าง ๆ ตามที่
มอบหมาย และจะกาหนดอัตราเบยี้ ประชุมหรอื ค่าตอบแทนอืน่ ดว้ ยกไ็ ด้
(๑๒) ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีอ่นื ตามทกี่ าหนดในพระราชบัญญัตนิ ีห้ รือตามท่คี ณะรฐั มนตรมี อบหมาย

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๗๒ คาว่า “ทบวงการเมือง” ตามกฎหมายอ่ืนที่มีอยู่ก่อนวันท่ี พระราชบัญญัติน้ีใช้
บังคบั ให้หมายความถึงกระทรวง ทบวง กรม ตามพระราชบญั ญัตนิ ้ีแล้วแต่กรณี

มาตรา ๗๓ พระราชกฤษฎีกา และประกาศของคณะปฏิวัติเก่ียวกับการจัดระเบียบราชการใน
สานักงานรัฐมนตรีสานักงานปลัดกระทรวงหรือทบวง กรม และส่วนราชการท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเท่า
กรมหรอื มีฐานะเปน็ กรมทไ่ี ดต้ ราหรอื ประกาศโดยอาศัยอานาจกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินที่ใช้
บังคับอยู่ก่อนวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้คงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้
จนกวา่ จะมพี ระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยการจัดระเบียบราชการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ใชบ้ ังคับแทน

-41-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดิษฐ์

มาตรา ๗๔ พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานรัฐมนตรีและกรม หรือส่วน
ราชการที่เรียกชื่ออย่างอ่ืนและมีฐานะเทียบเท่ากรมหรือมีฐานะเป็นกรมใดยังมิได้ระบุอานาจ หน้าท่ีไว้ตาม
มาตรา ๘ วรรคส่ี ให้ดาเนินการแก้ไขให้เสร็จส้ินภายในสองปีนบั แตว่ นั ทพ่ี ระราชบัญญตั นิ ้ี ใช้บงั คบั

มาตรา ๗๕ บทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ หรือคาสั่งใดอ้างถึง ประกาศของ
คณะปฏวิ ัติฉบับท่ี ๒๑๘ ลงวนั ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ หรืออ้างถึงบทบัญญัติแห่งประกาศของคณะปฏิวัติ
ฉบับที่ ๒๑๘ ลงวนั ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ให้ถอื ว่าบทบญั ญัติแห่ง กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ หรือ
คาสง่ั นน้ั อา้ งถงึ พระราชบัญญตั ินห้ี รือบทบัญญัติแหง่ พระราชบญั ญัตินใี้ นบทมาตราท่ีมีนัยเช่นเดียวกัน แลว้ แต่กรณี

ผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการ
อานันท์ ปนั ยารชุน
นายกรัฐมนตรี

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้คือ โดยที่เป็นการจาเป็นต้องกาหนดขอบเขต
อานาจหนา้ ทีข่ องส่วนราชการต่าง ๆ ให้ชัดเจนเพื่อมิให้มีการปฏิบัติงานซ้าซ้อนกันระหว่าง ส่วนราชการต่าง ๆ
และเพ่ือให้การบริหารงานในระดับกระทรวงมีเอกภาพสามารถดาเนินการให้เป็นไปตามนโยบายท่ีรัฐมนตรี
กาหนดไดแ้ ละสมควรเพ่มิ บทบัญญตั ิเกย่ี วกบั การมอบอานาจให้ปฏิบัติราชการแทนให้ครบถ้วนชัดเจนเพื่อไม่ให้
เป็นอุปสรรคในการปฏบิ ตั ริ าชการ และกาหนดอานาจและหน้าทข่ี องผวู้ ่าราชการจังหวัดในการควบคุมดูแลการ
ปฏิบัติราชการของข้าราชการซึ่งปฏิบัติราชการในเขตจังหวัดให้เหมาะสมข้ึน ประกอบกับประกาศของคณะ
ปฏิวัติฉบับที่ ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ซึ่งเป็นกฎหมายหลักในการบริหารราชการแผ่นดินได้
ประกาศใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว สมควรแก้ไขปรับปรุงเป็นพระราชบัญญัติเสียในคราวเดียวกันจึง
จาเป็นต้องตราพระราชบญั ญตั ิ นี้

พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดนิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ีคือ โดยท่ีพระราชบัญญัติคณะกรรมการ
จัดระบบการจราจรทางบก (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้บัญญัติให้จัดต้ังสานักงานคณะกรรมการ
จัดระบบการจราจรทางบก เป็นส่วนราชการสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีมีเลขาธิการคณะกรรมการ จัดระบบ
การจราจรทางบกเปน็ ผู้บงั คับบญั ชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏบิ ัติราชการ ขึ้นตรงตอ่ นายกรัฐมนตรีใน
การนี้สมควรแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ เสีย
ใหม่ เพ่อื ให้สอดคล้องกนั จงึ จาเปน็ ต้องตราพระราชบญั ญัตนิ ี้

พระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๖๖๘
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้คือ โดยท่ีเป็นการสมควรกาหนดให้ เลขาธิการ
คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการใน
สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริและรับผิดชอบในการ
ปฏิบัติราชการ ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรีและโดยท่ีพระราชบัญญัติ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๓๕ ซ่ึงได้ใช้บังคับแล้วบัญญัติให้จัดตั้งสานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเป็นส่วน
ราชการสังกัดสานักนายกรัฐมนตรีมีเลขาธิการ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติเป็นผู้บังคับบัญชา
ข้าราชการในสานักงาน คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ ขึ้นตรง
ต่อนายกรัฐมนตรีในการนี้ต้องแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึง่ แก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิระเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕

-42-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

เพ่อื กาหนดใหห้ วั หน้าส่วนราชการทั้งสองเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการข้ึน
ตรงตอ่ นายกรฐั มนตรี จึงจาเปน็ ตอ้ งตราพระราชบญั ญัตนิ ้ี

พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดนิ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓
มาตรา ๕ พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการภายในส่วนราชการตามมาตรา ๘ วรรคส่ี แห่ง

พระราชบญั ญัติระเบยี บบริหารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ ทีใ่ ช้บังคับอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราช
กิจจานุเบกษาให้คงใช้บังคับได้ต่อไป จนกว่าจะมีกฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการตามมาตรา ๘ ฉ แห่ง
พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแกไ้ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั นิ ้ีใชบ้ ังคับ

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ีคือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
มาตรา ๒๓๐ ได้บัญญัติให้การรวมหรือโอนกระทรวง ทบวง กรม ท่ีไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราของ
ขา้ ราชการหรอื ลูกจา้ งเพ่ิมขึ้นหรือการยุบเลิกส่วนราชการดังกล่าว สามารถทาได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
ดังน้ัน สมควรกาหนดลักษณะของกรณีท่ีสามารถตราเป็นพระราชกฤษฎีกาและวิธีการดาเนินการของแต่ละ
กรณีและรูปแบบของพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว รวมทั้งปรับปรุง หลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการภายใน
สานักงานรัฐมนตรีและส่วนราชการระดับกรม ทั้งน้ีเพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกล่าว
จึงจาเป็นต้องตราพระราชบญั ญตั ิน้ี

พระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕๗๐
มาตรา ๑๖ ในวาระเริ่มแรก ให้ ก.พ.ร. ดาเนินการเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อให้มีการ

ปรบั ปรุงโครงสร้าง ระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากร การปรับเปล่ียนส่วนราชการเป็นองค์การ
มหาชน หรือองค์กรรูปแบบอนื่ ที่มใิ ชส่ ว่ นราชการ เพื่อใหก้ ารบรหิ ารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน ท้ังนภ้ี ายในสองปนี ับแต่วันท่ีพระราชบญั ญตั นิ ี้ใชบ้ ังคับ

มาตรา ๑๗ ให้แก้ไขคาว่า “สานักงานเลขานุการรัฐมนตรี” ในพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผน่ ดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และทีแ่ กไ้ ขเพ่ิมเติม เป็นคาวา่ “สานักงานรัฐมนตรี” ทุกแหง่

มาตรา ๑๘ ให้ดาเนินการแต่งต้ัง ก.พ.ร. ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่
พระราชบญั ญตั นิ ีใ้ ช้บงั คบั

ให้โอนงบประมาณและบุคลากรของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ตามที่
นายกรฐั มนตรปี ระกาศกาหนดในราชกจิ จานเุ บกษา ไปเปน็ ของสานกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ

ให้อานาจหน้าที่ของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนตามมาตรา ๘ ทวิ และตาม
มาตรา ๘ สัตต ในส่วนที่เกี่ยวกับการแบ่งส่วนราชการและการกาหนดอานาจหน้าท่ีของส่วนราชการซึ่งแก้ไข
เพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นอานาจหน้าที่ของ ก.พ.ร.

