The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประกาศโรงเรียน นโยบายความปลอดภัย 2564 - Copy

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

มาตรการความปลอดภัยของสถานศึกษา

ประกาศโรงเรียน นโยบายความปลอดภัย 2564 - Copy

ประกาศ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย สรุ าษฎร์ธานี
เรื่อง นโยบายความปลอดในสถานศึกษา
.........................................

ด้วยโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุราษฎรธ์ านี มีความห่วงใยและตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรพั ย์สนิ ของบุคลากรและนกั เรียน จึงกำหนดนโยบายดา้ นความปลอดภัย ไว้ดงั นี้

ขอ้ 1. สนับสนุนใหม้ ีการปรับปรงุ สภาพแวดล้อมการปฏบิ ัติงานใหเ้ หมาะสม ถกู สขุ ลกั ษณะพัฒนาสง่ิ อำนวยความ
สะดวกและโครงสรา้ งพ้นื ฐานท่เี กยี่ วขอ้ งความปลอดภยั ในสถานศึกษา ไวด้ งั น้ี

ข้อ 2. โรงเรียนจะทำทุกวิถีทางเพื่อให้บุคลากรและนักเรียนมีความปลอดภัย เน่ืองจากบุคลากรและนักเรียน
เป็นทรัพยากรท่ีมีค่ายง่ิ

ข้อ 3. สนับสนุน และพัฒนาด้านความปลอดภัยโดยกำหนดวิธีป้องกันระงับเหตุอย่างรวดเร็วเมอ่ื เกิดเหตุฉุกเฉิน
เชน่ อัคคีภยั เพื่อไม่ให้เกดิ การสญู เสียในชีวติ และทรพั ย์สนิ

ขอ้ 4. จัดให้มอี ุปกรณค์ ุม้ ครองความปลอดภยั ให้แกบ่ คุ ลากรอย่างครบถว้ นและเพียงพอ
ขอ้ 5. บุคลากรและนักเรียนทกุ คน มีหน้าที่และต้องให้ความร่วมมอื ในการป้องกนั อุบัติภัยท่ีจะเกิดข้ึนแก่ตวั เอง
ตลอดเวลาท่ีมกี ารปฏิบตั ิงาน
ข้อ 6. จัดให้มีการอบรม รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ จูงใจบุคลากร ให้ปฏิบัติงานตามด้านความปลอดภัยในการ
ทำงานอยเู่ สมอ
ขอ้ 7. จัดใหม้ กี ารติดตามและประเมินผลการปฏิบตั ิตามนโยบายดงั กลา่ ว เพอ่ื ให้เกดิ ผลในการปฏิบัติอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
ข้อ 8. ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษามีหน้าที่ดูแลรบั ผิดชอบให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติ
ตามกฎหมายและแนวปฏบิ ตั ิดา้ นความปลอดภยั
ข้อ 9. ผู้บริหารของโรงเรียน ต้องรับผิดชอบและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตามกฎหมายและแนว
ปฏบิ ัติด้านความปลอดภัยในการทำงาน
ข้อ 10. ผบู้ ริหารของโรงเรยี น ตอ้ งสง่ เสริมและสนับสนุนให้เกิดความรว่ มมือกบั หน่วยงานใกล้เคียงเพอ่ื เสรมิ สร้าง
สุขอนามัยและความปลอดภัย

จึงประกาศมาเพอ่ื ทราบและถอื ปฏบิ ัตโิ ดยทั่วกนั

ประกาศ ณ วันท่ี 2 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2564

นางพรทพิ ย์ นกุ ูลกิจ
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย สุราษฎร์ธานี

คำนำ

ดว้ ยโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุราษฎรธ์ านี มีความห่วงใยและตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สนิ ของบคุ ลากรและนักเรียน จึงกำหนดนโยบายด้านความปลอดภยั ในสถานศึกษา และสร้างมาตรการรักษาความ
ปลอดภัยของสถานศึกษา โดยผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย จะร่วมกันหาแนวทางที่เป็นรูปธรรม ในการดูแลช่วยเหลือ
นักเรยี นให้ได้เรียนรู้อย่างมคี วามสุข เป็นไปตามหลักสูตร มีทักษะชีวิตท่ดี ูแลตนเองให้ปลอดภัย ดังนันโรงเรียนกาญจนา
ภเิ ษกวิทยาลยั สรุ าษฎรธ์ านี ซึง่ มีภารกิจและความรับผดิ ชอบในการจัดสถานศึกษาดำเนินการอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ความ
ปลอดภัยของสถานศกึ ษาจึงเป็นเร่ืองที่มีความสำคัญตอ่ การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา เพราะนอกจะทำให้นักเรยี นได้
เรียนรอู้ ย่างมีความสุขแล้วยังมผี ลต่อการพัฒนาดา้ นอน่ื ๆ อีกดว้ ย

เอกสารมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้เป็นแนวทางในการดูแลความ
ปลอดภัยของนักเรียนทกุ คนในโรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย สรุ าษฎรธ์ านี ด้านการปอ้ งกันและแก้ไขอุบตั เิ หตุ อุบตั ภิ ัย
และปญั หาทางสังคม ด้านสุขภาพอนามยั ของนกั เรียน ดา้ นสัตวม์ ีพิษ

ขอขอบคุณผทู้ ี่เก่ียวขอ้ งทุกคน ที่มสี ่วนสนับสนุนใหค้ ู่มอื เล่มน้ีมีความสมบูรณ์ เพ่ือให้สถานศึกษาได้นำไปใช้อยา่ ง
มปี ระสทิ ธิภาพ

โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎรธ์ านี

สารบัญ หนา้
เร่อื ง
1
1.นโยบายการวางแผนการรกั ษาความปลอดภยั ของโรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย สุราษฎร์ธานี
1. เป้าประสงค์ 2
2. เปา้ หมาย
3. ยุทธศาสตร์ 4
4
2. การวางแผนรกั ษาความปลอดภัยของสถานศึกษา 4
3. มาตรการป้องกนั และแก้ไขอบุ ตั เิ หตุ อุบัติภัย และปญั หาทางสังคม 4
4
ด้านการปอ้ งกันและแก้ไขอุบตั ิเหตุ
1. อุบตั ิเหตุจากอาคารเรียนอาคารประกอบ 5
2. อุบตั เิ หตุจากบริเวณสถานศึกษา 5
3. อุบัติเหตุจากสภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา
4. อบุ ัติเหตุจากเคร่ืองมือ เครื่องใช้ และอปุ กรณ์ต่าง ๆ 6
5. อบุ ตั เิ หตุจากการเดนิ ทางไ - กลับ ระหว่างบ้าน และสถานศกึ ษา 7
6. อุบตั เิ หตุจากยานพาหนะพานักเรยี นไปศกึ ษานอกสถานศึกษา 8
7. อุบัติเหตุจากการนำนกั เรยี นรว่ มกิจกรรมสำคัญ 8
ดา้ นการป้องกนั และแกไ้ ขอุบัติเหตุ 9
10
อัคคีภยั 10
ดา้ นการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาทางสงั คม 11
1. สารเสพติด 12
2. การอุปโภคบริโภค 12
3. การทะเลาะววิ าท
4. สื่อลามกอนาจาร
5. อบายมขุ
6. อนิ เทอร์เน็ตและเกม
ด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน
ด้านสัตวม์ ีพิษ

มาตรการรักษาความปลอดภยั ของสถานศึกษา

โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั สุราษฎรธ์ านี
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี ชุมพร

********************
1. นโยบายและการวางแผนการรกั ษาความปลอดภยั ของโรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย สรุ าษฎรธ์ านี
ด้วยโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั สุราษฎร์ธานี มคี วามห่วงใยและตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส์ ินของ

บุคลากรและนักเรียน จึงกำหนดนโยบายด้านความปลอดภัยในสถานศกึ ษา โดยผู้ที่มสี ่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายจะต้องรว่ มกัน
หาแนวทางท่ีเป็นรูปธรรม ในการดูแลช่วยเหลอื นักเรียนให้ได้เรยี นรู้อย่างมีความสขุ เปน็ ไปตามหลักสูตร มีทักษะชีวิตที่จะ

ดูแลตนเองใหป้ ลอดภัย ดังนั้นโรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุราษฎร์ธานี ซ่ึงมีภารกจิ และรบั ผดิ ชอบในการจัดการศึกษา
ต้องดำเนินการอย่างมีคุณภาพ ความปลอดภัยของสถานศึกษาจึงเป็นเร่ืองท่ีมีความสำคัญต่อการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา เพราะนอกจะทำให้นักเรยี นได้เรียนรอู้ ยา่ งมีความสุขแลว้ ยังมผี ลต่อการพัฒนาด้านอ่ืน ๆ อกี ด้วย

1) เป้าประสงค์
1. เพอ่ื ให้มีรูปแบบแนวทางการรรักษาความปลอดภัยของสถานศกึ ษาด้านอุบตั เิ หตุ ดา้ นอุบัติภัย และด้าน

ปญั หาทางสังคม โดยอาศัยแนวร่วมโดยอาศยั แนวคิดเชิงสร้างสรรค์ภายใตห้ ลักกการกระจายอำนาจ การมีส่วนรว่ ม และ
ยึดประโยชน์สงู สดุ ของนักเรยี นเปน็ สำคญั

2. เพื่อสร้างความเข้มแข็งระบบการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาให้มีความพร้อม สามารถป้องกนั

