The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นาฏศิลป์ หน่วย 8

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by charuwan.pu2516, 2020-06-17 09:09:01

นาฏศิลป์ หน่วย 8

นาฏศิลป์ หน่วย 8

หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์รายนาฏศิลป์

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๘
การแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยกับการละคร

กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๔
โดย...นางฐิตมิ า นุม่ นิ่ม

๘หนว่ ยการเรียนรู้ที่

การแสดงนาฏศิลปไ์ ทยกบั การละคร

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
๑. ระบุทักษะพื้นฐานทางนาฏศลิ ป์และการละครที่ใชส้ ื่อความหมายและอารมณ์ได้
๒. ใชภ้ าษาทา่ และนาฏยศพั ทห์ รือศัพท์ทางการละครง่ายๆ ในการถา่ ยทอดเรอื่ งราวได้
๓. แสดงการเคลอ่ื นไหวในจงั หวะตา่ งๆ ตามความคิดของตนได้
๔. แสดงนาฏศลิ ป์เปน็ คู่และหมไู่ ด้
๕. เล่าส่ิงท่ีชื่นชอบในการแสดง โดยเน้นจดุ สาคญั ของเร่ืองและลกั ษณะเดน่ ของตัวละครได้

บทท่ี ๑ พื้นฐานนาฏศลิ ป์

การแสดงออกผา่ นประสาทสมั ผัสทั้ง ๕

การได้เห็น การได้กลิน่ การได้ยิน

• การแสดงท่าทางมองไปข้างหน้า • การแสดงทา่ ทางได้กล่นิ เหมน็ • การแสดงทา่ ทางแอบฟงั

การได้สัมผัส การได้ล้ิมรส

• การแสดงทา่ ทางโดนหนามตานิว้ มือ • การแสดงทา่ ทางเผ็ด

ภาษาทา่ ๑ ใช้ภาษาท่าธรรมชาติ

การแสดงทา่ เชิญ เป็นการนาทา่ ทางตามธรรมชาติของคนมาเปน็ ตน้ แบบในการคดิ สร้างสรรค์
ท่าทางการแสดง เน่ืองจากเป็นทา่ ทางทใ่ี ช้ในกจิ วัตรประจาวันและคนทวั่ ไป
เข้าใจไดง้ ่าย เช่น ฉันหรอื ตวั เรา คุณหรือเธอ ไป มา เชิญ เรยี ก เดิน เปน็ ต้น

๒ ใช้ภาษาท่าเลยี นแบบพฤตกิ รรมทางอารมณ์

เป็นท่าทางทีใ่ ชใ้ นการสื่อถึงอารมณแ์ ละความรู้สกึ ต่างๆ เชน่ รัก ดีใจ โกรธ
โศกเศรา้ อาย เป็นตน้

การแสดงท่า อาย การแสดงท่า รัก

๓ ใชภ้ าษาท่าเลียนแบบคนและสัตว์

เป็นการทาทา่ ทางโดยการเลียนแบบลกั ษณะเดน่ ของคนและสตั ว์ท่มี ีลักษณะเฉพาะ
ไม่เหมือนใคร ถา้ ใครเหน็ จะสามารถทายหรอื บอกไดท้ นั ทวี ่าเป็นอะไร เช่น เลียนแบบ
ตารวจ เลียนแบบลิง เลยี นแบบกระต่าย เลียนแบบนก เปน็ ตน้

การแสดงทา่ กระตา่ ย

๔ ใช้ภาษาทา่ สอ่ื ความหมายตามหลกั นาฏศลิ ปไ์ ทย

เปน็ การนาทา่ รา่ ยราทางนาฏศิลปห์ รือนาฏยศพั ท์มาใช้ เช่น การจีบ การต้งั วง เปน็ ต้น
เพ่อื ให้เกิดความสวยงามในการแสดงมากข้นึ

การแสดงทา่ วงบน

นาฏยศัพท์

หมวดหมู่ของนาฏยศพั ท์ (แบง่ ตามลักษณะการใชเ้ ปน็ ๓ หมวด)

๑ หมวดนามศัพท์ เชน่ ต้งั วง จีบ
๒ หมวดกรยิ าศัพท์ เช่น กล่อมไหล่ กรายมือ
๓ หมวดเบ็ดเตลด็ เชน่ เดนิ มอื ข้ึนทา่

นาฏยศพั ทท์ ี่ควรรจู้ ักและฝกึ ปฏิบตั ิ

๑ จบี

เปน็ การใชน้ ้ิวหวั แม่มือกบั น้วิ ชีม้ าจรดกัน โดยใหป้ ลายนิว้ หัวแมม่ ือมาจรดกับขอ้ สดุ ท้ายของปลายนว้ิ ชี้ (นับจากฝ่ามอื ขน้ึ ไป)
น้วิ ทีเ่ หลือทงั้ สามนว้ิ เหยยี ดตรง แล้วกรดี ออกไปใหส้ วยงามคลา้ ยพดั การจบี จะตอ้ งหักขอ้ มอื เขา้ หาลาแขนเสมอ

การจีบมี ๒ ลกั ษณะ

จบี คว่า

จบี หงาย • ใหค้ วา่ ลาแขน หักข้อมือลงแลว้ ทาทา่ จบี
ใหป้ ลายน้ิวท่จี ีบช้ีลงขา้ งลา่ ง
• ให้หงายขอ้ มอื หักข้อมือเขา้ หาลาแขน
แลว้ ทาทา่ จีบ ให้ปลายนิ้วทจี่ ีบช้ขี น้ึ ข้างบน

๒ ตัง้ วง

เป็นการต้งั ลาแขนเปน็ วงคล้ายครง่ึ วงกลม งอแขนเลก็ นอ้ ย ใหย้ กแขนไปข้างลาตัวแล้วงอแขนใหม้ ลี กั ษณะโค้ง
และหันฝ่ามือออกนอกลาตวั การต้งั วงมหี ลายลักษณะ เชน่ วงบน วงกลาง วงลา่ ง เปน็ ตน้

ตวั นาง ตวั พระ

การแสดงทา่ วงบน

วงบน

• ตง้ั ลาแขนเปน็ วงคร่งึ วงกลม งอแขนเล็กน้อย ตั้งมือขน้ึ และแบมอื โดยให้ปลายน้ิวทั้งส่ีหันเขา้ หาศีรษะน้วิ หวั แมม่ อื
งอเข้าหาฝ่ามือเลก็ น้อยพรอ้ มทงั้ หกั ข้อมอื เข้าหาลาแขน ตัวพระตง้ั วงสงู ระดบั แง่ศรี ษะ ตัวนางตง้ั วงสูงระดับหางควิ้