ให้คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน คงมี
อานาจหน้าทีเ่ ทา่ ที่ไม่ซ้ากับอานาจหนา้ ท่ขี อง ก.พ.ร

ให้ดาเนนิ การปรบั ปรุงกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนและกฎหมายว่าด้วยระเบียบ
บริหารราชการแผ่นดิน เพ่ือกาหนดภารกิจของ ก.พ.ร. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน และสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนให้เหมาะสม ซึ่งต้องทาให้
แลว้ เสร็จและเสนอสภาผแู้ ทนราษฎรภายในสองปีนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัตนิ ้ี ใช้บงั คับ

มาตรา ๑๙ ให้บทบัญญัติมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.
๒๕๓๔ กอ่ นการแกไ้ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัติน้ีคงใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมีการแก้ไขเพ่ิมเติม ให้นากรณีที่
ส่วนราชการใดขน้ึ ตรงต่อนายกรัฐมนตรไี ปบัญญตั ไิ วใ้ นกฎหมายว่าด้วยการปรบั ปรุงกระทรวง ทบวง กรม

-43-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมนิ ดิษฐ์

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้คือ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระบบบริหาร
ราชการเพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและการให้บริการแก่ประชาชนได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพยิ่งข้ึนโดยกาหนดให้การบริหารราชการแนวทางใหม่ต้องมีการกาหนดนโยบาย เปูาหมาย และ
แผนการปฏิบัติงานเพ่ือให้สามารถประเมินผลการปฏิบัติราชการในแต่ละระดับได้อย่างชัดเจน มีกรอบการ
บริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดีเป็นแนวทางในการกากับการกาหนดนโยบายและการปฏิบัติราชการ และเพื่อให้
กระทรวงสามารถจัดการบริหารงานให้เป็นไปตามเปูาหมายได้จึงกาหนดให้มีรูปแบบการบริหารใหม่ โดย
กระทรวงสามารถแยกสว่ นราชการจดั ตั้งเป็นหน่วยงานตามภาระหนา้ ที่ เพือ่ ให้เกดิ ความคล่องตัวและสอดคล้อง
กับเปูาหมายของงานท่ีจะต้องปฏิบัติและกาหนดให้มีกลุ่มภารกิจของส่วนราชการต่าง ๆ ที่มีงานสัมพันธ์กัน
เพอ่ื ทจ่ี ะสามารถกาหนดเปูาหมายการทางานร่วมกันได้และมีผู้รับผิดชอบกากับการบริหารงานของกลุ่มภารกิจ
นน้ั โดยตรงเพื่อให้งานเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพและรวดเรว็ รวมทั้งให้มีการประสานการปฏิบัติงาน และการ
ใช้งบประมาณเพ่ือที่จะให้การบริหารงานของทุกส่วนราชการบรรลุเปูาหมายของกระทรวงได้ อย่างมี
ประสิทธิภาพและลดความซ้าซ้อน มีการมอบหมายงานเพ่ือลดข้ันตอนการปฏิบัติราชการ และสมควร
กาหนดการบริหารราชการในต่างประเทศให้เหมาะสมกับลักษณะการปฏิบัติหน้าท่ีและสามารถปฏิบัติการได้
อย่างรวดเร็วและมีเอกภาพ โดยมีหัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารราชการ นอกจากน้ีสมควร
ใหม้ ีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเพ่ือเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดูแลการจัดส่วนราชการและการ
ปรับปรุงระบบการทางานของภาคราชการให้มีการจัดระบบราชการอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป จึงจาเป็นต้อง
ตราพระราชบญั ญตั นิ ้ี

พระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๔๖๗
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ีคือ โดยท่ีในปัจจุบันได้มีการโอนกรมตารวจไป
จัดต้ังเป็นสานักงานตารวจแห่งชาติและกาหนดให้ผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัดทาหน้าที่ หัวหน้าตารวจภูธร
จังหวัด จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินใน ส่วนของช่ือกรมตารวจและ
ตาแหน่งของข้าราชการตารวจในกรมการจังหวดั ให้สอดคล้องกัน จึงจาเปน็ ตอ้ งตราพระราชบัญญตั ินี้
พระราชบัญญัตริ ะเบยี บบริหารราชการแผน่ ดนิ (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐๗๒

มาตรา ๑๗ ในระหว่างท่ียังมิได้มีการตราพระราชกฤษฎีกาเก่ียวกับการมอบอานาจ ให้ปฏิบัติ
ราชการแทนตามมาตรา ๓๘ แหง่ พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบญั ญัติน้ีให้หลักเกณฑเ์ กยี่ วกับการมอบอานาจตามมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๔๕ ยังคงใช้บังคบั ต่อไปได้ ทงั้ นี้ไมเ่ กินหกสิบวัน นบั แตว่ นั ทีพ่ ระราชบญั ญัตินใ้ี ช้บงั คบั