และแก้ไขสถานการณ์ปัญหาของนักเรียน ท้ังด้านอุบัติเหตุ อุบัติภัย และปัญหาทางสังคมท่ีจะเกิดข้ึนกับนักเรียนอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

3. เพื่อให้นักเรียนทกุ คนไดร้ ับการปกป้อง และคุ้มครองความปลอดภัย ทัง้ ด้านร่างกาย และจิตใจโดย
นักเรยี นจะไดร้ บั การดแู ลอย่างใกล้ชดิ และสามารถอย่ใู นสงั คมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข

4. เพอ่ื สรา้ งความตระหนักในการรกั ษาความปลอดภัยของสถานศกึ ษา โดยการให้ความรู้ ความเขา้ ใจแกผ่ ู้

ท่ีรบั ผิดชอบ และผู้ทม่ี สี ่วนเก่ียวขอ้ งกับการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา
2) เป้าหมาย

1. นกั เรยี นทกุ คนในโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย สุราษฎร์ธานี ได้รับการคมุ้ ครองดูแลความปลอดภยั
2. ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผู้ปกครองนักเรียนมีแนวทางในการ
ป้องกนั และรักษาความปลอดภัยนักเรียน

3. เครือขา่ ยหน่วยงานภาครัฐและเอกชน มสี ่วนร่วมในการดูแลความปลอดภยั ใหแ้ ก่นักเรยี น
3) ยทุ ธศาสตร์

1. จัดระบบการรักษาความปลอดภัยของนักเรียน โดยการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครอง และเครือข่ายทั้ง
ภาครัฐและเอกชนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

2. กำหนดมาตรการรกั ษาความปลอดภยั ของนักเรยี น

3. มีการกำกบั ติดตาม ประเมนิ ผลและรายงาน

2. การวางแผนรกั ษาความปลอดภัยของสถานศกึ ษา
แนวทางการวางแผนการรักษาความปลอดภยั ใหแ้ กน่ กั เรยี น เนน้ การมสี ่วนร่วมระหวา่ งนกั เรียน ครู

ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่าย โดยร่วมกันวางแผนป้องกัน ควบคุม กำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน
จึงจำเป็นต้องมีมาตรการและกิจกรรมเพ่ือให้รับประโยชน์สูงสุดตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

พ.ศ.2552 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545 และพระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 พร้อมท้ังนโยบาย
ของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ดงั น้ี

ขนั้ ตอน ภาระกิจ
1. ศึกษาสภาพทั่วไป
ศกึ ษาสภาพทวั่ ไปของโรงเรยี น ชุมชน ความเขม้ แข็งของเครอื ขา่ ยเพอื่ วเิ คราะห์
2. กำหนดมาตรการหลกั ความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติภยั และภัยจากสภาพแวดล้อม
3. กำหนดมาตรการเสริม กำหนดมาตรการหลกั เพอ่ื ป้องกัน และ / หรอื แกไ้ ข
กำหนดมาตรการเสริมให้เหมาะสมกับความเชื่อ วัฒนธรรมและประเพณีของ
4. กำหนดกิจกรรม ทอ้ งถ่ิน และสภาพความเสี่ยงของท้องถ่ิน
5. กำหนดเวลาและผู้รับผดิ ชอบ กำหนดกิจกรรมสนบั สนุนมาตรการหลักและมาตรการเสรมิ
กำหนดเวลาและผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน และสามารถปฏิบตั ไิ ด้

3. มาตรการปอ้ งกันและแกไ้ ขอบุ ัติเหตุ อบุ ตั ิภัย และปัญหาทางสงั คม

สาเหตุ มาตรการป้องกนั และแก้ไข ผรู้ ับผิดชอบ
ดา้ นการปอ้ งกนั และแกไ้ ขอุบัตเิ หตุ
1. อบุ ัติเหตุจากอาคารเรียนประกอบ 1. ตรวจสอบระบบไฟ ฟ้า สายไฟ โครงสร้างและ 1. ผูบ้ ริหารโรงเรียน

2. อบุ ัติเหตจุ ากบริเวณภายใน สว่ นประกอบอาคารเรียนละ 1 ครั้ง/ความจำเป็น 2. ครปู ระจำชน้ั
สถานศกึ ษา
2. แต่งตงั้ ผูร้ ับผดิ ชอบดแู ลในการดแู ลรักษาอาคารสถานที่ 3. นกั การภารโรง