ตวั นาง ตัวพระ วงกลาง

การแสดงทา่ วงกลาง • ปฏบิ ตั ิคลา้ ยกบั วงบน คอื ใหต้ ง้ั ลาแขนเป็นวงคร่ึงวงกลมโดยงอ
แขนเลก็ นอ้ ย ตั้งมือขนึ้ และแบมอื ท้งั สนี่ ิว้ ปลายน้ิวทั้งสงี่ อเขา้ หา
ตัวนาง ตวั พระ ศีรษะ น้ิวหวั แมม่ อื งอเขา้ หาฝ่ามือเลก็ น้อย พรอ้ มทั้งหักขอ้ มอื เข้า
หาลาแขน ตัวพระจะกางแขนและมอื อยใู่ นระดับสงู กว่าตัวนาง
การแสดงท่า วงล่าง เลก็ น้อย

วงลา่ ง

• ให้ปลายนวิ้ ทัง้ ส่ีต้งั อยรู่ ะดับชายพกหรอื หัวเข็มขัด น้วิ หัวแมม่ ืองอ
เข้าหาฝา่ มือเล็กน้อยพร้อมทง้ั หักขอ้ มือเขา้ หาลาแขน ให้ส่วนโค้ง
ของลาแขนห่างจากลาตวั เลก็ น้อย ตัวพระใหก้ างแขนห่างจากลาตัว
มากกวา่ ตัวนาง ตัวนางกางแขนหา่ งจากลาตัวเล็กนอ้ ย

๓ ประเท้า

ผ้แู สดงประเท้าขา้ งใดขา้ งหน่ึงกไ็ ด้ ถ้าตอ้ งการประเท้าซา้ ย ให้วางเทา้ ซา้ ยเหลอ่ื มหน้าเทา้ ขวาเลก็ น้อย แลว้ ย่อขา
ท้งั สองข้างลง ส้นเทา้ ซา้ ยตดิ กบั พน้ื ยกจมูกเท้าข้นึ เล็กน้อย จากน้ันใหจ้ มกู เทา้ กระทบกบั พ้นื แลว้ ยกเท้าซา้ ยขึน้

การแสดงทา่ ประเทา้

๔ จรดเท้า

เป็นการใชส้ ่วนจมูกเทา้ ขา้ งหนึ่งแตะพนื้ จากน้นั ใหย้ กส้นเท้าขา้ งนัน้ ขึ้นสงู พอประมาณ สว่ นขาอีกขา้ งหน่ึงยืนรบั นา้ หนกั
ตัว และย่อเขา่ ท้งั สองลง

การแสดงทา่ จรดเท้า

บทท่ี ๒ ท่าประกอบเพลงและศัพทก์ ารละครไทย

ภาษาทา่ ประกอบเพลงปลุกใจและเพลงพระราชนิพนธ์

ภาษาท่าที่ใชใ้ นการแสดงนาฏศลิ ป์ สามารถนามาดดั แปลงให้เป็นทา่ ราประกอบเพลงตา่ งๆ ได้ เพอ่ื สอื่ ถึงความหมายของเพลง
และเพื่อความสวยงามในการแสดง

ตัวอยา่ ง ≫ การแสดงท่าประกอบเพลงขอไทยอยู่เปน็ ไทย

เพลงขอไทยอยู่เปน็ ไทย

เนื้อรอ้ ง พลตรีหลวงวิจติ รวาทการ ทานอง ไมท่ ราบนามผ้แู ต่ง

ขอไทยเราอยู่เป็นไทย ขอไทยเราอยูค่ ู่ฟา้
ขอปวงหมปู่ ระชา ไทยเปน็ สุข
และสมบรู ณพ์ นู ผล ใครกล้ามาผจญ
ขอใหศ้ ัตรทู ุกคน แพภ้ ัยมลายไป

ทา่ ประกอบเพลง ขอไทยอยู่เปน็ ไทย ๒ ขอไทยเราอยู่คฟู่ า้

๑ ขอไทยเราอยูเ่ ป็นไทย

ศีรษะ เอยี งศรี ษะด้านซา้ ย ศรี ษะ เอยี งศรี ษะด้านขวา
มอื มือทั้งสองยกมือท่าขอ มอื ขวาสงู ระดบั แง่ศีรษะ มือ มอื ซ้ายชน้ี ิ้วด้านหนา้ ระดบั ศีรษะ งอแขน มอื ขวาเท้า

มือซ้ายสงู ระดับหน้า สะเอว
เทา้ กา้ วหนา้ เทา้ ซ้าย เท้าขวาไขวว้ างหลัง เทา้ กา้ วหน้าเท้าขวา เท้าซ้ายไขว้วางหลงั

๓ ขอปวงหมปู่ ระชา ๔ ไทยเปน็ สุข

ศีรษะ เอยี งศรี ษะด้านซ้าย ศรี ษะ หน้าตรง
มอื มือขวาแบมอื ระดับอก แลว้ ผายมอื ออกไปดา้ นขวา มอื มือจีบหงายสองมอื ระดบั อก งอแขน แลว้ คลายจบี

มอื ซ้ายไขว้หลัง ไปข้างตวั แขนตึงทง้ั สองข้าง ระดับไหล่
เท้า แตะเท้าขวา กระดกปลายน้ิวขึ้น เทา้ แตะเทา้ ซา้ ยกระดกปลายนิว้ ขึน้

๕ และสมบูรณพ์ นู ผล ๖ ใครกลา้ มาผจญ

ศรี ษะ เอียงศีรษะดา้ นซา้ ย ศรี ษะ เอียงศรี ษะด้านขวา
มอื มอื ทงั้ สองตั้งวงระดับอกแล้วชอ้ นมอื จีบหงายระดบั อก มือ มอื ซ้ายหงายฝ่ามอื ระดบั อก มอื ขวากามือทาท่าทุบ
เทา้ ก้าวหนา้ เท้าซ้าย เทา้ ขวาไขว้วางหลงั
บนฝา่ มอื ซ้าย
เทา้ แตะเทา้ ขวา กระดกปลายนิ้วขน้ึ

๗ ขอใหศ้ ัตรทู ุกคน ๘ แพ้ภัยมลายไป

ศีรษะ เอยี งศรี ษะด้านขวา ศรี ษะ เอียงศีรษะดา้ นซ้าย
มอื มอื ซ้ายเดาะน้วิ ออกไปทางดา้ นขา้ งตามจังหวะเพลง มือ ควา่ สองมอื ประสานกนั ข้างหน้า ลักษณะไขวม้ ือ มือขวา

