The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้ เรื่องที่ 1 การแบ่งช่วงเวลาประวัติศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pishpis, 2021-02-28 02:15:21

ใบความรู้ เรื่องที่ 1 การแบ่งช่วงเวลาประวัติศาสตร์

ใบความรู้ เรื่องที่ 1 การแบ่งช่วงเวลาประวัติศาสตร์

78

เรือ่ งท่ี 1 การแบงชว งเวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร

ยุคสมัยประวตั ศิ าสตรมคี วามสําคญั ตอการศึกษาประวตั ิศาสตรเนือ่ งจากเปน การแบงชวงเวลาในอดีต
อยา งเปน ระบบ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เหลืออยูในปจจุบัน ซ่ึงจะนําไปสูการวิเคราะหเหตุการณตาง ๆ
อยางมีเหตุผล โดยตระหนักถึงความสําคัญของความตอเนื่องของชวงเวลา จะทําใหการลําดับเปรียบเทียบ
เรอื่ งราวทางประวตั ศิ าสตรม ีความชัดเจนขนึ้ ตามเกณฑด ังตอ ไปน้ี

1. การแบงชว งเวลา มีพ้ืนฐานมาจากยคุ สมัยทางศาสนาแบงออกเปน
(1) การแบงชวงเวลาตามประวตั ิศาสตรไ ทย ไดแ ก รัตนโกสนิ ทรศ ก (ร.ศ.) จุลศักราช (จ.ศ.) และ

พทุ ธศักราช (พ.ศ.) ปจจุบนั ทีใ่ ชก ันอยคู อื พุทธศักราช (พ.ศ.) ซึ่งเปนศักราชในกลุมผูท่ีนับถือพระพุทธศาสนา
การนับปของพุทธศาสนา เร่ิมป พ.ศ.1 หลังจากที่พระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพานแลว 1 ป คือปแรก
นับเปน พ.ศ. 0 เม่ือครบ 1 ป ของพุทธศาสนาจึงเร่ิมนับ พ.ศ.1 โดยเริ่มใชตั้งแตสมัยสมเด็จพระนารายณ
มหาราช จนมาเปน ที่แพรหลายและระบุใชอ ยางเปนทางการในสมยั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว
(รชั กาลท่ี 6) ในปพุทธศักราช 2455 และบางครัง้ มีการแบง เปน ทศวรรษ และศตวรรษ เชน พุทธศตวรรษท่ี 25
คอื ป พ.ศ. 2500 เทากับ คริสตศ ตวรรษท่ี 20 คอื ป ค.ศ. 2000

(2) การแบงชวงเวลาตามประวัติศาสตรสากล ไดแก คริสตศักราช (ค.ศ.) เปนการนับเวลาทาง
ศกั ราชของผูทน่ี บั ถอื ครสิ ตท ีน่ ยิ มใชก ันมาท่ัวโลก โดยครสิ ตศกั ราชที่ 1 เริ่มนับต้ังแตปที่พระเยซูคริสตประสูติ
(ตรงกับ พ.ศ. 543 ) และถือระยะเวลาทอี่ ยกู อ นครสิ ตศักราชลงไปจะเรียกวา สมัยกอนคริสตศักราชหรือกอน
ครสิ ตกาล และฮจิ เราะหศกั ราช (ฮ.ศ.) เปนการนับเวลาทางศักราชของผูนับถือศาสนาอิสลามโดยท่ีอาศัยปท่ี
ทานนบีมูฮัมหมัดไดอพยพจากเมืองเมกกะไปยังเมืองมาดินา เปนปเริ่มตนศักราชอิสลามซึ่งตรงกับวันท่ี
6 กรกฎาคม ค.ศ. 622

2. การแบง ยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร
การแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรโดยการใชหลักเกณฑการพิจารณารูปแบบและลักษณะของ
หลักฐานท่ีเปนลายลักษณอักษรและไมเปนลายลักษณอักษร สามารถแบงยุคสมัยทางประวัติศาสตรเปน
ยคุ ตาง ๆ ไดดงั น้ี

ยุคกอ นประวตั ิศาสตร

เปนชวงเวลาท่ีมนุษยยังไมรูจักการประดิษฐตัวอักษร แตมีความสามารถในการปรับตัวใหเขากับ
สง่ิ แวดลอม ส่งิ ท่มี นุษยส รางขนึ้ เพื่อใชประโยชนในชีวิตประจําวันและหลงเหลืออยู จึงเปนหลักฐานแสดงให
เหน็ ถึงววิ ฒั นาการในยคุ กอนประศาสตร ซ่งึ แบงยอ ยออกไปตามลักษณะวัสดทุ ่ใี ชท าํ เครื่องมอื เครอ่ื งใช ดังนี้