3. ปฐมนเิ ทศนักเรยี นใหมเ่ กี่ยวกับอาคารสถานท่ี 4. ผู้ปกครอง

4. ชี้แจงให้ความรู้การดูแลรักษาเฝ้าระวังความปลอดภัย 5. ชุมชน

ของอาคารเรียน อาคารประกอบ

5. จัดทำป้ายข้อควรระวังด้านความปลอดภัยในจุด

อนั ตรายทุกชั้นเรยี น

6. จัดให้มีแผนซักซ้อมการป้องกันและซักซ้อมการ

เคลอ่ื นย้ายกรณีฉกุ เฉินอยา่ งน้อยปีละ 1 คร้งั

7. แตง่ ตัง้ เวรยามรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษา

1. แต่งต้ังครูเวรประจำวันคอยควบคุม กำกับ ติดตาม 1. ผูบ้ ริหารโรงเรยี น

ดูแลการรกั ษาความปลอดภัยตลอดวนั 2. ครูเวรประจำวนั

2. จัดให้มีผู้รับผิดชอบปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น และนำส่ง 3. ครอู นามัย

สถานพยาบาล โรงเรียน

3. ดูแลตัดแต่งก่ิงไม้ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย และบำรุง 4. นักการภารโรง

ดูแลรกั ษาความสะอาดโดยรอบสถานศึกษาสม่ำเสมอ 5. นักเรยี น

4. จัดใหป้ ้ายคำเตอื นเพื่อหลีกเลีย่ งการเกิดอบุ ตั ิเหตุ 6. ผปู้ กครอง

5. ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างรอบบริเวณสถานศึกษาและจุด

เส่ียง

6. จดั ใหม้ รี ะบบการอนุญาตออกนอกสถานศึกษา

สาเหตุ มาตรการป้องกนั และแก้ไข ผู้รบั ผิดชอบ
3. อบุ ตั ิเหตจุ ากบริเวณภายใน
สถานศึกษา 1. แตง่ ต้ังครูเวรประจำวันคอยควบคมุ กำกบั ตดิ ตาม 1. ผู้บรหิ ารโรงเรยี น

4. อุบัติเหตุจากสภาพแวดลอ้ ม ดแู ลการรักษาความปลอดภยั ตลอดวนั 2. ครูเวรประจำวัน
ภายนอกของสถานศึกษา
2. จัดให้มีผู้รับผิดชอบปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น และนำส่ง 3. ครอู นามัย
5. อบุ ัติเหตุเครือ่ งมอื เคร่อื งใช้
เคร่ืองเลน่ สนามอปุ กรณ์ต่าง ๆ สถานพยาบาล โรงเรียน
เช่น เคร่ืองทำนำ้ เยน็ พัดลม
โทรทศั น์ ฯลฯ 3. ดูแลตัดแต่งกิ่งไม้ให้อยู่ในสภาพท่ีปลอดภัย และบำรุง 4. นกั การภารโรง

6. อุบตั เิ หตจุ ากการเดนิ ทาง ดูแลรักษาความสะอาดโดยรอบสถานศกึ ษาสมำ่ เสมอ 5. นักเรียน
ไป - กลับ ระหวา่ งบา้ น และ
สถานศึกษา 4. จัดใหป้ า้ ยคำเตือนเพอื่ หลีกเลยี่ งการเกิดอบุ ัติเหตุ 6. ผปู้ กครอง

5. ติดต้ังไฟฟ้าส่องสว่างรอบบริเวณสถานศึกษาและจุด

เสี่ยง

6. จัดให้มีระบบการอนญุ าตออกนอกสถานศึกษา

1. สำรวจสภาพปัญหาด้านส่ิงแวดล้อม มลภาวะใน 1. ผูบ้ ริหารโรงเรยี น

สถานศกึ ษาและชุมชน เพอ่ื หาแนวทางแก้ไข 2. ครู

2. ประสานงานกบั หน่วยงานอน่ื ๆ 3. นกั เรยี น

3. จัดกจิ กรรมสร้างจิตสำนกึ และความตระหนักต่อปัญหา 4. ผปู้ กครอง

สิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียนบุคลากรในสถานศึกษาและ 5.ชมุ ชน

ชมุ ชน

1. ตรวจสอบทดลองเครื่องมือ เครื่องใช้เคร่ืองเล่นสนาม 1. ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น

และอปุ กรณต์ ่าง ๆ ให้มสี ภาพพรอ้ มใชง้ านอยู่เสมอ 2. ครู

2. ใช้เครื่องมือ เคร่ืองใช้ เครื่องเล่นสนาม และอุปกรณ์ 3. นักการภารโรง

ต่าง ๆ ที่ชำรดุ 4. นกั เรียน

3. แนะนำ สาธิต และควบคุมการใช้อย่างถูกวิถีตาม 5. ผู้ปกครอง

ประเภทของอปุ กรณ์เคร่อื งมอื เครื่องใช้ เครื่องเลน่ สนาม 6. ชมุ ชน

4. จัดเกบ็ เคร่อื งมือ เคร่อื งใช้ อปุ กรณท์ กุ คร้งั หลังใชง้ าน

5. กำกับ ดแู ลนกั เรียนในการใชเ้ คร่อื งมอื เคร่อื งใช้ เครอ่ื ง

เล่นสนาม อปุ กรณ์ไดอ้ ยา่ งปลอดภัย

1. สถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน รว่ มมือกันกำหนด 1. ผู้บรหิ ารโรงเรียน