มือขวาเท้าสะเอว ทบั มือซา้ ย แล้ววาดแขนทง้ั สองออกไปขา้ งลาตวั ระดบั
เท้า ก้าวหนา้ เทา้ ขวา เท้าซ้ายไขว้วางหลงั ไหล่
เท้า กา้ วหน้าเท้าซา้ ย เทา้ ขวาไขว้วางหลงั

การใช้ศัพท์ทางการละคร

• ละครเป็นการแสดงท่ีมลี กั ษณะเปน็ เรื่องราว โดยการนาเสนอในรูปแบบท่แี ตกต่างกนั ไป

• ละครไทย เปน็ อกี รปู แบบหนึง่ ของการแสดงละคร โดยเน้นการใชภ้ าษาทา่ ทส่ี วยงามอ่อนช้อย ดังนน้ั ภาษา
ท่าจงึ มีความสาคญั มากในการแสดงละครไทย เพราะนอกจากจะชว่ ยทาใหก้ ารแสดงมีความสวยงามแลว้
ยงั ใชใ้ นการส่อื ความหมายและเร่ืองราวของการแสดงใหผ้ ูช้ มเขา้ ใจและไดค้ วามสนกุ สนานเพลิดเพลิน
ตลอดจนสนุ ทรียภาพในการชมการแสดงอีกด้วย

• การใช้ภาษาท่าหรือศพั ท์ทางการละคร ส่อื สารความหมายหรอื ถา่ ยทอดเร่ืองราว เราจะพบเห็นได้ใน
การแสดงละครไทยแบบต่างๆ เชน่ ละครนอก ละครใน โขน เป็นตน้

บทท่ี ๓ สนุกกับจังหวะพ้นื เมอื ง

การเคลื่อนไหวประกอบจงั หวะเพลงพน้ื เมือง

๑ การเคลื่อนไหวจังหวะเพลงฟ้อนเงย้ี ว

• ฟอ้ นเง้ยี วเปน็ การแสดงพนื้ เมอื งชาวเขาเผา่ หนง่ึ ที่อย่ทู างภาคเหนอื ของไทย

เพลงฟอ้ นเงี้ยว

ขออวยชยั พทุ ธิไกรช่วยคา้ ทรงคณุ เลิศลา้ ไปทุกทั่วตวั ตน
จงไดร้ ับสรรพม่งิ มงคล นาทา่ นนา ขอเทวาช่วยรักษาเถอะ
ขอให้อยสู่ ขุ า โดยธรรมานุภาพเจ้า เทพดาชว่ ยเราถือเปน็ มิ่งมงคล
สังฆานุภาพเจา้ ชว่ ยแนะนาผล สรรพมิ่งท่วั ไปเทอญ
มงคลเทพดาทกุ แหง่ หน ขอบันดลช่วยคา้ จนุ
(ดนตรี) มงแซะ มงแซะ มงแซะ ตะลมุ่ ตุ้มมง (ซา้ )

ท่าประกอบเพลง ฟอ้ นเงีย้ ว ๒ ท่าออกมาจากเวที ฝ่ายหญิง

๑ ท่าออกมาจากเวที ฝ่ายชาย

จังหวะที่ ๑ ศรี ษะ เอยี งศีรษะดา้ นขวา จังหวะที่ ๑ ศรี ษะ เอียงศีรษะดา้ นขวา
มอื มอื ทัง้ สองกาหลวมๆ ระดบั เอว มือ มือซ้ายจบี หงายชายพก มอื ขวาจีบส่งหลงั
เทา้ เทา้ ซ้ายยก เท้าขวายนื เทา้ เทา้ ขวากระทุ้งหลัง เท้าซา้ ยกา้ วไปข้างหนา้
เอยี งศีรษะด้านซา้ ย เอียงศีรษะดา้ นซ้าย
จงั หวะที่ ๒ ศรี ษะ มอื ทง้ั สองแตะทกี่ น้ จงั หวะท่ี ๒ ศีรษะ มอื ขวาตง้ั วงระดับศรี ษะ มอื ซ้ายตัง้ วง
มือ เทา้ ขวายก เท้าซ้ายยนื มอื ระดับปาก
เท้า ก้าวหนา้ เท้าขวา เทา้ ซา้ ยไขว้ วางหลงั
เทา้

ทา่ ประกอบเพลง ฟอ้ นเงยี้ ว

๑ ขออวยชัย ๒ พทุ ธิไกรชว่ ยคา้ ๓ ทรงคณุ เลศิ ลา้

ศรี ษะ เอียงศรี ษะด้านขวา ศีรษะ เอียงศรี ษะด้านซ้าย ศีรษะ เอียงศรี ษะดา้ นขวา
มือ มอื ซา้ ยตงั้ วงหงายมือ มอื ขวาตง้ั วงหงายมอื มอื มอื ขวาจบี คว่าระดับหน้าอกแลว้ คลายออก มอื มือซา้ ยจีบคว่าระดับหน้าอกแล้วคลายมอื

ตา่ กวา่ มอื ซา้ ยเลก็ น้อย เปน็ ต้งั มือตะแคงมอื ซ้ายเท้าสะเอว ออกเปน็ ตง้ั วงหงายมือ มอื ขวาเท้าสะเอว
เทา้ เทา้ ขวาแตะมาด้านหน้า เท้าซ้ายยนื เทา้ เทา้ ซ้ายแตะพืน้ มาดา้ นหน้า เทา้ ขวายนื เทา้ เท้าขวาแตะพื้นมาดา้ นหนา้ เทา้ ซา้ ยยนื

๔ ไปทุกทัว่ ตัวตน ๕ จงไดร้ ับ ๖ สรรพม่ิงมงคล

ศีรษะ เอยี งศรี ษะดา้ นซา้ ย ศรี ษะ เอยี งศีรษะด้านขวา ศรี ษะ เอียงศรี ษะด้านซ้าย
มอื มือขวาชตี้ ามจังหวะจากดา้ นหน้าไปดา้ นขวา มอื มือซา้ ยตง้ั วงหงายมือ มอื ขวาตั้งวงหงายมือ มือ มือขวาจบี ควา่ ระดบั หน้าอกแลว้ คลายออก

๓ ครั้ง มือซา้ ยเทา้ สะเอว ตา่ กว่ามือซ้ายเล็กน้อย เป็นตง้ั มอื ตะแคง มือซา้ ยเท้าสะเอว
เท้า เทา้ ซา้ ยแตะพนื้ มาดา้ นหน้า เท้าขวายืน เทา้ เท้าขวาแตะมาดา้ นหนา้ เทา้ ซา้ ยยนื เทา้ เท้าซ้ายแตะพืน้ มาด้านหนา้ เท้าขวายืน