1. ยคุ หิน เปนยคุ ท่ีมนษุ ยร ูจกั นําหินมาดัดแปลงเปน เคร่อื งมอื เคร่อื งใช โดยมวี วิ ัฒนาการดงั น้ี
(1) ยุคหินเกา มนุษยนํากระดูกสัตว นําหินมากะเทาะทําเครื่องมืออยางหยาบ ๆ ยังคงใชชีวิต

เรรอนยายท่ีอยตู ามฝูงสตั วทล่ี าเปนอาหารโดยอาศยั อยตู ามถ้าํ
(2) ยุคหินกลาง มนุษยเ ร่มิ รูจักสรางบานเรือนแทนการอยูถ้ํา เร่ิมทําเกษตรและรูจักปนหมอไห

อยา งหยาบ ๆ ดวยดนิ เหนียวตากแหง

79

(3) ยคุ หนิ ใหม มนษุ ยอยูเ ปน หลกั แหลง สามารถทําการเกษตรและผลิตอาหารไดเอง เคร่ืองมือ
เครอ่ื งใชทีท่ าํ จากหนิ มกี ารขดั เกลาใหแหลมคม ทําเครื่องปน ดนิ เผามาใชใ นบา นเรอื นได และเรม่ิ รจู กั การนาํ เสน
ใยมาทอผา

2. ยุคโลหะ ในยุคนี้มนุษยเริ่มทําเคร่ืองมือเคร่ืองใชจากโลหะแทนหินและกระดูกสัตว ยุคโลหะ
สามารถแบงยอยไปไดอกี 2 ยุค ตามลักษณะโลหะท่ีใชคือ

(1) ยคุ สํารดิ เครือ่ งมือเครื่องใชของมนษุ ยใ นยุคนท้ี ําจากโลหะผสมระหวางทองแดงและดบี กุ เชน
ขวาน หอก กําไล เปน ตน

(2) ยคุ เหล็ก เมือ่ มนษุ ยรจู ักวธิ กี ารถลุงเหลก็ จึงนาํ มาทําเครื่องมอื เครอ่ื งใชแ ละอาวุธ เชน ใบหอก
ขวาน มดี ซ่งึ จะมีความแขง็ แกรง ทนทานกวาสาํ รดิ มาก

ยุคประวัตศิ าสตร
เปนชวงเวลาท่ีมนุษยรูจักประดษิ ฐต ัวอักษรและบันทึกไวบนวัสดุตาง ๆ เชน แผนหิน แผนดินเหนียว
แผน ผา ยุคประวตั ศิ าสตรแ บงออกเปน ยคุ สมัยตาง ๆ ดังน้ี
1. สมัยโบราณ มนุษยเลิกใชชีวิตแบบเรรอนมาตั้งถ่ินฐานบานเรือนอยูรวมกัน สรางระเบียบวินัย
ในการอยูรวมกันข้ึนจนเปนสังคมที่มีความซับซอน อารายธรรมในสมัยนี้ ไดแก อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมอยี ิปต อารายธรรมอนิ เดยี อารยธรรมจนี ไปจนถึงจกั รวรรดโิ รมันลมสลาย
2. สมัยกลาง เมื่อจักรวรรดิโรมันลมสลาย โดยการรุกรานของพวกเตอรก ศิลปะวิทยาการตาง ๆ
จึงหยดุ ชะงกั ไปดวย ยุคสมยั นจี้ งึ เรยี กอกี ชอื่ หนึง่ วา ยุคมืด
3. สมัยใหมหรือยุคฟนฟูศิลปะวิทยาการ นับวายุคนี้เปนรากฐานของความเจริญทุก ๆ ดานในยุค
ตอมา ชว งเวลาของยุคนเ้ี ร่ิมตั้งแตก ารออกสํารวจดนิ แดนไปจนถงึ สงครามโลกครง้ั ท่ี 1
4. สมัยปจจุบันคือ ชวงเวลาตง้ั แตย ุติสงครามโลกคร้ังที่ 1 เร่อื ยมาจนถึงปจจุบนั

หลกั เกณฑการแบง ยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร มีดงั น้ี
1. การแบง ยคุ สมยั ทางประวัติศาสตรส ากล
แบงตามความเจริญทางอารยธรรมมนุษย
แบงตามการเร่มิ ตน ของเหตุการณส ําคัญ
แบง ตามช่ือจักรวรรดหิ รืออาณาจักรท่สี ําคัญท่ีเคยรุงเรือง
แบง ตามราชวงศท ป่ี กครองประเทศ
แบงตามการตั้งเมอื งหลวง

2. การแบงยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตรไ ทย
สวนใหญยึดถือหลักเกณฑของประวัติศาสตรสากล แบงเปนสมัยกอนประวัติศาสตรไทยและสมัย
ประวัติศาสตรไ ทย

80

สมัยประวัติศาสตรไ ทยแบงตาม
สมยั โบราณหรอื สมัยกอนสุโขทัย ต้งั แต พ.ศ.1180 ถึง พ.ศ. 1792
สมัยสุโขทยั ตั้งแต พ.ศ. 1792 ถงึ พ.ศ. 2006
สมยั อยธุ ยา ตัง้ แต พ.ศ. 1893 ถงึ พ.ศ. 2310
สมัยธนบุรี ตง้ั แต พ.ศ. 2310 ถึง พ.ศ. 2325
สมัยรตั นโกสนิ ทร ตัง้ แต พ.ศ. 2325 ถงึ ปจ จุบนั

การเทยี บยคุ สมยั สาํ คัญระหวางประวตั ิศาสตรส ากลกบั ไทย

ประวตั ิศาสตรส ากล ประวตั ศิ าสตรไ ทย

สมยั โบราณ สมัยโบราณหรอื สมยั กอนสโุ ขทยั
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อาณาจกั รลังกาสุกะ
อารยธรรมอยี ปิ ต อาณาจกั รทวารวดี
อารยธรรมกรีก อาณาจกั รโยนกเชียงแสน
อารยธรรมโรมัน อาณาจกั รตามพรลงิ ค
สน้ิ สุดสมยั โบราณ เม่ือ ค.ศ.476 ( พ.ศ.1019 )

สมัยกลาง สมัยสุโขทยั
จกั รวรรดิโรมันตะวนั ออก สน้ิ สดุ ค.ศ. 1453 สมัยอยธุ ยา
การสรา งอาณาจักรคริสเตียน
การปกครองในระบบฟวดลั สมยั ธนบรุ ี
การฟน ฟเู มอื งและการคา สมัยรัตนโกสนิ ทร
การฟนฟูศิลปะวิทยาการ
การคน พบทวปี อเมรกิ า

สมัยใหม
การสํารวจทางทะเล
การปฏวิ ัตวิ ิทยาศาสตร
การปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม
การปฏิวัติฝรงั่ เศส
สงครามโลกครัง้ ท1ี่ -2
สิ้นสุดสมัยใหม ค.ศ. 1945

81

ประวัติศาสตรส ากล ประวัติศาสตรไ ทย

สมยั ปจ จุบัน-รวมสมยั -ปจ จบุ นั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหา-
ยุคสงครามเย็น ภมู พิ ลอดลุ ยเดช (2489 – ปจ จบุ นั )
ยคุ เทคโนโลยีการสอื่ สาร

ตวั อยางเหตกุ ารณส ําคญั ทแ่ี สดงความสมั พันธและความตอ เนอ่ื งของกาลเวลา

1. ประวตั ศิ าสตรสากล
เหตุการณส าํ คญั ในประวัติศาสตรสากลนํามาเปนตัวอยางคือ ยุคจักรวรรดินิยมเกิดขึ้นมาจากปจจัย
หลายประการ ท้ังการเมือง เศรษฐกิจและพลังทางสังคม ซึ่งทําใหประเทศในทวีปยุโรปมีอํานาจเขมแข็ง
มีความกาวหนาทางเศรษฐกิจ มีความเจริญรุงเรือง แตการมีอํานาจและความม่ันคงดังกลาวเกิดข้ึนมา
เพราะการปฏิวัติอุตสาหกรรมและยุคจักรวรรดินิยม ส้ินสุดเมื่อสงครามโลกคร้ังที่ 1 ซ่ึงทําใหมหาอํานาจ
ท้งั หลายหยดุ การลา อาณานิคม แตอ าณานคิ มทัง้ หลายที่เปน อยกู ็ยงั คงเปนอาณานคิ มตอ มาอกี หลายป
หลายชาตเิ ริม่ เรยี กรองเอกราชและสว นใหญไ ดเ อกราชคืนภายหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2

2. ประวัตศิ าสตรไ ทย
เหตุการณสําคัญในประวัติศาสตรไทยที่นํามาเปนตัวอยางคือ ยุคการปรับปรุงประเทศอยูในชวง
พ.ศ. 2394-2475 หรือในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวถึงพระบาทสมเด็จพระปกเกลา
เจา อยูหวั ระหวา งนมี้ กี ารปรับปรงุ และปฏริ ปู ประเทศทุกดา นทั้งการปกครอง สังคม เศรษฐกจิ วัฒนธรรม ฯลฯ


Click to View FlipBook Version