มาตรการรบั - ส่ง นกั เรียนตอนเช้าและเลิกเรียน 2. ครู

2. กำกับ ดูแลนักเรียนท่ีใช้จักรยาน จักรยานยนต์ให้ชิด 3. นักการภารโรง

ทางซ้ายและเปน็ แนว 4. นกั เรียน

3. ทำกจิ กรรมเกี่ยวกับการฝึกปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย 5. ผ้ปู กครอง

4. จัดครูเวรและนักเรียนคอยรบั - ส่งนักเรียนท่ปี ระตูเข้า 6. ชมุ ชน

ออก

สาเหตุ มาตรการป้องกนั และแกไ้ ข ผู้รับผดิ ชอบ
7. อุบตั ิเหตจุ ากการพานักเรยี นศึกษา
นอกสถานศกึ ษาและการนำนกั เรยี น 1. ศึกษาปฏิบตั ิตามระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ าร ว่าด้วย 1. ผบู้ รหิ ารโรงเรียน
รว่ มกิจกรรมสำคัญ
การพานกั เรยี นไปศึกษานอกสถานศกึ ษาโดยเครง่ ครดั 2. ครูเวรประจำวัน
ด้านการป้องกัน
2. เตรยี มการวางแผนการดำเนนิ การอยา่ งเครง่ ครดั 3. ครูอนามยั
ด้านการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาสังคม
1. สารเสพติด 3. จัดให้มีปา้ ยชื่อแสดงรายละเอียดนักเรยี น/ป้ายบอกชื่อ โรงเรียน

ขบวนรถ 4. นักการภารโรง

4. จดั ใหม้ ีเวชภัณฑ์ทจ่ี ำเปน็ ในการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน 5. นกั เรยี น

5. ควบคุมดูแลการซ้ืออาหารรับประทาน 6. ผปู้ กครอง

6. หากมกี ารใช้พาหนะรถยนต์ต้องแต่งตั้งเจ้าหน้าท่ีตรวจ

สภาพรถยนต์ และตรวจประวตั คิ นขบั เพอ่ื ความปลอดภัย

7. หลกี หลี่ยงกจิ กรรมที่มคี วามเส่ียงต่อการเกิดอนั ตราย

8. จัดระบบดูแลความปลอดภัยและจัดครูคอยควบคุม

อย่างใกล้ชดิ

1. แตง่ ต้ังคณะกรรมการการรับผิดชอบตรวจสอบอุปกรณ์ 1. ผู้บริหารโรงเรียน

อยา่ งสมำ่ เสมอ 2. ครูประจำชั้น

2. ให้ความรู้และจัดทำแผนซักซ้อมนักเรียนเก่ียวกับการ 3. นกั การภารโรง

ดับไฟ หนีไฟ 4. ผ้ปู กครอง

3. จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีอยู่เวรรักษาสถานที่ราชการอย่าง 5. ชุมชน