๗ นาทา่ นนา ๘ ขอเทวา ๙ ช่วยรักษาเถอะ

ศีรษะ หนา้ ตรง ศีรษะ เงยหน้าเลก็ นอ้ ย ศรี ษะ หน้าตรง
มือ มอื ทัง้ สองพนมอยู่ระหวา่ งอก มอื มือท้งั สองพนมระดับศีรษะ มอื มอื ทง้ั สองพนมอยรู่ ะหวา่ งอก
เทา้ เท้าซา้ ยแตะพื้นมาด้านหนา้ เทา้ ขวายนื เทา้ เทา้ ขวาแตะพืน้ มาดา้ นหนา้ เทา้ ซ้ายยืน เทา้ เท้าซ้ายแตะพื้นมาด้านหน้า เทา้ ขวายนื

๑o ขอให้อย่สู ขุ า ๑๑ โดยธรรมานุภาพเจ้า ๑๒ เทพดาชว่ ยเรา

ศีรษะ หนา้ ตรง ศรี ษะ เอยี งศรี ษะด้านซ้าย ศรี ษะ เอียงศีรษะด้านขวา
มอื มือท้ังสองจีบระหว่างอกแล้วคลายออกเป็น มือ มือท้ังสองพนมมือไหว้ดา้ นข้างซ้ายระดบั หู มอื มอื ซา้ ยจบี หงายระดับอก มอื ขวาเท้าสะเอว
เทา้ เทา้ ซา้ ยแตะพน้ื มาด้านหน้า เท้าขวายืน เท้า เทา้ ซ้ายแตะพน้ื มาดา้ นหนา้ เท้าขวายืน
ตั้งวงระดับไหล่
เทา้ เท้าขวาแตะพน้ื มาดา้ นหน้า เท้าซา้ ยยืน

๑๓ ถอื เปน็ มง่ิ มงคล ๑๔ สงั ฆานภุ าพเจ้า ๑๕ ชว่ ยแนะนาผล

ศีรษะ เอียงศรี ษะด้านซา้ ย ศรี ษะ เอียงศรี ษะด้านขวา ศรี ษะ เอียงศรี ษะดา้ นขวา
มอื มอื ขวาจบี คว่าระดับหน้าอกแล้วคลายออก มือ มือท้ังสองพนมมือไหว้ไปด้านขา้ งขวา มือ มอื ซา้ ยผายมอื จากขวาไปซ้าย มอื ขวาเทา้
เทา้ เทา้ ซา้ ยแตะพน้ื มาดา้ นหนา้ เท้าขวายืน
เป็นต้งั มอื ตะแคง มอื ซ้ายเท้าสะเอว สะเอว
เทา้ เท้าซ้ายแตะพื้นมาด้านหน้า เท้าขวายืน เทา้ เทา้ ขวาแตะพ้นื มาด้านหน้า เทา้ ซา้ ยยนื

๑๖ สรรพมิ่งท่ัวไปเทอญ ๑๗ มงคล ๑๘ เทพดาทุกแหง่ หน

ศีรษะ หนา้ ตรง ศีรษะ เอยี งศีรษะดา้ นซ้าย ศีรษะ เอียงศรี ษะด้านขวา
มอื มอื ทัง้ สองซอ้ นมือควา่ ระหวา่ งอกแล้วแบหงาย มอื มือขวาจบี คว่าระดบั หน้าอกแลว้ คลายออก มอื มือซา้ ยชี้ระดับศีรษะ ๓ คร้ังตามจงั หวะ
เทา้ เทา้ ซ้ายแตะพื้นมาด้านหนา้ เท้าขวายนื
ผายออกไปดา้ นขา้ งลาตวั ทั้งสองมอื เปน็ ตง้ั มือตะแคง มือซ้ายเท้าสะเอว
เทา้ เทา้ ขวาแตะพนื้ มาดา้ นหน้า เท้าซา้ ยยืน เท้า เท้าซ้ายแตะพื้นมาด้านหนา้ เทา้ ขวายืน

๑๙ ขอบนั ดลชว่ ยคา้ จุน

ศีรษะ ผูห้ ญงิ และผชู้ ายหนั หน้าเข้าหากัน กม้ หน้าเล็กนอ้ ย
มอื มือข้างหนึ่งจีบคว่าระดับหน้าผาก สว่ นมืออกี ข้างเท้าสะเอว
เทา้ เทา้ ท้ังสองชดิ เทา้ แลว้ ย่อเข่า

* หมายเหตุ หลงั จากทาท่า ๑๙ จบแลว้ ใหส้ า่ ยสะเอวซา้ ย-ขวาสลบั กันในชว่ งดนตรี มงแซะ มงแซะ แซะมง ตะลมุ่ ตุม้ มง

๒ การเคลื่อนไหวจงั หวะเพลงรองเง็ง

• รองเง็งเป็นการแสดงพนื้ บา้ นของชาวไทยมสุ ลมิ ทอี่ ยทู่ างภาคใต้ ซึ่งใชด้ นตรปี ระกอบที่มีจังหวะคอ่ นข้างเรว็
การเคลอื่ นไหวตามจงั หวะสามารถทาได้หลายแบบตามเพลงทใ่ี ชป้ ระกอบ

๑๒

ฝ่ายผูช้ ายและฝา่ ยผู้หญิงหันหนา้ เขา้ หากนั ฝ่ายผู้ชายและฝา่ ยผู้หญงิ หนั หน้าเขา้ หากัน
ผูช้ าย ศีรษะ กม้ ศีรษะลงเลก็ น้อย ผู้ชาย ศีรษะ กม้ ศรี ษะลงเลก็ นอ้ ย

มือ มอื ท้ังสองคว่ามือแตะหน้าผาก มอื มือทงั้ สองหงายมอื ออกขา้ งลาตัว
เท้า จรดเท้าขวา เท้าซ้ายยืน เท้า ก้าวหน้าเท้าซ้าย เท้าขวาไขว้วางหลัง
ผูห้ ญิง ศีรษะ กม้ ศีรษะลงเล็กนอ้ ย ผ้หู ญงิ ศรี ษะ ก้มศีรษะลงเล็กน้อย
มือ มือทง้ั สองควา่ มอื แตะทีห่ น้าผาก มือ มอื ทงั้ สองหงายมือออกขา้ งลาตวั
เท้า จรดเท้าขวา เทา้ ซ้ายยนื เทา้ กา้ วหน้าเทา้ ซา้ ย เทา้ ขวาไขวว้ างหลัง