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้คือ โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงระบบ การ
บริหารราชการให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลท่ีมุ่งเน้นการจัดองค์กรภาครัฐให้สอดคล้องกับ ทิศทางการ
นาพาประเทศไปสู่การพัฒนาที่ย่งั ยนื และเพอ่ื ใหก้ ารปฏิบัติราชการสามารถอานวยความ สะดวกและให้บริการ
แก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น สนับสนุนให้มีการมอบอานาจให้ ปฏิบัติราชการแทนได้กว้างขวาง
ข้ึน เพื่อเน้นการบริการประชาชนให้มีความสะดวกและรวดเร็ว นอกจากนั้น เพ่ือให้การบริหารราชการใน
ราชการบริหารส่วนภูมิภาคสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ และให้การบริหารงานแบบบูรณาการใน
จังหวัดบรรลุผล สมควรปรับปรุงอานาจการดาเนินการของจังหวัด การจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทา
งบประมาณของจังหวดั ให้เหมาะสม รวมทง้ั สมควรสง่ เสริมให้มีคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด เพื่อสอดส่อง
และเสนอแนะการปฏบิ ัตภิ ารกิจของหน่วยงานของรัฐในจงั หวัดให้ใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดีอันจะทา
ใหก้ ารบริหาร เปน็ ไปด้วยความโปรง่ ใสเป็นธรรม และมคี วามรับผดิ ชอบตลอดจนปรบั ปรุงอานาจในทาง

-44-

รวบรวมและจัดทาโดย แอดมนิ ดษิ ฐ์

ปกครองของอาเภอเพื่อสนับสนุนให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม และสมควรให้สานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาระบบราชการเป็นส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรีและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงต่อ
นายกรัฐมนตรี จงึ จาเปน็ ต้องตราพระราชบญั ญัติน้ี

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดนิ (ฉบบั ท่ี ๘) พ.ศ. ๒๕๕๓
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บัญญัติให้องค์กรอัยการเป็นองค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ และมาตรา ๒๕๕ วรรคห้า บัญญัติให้องค์กรอัยการมี
หน่วยธุรการที่เป็นอิสระ ในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และการดาเนินการอ่ืน โดยมีอัยการสูงสุด
เปน็ ผูบ้ ังคบั บญั ชา ทง้ั นต้ี ามทก่ี ฎหมายบัญญตั ิ จึงจาเป็นต้องตราพระราชบญั ญัตนิ ี้

-45-
รวบรวมและจัดทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพ่ิมเติม

1. พระราชบญั ญตั ิระเบียบริหารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. 2534 มผี ลบังคบั ใช้ตัง้ แต่วันที่ใด
ก. 5 กนั ยายน 2534
ข. 6 กนั ยายน 2534
ค. 23 กุมภาพันธ์ 2534
ง. 2 ตุลาคม 2534
เฉลย ก. 5 กันยายน 2534

2. การจดั ระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดิน ตามพระราชบัญญัตบิ ริหารราชการแผน่ ดิน พ.ศ.2534
ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง
ก. ระเบยี บบรหิ ารราชการส่วนกลาง
ข. ระเบยี บบริหารราชการสว่ นภมู ภิ าค
ค. ระเบียบบรหิ ารราชการส่วนท้องถ่ิน
ง. ถูกทกุ ขอ้
เฉลย ง. ถูกทกุ ข้อ

3. การแบง่ ส่วนราชการออกเป็นสว่ นตา่ ง ๆ ใหม้ กี ารกาหนดตาแหน่งและอัตราเงนิ เดือนโดยคานงึ ถึงสงิ่ ใด
เป็นสาคญั
ก. คุณภาพ
ข. ปรมิ าณงาน
ค. คณุ ภาพและปรมิ าณงาน
ง. ถูกทกุ ขอ้
เฉลย ค. คณุ ภาพและปริมาณงาน

4. ตาแหน่งใดเป็นผู้รกั ษาการพระราชบัญญัติระเบยี บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการคลัง
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ง. ปลดั สานกั นายกรฐั มนตรี
เฉลย ก. นายกรัฐมนตรี

5. ข้อใดไมใ่ ชก่ ารจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง ตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการแผน่ ดนิ
พ.ศ. 2534
ก. สานกั นายกรัฐมนตรี
ข. ทบวง
ค. จงั หวัด
ง. กรม
เฉลย ค. จังหวัด