เครง่ ครัด 6. เจ้าหนา้ ท่ีตำรวจ/

4. จัดทำปา้ ยแหลง่ ขอ้ มลู แจง้ เหตุฉุกเฉิน ดับเพลิงใหค้ วามร้ใู น

5. ดูแลสถานทีใ่ หส้ ะอาด การปฏิบัติตนแก่

6. ถา้ เกิดเหตอุ ัคคีภยั รายงานต้นสงั กัดทนั ที นักเรยี นใหพ้ ้นจาก

7. ให้ความรู้ในการปฏิบัติตนแก่นักเรียนให้พ้นจาก อนั ตราย

อันตราย

8. ตรวจสอบสภาพอาคารต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ

9. ตดั แต่งก่ิงไมท้ ีอ่ ยู่ใกลอ้ าคาร

10. จัดให้มีเวชภัณฑ์ท่ีจำเป็นในการปฐมพยาบาล

เบ้ืองตน้

1. จัดกิจกรรมเสริมทักษะชีวิต เพ่ือสร้างความตระหนัก 1. ผู้บริหารโรงเรยี น

และใหน้ ักเรยี นเห็นคณุ ค่าแห่งต้น 2. ครูประจำชั้น

2. จัดทำระบบเครือข่ายระหว่างผู้ปกครอง ชุมชน 3. ผ้ปู กครอง

สถานศึกษา เพอื่ การสอ่ื สารและสานสพนั ธ์ร่วมมือปอ้ งกัน 4. เจา้ หนา้ ท่ีตำรวจ

แก้ไขปญั หาเกยี่ วเกี่ยวกับพฤตกิ รรมนกั เรียน 5. ชุมชน

3. จัดกจิ กรรมท่ีใหน้ ักเรียนแสดงออกตามความสามารถที่

ถกู ต้อง เช่น ศิลปะ ดนตรี กีฬา เปน็ ตน้

4. จัดกลุ่มเฝ้าระวังโดยอาศัยเครือข่ายท้ังภายในและ

ภายนอกสถานศกึ ษา

5. จัดการอบรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมให้แก่

นักเรียน

6. ให้ความรู้แก่นักเรียนในการเลือกชมส่ือในด้านต่าง ๆ

อยา่ งเหมาะสม

สาเหตุ มาตรการป้องกนั และแก้ไข ผู้รับผิดชอบ
2. การอปุ โภคบริโภค
7. จัดบรรยากาศสิง่ แวดล้อมในสถานศึกษาให้สะอาด ร่ม
3. การทะเลาะววิ าท
รื่นสวยงาม เอ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรู้

8. ใชม้ าตรการระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนอย่างต่อเนอื่ ง

และสม่ำเสมอ

9 . แต่งตั้งผู้รับ ผิดชอ บ แก้ ไขปั ญ ห ายาเสพ ติดใน

สถานศกึ ษา

10. คัดกรองและตรวจสุขภาพนักเรยี นประจำ

1. จัดใหม้ ชี มรมคุม้ ครองผู้บริโภคในสถานศึกษา (อย.นอ้ ย) 1. ผู้บรหิ ารโรงเรยี น

เพื่อตรวจสอบคุณภาพและสารปนเปื้อนในอาหารและ 2. ครูประจำชน้ั

ประชาสมั พันธข์ ้อมูลขา่ วสาร 3. ผู้ปกครอง

2. จัดทำป้ายนิเทศ และกิจกรรมรณรงค์ ให้ความรู้ 4. ชุมชน

เก่ียวกบั การใช้อปุ โภคบรโิ ภคอยา่ งถกู สุขอนามัย 5. นักเรียน

3. จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีทำความสะอาด รักษาความเป็น

ระเบียบเรียบรอ้ ย ภายในโรงอาหารของโรงเรียน

4. จัดให้มีระบบกำจัดขยะการบำบัดน้ำเสียและจัดสร้าง

บ่อดักไขมัน

5. ในกรณีเกิดอุบัติเหตุจากการอุปโภคบริโภคของ

นั ก เรี ย น ให้ ด ำ เนิ น ก าร ป ฐ ม พ ย า บ าล เบื้ อ ง ต้ น ก่ อ น ส่ ง

โรงพยาบาล

6. ประสานแจง้ ผ้ปู กครองนกั เรียนรับทราบเม่อื เกิดเหตุ

7. จัดครูอน ามัยอำน วยความสะดวกใน การดูแล

รักษาพยาบาลร่วมกับผู้ปกครองเพ่ือรับทราบข้อมูล

นกั เรยี น

8. รายงานเหตกุ ารณใ์ ห้ผู้บงั คับบญั ชาทราบตามลำดบั ขั้น

1. ดำเนินการตามระบบการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนอยา่ งมี 1. ผบู้ ริหารโรงเรยี น

ประสิทธภิ าพ 2. ครูประจำชั้น

2. จัดทำระบบเครือข่ายระหว่างผู้ปกครอง ชุมชน 3. ผู้ปกครอง

สถานศึกษา เพื่อสื่อสารและสานสัมพันธ์ร่วมมือป้องกัน 4. ชุมชน

แกไ้ ขปัญหาเกย่ี วกับพฤตกิ รรมนกั เรยี น

3. จัดให้มีการหน่วยเคล่ือนท่ีเร็ว เพื่อเข้าระงับเหตุการณ์

ทม่ี เี หตทุ ะเลาะววิ าท โดยประสานงานกับเจา้ หนา้ ที่ตำรวจ

4 . ป ร ะ ส า น แ จ้ ง ผู้ ป ก ค ร อ ง นั ก เรี ย น ผู้ ก่ อ เห ตุ

ผู้ได้รับบาดเจ็บผู้ปกครองนักเรียนทราบและจัดเจ้าหน้าท่ี

ดแู ล โดยรายงานให้ผู้บังคบั บัญชารบั ทราบตามลำดบั

5. ประสานความรว่ มมือกบั เจา้ หนา้ ทตี่ ำรวจ อปพร. หรือ

องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่

สาเหตุ มาตรการปอ้ งกันและแกไ้ ข ผู้รบั ผดิ ชอบ
4. ส่อื ลามกอนาจาร
1. ควบคุมดแู ลการนำข้อมูลข่าวสารและสอื่ บันเทิงต่าง ๆ 1. ผบู้ ริหารโรงเรยี น
5. อบายมขุ
ที่เกี่ยวขอ้ งกบั เรื่องเพศ ไม่ให้เขา้ มาเผยแพร่ในสถานศึกษา 2. ครูประจำชน้ั