๓๔

ผู้ชาย ศีรษะ เอยี งศรี ษะดา้ นซ้าย ผชู้ าย ศีรษะ เอียงศีรษะด้านขวา
มือ มอื ทง้ั สองกามอื หลวมๆ มอื ขวาคว่ามอื มอื มอื ทัง้ สองกามือหลวมๆ มอื ซา้ ยคว่ามอื
มือซ้ายหงายมอื ระดบั ไหล่ ปฏิบตั ิสลบั ข้างกนั มอื ขวาหงายมือระดบั ไหล่ ปฏิบตั สิ ลับขา้ ง
๕ ครัง้ เท้า จรดเท้าขวา เทา้ ซ้ายยนื เดนิ สวนกันกบั ฝา่ ย
เท้า จรดเทา้ ขวา เทา้ ซา้ ยยนื ปฏิบัติสลับข้างกนั หญิง
๕ ครั้ง
ผู้หญงิ ศรี ษะ เอยี งศรี ษะดา้ นขวา
ผ้หู ญิง ศีรษะ เอียงศีรษะดา้ นขวา มอื มือทัง้ สองกามือหลวมๆ มือซ้ายคว่ามือ
มอื มอื ทัง้ สองกามือหลวมๆ มอื ซ้ายควา่ มือ มอื ขวาหงายมอื ระดับไหล่ ปฏบิ ตั ิสลับข้างกัน
มือขวาหงายมือระดับไหล่ ปฏิบตั สิ ลบั ขา้ งกนั เท้า จรดเท้าขวา เท้าซ้ายยนื เดินสวนกนั กบั ฝา่ ย
๕ คร้ัง ชาย
เท้า จรดเท้าขวา เทา้ ซ้ายยนื ปฏบิ ตั สิ ลับข้างกนั
๕ ครั้ง

๕๖

ผ้ชู าย ศรี ษะ เอียงศรี ษะด้านขวา ผชู้ าย ศีรษะ เอยี งศีรษะดา้ นซ้าย
มอื มอื ท้งั สองกามือหลวมๆ มือซา้ ยคว่ามอื มือ มือทั้งสองกามือหลวมๆ มอื ขวาคว่ามอื
มือขวาหงายมอื ระดับไหล่ ปฏบิ ตั ิสลบั ขา้ งกนั มือซ้ายหงายมือระดบั ไหล่ ปฏิบตั สิ ลบั ขา้ งกนั
เทา้ จรดเทา้ ซา้ ย เทา้ ขวายืน ปฏิบตั ิสลับข้างกัน เทา้ จรดเท้าขวา เทา้ ซา้ ยยนื ปฏบิ ตั สิ ลับขา้ งกัน

ผูห้ ญิง ศรี ษะ เอียงศรี ษะดา้ นซ้าย ผู้หญงิ ศรี ษะ เอยี งศีรษะด้านขวา
มอื มอื ท้งั สองต้ังมอื นวิ้ กลางหักลงเล็กน้อย มือขวา มือ มือทัง้ สองตั้งมือ นว้ิ กลางหักลงเล็กน้อย มือซ้าย
อย่รู ะดบั ศีรษะ มือซา้ ยอยรู่ ะดับใบหน้า พลกิ อยรู่ ะดบั ศีรษะ มือขวาอยรู่ ะดับใบหนา้ พลกิ
ขอ้ มอื ขน้ึ -ลง ขอ้ มือขึน้ -ลง
เทา้ น่งั ลง เทา้ ขวาไขว้หน้าเทา้ ซ้าย เทา้ น่ังลง เทา้ ขวาไขว้หน้าเทา้ ซ้าย

๗ ๘๙

ผู้ชาย ศีรษะ เอยี งศีรษะดา้ นซ้าย ผู้ชาย ศีรษะ เอียงศีรษะดา้ นขวา ผชู้ าย ศรี ษะ เอยี งศรี ษะด้านซ้าย
มือ มือทง้ั สองกามอื หลวมๆ มือขวาคว่า มอื มือทง้ั สองกามือหลวมๆ มือ มือ มอื ทัง้ สองกามือหลวมๆ มอื
มือ มอื ซ้ายหงายมอื ระดบั ไหล่ ซา้ ยคว่ามือ มอื ขวาหงายมือ ขวาคว่ามือ มอื ซา้ ยหงายมือ
ปฏบิ ัตสิ ลับข้างกนั ระดับไหล่ ปฏิบัติสลับขา้ งกนั ระดบั ไหล่ ปฏบิ ัติสลับขา้ งกนั
เท้า จรดเทา้ ขวา เทา้ ซ้ายยืน ปฏิบัติสลับขา้ ง เท้า จรดเทา้ ซ้าย เทา้ ขวายืน เท้า จรดเทา้ ซา้ ย เทา้ ขวายืน
กนั ปฏบิ ัติสลบั ขา้ งกัน เดินแยก ปฏิบตั สิ ลับข้างกนั
ออกจากฝา่ ยหญิง
ผ้หู ญงิ ศีรษะ เอยี งศีรษะดา้ นซ้าย ผู้หญิง ศรี ษะ เอยี งศีรษะด้านซา้ ย
มือ มือท้ังสองกามอื หลวมๆ มือขวาควา่ มือ ผู้หญิง ศีรษะ เอียงศรี ษะด้านขวา มอื มอื ทง้ั สองกามอื หลวมๆ
มือซ้ายหงายมอื ระดบั ไหล่ ปฏิบัติ มือ มอื ทัง้ สองกามือหลวมๆ มือขวาควา่ มือ มือซ้าย
สลับข้างกัน มือซา้ ยคว่ามือ มือขวา หงายมอื ระดับไหล่ ปฏบิ ัติ
เทา้ จรดเทา้ ขวา เท้าซา้ ยยืน ปฏบิ ตั สิ ลบั ข้าง หงายมอื ระดบั ไหล่ ปฏบิ ตั ิ สลบั ข้างกนั
กัน สลับข้างกนั เท้า จรดเท้าขวา เทา้ ซา้ ยยนื
เทา้ จรดเทา้ ซา้ ย เท้าซา้ ยยนื ปฏบิ ตั ิสลบั ข้างกัน เดินเข้าเวที
ปฏิบัติสลับข้างกัน