-46-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

6. สานกั นายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็นไปตามข้อใด ตามระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
ก. กระทรวง
ข. ทบวง
ค. กรม
ง. มูลนธิ ิ
เฉลย ก. กระทรวง

7. ขอ้ ใดไมม่ ฐี านะเป็นนติ บิ คุ คล ตามระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน พ.ศ. 2534
ก. สานกั นายกรัฐมนตรี
ข. ทบวง
ค. กรม
ง. อาเภอ
เฉลย ง. อาเภอ

8. การจดั ตงั้ การรวมหรอื การโอน ส่วนราชการให้ตราเป็นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ
ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง
ง. ประกาศสานักนายกรฐั มนตรี
เฉลย ก. พระราชบญั ญัติ

9. การรวม หรอื การโอน กระทรวง ถา้ ไมม่ กี ารกาหนดตาแหน่งหรอื อัตราขา้ ราชการหรือลกู จา้ งเพม่ิ ขึ้น ให้ตรา

เปน็ กฎหมายใด
ก. พระราชบัญญตั ิ
ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง
ง. ประกาศกระทรวง
เฉลย ข. พระราชกฤษฎีกา

10. การรวม หรือการโอน ถ้าไม่มีการกาหนดตาแหน่งหรืออัตราข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มข้ึน ให้สานักงาน ก.พ.
และสานักงบประมาณตรวจสอบมใิ หม้ ีการกาหนดตาแหน่งข้าราชการหรือลกู จ้างเพม่ิ ข้ึนจนกว่าจะครบก่ีปี
ก. 3 ปี
ข. 5 ปี
ค. 7 ปี
ง. 10 ปี
เฉลย ก. 3 ปี

11. การเปลี่ยนชื่อสว่ นราชการ ของสานักนายกรฐั มนตรี กระทรวง ทบวง หรือกรม ให้ตราเปน็ กฎหมายใด
ก. พระราชบญั ญตั ิ
ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง
ง. พระราชกาหนด
เฉลย ข. พระราชกฤษฎีกา

-47-
รวบรวมและจดั ทาโดย แอดมินดษิ ฐ์

12. การยบุ ส่วนราชการ ของสานกั นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง หรอื กรม ให้ตราเป็นกฎหมายใด
ก. พระราชบญั ญตั ิ
ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. กฎกระทรวง
ง. พระราชกาหนด
เฉลย ข. พระราชกฤษฎีกา

13. การแบ่งส่วนราชการภายใน กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม
ให้ตราเปน็ กฎหมายใด
ก. พระราชบญั ญตั ิ
ข. พระราชกฤษฎกี า
ค. กฎกระทรวง
ง. พระราชกาหนด
เฉลย ค. กฎกระทรวง

14. ส่วนราชการใดตอ่ ไปนไ้ี ม่ได้ข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรี
ก. สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ข. สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
ค. สานกั งบประมาณ
ง. สานกั งานตรวจเงินแผน่ ดนิ
เฉลย ง. สานกั งานตรวจเงินแผน่ ดิน

15. สว่ นราชการภายในสานกั นายกรฐั มนตรีมีฐานะเปน็ อะไร
ก. กระทรวง
ข. กรม
ค. หน่วยงาน
ง. ทบวง
เฉลย ข. กรม

16. ตาแหนง่ ใดเปน็ ผู้บงั คบั บัญชาข้าราชการและรบั ผดิ ชอบในการกาหนดนโยบายในสานกั นายกรฐั มนตรี
ก. นายกรฐั มนตรี
ข. ปลดั สานกั นายกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ก. นายกรฐั มนตรี

17. เมอ่ื นายกรฐั มนตรี ตาย ขาดคุณสมบัติ จาคุก สภาลงมติไม่ไว้วางใจ ศาลวนิ ิจฉยั ความเปน็ นายกสิน้ สุดลง
ก. ให้คณะรฐั มนตรี มอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหน่ึง ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีแทน
ข. ใหค้ ณะรัฐมนตรี มอบหมายให้ รองนายกรฐั มนตรีคนใดคนหน่งึ รักษาราชการแทน
ค. ใหน้ ายกรฐั มนตรี มอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึง่ ปฏิบตั หิ นา้ ทแ่ี ทน
ง. ใหน้ ายกรัฐมนตรี มอบหมายให้ รัฐมนตรปี ระจาสานักนายกรัฐมนตรี รกั ษาราชการแทน
เฉลย ก. ใหค้ ณะรฐั มนตรี มอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนงึ่ ปฏิบตั หิ น้าท่ีแทน


Click to View FlipBook Version