2.จัดทำหลักสูตรบูรณาการสอนในเรื่องเพศศึกษา 3. ผู้ปกครอง

ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมท่ีดี และเหมาะสมในทาง 4. ชุมชน

สังคมให้กับนักเรยี น

3. จัดกิจกรรมและเสริมสร้างค่านิยม ปลูกฝังคุณธรรม

จริยธรรม ที่ดีงามให้กับนักเรียนเพื่อการปรับเปลี่ยน

พฤติกรรมทไี่ มเ่ หมาะสม

4. ประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าทีแ่ ละผู้ที่เก่ยี วข้องใน

การตรวจตรา ควบคุมดูแล ตามแหล่งจำหน่ายและ

เผยแพร่

5. ดำเนินการตรวจค้นยึดสิ่งของและลงโทษ หากพบ

นักเรียนนำส่ือลามกอนาจารเข้ามาสถานศึกษา ติดต่อ

ประสานงานผู้ปกครองเพื่อหาแนวทางแก้ไขปรับเปล่ียน

พฤตกิ รรม

6. มอบครูประจำช้ัน ติดตามและเฝ้าระวัง ภายหลัง

ดำเนินการแก้ไขแลว้ เพ่ือการแก้ไขปญั หาในระยะต่อไปมิ

ใหเ้ กิดข้ึน

1. กำหนดให้สถานศึกษา เป็นเขตปลอดอบายมุขทุก 1. ผู้บริหารโรงเรียน

ประเภท 2. ครูประจำชน้ั

2. จัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้และความตระหนักโทษ 3. ผูป้ กครอง

ภัยและปัญหาอบายมุข ท่ีมีผลกระทบต่อการเรียนและ 4. ชุมชน

ความเปน็ อยู่ของนักเรยี น

3. มอบหมายครูประจำช้ัน ติดตามสอดส่องดูแล

พฤติกรรมของนักเรียนในกลุ่มที่มีปัญหาและกลุ่มเส่ียง

ต้องรบี ดำเนนิ การปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมในเบอื้ งต้น

4. สำรวจแหล่งอบายมุขหรือแหล่งม่ัวสุม โดยจัดทำเป็น

ข้อมูลแผนทต่ี ั้งเพ่ือประสานกับครูผู้รับผิดชอบ ผู้ปกครอง

และเจ้าหนา้ ท่ีตำรวจ

5. สำรวจแหล่งอบายมุขหรือแหล่งมั่วสุมโดยจัดทำเป็น

ข้อมูลแผน ที่ ต้ังเพ่ื อก ารป ระสาน กับ ผู้รับ ผิดชอ บ

ผปู้ กครองและเจา้ หนา้ ทีต่ ำรวจ

6. ขอความร่วมมือจากผู้ปกครองช่วยกวดขันดูแลบุตร

หลานอย่างใกล้ชิด ทั้งการเรียน ค่าใช้จ่ายเงิน การใช้

โทรศัพท์ การออกเทย่ี วเตร่ หรือการทำกิจกรรมนอกบ้าน

รวมท้ังการใช้สื่อเทคโนโลยีในครอบครัวไปในทางที่ไม่

เหมาะสม

สาเหตุ มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ข ผ้รู บั ผิดชอบ
6. อนิ เทอร์เนต็ แถมเกม
7. จัดต้ังกลุ่มเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียน
ดา้ นสขุ ภาพอนามัยของนกั เรียน
ผู้ปกครอง ชุมชน ในการให้ข้อมูลข่าวสารและติดตาม

สอ ดส่ อ งดู แ ลป้ อ งกั น ไม่ ให้ นั ก เรี ย น ไป ม่ั วสุ ม ใน แ ห ล่ ง

อบายมขุ ตา่ ง ๆ

8. จัดทำทะเบียนข้อมูลนักเรยี นที่อยูใ่ นกล่มุ เส่ยี ง

9. เชิญผูป้ กครองประชมุ เพือ่ หาแนวทางแก้ไขปัญหา และ

ใหค้ วามชว่ ยเหลืออยา่ งจริงจังรว่ มกัน

10. จัดเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบในการออกตรวจตราตาม

แหล่งอบายมุขต่าง ๆ โดยการประสานความร่วมมือกับ

เจ้าหน้าที่ และหน่วยงานที่รับผิดชอบ หรือระหว่าง

สถานศึกษาดว้ ยกนั

1. ให้ความรู้นกั เรียนในการเลอื กบรโิ ภคข้อมูลข่าวสารภัย 1. ผบู้ ริหารโรงเรยี น

จากสอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ 2. ครูประจำชั้น

2. จัดกิจกรรมสร้างความสนใจหรือสร้างแรงจูงใจในการ 3. ผูป้ กครอง

ใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เนต็ อย่างสร้างสรรค์ 4. ชมุ ชน