บทท่ี ๔ นาฏศลิ ป์ไทย

การแสดงนาฏศิลปป์ ระเภทคแู่ ละหมู่

๑ การแสดงราวงมาตรฐาน (เพลงหญงิ ไทยใจงาม) เป็นการแสดงนาฏศิลป์แบบเปน็ คู่

• ประวัตคิ วามเปน็ มาของราวงมาตรฐาน

ราวงมาตรฐานไดม้ ีววิ ฒั นาการมาจากราโทน ซึง่ เรยี กตามเครอื่ งดนตรหี ลักท่ใี ช้บรรเลงประกอบจงั หวะ คือ ฉิ่ง กรับ และ
โทน ราโทนเปน็ การละเลน่ พน้ื บ้านภาคกลางทีช่ าวบ้านนยิ มนามาเล่นกัน โดยชวนกันราเปน็ คู่ๆ ไมก่ าหนดทา่ ราใครจะ
ทาท่าอะไรก็ได้ และไมม่ ีบทร้องประกอบการรา ตอ่ มากรมศลิ ปากรได้นามาปรับปรุงใหม้ ีแบบแผนตามแบบฉบับนาฏศิลป์
ไทย ซง่ึ ไดม้ กี ารแตง่ เพลงและประดษิ ฐ์ท่าราให้เข้ากบั เพลงที่แตง่ เพือ่ ให้เปน็ มาตรฐานเดียวกัน

• ลกั ษณะการแสดง

การแสดงจะเรม่ิ จากฝา่ ยชายโค้งเชญิ ฝ่ายหญงิ ใหอ้ อกมาราเป็นคๆู่ โดยราตามท่าราของแตล่ ะเพลง และเคลื่อนทีเ่ ป็น
วงกลม

• การแต่งกาย

ผ้แู สดงสามารถแตง่ กายได้ ๓ แบบ คอื แบบพื้นเมือง แบบสากลนิยมและแบบไทยพระราชนยิ ม

• ดนตรปี ระกอบการแสดง

ใชว้ งปี่พาทย์เครอื่ งห้า หรือวงดนตรสี ากล

• โอกาสในการแสดง

ส่วนมากมักใช้แสดงในงานรน่ื เรงิ ต่างๆ

• ทา่ ราประกอบเพลง

ท่าราทีใ่ ชใ้ นการแสดงราวงมาตรฐาน จะถูกกาหนดใหร้ าเฉพาะเพลงแตล่ ะเพลง ในบทเรียนน้ีนาเสนอ ท่าราของเพลง
หญงิ ไทยใจงาม ประกอบด้วย ๒ ทา่ คอื ท่าพรหมสห่ี น้า และทา่ ยูงฟ้อนหาง ดงั นี้

เพลงหญิงไทยใจงาม

เนื้อร้อง คุณหญิงละเอยี ด พบิ ลู สงคราม ทานอง เอื้อ สนุ ทรสนาน

เดือนพราวดาวแวววาวระยับ แสงดาวประดับสง่ ให้เดอื นงามเดน่
ดวงหนา้ โสภาเพียงเดือนเพ็ญ คณุ ความดีทเ่ี ห็นเสริมใหเ้ ด่นเลศิ งาม
ขวัญใจหญิงไทยสง่ ศรีชาติ รปู งามพลิ าศใจกล้ากาจเรืองนาม
เกยี รติยศกอ้ งปรากฏทั่วคาม หญงิ ไทยใจงามยิ่งเดอื นดาวพราวแพรว

ทา่ ประกอบเพลง หญงิ ไทยใจงาม ๒



ทา่ พรหมส่หี นา้ ท่ายูงฟ้อนหาง

จบี ควา่ สองมือข้างตัวระดบั เอว หมุนจบี ขนึ้ แล้วปลอ่ ยจบี เปน็ แทงปลายมือท่ีตงั้ อยขู่ า้ งศรี ษะลงมาและส่งมอื ไปขา้ งหลัง
แบมือ หงายท้ังสองมอื สงู ระดบั ศรี ษะ หนั ปลายนิ้วออกข้าง แขนตึง ฝ่ามอื คว่า ปลายน้ิวเชดิ ขนึ้
ศรี ษะ

• ท่าราประกอบเพลงหญงิ ไทยใจงาม ใชท้ ่าพรหมส่ีหนา้ และท่ายงู ฟ้อนหาง โดยเริ่มทาท่าพรหมส่หี นา้ ก่อน แล้วตอ่ ด้วย
ทา่ ยงู ฟอ้ นหาง สลับกันตอ่ เนอ่ื งไปเร่อื ยๆ ดงั นี้

เดอื นพราว ดาวแวววาวระยับ
ศีรษะ เอียงซ้าย ศีรษะ เอียงขวา
มอื ทาทา่ พรหมสห่ี นา้ มอื ทาทา่ ยงู ฟ้อนหาง
เทา้ (จงั หวะที่ ๓) กา้ วเท้าซา้ ยไปข้างหน้า เทา้ (จังหวะที่ ๑) วางเทา้ ขวาเต็มเทา้

(จงั หวะที่ ๔) กระทุ้งเทา้ ขวา เปิดส้นเทา้ (จังหวะที่ ๒) ก้าวเทา้ ซ้ายไปข้างหน้า
(จงั หวะท่ี ๓) กา้ วเทา้ ขวาไปข้างหนา้
(จังหวะท่ี ๔) กระท้งุ เท้าซา้ ย เปดิ สน้ เทา้

แสงดาวประดบั สง่ ใหเ้ ดือนงามเดน่
ศรี ษะ เอียงซา้ ย ศีรษะ เอียงขวา
มือ ทาท่าพรหมสห่ี น้า มอื ทาท่ายูงฟ้อนหาง
เท้า (จงั หวะท่ี ๑) วางเท้าซ้ายเต็มเท้า เท้า (จงั หวะท่ี ๑) วางเท้าขวาเต็มเท้า

(จงั หวะท่ี ๒) ก้าวเท้าขวาไปขา้ งหน้า (จังหวะท่ี ๒) กา้ วเทา้ ซ้ายไปข้างหนา้
(จังหวะท่ี ๓) กา้ วเทา้ ซา้ ยไปขา้ งหน้า (จงั หวะที่ ๓) ก้าวเทา้ ขวาไปข้างหน้า
(จังหวะท่ี ๔) กระทงุ้ เทา้ ขวา เปดิ สน้ เท้า (จงั หวะที่ ๔) กระทุ้งเทา้ ซ้าย เปิดส้นเทา้

• จากนน้ั ให้ผแู้ สดงทาสลบั กนั ตามจังหวะเพลงจนจบเพลง

๒ การแสดงทา่ ประกอบเพลงระบาดอกบัว เปน็ การแสดงนาฏศลิ ป์แบบเปน็ หมู่

• ประวตั ิความเปน็ มาการแสดงระบาดอกบัว

ระบาดอกบวั เป็นการแสดงชุดหนึ่งในละครเร่อื ง รถเสน ตอนหมู่นางราแสดงถวายท้าวรถสทิ ธ์ิ ซึ่งกรมศิลปากรไดป้ รบั ปรงุ
ขึ้นและแสดงให้ประชาชนท่วั ไปไดช้ มเม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๐ โดยอาจารย์มนตรี ตราโมท เปน็ ผูป้ ระพนั ธบ์ ทร้อง ซง่ึ ใชท้ านอง
เพลงสรอ้ ยโอล้ าวของเกา่

• ลกั ษณะการแสดง

แสดงเปน็ หม่แู ละใช้ผู้แสดงเปน็ ผหู้ ญงิ ล้วน

• การแต่งกาย

ผแู้ สดงจะนุง่ จีบหน้านางห่มสไบเฉยี ง ใสเ่ คร่ืองประดับ หรอื นงุ่ จบี หน้านางห่มสไบเฉียงสองชาย ใส่เครื่องประดบั

• อุปกรณ์

ดอกบวั ประดิษฐ์

• ดนตรปี ระกอบการแสดง

ใช้วงป่พี าทยเ์ ครื่องหา้ ไมน้ วม หรอื วงปี่พาทยเ์ ครื่องหา้ ไม้แขง็ ก็ได้

• ท่าราประกอบเพลง

ทา่ ประกอบเพลงระบาดอกบวั เป็นทา่ ราท่ีแสดงออกถงึ ความสนุกสนานรา่ เรงิ โดยเคลื่อนไหวมือทจ่ี ับดอกบวั
และลาตัว การทาท่าประกอบเพลงระบาดอกบัวควรทาใหพ้ รอ้ มเพรียงเปน็ หมู่คณะ จงึ จะเกดิ ความสวยงาม

เพลงระบาดอกบัว

เนอ้ื รอ้ ง มนตรี ตราโมท ทานอง ไมท่ ราบนามผ้แู ตง่

เหล่าขา้ คณาระบา ร้องรากนั ดว้ ยเรงิ รา่
ฟอ้ นสา่ ยให้พิศโสภา เปน็ ทที ่าเย้ืองยาตรนาดกราย
ดว้ ยจติ จงรกั ภกั ดี มิมจี ะเหน่ือยแหนงหน่าย
ขอมอบชีวติ และกาย ไว้ใตเ้ บ้อื งพระบาทยคุ ล
เพือ่ ทรงเกษมสราญ และชื่นบานพระกมล
ถวายฝา่ ยฟอ้ นอุบล ลว้ นวิจติ รพิศอาไพ
อนั ปทุมยอดผกา ทัศนากว็ ไิ ล
งามตระการดาลหทัย หอมจรุงฟุ้งขจร
คลา้ ยจะยวน เยา้ ภมร
บนิ วะว่อน ฟอนสุคนั ธ์

ทา่ ประกอบเพลง ดอกบวั

๑ เหลา่ ขา้ คณาระบา ๒ รอ้ งรากนั ด้วยเรงิ ร่า ๓ ฟ้อนส่าย

ศรี ษะ เอียงศรี ษะด้านขวา ศรี ษะ เอียงศีรษะดา้ นซ้าย ศรี ษะ เอยี งศรี ษะดา้ นซา้ ย
มือ มอื ท้ังสองถอื ดอกบัว มือขวาแขนตงึ มอื มอื ซ้ายแขนตึงระดับไหล่ มือขวาอยู่ระดบั ชาย มอื มอื ซ้ายต้งั วงระดบั แง่ศรี ษะ มือขวาแขนตงึ

ระดับไหล่ มือซา้ ยอย่รู ะดับชายพก(สะดอื ) พก (สะดือ) ระดบั ไหล่
เทา้ (คนขวา) ก้าวหนา้ เทา้ ซ้าย เท้าขวาไขวว้ างหลงั เท้า (คนขวา) ก้าวหน้าเทา้ ขวา เทา้ ซา้ ยไขว้วางหลัง เทา้ วางเทา้ ขวา แตะเท้าซ้ายกระดกปลายนว้ิ ข้นึ

(คนซ้าย) ก้าวหนา้ เท้าขวา เทา้ ซา้ ยไขว้วางหลัง (คนซา้ ย) กา้ วหนา้ เทา้ ซ้าย เทา้ ขวาไขวว้ างหลงั

๔ ใหพ้ ิศโสภา ๕ เปน็ ทีท่า ๖ เย้ืองยาตรนาดกราย

ศรี ษะ เอียงศีรษะดา้ นขวา ศีรษะ เอยี งศีรษะดา้ นซา้ ย ศรี ษะ เอียงศีรษะด้านขวา
มอื มือขวาตง้ั วงระดับแง่ศีรษะ มอื มือขวาแขนตงึ ระดบั ไหล่ มอื ซ้ายงอแขน มือ มือซ้ายแขนตงึ ระดับไหล่ มือขวางอแขนระดบั

มือซา้ ยแขนตงึ ระดับไหล่ ระดับไหล่ ไหล่ ถอื ดอกบัวคว่าหวั ลง
เทา้ วางเท้าซ้าย แตะเทา้ ขวากระดกปลายนิ้วขึ้น เท้า ก้าวหน้าเท้าซ้าย เทา้ ขวาไขว้วางหลัง เท้า ก้าวหน้าเทา้ ขวา เท้าซา้ ยไขวว้ างหลงั

๗ ดว้ ยจิตจงรักภกั ดี ๘ มมิ จี ะเหนื่อยแหนงหน่าย ๙ ขอมอบ

ศรี ษะ หนา้ ตรง ศรี ษะ ส่ายหนา้ ซา้ ย-ขวา ศีรษะ เอียงศีรษะดา้ นขวา
มือ มือท้งั สองรวมกันระหวา่ งสะเอว มอื มอื ซ้ายอยู่ระดบั ชายพก (สะดอื ) มือ มอื ทั้งสองรวมกันระดบั สะเอว
เท้า นัง่ คุกเขา่ ต้งั เข่าขวาขึน้ เทา้ นัง่ คุกเข่า
มอื ขวาอยรู่ ะดบั อก
เท้า นัง่ คกุ เข่าตั้งเข่าขวาขึน้

๑o ชีวติ และกาย ๑๑ ไว้ใตเ้ บือ้ งพระบาทยคุ ล ๑๒ เพ่อื ทรง

ศรี ษะ หน้าตรง ศีรษะ เงยศีรษะเลก็ นอ้ ยและหน้าตรง ศรี ษะ หนา้ ตรง
มือ มือทัง้ สองแขนตงึ ระดับไหล่ มือ มือทงั้ สองรวมมือยกขึ้นไหว้ระดับศรี ษะ มือ มือท้ังสองรวมมอื กนั ระหวา่ งสะเอว
เท้า นงั่ คุกเขา่ เทา้ น่ังคุกเขา่
และลดมือลงทีอ่ ก
เทา้ น่ังคกุ เขา่