3. ประสานความร่วมมือ ผู้ปกครอง เครือข่ายผู้ปกครอง 5. นกั เรียน

เจ้าท่ีที่เก่ียวข้องในการป้องกัน กวดขัน ดูแล ตามแหล่ง

สถานบันเทิง ร้านอนิ เทอร์เนต็ ร้านเกม เปน็ ต้น

4. ครูฝา่ ยกิจการนักเรยี นและครูที่ปรึกษากำกับ ติดตาม

การมาเรียนของนกั เรียนและประสานกบั ผู้ปกครองในการ

เดนิ ทางไป - กลับ ระหวา่ งบา้ นและโรงเรียน

5. จัดให้บริการอินเทอร์เน็ตกับนักเรียนในช่วงเวลาที่

เหมาะสมตามบริบทของโรงเรียน และให้ครูควบคุมดูแล

อย่างใกล้ชดิ

6. ดำเนินการนำกลุ่มนักเรียนทม่ี ีพฤติกรรมเสยี่ งมาอบรม

ใหค้ วามรูใ้ นเร่ืองการใชอ้ ินเทอรเ์ นต็

7. จัดอ าสาสมัครนัก เรียน คอ ยตรวจสอบก ารใช้

อินเทอรเ์ นต็ /เว็บไซตต์ า่ ง ๆ

8. ประสาน กับเจ้าหน้าท่ีตำรวจหรือหน่ วยงานท่ี

รับผิดชอบ เพื่อติดตามตรวจสอบอินเทอร์เน็ต ร้านเกมท่ี

ให้บริการนักเรียนชว่ งเวลาเรียน

1. สร้างองค์ความรู้ให้แก่ครู และบุคลากร ในเร่ืองแนว 1. ผ้บู ริหารโรงเรียน

ทางการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน การป้องกันมลภาวะจาก 2. ครปู ระจำชั้น

สง่ิ แวดลอ้ ม การป้องกนั ไมใ่ ห้โรคตา่ ง ๆ ให้ระบาดมากข้ึน 3. นักการภารโรง

2. จัดทำมาตรการบรหิ ารจดั การขยะในสถานศกึ ษา

3. แต่งตงั้ คณะกรรมการรับผิดชอบงานให้ชัดเจน

4. ตรวจสุขภาพนักเรียนอย่างน้อยปีละครั้ง ประสานกับ

โรงพยาบาล

5. ปิดสถานศกึ ษาเมือ่ มโี รคระบาด

สาเหตุ มาตรการป้องกันและแก้ไข ผู้รบั ผดิ ชอบ
ดา้ นสัตว์มีพษิ
6. แจ้งผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้นในกรณีมีโรคติดต่อขึ้น

ในโรงเรยี น

7. จัดน้ำด่มื นำ้ ใช้ให้ปลอดภัยรวมท้ังระบบกกั เก็บน้ำและ

ระบบการจา่ ยนำ้ ให้ถกู สุขอนามัย

8. มีส้วมท่ีถูหสขุ อนามัย

9. มีอุปกรณ์และสถานที่สำหรับล้างมือ และให้ความรู้ใน

การลา้ งมอื ของนกั เรยี นอย่างถกู วิธี

10. ควบคุมความสะอาดในการปรุงและจำหน่ายอาหาร

ใหถ้ กู ลักษณะ

11. จดั สถานท่แี ละบรเิ วณสถานศกึ ษาใหถ้ กู สุขลักษณะ

1. จัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตัดแต่งกิ่งไม้ กำจัด 1. ผบู้ รหิ ารโรงเรียน

แหลง่ ทอี่ ยอู่ าศัย 2. ครปู ระจำชั้น

2. ให้ความรู้แก่ครู บุคลากร และนักเรียนเกี่ยวกับสัตว์มี 3. นกั การภารโรง

พิษ ตลอดจนวิธีการป้องกันและปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น

กรณไี ด้รับพษิ

3. จัดทำป้ายเตือนภัยจากสัตว์มีพิษในบริเวณที่เป็นจุด

เส่ียง เช่น บริเวณรัว้ สถานศึกษา ตน้ ไม้ใหญ่ ซ่ึงมักจะมีที่

อย่อู าศัยของสัตว์มีพิษเบอ้ื งตน้

4. ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ

จดั แหล่งเพาะพนั ธุ์สตั ว์ เช่น กำจดั แหล่งเพาะพนั ธ์ุยุงลาย

5. จัดเตรียมอุปกรณ์และเวชภัณฑ์ในการปฐมพยาบาล

กรณที ไ่ี ด้รับพิษจากสัตวม์ ีพิษ

6. จัดทำแผนฉุกเฉินและการฝึกซ้อม โดยความรว่ มมือกับ

หนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้อง


Click to View FlipBook Version