๑๓ เกษมสราญ ๑๔ และชื่นบาน ๑๕ พระกมล

ศรี ษะ เอยี งศีรษะด้านขวา ศรี ษะ เอยี งศีรษะด้านขวา ศรี ษะ เอยี งศีรษะดา้ นขวา
มือ กางแขนทั้งสองมอื มือ มอื ทง้ั สองรวมมอื กันระหว่างอก มอื มอื ซา้ ยตั้งวงเฉียงไปข้างหน้า มอื ขวา
เท้า น่ังคุกเขา่ ตง้ั เขา่ ขวา เทา้ กา้ วหน้าเท้าซ้าย เทา้ ขวาไขว้วางหลงั
แขนตงึ ไปด้านขา้ งระดบั ไหล่
เทา้ ก้าวหน้าเทา้ ซ้าย

เทา้ ขวากระดกหลัง

๑๖ ถวายฝ่ายฟ้อนอบุ ล ๑๗ ล้วนวจิ ิตรพศิ อาไพ ๑๘ อนั ปทุมยอดผกา

ศีรษะ หนั หนา้ เข้าหากัน ศีรษะ หน้าตรง (หนั หน้าตามวง) ศรี ษะ หนั หนา้ เข้าหากนั
มอื มือทงั้ สองรวมมือกนั ระดบั ใบหนา้ มือ มือทั้งสองกางแขนเหยียดตึงโดยมือขวาให้ มือ มือท้งั สองรวมมอื กนั ระดบั ใบหน้า
เทา้ ว่ิงซอยเท้าเขา้ วง เท้า วิ่งซอยเท้าเขา้ วง
ถอื ดอกบวั คว่าลง มือซ้ายถือดอกบัวตง้ั ขึ้น
เทา้ ว่ิงซอยเทา้ ถอยหลัง ขยายวงใหก้ ว้าง

๑๙ ทศั นาก็วไิ ล ๒o งามตระการดาลหทัย ๒๑ หอมจรงุ ฟงุ้ ขจร

ศรี ษะ หน้าตรง (หันหน้าตามวง) ศีรษะ หนั หน้าเข้าหากนั ศรี ษะ หน้าตรง (หนั หน้าตามวง)
มือ มอื ทง้ั สองกางแขนเหยียดตึงโดยมือขวาให้ มือ มือทั้งสองรวมมอื กนั ระดบั ใบหนา้ มอื มือทง้ั สองกางแขนเหยียดตึงโดยมือขวาให้
เท้า ว่งิ ซอยเทา้ เข้าวง
ถือดอกบัวคว่าลงมือซา้ ยถอื ดอกบัวตัง้ ขึ้น ถือดอกบัวคว่าลง มอื ซา้ ยถอื ดอกบัวตงั้ ขนึ้
เท้า วงิ่ ซอยเท้าถอยหลงั ขยายวงให้กวา้ ง เทา้ ว่งิ ซอยเทา้ ถอยหลงั ขยายวงใหก้ วา้ ง

๒๒ คลา้ ยจะยวน ๒๓ เย้าภมร ๒๔ บินวะว่อน

ศรี ษะ เอยี งศรี ษะด้านซ้าย ศรี ษะ เอียงศรี ษะด้านขวา ศีรษะ เอียงศีรษะดา้ นขวา
(หันหน้าตามวง) (หนั หนา้ ตามวง) มือ แทงมือท้งั สองไปดา้ นหลงั แขนตงึ
เท้า เทา้ ขวายนื แตะเท้าซา้ ยกระดกปลายนิว้
มือ มอื ขวาแขนตงึ ระดบั ไหล่ถอื ดอกบัวตั้งข้นึ มือ มอื ซา้ ยแขนตึงระดบั ไหลถ่ ือดอกบัวตัง้ ขึ้น
มือซา้ ยงอแขนระดบั เอวถอื ดอกบัวคว่าลง มือขวางอแขนระดบั เอวถอื ดอกบัวควา่ ลง เท้าขนึ้

เทา้ กา้ วหนา้ เท้าซ้าย เท้าขวาไขวว้ างหลัง เท้า กา้ วหน้าเทา้ ขวา เท้าซ้ายไขว้วางหลัง

๒๕ ฟอนสุคันธ์

ศีรษะ เอียงศีรษะด้านซา้ ย
มือ มือซ้ายตงั้ วงระดับแง่ศรี ษะ หกั ขอ้ มอื ลง มอื ขวาตั้งวงงอแขนระดบั ไหล่

หกั ข้อมือลง
เทา้ ซอยเทา้ หมนุ รอบตวั

บทท่ี ๕ การละครเบอื้ งต้น

การเลา่ เรอื่ งจากนิทาน

ในการแสดงละครขัน้ พน้ื ฐาน นกั เรยี นจะต้องรูจ้ กั เนื้อเรื่องที่แสดง โดยสามารถเลา่ เรอ่ื งทแ่ี สดงไดว้ ่า
มีจุดสาคญั อย่างไร และตัวละครแตล่ ะตวั มลี ักษณะเดน่ อย่างไร การฝกึ เลา่ เร่อื งทใี่ ชแ้ สดง อาจจะฝกึ
จากการอา่ นนทิ าน แล้ววเิ คราะห์ใหเ้ ห็นจุดสาคญั ของเรอ่ื ง ลกั ษณะเด่นของตัวละคร

จากตัวอย่างนิทานเรอ่ื ง ราชสีห์กบั หนู มีจุดสาคญั ของเร่ือง และลกั ษณะเดน่ ของตัวละคร ดังนี้

จดุ สาคญั ของเรื่อง

คือ การท่รี าชสีหแ์ สดงความดูถกู หนทู ตี่ วั เล็กกวา่ ว่า ไม่สามารถช่วยเหลืออะไรตนได้ แต่หนกู ส็ ามารถช่วยชีวติ ราชสีห์ได้

ลกั ษณะเดน่ ของตัวละคร

ในนิทานเร่ืองนมี้ ีตัวละครอยู่ ๒ ตัว คือ

ราชสหี ์ : มลี กั ษณะเปน็ สัตวต์ วั ใหญ่ (สิงโต) หนู : มลี กั ษณะเป็นสัตว์ตวั เลก็
แขง็ แรง และมีความทระนงตัววา่ ตนเองเปน็ รจู้ ักสานึกบุญคณุ ไม่หยง่ิ ทะนง
ผู้ย่งิ ใหญ่จึงดูถกู สัตว์ตวั เลก็ กวา่


Click to View FlipBook Version